2023 AXA Prime Blue -Module 1 Orientation Flipbook PDF


58 downloads 106 Views 9MB Size

Recommend Stories


SOLT Spanish Module 1 Lesson 1
e1 Modul SOLT Spanish Module 1 Lesson 1 The Alphabet in Context 02/2006 EDITION The Alphabet in Context Spanish SOLT I Objectives Module 1 Le

SOLT I Spanish Module 3 Lesson 1
e3 Modul SOLT I Spanish Module 3 Lesson 1 Food and Drinks 02/2006 EDITION Food and Drink Spanish SOLT I Objectives Module 3 Lesson 1 In this

4D. Model Modelo ModUle 385
SEARS Owner's Manual Manual de Instrucciones Manuel d'lnstructions OVERLOOK 3/4D OVERLOCK 3/4D SURJETEUSE 3/4D CAUTION: Before using sewing machine

Story Transcript

AXA PRIME BLUE Onboarding Program

Module 1: Orientation

1

Internal

แนะนำ Agency 2

Internal

กำรวำงแผนสู่ควำมสำเร็จ 3

Internal

AXA PRIME BLUE ORIENTATION by KTAXA Prime Business Academy

4

Internal

เป้ าหมายที่ชัดเจน คือจุดเริ่มต้ น สู่ ความสาเร็จ

AXA PRIME BLUE เส้ นทางสู่ ... นักวางแผนทางการเงินมืออาชีพ 5

Internal

6

Internal

Training & Coaching by Academy

APB

Training APB Programs (Trainer) Active Performance Management (Coach)

7

Internal

คุณมีความปรารถนาอะไร กับการเข้าร่วมโครงการ AXA Prime Blue

8

Internal

ผูป้ ระกอบการ / เจ้าของกิจการ

ทางาน

Sales

ขาย

รายได้/ผลตอบแทน

APB

เงิน

Knowledge ความรู้แบบประกัน Attitude ทัศนคติ ที่ดีต่องาน Skill ทักษะการขาย Habit อุปนิ สย ั มีวินัย

9

Internal

ทางาน

ลูกจ้าง / พนักงานประจา

มากกว่าผลตอบแทนที่ได้รบั คือ ความภาคภูมิใจ กับคุณวุฒิที่ปรึกษาทางการเงินมืออาชีพ ิ นให้กบั คนไทย ที่ได้สร้างความมันคงทางการเง ่

10

Internal

AXA Prime Blue ธุรกิจของผู้ประกอบการ 11

Internal

สร้างโอกาสได้รบั ผลตอบแทนที่มากกว่าตัวแทนปกติ ด้วยค่าส่งเสริมผลงานพิเศษที่บรรลุเป้ าหมาย (Over-Achievement Bonus) เป้าหมายค่าตอบแทน รายเดือน (FYC target)

ค่าตอบแทนที่ทาได้ จริง รายเดือน (FYC)

6,250

30,000

12,500

30,000

18,750

30,000

%ค่าส่ งเสริมผลงานพิเศษ ที่บรรลุเป้าหมาย (OAB)

4,750 20%

*OAB จานวน 4,750 บาท คิดจาก

12

FYC 30,000 – FYC target 6,250 = 23,750

2.

23,750 x 20% = OAB 4,750 บาท

3,500

2,250

รายได้เดือนที่ 1 คานวณจาก FYC 30,000 + OAB 4,750 = 34,750 บาท 1.

ค่าส่ งเสริมผลงานพิเศษ ที่บรรลุเป้าหมาย (OAB)

Internal

Success Steps

สิ่งที่คณ ุ ต้องทา เพื่อที่จะประสบความสาเร็จ

วางแผน เรียนรู้ ลงมือทา

ความสาเร็จ ลงมือทา

เรียนรู้ วางแผน

ตั้งเป้ าหมาย 13

Internal

Passport to Success

เครื่องมือที่จะช่วยวางแผน ให้คณ ุ ประสบความสาเร็จ

14

Internal

รายจ่าย ที่มีความสาคัญต่อการดารงชีพพืน้ ฐาน ของคุณมีอะไรบ้าง ?

15

Internal

My Money

Need

16

Internal

ความจาเป็ นทางการเงิน My Money Need

เวลา : 5 นาที

17

Internal

ผูป้ ระกอบการ AXA Prime Blue หากคุณต้องทางาน เพื่อให้มีรายได้ 30,000 บาทต่อเดือน ถ้า 1 รายที่ขายได้ จะทาให้คณ ุ มีรายได้ 7,500 บาท คุณคิดว่าคุณต้องพบคนกี่คน เพื่อให้ขายให้ได้ 1 ราย และคุณคิดว่าคุณจะต้องนัดหมายคนกี่คน ที่จะต้องเข้าพบเพื่อขาย 18

Internal

19

Internal

สิ่งแรกที่ต้องเตรียมคือ “รายชื่อผูม้ ่งุ หวัง” รายชื่อผูม้ ่งุ หวังเปรียบเสมือน “ลมหายใจของ” ตัวแทน

ส่งมอบกรมธรรม์ (Policy Delivery)

กำรแสวงหำรำยชื่อผู้มุ่งหวัง (Prospect)

7 กระบวนการขาย ทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ

กำรปิ ดกำรขำย (Closing)

กำรนำเสนอ (Presenting) 20

กำรนัดหมำย (Appointment)

กำรเข้ำพบเพือ่ เปิ ดใจ (Opening)

กำรค้นหำข้อมูล (Fact Finding) Internal

“ตลาดธรรมชาติ”

คือ ตลาดที่เข้าถึงได้ง่ายที่สดุ สาหรับตัวแทนใหม่

ตลาดธรรมชาติ หมายถึง ผูม้ งุ่ หวังกลุ่ม “ญาติพีน่ ้ อง” หรือ “คนรู้จกั ” ที่คณ ุ มีความสนิทสนม คุ้นเคยกัน “ตัง้ แต่เกิดมา มีใครที่ร้จ ู กั คุณบ้าง และ คุณรู้จกั ใครบ้าง” 21

Internal

แฟนเพื่อนแนะนา

พ่อแม่เพื่อนแนะนา

พี่น้องแฟน

ญาติ แฟนเพื่อน แฟนเพื่อน

พ่อแม่เพื่อน

เพื่อนของพ่อแม่เพื่อน

เพื่อนในเฟสบุค๊

เพื่อน

แฟน พี่ที่ทางาน

ครูที่โรงเรียนลูก

พ่อแม่ 22

พ่อแม่แฟน

Internal

MANHA คุณสมบัติของ Hot Name List ที่ดี

Age – มีอายุอยู่ในเกณฑ์

การรับประกัน

Health – มีสข ุ ภาพที่อยู่ในเกณฑ์

การรับประกัน

A H

M Hot Name List

Money - มีเงินเพียงพอ

จ่ายค่าเบีย้ ประกัน

A

N Need – มีความจาเป็ นที่ต้องมี

ประกันชีวิต 23

Internal

Authority – มีอานาจในการ

ตัดสินใจ

รายชื่อผูม้ งุ่ หวัง Hot Name List

เวลา : 5 นาที

24

Internal

ไม่มีใครวางแผนที่จะล้มเหลว มีแต่คนล้มเหลวเท่านัน้ ที่ไม่มีการวางแผน

25

Internal

ตัวอย่าง Weekly Plan ที่ดี

อบรม

คัดรายชื่อ

เข้าพบ พีส่ มใจ

Hot Name List

AXA Prime Blue

โทรนัดหมาย Hot Name List

ลิสต์รายชื่อ ทบทวน ฝึ กนาเสนอ ผูม้ งุ่ หวัง แบบประกัน ให้ผจก.ฟั ง 26

Internal

นัดทานข้าวเย็น เพื่อนเบล

ตัวอย่าง Weekly Plan ที่ดี

เข้าพบ คุณครูสมชาย เข้าพบ พีม่ านะ

อบรม

ลงบูท เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน

ลงบูท เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน

AXA Prime Blue

โทรนัดหมาย Hot Name List

เข้าพบ เพื่อนเบล ประชุมกับ ผจก.

เก็บเบีย้ , เอกสาร คุณครูสมชาย

Consulting by Coach

เข้าพบ แม่เพ็ญ

ลิสต์รายชื่อ ผูม้ งุ่ หวัง

คัดรายชือ่ Hot Name List

27

เก็บเบีย้ , เอกสาร แม่เพ็ญ แวะเยีย่ มบ้าน พีบ่ านเย็น

Internal

เข้าพบ น้องแนน

Weekly Activity Report: สรุ ปตัวเลขกิจกรรมงำนขำย

นำตัวเลขผลรวมของ 2 สัปดำห์ เพือ่ เตรียมกรอกลงในช่วงลงทะเบียนของกิจกรรมโค้ชครั้งหน้ำ 28

Internal

แผนงานประจาสัปดาห์ Weekly Plan

เวลา : 10 นาที

29

Internal

30

Internal

สแกน QR Code เพือ่ รับชมคลิปวิดโี อได้เลย

https://player.vimeo.com/video/735737507

31

Internal

สแกน QR Code เพือ่ รับชมคลิปวิดโี อได้เลย

https://player.vimeo.com/video/735738448

32

Internal

แนะนำ Krungthai-AXA Prime Business Academy 33

Internal

34

Internal

รูปแบบการอบรมของ ตัวแทน AXA Prime Blue

ก่อนการอบรม

ระหว่างการอบรม

หล ังการอบรม

• ลงทะเบียน ผ่าน Academy Kit ล่วงหน ้า 1 วันก่อนวันอบรม ตัง้ แต่เวลา 16.00 น. ้ นเข ้าอบรม ถึงเชาวั

็ ชอ ื่ ด ้วยบัตรประชน ระหว่าง 08.15• เชค 09.15 น. หากเข ้าหลัง 09.15 น. จะไม่ สามารถเข ้าห ้องอบรมได ้ และถือว่าขาด การอบรมในวันนั น ้

• ทาข ้อสอบ Post-Test คะแนนสอบต ้อง ผ่านเกิน 80% หากทาคะแนนสอบไม่ ผ่านเกณฑ์ จะต ้องทาข ้อสอบซ้าจนกว่า จะผ่าน (ข ้อสอบแต่ละครัง้ จะไม่เรียงข ้อ)

็ ชอ ื่ ถึง • ทาข ้อสอบ Pre-Test ตัง้ แต่ เชค 09.15 น.

• การรับรองผล เพือ ่ จ่ายเงิน Company Financing, Successful Bonus 1. เข ้าอบรมครบถ ้วน (มาก่อน 9.15 น. และอยูต ่ ลอดการอบรม) และ 2. ทา Post-Test ผ่านเกณฑ์ 80%

• เริม ่ อบรม 09.15 น. โดยเปิ ดกล ้อง ตลอดเวลาการอบรม และต ้องอยูใ่ น สถานทีพ ่ ร ้อมสาหรับการอบรม (ไม่อนุญาตให ้ขับรถ ออกกาลังกาย ฯลฯ) 35

Internal

• การทบทวนความรู ้ผ่าน E-Learning เพือ ่ ิ รับสทธิก ์ ารขาย

36

Internal

1 Apr 2021

Fast Start 2

IC Plain License

Sale Cycle

IC Intensive

Fast Start 3

Field Underwriting

Head Start

Orientation for New Joiner

PCE

OIC Tutorial Course

OIC New

OIC Registration for Insurance Agent

Fast Start 1

Fundamental of Insurance

Claim Process

Continuous Professional Development After Sales Service Develop Selling Skill to & Policy Delivery Professional Module 1: Digital Tools Module 2: Protection Module 3: Health Module 4: Education Module 5: Retirement Module 6: Legacy

Re-recruit to retain(RR2R) Refresh course for non performance Agent

Relationship and Referrals Management

OIC Unit-Linked Startup IC CPD: Unit Linked After Sales Service CPD: Investment

Management Training Program (MTP)

Pre-Manager of Manager Orientation Course (Pre MM1)

Management Skill Seminar

High Performance Management (HPM)

CPD Heritage Tax Planning

Module 1: Recruit & Selection Module 2: Training Module 3: Motivation Module 4: Supervision

CPD: Financial Planning

Sales Builder

CPD: Tax Planning & Keyman

CPD: Mutual Fund in Unit Linked & basic Asset Allocation IC Complex

37

Pre-Manager Orientation Course (PMOC)

Internal

Leadership Development Program

Module 1: Empowering & Motivating Module 2: Leadership Style Module 3: Influencing Skill Module 4: Arts of Communication Module 5: Problem Solving & Decision Making

Agency Training Roadmap Continuous Professional Development (CPD) Re-recruit to retain(RR2R)

After Sales Service & Policy Delivery Claim Process

IC Plain License

Startup Unit Linked 1-2

CPD: Tax Planning & Keyman

IC Intensive

Unit Linked After Sales Service

CPD: Mutual Fund in Unit Linked & basic Asset Allocation

CPD Heritage Tax Planning

IC Complex

OIC Unit-Linked

CEASN Selling Skill

CPD: Financial Planning

CPD: ILP Refresh

Pre GA Owner Pre-Manager to Manager Orientation Course (Pre-MM1)

Fast Start 1 Head Start

Fast Start 2

OIC New PCE

Fast Start 3

ผูม้ งุ่ หวัง

New Agent 0-3 months

38

Pre-Manager Orientation Course (PMOC)

Agent After 6 months

Management Training Program (MTP)

Leadership Development Program High Performance Management (HPM)

Management Skill Seminar(MSS)

Sales Builder

SM

DM

SDM

BD

MM1

MA

หลักสูตรบังคับตามตาแหน่งงาน

RD

Internal

หลักสูตรแนะนาตามตาแหน่งงาน

SRD

ERD MM2

หลักสูตรทางเลือกสาหรับทุกตาแหน่ งงาน

Register Online Training Training Operation | ศิรนิ ภา October 2021| Academy G Tower 39

Internal

ลงทะเบียนอบรมออนไลน์ https://training.academy-kit.com/login.aspx

เข้าระบบโดยรหัสผูจ้ ดั การ ในการลงทะเบียนให้กบั ตัวแทนใหม่ มีรหัส เข้าระบบโดยรหัส 6 หลักท้าย ตัวแทนใหม่รอรหัส เข้าระบบโดยเลขบัตรประชาชน เข้ารหัสผ่านผิด 3 ครัง้ ระบบจะแจ้งให้รอ 15 นาที มีรหัสรูปภาพในการเข้าทุกครัง้ ระยะเวลา 1 นาที

40

Internal

กรอกรหัสประจาตัว กรอกรหัสผ่าน

กรอกรหัสรูปภาพ

- กรอกข้อมูลตัวแทนที่ต้องการสมัครเข้า

ระบบ





41

Internal

กรอกข้อมูลของ ตัวแทนใหม่ให้ ครบถ้วน คลิ๊ ก ลงทะเบียน

- ลงทะเบียนเรียน

เลือกวันที่ – วันที่ เลือกหลักสูตร คลิ๊ ก ค้นหา ➢

➢ คลิ๊กสมุด สี เหลือง คลิก๊ OK

42

Internal

- ตรวจสอบการลงทะเบียน



43

Internal

รายการที่ลงทะเบียนสมบูรณ์ จะอยู่รายการแรก

หากระบบฟ้ องว่ารหัสบัตรประชาชน/อีเมล์ ในระบบไม่ตรง ให้แจ้งเปลียนที่ Academy

- ลืมรหัสผ่านทาตามขัน ้ ตอนนี้

3

2 1 กรอก ID กรอก Email กรอก รหัสรูปภาพ

6

คลิก๊ 5

4

44

Internal

กำรอบรมออนไลน์ virtual Class ผ่ำน Google meet หลักสูตร APB Onboarding 45

Internal

เตรียมความพร้อมในการอบรมออนไลน์ Virtual Class อบรมผ่าน App Google meet ✓ ✓ ✓ ✓

46

สาหรับท่านที่ใช้อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ ให้ Copy Link: https://meet.google.com ไปวางที่บราวเซอร์ Chrome และใส่รหัสการประชุม สาหรับท่านที่ใช้อปุ กรณ์มือถือ สามารถดาวน์ โหลดแอพได้ที่ App store ของระบบ iOS หรือ Play store ของระบบ Android และใส่รหัสการประชุม เตรียม User / Password ในการเข้าระบบ https://training.academy-kit.com/ อุปกรณ์ต้องมีกล้อง อินเตอร์เน็ตต้องพร้อมในการอบรม Internal

อบรมผ่าน โน๊ ตบุค๊

47

อบรมผ่าน มือถือ และแท็บเลต

Internal

Application

48

Internal

ทดสอบการเข ้าสู่ 3 ระบบสาคัญ

Advisor Zone

iPro (Website)

ระบบลงทะเบียนออนไลน์

Application

https://ktaxa-ipro.force.com

https://training.academy-kit.com

ตัวแทนท่านใดยังไม่มีรหัสการใช้งานระบบ ให้สแกน QR Code หน้าถัดไปเพื่อขอรหัสใช้งานทันที 49

Internal

https://forms.gle/7wHSdcTucTMVkHFc7

50

Internal

51

Internal

AXA Prime Blue’s E-Book Shelf คำแนะนำเพือ่ กำรอบรมอย่ำงเกิดประสิทธิภำพ: • หากมี แท็บเล็ต สามารถเปิ ดคูม่ ืออบรม E-Book ผ่าน QR Code เพื่อเรียนควบคูก่ บั อุปกรณ์ท่ีเปิ ด Google Meet • หากไม่มี แท็บเล็ต แนะนาให้พิมพ์ออกมาเป็ นเอกสาร ประกอบการอบรม

https://fliphtml5.com/bookcase/iplrx Password: APB 52 Internal

มาเพิ่มเพื่อนกันเถอะ สแกน QR Code

ID : @axa-academy Line@ ของ Academy มีเจ้ำหน้ำทีค่ อยตอบคำถำม,แก้ไขปั ญหำกำรเข้ำระบบออนไลน์ฯ ให้กับตัวแทน ทุกวันจันทร – เสำร์ เวลำ 8.30-17.00 น. 53

Internal

Compliance training Introduction

54

Internal

หลักเกณฑ์ วิธีการออก การเสนอขายกรมธรรม์ และ การดาเนินการของตัวแทน นายหน้ า และธนาคาร

55

Internal

Kobkan Nitintarangkora - Compliance Department 26 January 2023

ประกาศสานักงาน คปภ. 1. ประกำศ คปภ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีกำรออก และกำรเสนอขำยกรมธรรม์ประกันภัยของบริษัทประกันชีวติ และ กำรดำเนินกำรของตัวแทนประกันชีวติ นำยหน้ำประกันชีวติ และธนำคำร พ.ศ.2563 2. ประกำศ คปภ เรื่อง แนวปฎิบัตติ ำมประกำศ คปภ. เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีกำรออก และกำรเสนอขำยกรมธรรม์ ประกันภัยของบริษัทประกันชีวติ และกำรดำเนินกำรของตัวแทนประกันชีวติ นำยหน้ำประกันชีวติ และธนำคำร พ.ศ.2563 พ.ศ. 2565

56

Internal

แนวทางปฏิบตั ิในการให้บริการของบริษัทประกันชีวิต ปี 2563

57

1

วัฒนธรรมองค์กรและบทบาทของคณะกรรมการและผูบ้ ริหาร

2

การออกกรมธรรม์ประกันภัย

3

การเสนอขายกรมธรรม์ประกันภัย

4

การรับ การเก็บรักษา และการส่งเบีย้ ประกันภัย

5

การเปิ ดเผยข้อมูล

6

การโฆษณา

7

การได้มา การเก็บรักษา และการปกป้ องข้อมูลลูกค้า

8

การให้บริการ หลังการเสนอขายกรมธรรม์ Internal

1. วัฒนธรรมองค์กรและบทบาทของคณะกรรมการและผูบ ้ ริหาร กาหนด ผู้รบั ผิ ดชอบ

ค่าตอบแทน

ความพร้อม บุคคลากร

กาหนดนโยบาย แผนกลยุทธ์เพื่อ สร้างวัฒนธรรม องค์กร

มีการติ ดตาม ตรวจสอบ และการ ควบคุมภายใน 58

Internal

บริ หารความ เสี่ยงการ ดาเนิ นธุรกิ จ

2. การออกกรมธรรม์ประกันภัย

การกาหนดแบบ ข้อความ การกาหนดอัตราเบีย้ และการคัดเลือกกรมธรรม์ การกาหนดอัตราเบีย้ ประกันภัย • • • •

• • • •

59

ความเหมาะสมกับความต้องการ ความสามารถทางการเงินและความต้องการ กาหนดเงือ่ นไข สิทธิประโยชน์ทเ่ี ป็ นธรรม และลูกค้าสามารถเข้าใจและเปรียบเทียบได้โดยง่าย ช่องทางการขายทีเ่ หมาะสม โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ทม่ี คี วามซับซ้อน จาแนกกลุม่ ผลิตภัณฑ์ทเ่ี หมาะกับกลุม่ ลูกค้าประเภทต่าง ๆ ผูข้ ายมีความรูค้ วามเข้าใจตัวผลิตภัณฑ์ มีระบบงานทีร่ องรับ มีการควบคุม การตรวจสอบ และนาปั ญหาทีพ่ บในอดีตมาเป็ นแนวทางป้ องกัน หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องร่วมพิจารณากระบวนการต่าง ๆ ข้างต้น มีการส่งมอบกรมธรรม์ เอกสารสรุปความคุม้ ครอง ข้อยกเว้นให้ลกู ค้าเมือ่ บริษทั ตกลงรับประกัน

Internal

3. การเสนอขายกรมธรรม์ประกันภัย

DO 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ศึกษำรำยละเอียดของกรมธรรม์ อธิบำยหลักกำรเปิ ดเผยข้อควำมจริงในใบคำขอและผลทีจ่ ะเกิดขึน้ หำกลูกค้ำแถลงเท็จหรือปกปิ ดควำมจริงอันเป็ นสำระสำคัญ ระบุให้ชัดแจ้งว่ำเป็ นกรมธรรม์ของบริษัทใด ไม่กระทำกำรใดๆ เป็ นกำรรบกวน หรือก่อควำมรำคำญให้แก่ลูกค้ำ บริหำรจัดกำร กรณีทเี่ กิดกำรขัดแย้งทำงผลประโยชน์ ใช้เอกสำรเสนอขำยทีไ่ ด้รับควำมเห็นชอบจำกบริษัทฯ ข้อควำมทีต่ ้องระบุ ในเอกสำรเสนอขำย

7. 8. 9.

60

แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับกำรชำระเบีย้ ประกันภัยทีจ่ ำเป็ น และผลทีจ่ ะเกิดขึน้ หำกไม่ชำระเบีย้ ประกันภัยให้ต่อเนื่อง กรณีทเ่ี สนอขำยกรมธรรม์ ร่วมกับผลิตภัณฑ์ทำงกำรเงินอื่น ๆ จะต้องแยกค่ำเบีย้ ประกันภัยออกมำให้ชัดเจน แจ้งสิทธิในกำรดำเนินกำรหลังทำสัญญำประกันภัยที่จำเป็ น เช่น สิทธิในกำร freelook สิทธิในกำรเวนคืนกรมธรรม์ ไม่รบกวน หรือก่อควำมรำคำญให้แก่ลูกค้ำ เช่น ควรติดต่อเพือ่ เสนอขำยในช่วงวันจันทร์-เสำร์ เวลำระหว่ำง 8.30-19.00 น.

Internal

4. การเสนอขายกรมธรรม์ประกันภัย

DON’T 1.

ชักชวนให้ผู้เอำประกันภัยยกเลิกกรมธรรม์ เพื่อมำซือ้ กรมธรรม์ใหม่

2.

ให้ข้อควำมที่เป็ นเท็จ ปกปิ ดข้อควำมจริง หรือบิดเบือนข้อมูล ที่ควรบอกให้ชัดแจ้ง เพื่อมุ่งหวังให้ลูกค้ำทำสัญญำประกันภัย

3.

ให้คำแนะนำซึ่งอำจจะก่อให้เกิดควำมเข้ำใจผิด หรือละเว้นกำรเปิ ดเผยข้อมูลอันเป็ นสำระสำคัญ ซึ่งอำจจะก่อให้ลูกค้ำเกิดควำมเข้ำใจผิด

4.

บังคับ หรือใช้สัญญำประกันภัยเป็ นเงือ่ นไขในกำรให้บริกำรหรือทำธุรกรรม เว้นแต่กำรทำประกันนั้นจะเป็ นกำรลดควำมเสี่ยงจำกกำรใช้บริกำรหรือกำร ทำธุรกรรมโดยตรง

61

5.

ใช้ถอ้ ยคำดูหมิ่น ข่มขู่ หรือไม่สุภำพหลังจำกทีล่ ูกค้ำปฏิเสธกำรเสนอขำย

6.

ใช้คำที่สื่อให้เข้ำใจว่ำเป็ นกำรฝำกเงิน เช่น “ฝำก” “ฝำกเงิน” แทนคำว่ำชำระเบีย้ ประกัน หำกใช้คำว่ำ “ออม” หรือ “ออมเงิน” ต้องระบุให้ชัดเจนว่ำเป็ นกำร ออมในรูปแบบประกันชีวิต

7.

ติดต่อลูกค้ำเพื่อเสนอขำยนอกเวลำที่กำหนด หรือเสนอขำยนอกเวลำโดยทีไ่ ม่ได้รับอนุญำตจำกลูกค้ำ

Internal

ในกำรเสนอขำยผู้เสนอขำยต้องปฏิบัตอิ ย่ำงน้อยดังนี้ กำรเสนอขำยแบบพบหน้ำ แนะนำตัวและแสดงหลักฐำนในกำรพิสูจน์ตวั ตนของผู้เสนอขำย ได้แก่ ใบอนุญำตตัวแทน หรือใบอนุญำตนำยหน้ำ แจ้งวัตถุประสงค์ในกำรติดต่อกับลูกค้ำ และให้ข้อมูลเกี่ยวกับกรมธรรม์ประกันภัยทีเ่ สนอขำยให้ครบถ้วนและถูกต้อง แนะนำ อำนวยควำมสะดวก หรือช่วยเหลือตำมควรในกำรกรอกใบคำขอ และจัดให้ลูกค้ำลงนำมในใบคำขอด้วยตนเอง แสดงหนังสือมอบอำนำจให้รับชำระเบีย้ เว้นแต่เป็ นตัวแทน หรือพนักงำน/ลูกจ้ำงทีท่ ำหน้ำทีร่ ับชำระเบีย้ ณ สำนักงำนของบริษัท หรือ กรณีทลี่ ูกค้ำชำระเบีย้ เข้ำบัญชีบริษัท และออกเอกสำรแสดงกำรรับเงินให้ลูกค้ำทันที เมือ่ ลูกค้ำชำระเบีย้ ประกัน แจ้งสิทธิทจี่ ะได้รับหลังจำกกำรทำประกัน เช่น ระยะเวลำทีจ่ ะได้รับกรมธรรม์ประกันภัย สิทธิกำรยกเลิกกรมธรรม์ สิทธิภำยใต้เงือ่ นไข กรมธรรม์ เช่นสิทธิกำรเวนคืนกรมรรม์ แจ้งรำยชื่อผู้เสนอขำย สถำนที่ ระยะเวลำให้บริษัททรำบก่อนกำรเสนอขำย กรณีทผี่ ู้ขำยเช่ำสถำนทีท่ ำกำรชั่วครำว หรือเปิ ดบูธชั่วครำว 62

Internal

ในกำรเสนอขำยผู้เสนอขำยต้องปฏิบัตอิ ย่ำงน้อยดังนี้ กำรเสนอขำยผ่ำนทำงธนำคำร แยกพืน้ ทีก่ ำรขำยออกจำกพืน้ ทีร่ ับฝำกเงินอย่ำงชัดเจน กรณีทตี่ ้องรวมกับพืน้ ทีอ่ ื่นต้องแสดงให้เข้ำใจได้ว่ำเป็ นพืน้ ทีเ่ สนอขำย กรมธรรม์ด้วย แสดงสำเนำใบอนุญำตนำยหน้ำนิตบิ ุคคลของธนำคำร และนำยหน้ำประกันชีวิตของผู้ขำยไว้ในบริเวณทีเ่ ห็นชัดเจน อธิบำยชัดเจนว่ำเป็ นกำรเสนอขำยกรมธรรม์ซงึ่ มีควำมแตกต่ำงจำกกำรฝำกเงินกับธนำคำร ใช้เอกสำรเสนอขำย ชีช้ วนได้รับ ควำมเห็นชอบจำกบริษัท และระบุว่ำธนำคำรเป็ นเพียงนำยหน้ำ ต้องอธิบำยให้ลูกค้ำทรำบในกรณีทผี่ ลิตภัณฑ์ บริกำรของธนำคำรมีควำมคุ้มครองประกันภัยรวมอยู่ และลูกค้ำมีสิทธิเลือกทีจ่ ะ ซือ้ หรือปฏิเสธหำกไม่เป็ นไปตำมควำมต้องกำร ธนำคำรโดยพนักงำนหรือลูกจ้ำงทีเ่ ป็ นนำยหน้ำประกันชีวิตสำมำรถให้บริกำรลูกค้ำภำยนอกทีท่ ำกำรได้ หำกลูกค้ำยินยอม แต่ ต้องปฏิบัตติ ำมวิธีกำรทีส่ ำนักงำน คปภ กำหนด 63

Internal

ในกำรเสนอขำยผู้เสนอขำยต้องปฏิบัตอิ ย่ำงน้อยดังนี้ กำรเสนอขำยผ่ำนทำงธนำคำร กรณีให้บริกำรนอกสถำนทีข่ องธนำคำร

64



แจ้งให้ คปภ. รับทราบล่วงหน้าก่อนเริม่ การเสนอขายไม่น้อยกว่า 7 วันทาการ โดยมีรายละเอียดทีเ่ กีย่ วกับการขายนอกสถานทีน่ นั ้



กรณีให้บริการนอกสถานทีเ่ ฉพาะบุคคล หรือกลุม่ ลูกค้า ต้องมีหลักฐานการให้ความยินยอมจากลูกค้า



มีการกาหนดคูม่ อื หรือแนวปฏิบตั ใิ นการให้บริการนอกสถานที่ รวมถึงบทลงโทษกรณีฝ่าฝืน



มีแนวทางในการกากับดูแล ตรวจสอบและประเมินผลผูข้ าย



มีระบบการจัดการเรือ่ งร้องเรียนของการเสนอขายนอกสถานทีแ่ ละบทลงโทษ

Internal

กำรเสนอขำยแบบพบหน้ำโดยใช้วธิ ีกำรสื่อสำรผ่ำนอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์โดยใช้เสียง หรือเสียงและภำพ ต้องได้รับควำมยินยอมจำกลูกค้ำ และเสนอแบบประกันทีต่ รงตำมควำมต้องกำร ควำมเสี่ยง และควำมสำมำรถในกำรชำระเบีย้ มีควำมพร้อมของระบบหรือกระบวนกำร เช่น กำรเก็บกำรสนทนำ, กำรปกป้ องข้อมูลลูกค้ำตำมกฎหมำย, กำรตรวจสอบคุณภำพกำร ขำย โดยกำรโทรศัพท์ (call back หรือ welcome call) ทีอ่ ำจทำในครำวเดียวกับกำรทำ confirmation call มีกำรบริหำรควำมเสี่ยงกำรปฏิบัตงิ ำน กำรกำหนดแผนรองรับควำมต่อเนื่องของกำรดำเนินธุรกิจ เก็บหลักฐำนแสดงกำรเสนอทำประกันของลูกค้ำตลอดระยะเวลำเอำประกันภัย เช่น ไฟล์เสียง หรือภำพและเสียงทีแ่ สดงควำมประสงค์ ตกลงทำกรมธรรม์ของลูกค้ำ แจ้งสิทธิยกเลิกกรมธรรม์หลังจำกทีไ่ ด้รับกรมธรรม์จำกบริษัท (Freelook) ขอคำยืนยันในกำรทำประกัน และหำกลูกค้ำไม่ประสงค์ทำประกันภัย ให้คนื เบีย้ ภำยใน 30 วันนับแต่ได้รับแจ้งกำรยกเลิกกรมธรรม์ 65

Internal

กำรเสนอขำยแบบพบหน้ำโดยใช้วธิ ีกำรสื่อสำรผ่ำนอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์โดยใช้เสียง หรือเสียงและภำพ สำหรับกรมธรรม์ UL Product อธิบำยลักษณะของกรมธรรม์ UL อำทิ กำรจัดสรรเบีย้ เพือ่ กำรลงทุน และควำมเสี่ยงด้ำนผลตอบแทน กำรชำระเบีย้ ค่ำกำรประกันภัย อธิบำยควำมแตกต่ำงของกำรจัดกำรมูลค่ำกรมธรรม์ UL กับกรมธรรม์แบบพืน้ ฐำน มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกองทุนรวม สำมำรถอธิบำยเอกสำรทีเ่ กี่ยวข้อง เช่น fund fact sheet ทีไ่ ด้รับควำมเห็นชอบจำกบริษัท ใช้เอกสำรประกอบกำรเสนอขำยสำหรับผลิตภัณฑ์ UL ทีไ่ ด้รับควำมเห็นชอบจำกบริษัทเท่ำนั้น

66

Internal

5. การรับ การเก็บรักษา

และการส่งเบีย้ ประกันภัย

ผูข้ ายต้องส่งใบคาขอเอาประกันพร้อมเบีย้ ประกันมายังบริษทั ไม่เกินวันทาการถัดไป หากเป็ นการเสนอขายผ่านธนาคาร หรือ วิธกี าร Remote selling จะต้องให้ลกู ค้าชาระเบีย้ ประกันภัยเข้าบัญชีบริษทั เท่านัน้ กรณี Remote selling • บริษท ั ต้องส่งเอกสารการรับเงินให้ลกู ค้า ผ่านแอพพลิคชัน่ , email หรือ SMS ในโอกาสแรกทีท่ าได้ แต่ตอ้ งไม่เกินวันทา การถัดไป • หากลูกค้ายินยอม บริษท ั สามารถส่งกรมธรรม์ทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ แต่บริษทั ยังต้องส่งกรมธรรม์และเอกสารการรับเงิน ฉบับจริงให้ลกู ค้า เว้นแต่บริษทั ได้ออกกรมธรรม์ตามแบบทีก่ าหนดตามหลักเกณฑ์เรือ่ งการออกกรมธรรม์ดว้ ยวิธกี าร อิเล็กทรอนิกส์ • การส่งกรมธรรม์อเิ ล็กทรอนิกส์ ระยะเวลาเริม ่ นับสิทธิยกเลิกกรมธรรม์จะเริม่ นับเมือ่ กรมธรรม์ไปถึงลูกค้า • บริษท ั ต้องขอคายืนยันการทาประกันจากลูกค้าภายใน 7 วันนับแต่วนั ทีส่ ง่ มอบกรมธรรม์ โดยวิธกี ารใดวิธกี ารหนึ่ง เช่น ยืนยันผ่านแอพพลิเคชัน, email หรือ SMS และต้องเก็บหลักฐานการยืนยันไว้ตลอดอายุกรมธรรม์

67

Internal

6. การเปิดเผยข้อมูล

ผูข้ ายต้องเปิ ดเผยข้อมูลเกีย่ วกับ กรมธรรม์ รายละเอียดต่าง ๆ ที่ ถูกต้อง ชัดเจน ไม่บดิ เบือน เพือ่ ประกอบการตัดสินใจของลูกค้า

นิตบิ คุ คลทีเ่ ป็ นนายหน้า และ ธนาคารต้องเปิ ดเผยข้อมูลผูเ้ สนอ ขาย และต้องปรับปรุงข้อมูลให้เป็ น ปั จจุบนั

บริษทั ต้องเปิ ดเผยข้อมูลผูเ้ สนอขาย และต้องปรับปรุงข้อมูลให้เป็ น ปั จจุบนั

ข้อสาคัญของการ “การเปิ ดเผยข้อมูล” ➢ การให้ขอ ้ มูลต้องเหมาะสมกับลูกค้าแต่ละประเภท เช่น ผูส้ งู อายุ ผูท้ ม่ี คี วามรูท้ างการเงินหรือการลงทุนอย่างจากัด หรือผูท้ ม่ี คี วามบกพร่อง ทางการรับรู้ หรือการสือ่ สาร ➢ เปิ ดเผยทีม ่ าของข้อมูลอ้างอิงสาหรับกรมธรรม์ UL หรือผลประกอบการของธุรกิจ สาหรับกรมธรรม์แบบมีเงินปั นผล ➢ อธิบายเกีย ่ วกับหน้าทีใ่ นการแถลงข้อมูลสุขภาพ สาหรับกรมธรรม์ทร่ี ะบุวา่ “ไม่ตอ้ งตรวจสุขภาพ” ➢ กรณีทต ่ี อ้ งแถลงสุขภาพ ต้องอธิบายว่าผลการแถลงสุขภาพจะมีผลต่อการพิจารณารับประกัน หรือการจ่ายเงินตามสัญญาประกันภัย

68

Internal

7. การโฆษณา

ชัดเจน เข้าใจง่าย ไม่กากวม ไม่ทาให้เข้าใจผิดเกีย่ วกับสาระสาคัญของ กรมธรรม์ หรือการจ่ายเงินตามสัญญาประกันภัย

ไม่เป็ นเท็จ หรือเกินความจริง

มีคาเตือนให้ลกู ค้าทาความเข้าใจรายละเอียดกรมธรรม์ ก่อนตัดสินใจทาประกันภัย โดยใช้คาว่า “ผูซ ้ อ้ื ควรทาความเข้าใจในรายละเอียด ความคุม้ ครอง และเงือ่ นไขก่อนตัดสินใจทาประกันภัยทุกครัง้ ”

ระบุชดั เจนว่ากรมธรรม์ทเ่ี สนอขายเป็ นของ บริษทั ใด นายหน้าประกันชีวติ และธนาคารต้องไม่ทาให้ ลูกค้าเข้าใจผิดว่าตนคือผูร้ บั ประกันภัย 69

Internal

8. การได้มา การเก็บรักษา

และการปกป้ องข้อมูลลูกค้า

ต้องแจ้งแหล่งทีม่ าของข้อมูล กรณีทล่ี กู ค้าอยากทราบว่าได้ขอ้ มูลจากทีใ่ ด

ต้องมีระบบการจัดการ การเก็บรักษา และการปกป้ องข้อมูลลูกค้าทีเ่ ป็ นไปตาม กฎหมายคุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล

70

Internal

9. การให้บริการ

หลังการเสนอขายกรมธรรม์

มีระบบงาน กระบวนการรับเรื่องร้องเรียน การเวนคืน การยกเลิก และการคืนเบีย้ ประกันภัย

ผูข้ ายทาหน้าทีใ่ ห้บริการ ติดตามประสานงาน เพือ่ อานวยความสะดวกแก่ลกู ค้า

71

Internal

รายละเอียดในเอกสารเสนอขาย ✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

ชื่อ ทีอ่ ยู่ สถานทีท่ าการของบริษทั ชื่อ – นามสกุล ของผูเ้ อาประกัน ชื่อ – นามสกุล เลขทีใ่ บอนุ ญาตของตัวแทน นายหน้าประกันชีวติ และช่องลงลายมือชือ่ วัน เดือน ปี และเวลาทีท่ าการเสนอขายกรมธรรม์ สรุปเงือ่ นไข ความคุม้ ครอง ผลประโยชน์ และข้อยกเว้นตามกรมธรรม์ประกันภัย จานวนเบีย้ ประกันภัยของกรมธรรม์ประกันภัยและสัญญาเพิม่ เติม (ถ้ามี) วิธี ชาระเบีย้ ประกันภัยในช่องทางต่าง ๆ ระยะเวลาเอาประกันภัย และระยะเวลา ชาระเบีย้ ประกันภัย ข้อความทีร่ ะบุวา่ ผูเ้ อาประกันภัยมีหน้าทีใ่ นการชาระเบีย้ ประกันภัย และการ เก็บเบีย้ ประกันภัยโดยตัวแทนประกันชีวติ หรือนายหน้าประกันชีวติ เป็ นการ ให้บริการเท่านัน้ เตือนให้ผเู้ อาประกันภัยศึกษา และทาความเข้าใจเงือ่ นไข ความคุม้ ครอง ผลประโยชน์ และข้อยกเว้นตามกรมธรรม์ประกันภัย

กรณี UL product ต้องมีข้อความเพิ่ มเติ ม ดังนี้ ✓ ค่าใช้จ่าย ค่าธรรมเนียม และค่าการประกันภัยทีบ ่ ริษทั เรียกเก็บ ✓ จานวนเงินรวมทีล ่ กู ค้าต้องชาระทัง้ สิน้ ✓ แสดงตัวอย่างการคานวณกระแสเงินสดไหลเวียนเข้าและออกอย่างน้อยสาม สถานการณ์สมมติทใ่ี ห้ผลตอบแทนทัง้ กาไรและขาดทุนของลูกค้าทีเ่ กิดจากการทา ประกันชีวติ ควบการ ลงทุนตลอดอายุกรมธรรม์ประกันภัย ทัง้ นี้ การแสดงตัวอย่างการคานวณต้องแสดงรายละเอียดเป็ น รายเดือนอย่างน้อยหนึ่งปี ✓ ข้อมูลทีป ่ รากฏต้องเป็ นปั จจุบนั และได้รบั ความเห็นชอบจากบริษทั ถ้าใช้ขอ้ มูลที่ เป็ นผลประกอบการในอดีตทีแ่ สดงการวิเคราะห์เพือ่ ประกอบการขาย ต้องมี คาเตือนให้ลกู ค้าทราบว่า ผลประกอบการในอดีตมิได้เป็ นเครือ่ งบ่งชีผ้ ลประกอบการในอนาคต หรือข้อความอื่นใดทีม่ ี ความหมายทานองเดียวกัน

ย้อนกลับ 72

Internal

สิ่งที่ควรทราบ X

สิ่งทีบ่ ริษัทควรคำนึงถึงเมื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ คือควรจะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ทคี่ ำดว่ำจะขำยได้จำนวนมำก ๆ และทำกำไร ให้บริษัทมหำศำล

/

1) กาหนดเงื่อนไข สิทธิประโยชน์ที่เป็ นธรรมต่อลูกค้า 2) จาแนกกลุม่ ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะกับกลุม่ ลูกค้าประเภทต่าง ๆ 3) ช่องทางการขายที่เหมาะสม โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ที่มีความซับซ้อน

X

เมื่อผู้ขำยไปพบลูกค้ำ ขั้นตอนแรกทีต่ ้องทำตำมหลักกำรเสนอขำยของ คปภ คือต้องสอบถำมลูกค้ำว่ำสนใจต้องกำรซือ้ ผลิตภัณฑ์ใด

/

ต้องแนะนาตน พร้อมแสดงใบอนุญาตตัวแทน หรือนายหน้าประกันชีวิต

/

ช่วงเวลำทีเ่ หมำะสมทีท่ ำง คปภ แนะนำในติดต่อเพือ่ เสนอขำยให้แก่ลูกค้ำคือวันจันทร์ พุธ และศุกร์ เวลำ 8.30-19.00 น.

X

หน้ำทีข่ องผู้ขำยทีต่ ้องทำเมื่อเสนอขำยกรมธรรม์ให้แก่ลูกค้ำสอบถำมสำรทุกข์สุขดิบเพือ่ สำรวจควำมต้องกำรซือ้ กรมธรรม์

/

1) อธิบายหลักการเปิ ดเผยข้อความจริงในใบคาขอและผลที่จะเกิดขึน้ หากลูกค้าแถลงเท็จ 2) แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการชาระเบีย้ ประกันภัยที่จาเป็ น และผลหากชาระเบีย้ ต่อเนื่อง 3) แจ้งสิทธิในการดาเนินการหลังทาสัญญาประกันภัย

/

กรณีทลี่ ูกค้ำปฏิเสธกำรทำประกัน ห้ำมไม่ให้ผู้ขำยใช้ถ้อยคำทีไ่ ม่สุภำพ ข่มขู่ หรือดูหมิ่นลูกค้ำ

73

Internal

กฎหมายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน - การรูจ้ กั ตัวตนของลูกค้า (KYC/CDD), การระบุและพิสจู น์ทราบตัวตนลูกค้า, Sanction, Anti-bribery policy, Whistleblower

74

Internal

Bhumi Bhuchongcharoen- Compliance department 26 Jan 2023

Scope of FCC

AML/CTPF AML/CTPF Policy

75

Sanctions Sanctions Policy

Internal

ABC and G&E ABC Code of Conduct ABC Policy G&E Policy Whistleblower

Table of content 1. ความหมายและการกระทาความผิดฟอกเงิ น 2. ธุรกิ จประกันชีวิตกับการฟอกเงิ น 3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิ น 4. บทลงโทษตามกฎหมาย 5. นโยบายมาตรการลงโทษทางเศรษฐกิ จ 6. นโยบายต่อต้านการให้หรือรับสิ นบนและคอร์รปั ชัน

76

Internal

1. ความหมายและการกระทาความผิดฟอกเงิน กระบวนการพืน้ ฐานของการฟอกเงิ น คือ การใช้อบุ ายหลอกลวง ผูฟ้ อกเงิ นจะพยายามทาให้ดเู หมือนว่าได้ ทรัพย์สินมาอย่างถูกต้ องตามกฎหมาย หรือให้ ผ้อู ื่ นที่ ไม่มีส่วนเกี่ ยวข้องกับผู้ฟอกเงิ นเป็ นผู้ครอบครองทรัพย์สินนัน้ แทนโดยส่วนใหญ่เป็ นเงิ นที่ไม่สามารถนาไปใช้ได้ทนั ทีและมีปริ มาณมาก ซึ่งถ้านาไปใช้กจ็ ะถูกตรวจสอบได้ง่าย ทาให้ เจ้าของเงิ นเหล่านี้ จะพยายามทาให้เงิ นเหล่านี้ ถกู กฎหมาย

อาจอธิ บายได้ว่า เป็ นกระบวนการบิดเบือนแหล่งที่มาของทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทาความผิ ด ซึ่งเป็ น ความผิ ด มูล ฐานตามกฎหมายเกี่ ย วกับ การป้ องกัน และปราบปรามการฟอกเงิ น ซึ่ ง ในปั จ จุบ นั มี ท งั ้ หมด 29 ฐาน ความผิด

77

Internal

1. ความหมายและการกระทาความผิดฟอกเงิน ความผิดมูลฐาน ได้แก่

78

Internal

1. ความหมายและการกระทาความผิดฟอกเงิน

79

Internal

1. ความหมายและการกระทาความผิดฟอกเงิน

80

Internal

1. ความหมายและการกระทาความผิดฟอกเงิน

81

Internal

1. ความหมายและการกระทาความผิดฟอกเงิน ขัน้ ตอนการฟอกเงิ น* นาเงิ นเข้าสู่ระบบ (Placement)

การจัดชัน้ บังตา (Layering)

การปนทรัพย์ (Integration)

นาเงินทีผ่ ดิ กฎหมายเข้าสูร่ ะบบ การเงิน เช่น ฝากธนาคาร โดย อาจเป็ นการแยกฝากเงินสด หลายๆ ครัง้

สร้างความซับซ้อนเพือ่ อาพราง ทีม่ าของเงิน เช่น โอนเงิน ระหว่างธนาคาร ซือ้ กองทุน หรือกรมธรรม์ประกันชีวติ แล้ว ขายคืน

นาเงินทีไ่ ด้มาซือ้ ทรัพย์สนิ ทีม่ ี ราคาสูง เช่น อสังหาริมทรัพย์ หรือนาฬิกาหรู หรือนาไปลงทุน ในธุรกิจทีถ่ กู กฎหมาย

* ขัน้ ตอนการฟอกเงินทัง้ 3 ขัน้ ตอนนี้ไม่จาเป็ นต้องเรียงลาดับ อาจเกิดขัน้ ตอนใดขัน้ ตอนหนึ่งก่อนก็ได้ 82

Internal

1. ความหมายและการกระทาความผิดฟอกเงิน การสนับสนุนทางการเงิ นแก่การก่อการร้าย (Terrorist Financing: TF) การทาธุรกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับเงินสดหรือทรัพย์สนิ ทีผ่ กู้ ่อการร้าย หรือองค์กรก่อการร้าย เป็ นเจ้าของหรือควบคุมดูแล อยู่ หรือธุรกรรมที่น่าจะถูกใช้หรือเชื่อมโยงเข้ากับกิจกรรมของผูก้ ่อการร้ายหรือองค์กรก่อการร้าย ในการให้ความช่วยเหลือทาง การเงินกับผูก้ ่อการร้ายหรือองค์กรนัน้ ผูก้ ่อการร้ายหรือองค์กรก่อการร้ายต้องปิ ดบังแหล่งเงินทุน ดังนัน้ จึงต้องหาวิธกี ารฟอกเงินในวิ ธกี ารที่ซบั ซ้อนใน หลากหลายวิธี อาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูง (Weapons of Mass Destruction: WMD) อาวุธที่สามารถสังหารมนุ ษย์ สัตว์หรือพืชในจานวนมาก และอาจทาลายสภาพแวดล้อมของโลกอย่างมหาศาล ซึ่ง จาแนกได้เป็ นอาวุธหลายประเภทด้วยกันได้แก่ อาวุธปรมาณู , อาวุธชีวภาพ, อาวุธเคมี รวมไปถึงอาวุธกัมมันตภาพรังสี ดังนัน้ จึง ต้องมีการออกกฎหมายควบคุมการมีและใช้อาวุธดังกล่าว โดยประเทศไทยมีการออกกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องหลายฉบับ ทัง้ ในส่วนของ การควบคุมสินค้าที่เกี่ยวข้องกับอาวุธที่มีอานุ ภาพทาลายล้างสูง และสินค้าที่ใช้ได้สองทาง (Dual – Use Item) ของกระทรวง อุตสาหกรรม และการควบคุมการแพร่ขยายอาวุธทีม่ อี านุ ภาพทาลายล้างสูงของ สานักงาน ปปง. เป็ นต้น 83

Internal

2. ธุรกิจประกันชีวิตกับการฟอกเงิน ธุรกิจประกันชีวติ เป็ นสถาบันการเงินทีอ่ าชญากรเลือกใช้ในการฟอกเงินและการสนับสนุน ทางการเงินแก่การก่อการร้าย ลักษณะของผลิตภัณฑ์ทอ่ี าจนามาใช้ในการฟอกเงิน หรือสนับสนุ นการเงินก่อการร้าย ได้แก่ ประกันชีวติ ควบการลงทุน ประกันชีวติ สะสมทรัพย์ ประกันชีวติ ชาระเบีย้ ประกันครัง้ เดียวทีม่ ี มูลค่าเงินสด

ขัน้ ตอนสาคัญทีใ่ ช้ในการป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงินหรือการสนับสนุ นทางการเงิน แก่การก่อการร้าย มีดว้ ยกัน 2 ขัน้ ตอน คือ 1. การรูจ้ กั ตัวตนของลูกค้า (KYC) 2. การตรวจสอบเพือ่ ทราบข้อเท็จจริงของลูกค้า (CDD)

84

Internal

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน

1. การรู้จกั ตัวตนลูกค้า

(KYC) 2. การ บริ หารความ เสี่ยงด้าน การฟอกเงิ น

85

3. การ ตรวจสอบเพื่อ ทราบ ข้อเท็จจริ ง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การ รายงาน ธุรกรรม

6. การ จัดเก็บ เอกสาร

(CDD)

Internal

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

ผูเ้ สนอขาย ต้องขอข้อมูลแสดงตนและเอกสารแสดงตนจากลูกค้า

86

Internal

6. การจัดเก็บ เอกสาร

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

บุคคลธรรมดา 1) ชื่อและนามสกุล 2) วันเดือนปี เกิ ด 3) เลขประจาตัวประชาชน 4) ที่อยู่ตามทะเบียนบ้านและที่อยู่ปัจจุบนั 5) ข้อมูลการติ ดต่อ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ อีเมล

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

6. การจัดเก็บ เอกสาร

นิ ติบุคคล 1) ชื่อนิ ติบุคคล 2) ประเภทและวัตถุประสงค์ในการดาเนิ นกิ จการ 3) สถานที่ตงั ้ และหมายเลขโทรศัพท์ 4) เลขประจาตัวผูเ้ สียภาษี อากร ในกรณี ที่มี 5) ชื่อเต็มของผูม้ ีอานาจลงนามแทนนิ ติบุคคล 6) ข้อมูลและลายมือชื่อของผูร้ บั มอบอานาจ โดยใช้เกณฑ์ เดียวกับลูกค้าบุคคลธรรมดา (1-4) 7) บัญชีรายชื่อผูถ้ อื หุ้นที่นายทะเบียนออกให้ไม่เกิ น 6 เดือน (บอจ.5)

กรณี ที่ไม่ใช่บริ การหรือผลิ ตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงตา่ ต้องเพิ่ ม 1) หลักฐานของข้อมูลทัง้ หมด 2) อาชีพ สถานที่ทางาน 3) ลายมือชื่อผูท้ าธุรกรรม

และขอหลักฐานเพิ่ มเติ มตามประเภทการจดทะเบียนของนิ ติบุคคล เช่น หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิ ติบุคคล หนังสือแสดงความ ประสงค์ในการทาธุรกรรม หนังสือแต่งตัง้ หรือหนังสือมอบอานาจ 87

Internal

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

6. การจัดเก็บ เอกสาร

✓ กรุงไทย-แอกซ่าประเมิ นความเสี่ยง โดยพิ จารณาจากความเคลื่อนไหว ทางการเงิ นของลูกค้าตัง้ แต่แรกเข้าและตลอดอายุสญ ั ญา จากปัจจัย ความเสี่ยงต่อไปนี้

ความเสีย่ ง จากตัว ลูกค้า

88

Internal

ความเสีย่ ง จาก ประเทศ

ความเสีย่ ง จาก ผลิตภัณฑ์

ความเสีย่ ง จาก ช่องทาง จาหน่าย

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

ควำมเสี่ยงต่ำ

ความเสีย่ ง จาก ผลิตภัณฑ์

6. การจัดเก็บ เอกสาร

ควำมเสี่ยงกลำง

ผลิตภัณฑ์ท่ีมีลกั ษณะดังต่อไปนี ้

ผลิตภัณฑ์ท่ีมีมลู ค่าเงินสดจากการ สะสมทรัพย์หรือ ผลิตภัณฑ์ควบ ไม่มีลกั ษณะเป็ นการสะสมทรัพย์ หรือ ไม่เป็ นผลิตภัณฑ์พเิ ศษ เช่น ควบหน่วยลงทุน หน่วยลงทุน เช่น ประเภทสะสมทรัพย์ เช่น คุม้ ครองชีวิตตลอดชีพ หรือ ชั่วระยะเวลา

คุม้ ครองสุขภาพ คุม้ ครองอุบตั ิเหตุ

ประกันภัยกลุ่ม

ประเภทแบบเงินได้ประจา หรือ แบบ บานาญ

ประเภทควบหน่วยลงทุน

คุม้ ครองสินเชื่อ เงินกู้

89

5. การรายงาน ธุรกรรม

Internal

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

ความเสีย่ ง จากการ บริการ/ ธุรกรรม

90

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

6. การจัดเก็บ เอกสาร

ควำมเสี่ยงต่ำ

ควำมเสี่ยงกลำง

บริการที่มีความเสี่ยงต่า ได้แก่ การบริการหลัง การขาย หรือธุรกรรมทีม่ ีมูลค่ำต่ำกว่ำ 100,000 บำท

ธุรกรรมที่มีมูลค่ำเกินกว่ำ 100,000 บำท

เช่น การบริการสินไหม การบริการด้านสิทธิ ประโยชน์ในแบบประกันชีวิตควบหน่วยลงทุน การบริการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของ กรมธรรม์ การบริการใช้สิทธิประโยชน์ตาม กรมธรรม์ การบริการรับชาระเบีย้

เช่น การขอกูเ้ งินในกรมธรรม์ การใช้สิทธิ เวนคืนกรมธรรม์ การเพิ่มเบีย้ ประกันภัยที่มี มูลค่าเกินกว่าหนึ่งแสนบาท และอื่นๆ

Internal

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

ความเสีย่ ง จาก ประเทศ หรือถิน่ ทีอ่ ยู่

91

Internal

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

6. การจัดเก็บ เอกสาร

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

ความเสีย่ ง จาก ประเทศ หรือถิน่ ทีอ่ ยู่

92

Internal

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

6. การจัดเก็บ เอกสาร

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

ความเสีย่ ง จาก ประเทศ หรือถิน่ ทีอ่ ยู่

93

Internal

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

6. การจัดเก็บ เอกสาร

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

ความเสีย่ ง จาก ประเทศ หรือถิน่ ทีอ่ ยู่

94

Internal

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

6. การจัดเก็บ เอกสาร

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

ระดับการตรวจสอบเพื่อทราบข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับลูกค้า ตามผลการประเมิ นความเสี่ยง

ระดับความเสี่ยงของลูกค้า

ระดับการตรวจสอบ

95

ตา่

• ระดับปกติ

กลาง

• ระดับปกติ

สูง

• ระดับเข้มข้น Internal

6. การจัดเก็บ เอกสาร

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

6. การจัดเก็บ เอกสาร

ระดับปกติ - ลูกค้าทุก ราย ลูกค้า

ตรวจสอบข้อมูลการระบุตวั ตน โดยใช้เอกสารหรือรายละเอียด ทีไ่ ด้รบั จากลูกค้า

ผูร้ บั ประโยชน์ ที่แท้จริ ง

ตรวจสอบข้อมูลการระบุตวั ตน ของผูร้ บั ประโยชน์ทแ่ี ท้จริง เช่น ผูถ้ อื หุน้ ตัง้ แต่รอ้ ยละ 25 ขึน้ ไป

ตรวจสอบรายชื่อ • • • •

ตรวจสอบรายชือ่ กับฐานข้อมูล* บุคคลทีถ่ กู กาหนดตามพรบ.ก่อการร้าย บุคคลทีม่ คี วามเสีย่ งสูงตามประกาศ ปปง. บุคคลทีม่ สี ถานภาพทางการเมือง บุคคลทีม่ รี ายชือ่ เช่น ใน UN, EU, HM OFAC Lists, AXA Group Blacklist

*หมายเหตุ การตรวจสอบส่วนนี้จะดาเนินการโดยบริษทั ฯ

96

Internal

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน

97

Internal

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน

98

Internal

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

ระดับเข้มข้น – ลูกค้าความเสี่ยง สูง ขอข้อมูลหรือหลักฐานเพิม่ เติมเกีย่ วกับธุรกิจ แหล่งทีม่ า ของรายได้ และวัตถุประสงค์ในการทาธุรกิจ

ขออนุมตั จิ ากผูบ้ ริหารระดับสูงในการทาธุรกรรม เพื่อ สร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับลูกค้าทีม่ คี วามเสีย่ งสูง

ดาเนินการตรวจสอบและติดตามความเคลื่อนไหว ทางการเงินของลูกค้าอย่างใกล้ชดิ 99

Internal

6. การจัดเก็บ เอกสาร

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

5. การรายงาน ธุรกรรม

บริ ษทั ต้อง ปฏิ เสธลูกค้า ที่มีลกั ษณะ ดังนี้ ลูกค้าทีป่ กปิ ดชือ่ /นามสกุลทีแ่ ท้จริง ใช้ชอ่ื แฝง หรือใช้นามสมมติ ไม่สามารถดาเนินการตรวจสอบเพือ่ ทราบ ข้อเท็จจริงเกีย่ วกับลูกค้าได้ ลูกค้าไม่ยอมแสดงข้อมูลและมอบหลักฐาน แสดงตน หรือ ไม่สามารถตรวจสอบข้อมูล หรือหลักฐานการแสดงตนได้

พบรายชือ่ ในรายชือ่ บุคคลที่ ต้องห้ามทาธุรกรรม (UN list หรือรายชือ่ ตามพรบ.ก่อการร้าย) หรือบุคคลที่ Group AXA Compliance ไม่อนุญาต ให้สร้างความสัมพันธ์ ข้อมูลและหลักฐานการแสดงตนไม่เป็ นไปตามที่ กฎหมายกาหนด ธุรกรรมของลูกค้าเป็ นธุรกรรมที่ มีเหตุอนั ควรสงสัย

ก่อนปฏิ เสธลูกค้า ต้อง รายงานเจ้าหน้ าที่ ปปง.ของบริ ษทั และผู้บริ หารระดับสูงของหน่ วยงาน ทันที ที่พบลูกค้าลักษณะดังกล่าว 100

Internal

6. การจัดเก็บ เอกสาร

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

6. การจัดเก็บ เอกสาร

1. การรับลูกค้าความเสี่ยงสูง 1

2

รายงานต่อผู้บริหาร ระดับสูงของหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ พิจารณา ทันทีทพ่ี บ ลูกค้าความเสีย่ งสูง

101

3

รายงานเจ้าหน้ าที่ กากับดูแลของบริษทั เพือ่ พิจารณา และ ดาเนินการทีจ่ าเป็ น ตามทีก่ ฎหมายกาหนด

Internal

ในกรณีทพ่ี จิ ารณารับ ทาธุรกรรมของลูกค้า ต้องได้รบั การอนุมตั ิ จากผู้บริหารฝ่ าย ปฏิบตั ิ การ (COO, CIMO, CUO)

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

2. การรับธุรกรรมที่มีมูลค่าสูง (เงิ นสดมูลค่าตัง้ แต่ 2 ล้านบาท) 1

2

กรอกแบบฟอร์ม “ธุรกรรมที่มีมูลค่า สูง”

102

3

รายงานเจ้าหน้ าที่ กากับดูแลของบริษทั โดยทันที

Internal

ทาธุรกรรมต่อไป ตามปกติ

6. การจัดเก็บ เอกสาร

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

6. การจัดเก็บ เอกสาร

3. การรับธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรสงสัย 1

2

รายงานเจ้าหน้ าที่ ปปง.ของบริษทั (หัวหน้าแผนก Compliance) โดยทันที

3

ระงับการทาธุรกรรม จนกว่าจะได้รบั คาแนะนาจาก เจ้าหน้าทีป่ ปง.ของ บริษทั

ให้ความร่วมมือในการ กรอกแบบฟอร์ม รายงาน “ธุรกรรมที่มี เหตุอนั ควรสงสัย”

ต้อง ไม่เปิ ดเผยข้อมูลการรายงานธุรกรรมให้ลกู ค้าทราบ 103

Internal

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

5. การรายงาน ธุรกรรม

6. การจัดเก็บ เอกสาร

ธุรกรรมและระยะเวลาที่ต้องรายงานปปง. ธุรกรรมที่ มีมลู ค่าสูง (แบบ ปปง.1-04-1)

ธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรสงสัย

รายงานเดือนละ 2 ครัง้ คือ ▪ ธุรกรรมทาขึน ้ ระหว่างวันที่ 1 - 15 ของ เดือน ให้รายงานภายใน 7 วัน นับแต่ วันที่ 15 ▪ ธุรกรรมทาขึน ้ ระหว่างวันที่ 16 - สิน้ เดือน ให้รายงานภายใน 7 วัน นับแต่ วันสิน้ เดือน

ภายใน 7 วัน

(แบบ ปปง.1-04-3)

นับแต่วนั ทีม่ เี หตุอนั ควรสงสัย

ธุรกรรมที่ ไม่สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริ ง เกี่ยวกับลูกค้า (แบบ ปปง. 21/2)

รายงานทันที

การรายงานธุรกรรม ตัวแทน และ เจ้าหน้าทีบ่ ริการทางการเงิน (FSE) ต้องทาการรายงานมายังบริษทั ฯ เพือ่ การพิจารณาและรายงานแก่ปปง.ต่อไป 104

Internal

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

ธุรกรรมทีม่ เี หตุอนั ควรสงสัย

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

คือ ธุรกรรม ทีม่ เี หตุอนั ควรเชือ่ ได้ว่ากระทาขึน้ เพือ่ หลีกเลีย่ งมิให้ตอ้ งตก อยูภ่ ายใต้บงั คับแห่งพระราชบัญญัตปิ ้ องกันการฟอกเงิน โดยเป็ นธุรกรรมที่ เกีย่ วข้องหรืออาจเกีย่ วข้องกับ การกระทาความผิ ดมูลฐาน หรือ การ สนับสนุนทางการเงิ นแก่การก่อการร้าย

ทัง้ นี้ ไม่ว่าจะเป็ นการทาธุรกรรม “เพียงครัง้ เดียว” หรือ “หลายครัง้ ” และให้หมายความรวมถึง “การพยายามกระทาธุรกรรม” ด้วย

• •

• •

105

6. การจัดเก็บ เอกสาร

ตัวอย่าง ลักษณะธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรสงสัย •

105

5. การรายงาน ธุรกรรม

Internal

การเอาประกันชีวติ โดยเบีย้ ประกันชีวติ สูงกว่ารายได้ของ ลูกค้าและไม่สอดคล้องกับฐานะทางการเงินของลูกค้าอย่าง ชัดเจน ลูกค้าต้องการจ่ายเบีย้ ประกันภัยล่วงหน้า (Pre-Payment) อย่างผิดปกติ การชาระเบีย้ ประกันเกินจานวนเงินทีต่ อ้ งชาระ โดยแจ้งให้ จ่ายเงินส่วนต่างคืนให้แก่บุคคลทีส่ าม ลูกค้าขอใช้สทิ ธิยกเลิกกรมธรรม์ (Free Look Period) อย่าง ผิดปกติ ไม่สามารถทาการระบุผรู้ บั ผลประโยชน์ได้

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

6. การจัดเก็บ เอกสาร

หากพบธุรกรรมที่ สงสัย หรือมีเหตุอนั ควรสงสัยที่ เชื่อได้ว่าธุรกรรมดังกล่าว อาจเกี่ยวข้องกับการกระทาความผิ ดฐานฟอกเงิ น ให้รายงานไปยัง FCC team ฝ่ ายกากับดูแล (Compliance) เพื่อดาเนิ นการ ตรวจสอบและเสนอให้กบั เจ้าหน้ าที่ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิ น (AMLO) เพื่อพิ จารณารายงานธุรกรรมสงสัยต่อสานักงานปปง.

106

106

Internal

3. นโยบายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 1. การรู้จกั ตัวตน ลูกค้า

2. การบริ หาร ความเสี่ยง

3. การตรวจสอบ ข้อเท็จจริง

4. แนว ทางการรับ ลูกค้า

5. การรายงาน ธุรกรรม

6. การจัดเก็บ เอกสาร

บริ ษทั ต้องจัดเก็บเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิ บตั ิ ตามกฎหมายป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิ น ดังนี้ เอกสารแสดงตนของลูกค้า

เอกสารการตรวจสอบ เพื่อทราบข้อเท็จจริ ง

5 ปี

10 ปี

นับแต่วนั ทีม่ กี ารปิ ดบัญชี หรือยุตคิ วามสัมพันธ์กบั ลูกค้า

นับแต่วนั ทีม่ กี ารปิ ดบัญชี หรือยุตคิ วามสัมพันธ์กบั ลูกค้า

เว้นแต่จะได้รบั แจ้งเป็ นหนังสือจากพนักงานเจ้าหน้าทีใ่ ห้ปฏิบตั เิ ป็ นอย่างอืน่ 107

Internal

รายงานธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรสงสัย

5 ปี นับแต่ได้มกี ารทาธุรกรรม หรือบันทึกข้อเท็จจริง

4. บทลงโทษตามกฎหมาย ตัวอย่างมาตรการลงโทษตามพรบ.ป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิ น พ.ศ.2542 ความผิ ด

108

บทลงโทษ

ให้ความช่วยเหลือหรือสนับสนุนในการกระทาความผิดฐานฟอกเงิน

จาคุก 1 – 10 ปี และ/หรือ ปรับ 20,000 – 200,000 บาท

ไม่รายงานธุรกรรม และไม่ดาเนินการรูจ้ กั ตัวตนของลูกค้า

ปรับไม่เกิน 1,000,000 บาท และปรับอีกไม่เกินวันละ 10,000 บาทตลอดเวลาทีย่ งั ฝ่ าฝืน

รายงานเท็จต่อสานักงานปปง. หรือปกปิ ดความจริงทีต่ อ้ งแจ้ง

จาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ ปรับตัง้ แต่ 50,000 – 500,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

ไม่จดั ให้มกี ารฝึกอบรม

ปรับไม่เกิน 500,000 บาท

ไม่ให้ความสะดวกแก่เจ้าหน้าทีใ่ นการดาเนินการตามกฎหมายป้ องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน

จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

ทาให้ผอู้ ่นื รูค้ วามลับในราชการเกีย่ วกับการดาเนินการตามกฎหมายป้ องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน.

จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

Internal

4. บทลงโทษตามกฎหมาย ตัวอย่างมาตรการลงโทษตามพรบ.ป้ องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงิ นแก่การก่อการร้าย พ.ศ.2556 ความผิ ด

บทลงโทษ

ไม่ระงับการดาเนินการกับทรัพย์สนิ ของบุคคลทีถ่ ูกกาหนดและไม่แจ้ง จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 300,000 ข้อมูลให้ปปง.ทราบ บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

บทลงโทษกรรมการ จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 300,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

นิตบิ ุคคล โทษปรับไม่เกิน 1ล้านบาท และปรับ อีกวันละ 10,000 ตลอดเวลาทีย่ งั ฝ่ าฝืน ไม่รายงานให้ปปง.ทราบเกีย่ วกับผูท้ เ่ี ป็ นหรือเคยเป็ นลูกค้าซึง่ มี รายชื่อในบุคคลทีถ่ ูกกาหนด

ปรับไม่เกิน 500,000 บาท และ ปรับอีกวันละ 5,000 ตลอดเวลาทีย่ งั ฝ่ าฝืน

จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

ดาเนินการทางการเงินหรือทรัพย์สนิ โดยรูว้ ่า ผูไ้ ด้รบั ประโยชน์จาก การดาเนินการนัน้ เป็ นบุคคลทีถ่ ูกกาหนด หรือถูกนาไปใช้เพือ่ สนับสนุนการก่อการร้าย

จาคุก 2 – 10 ปี หรือปรับ 40,000 – 200,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

จาคุก 2 – 10 ปี หรือปรับ 40,000 – 200,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

นิตบิ ุคคลต้องโทษปรับ 500,000 – 2ล้านบาท 109

Internal

Financial Crime Compliance – Anti-Money Laundering (AML) Why did AXA establish the AML Policy? The ACPR and other financial supervisors have levied significant fines of up to $900 million from institutions that fail to

implement the expected level of AML-CTF requirements and that unwittingly facilitate money laundering Financial institutions that have intentionally facilitated money-laundering have been hit with fines up to $2 billion Examples of AML-CTF fines since 2010

> $1 billion

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2023 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.