002-02-บทวิคราะห์ร่างถอดถอนท้องถิ่น (ย่อ) Flipbook PDF

002-02-บทวิคราะห์ร่างถอดถอนท้องถิ่น (ย่อ)

89 downloads 103 Views 7MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript



๑. ความเป็นมา การมี ส่ ว นร่ ว มทางการเมื อ งและการมี ส่ ว นร่ ว มทางการเมื อ งในท้ อ งถิ่ น นั้ น การถอดถอน ผู้ ด ารงต าแหน่ ง ทางการเมื อ งขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เป็ น วิ ธี ก ารหนึ่ ง ของการมี ส่ ว นร่ ว ม ของประชาชนในการบริ ห ารงานของท้ อ งถิ่ น ทางตรงที่ น อกเหนื อ จากการมี ส่ ว นร่ ว มทางอ้ อ ม ผ่านการเลือกผู้แทนเข้าไปทางานให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตาแหน่งต่าง ๆ การถอดถอน (recall) หมายถึ ง การเปิ ด โอกาสให้ ผู้ อ อกเสี ย งเลื อ กตั้ ง สามารถถอดถอน ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองระหว่างการเลือกตั้งและมีการัันนาให้กระบวนการถอดถอนมีลักณะะ เชิ ง สถาบั น ดั ง ที่ ป รากฏในหลายประเทศ ๑ และยั ง เป็ น วิ ธี ก ารอี ก วิ ธี ห นึ่ ง ที่ ส ามารถตรวจสอบ ว่าผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองได้ปฏิบัติตามเจตนารมะ์ของประชาชนหรือไม่ ประเทศไทยได้มีการบัญญัติเรื่องการให้สิทธิประชาชนในการถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่น และผู้บริหารท้องถิ่นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาะาจักรไทย ัุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๒๘๖ หลั ก การดั ง กล่ า วยั ง คงอยู่ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งมาจนถึ ง รั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ปั จ จุ บั น ซึ่ ง ในขะะนี้ ได้มีการเสนอร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. .... (คะะรัฐมนตรี เป็น ผู้เสนอ) เัื่อให้สอดคล้องและเป็นไปตามเจตนารมะ์ของรัฐธรรมนู ญ มาตรา ๒๕๔ ที่กาหนดให้ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิ ทธิเข้าชื่อกัน เัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นได้ตามหลักเกะฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมาย บัญญัติ ๒. การด าเนิ น การเพื่ อ ถอดถอนสมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ของประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ การลงคะแนนเสียงถอดถอน (Recall) ตามัระราชบัญญัติว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเัื่อถอดถอน สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. ๒๕๔๒ ใช้เฉัาะกับการปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล กรุงเทัมหานคร และเมืองััทยา สามารถสรุปสาระสาคัญ ดังนี้ ๑

Brigitte Geissel and Stefan Jung, "Recall in Germany: Explaining the Use of a Local Democratic Innovation," Democratization25, no. 8 (2018/11/17 2018): 1359, http://dx.doi.org/10.1080/13510347.2017. 1398735.



๒.๑ มูลเหตุในการร้องขอให้มีการถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นออกจาก ตาแหน่งนั้น กฎหมายกาหนดไว้เัียงว่า สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้ บริหารท้องถิ่น “ไม่สมควรดารง ตาแหน่งต่อไป” ซึ่งสามารถอาศัยเป็นเหตุในการร้องขอให้มีการลงคะแนนเสียงเัื่อถอดถอนสมาชิก สภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นออกจากตาแหน่งได้ ๒.๒ คุะสมบัติและจานวนผู้มีสิทธิเข้าชื่อเัื่อร้องขอให้มีการลงคะแนนเสียงเัื่อถอดถอนสมาชิก สภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในัระราชบัญญัติว่าด้วยการลงคะแนนเสียง เัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๕ ๒.๓ การจั ด ให้ มี การลงคะแนนเสีย งเัื่อ ถอดถอนสมาชิ กสภาท้ องถิ่น หรื อผู้ บริ หารท้ องถิ่ น จะแยกออก ๒ กระีดังนี้ ๒.๓.๑ กระีท้องถิ่นที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลของผู้ว่าราชการจังหวัด ๒.๓.๒ กระีท้องถิ่นที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ๒.๔ ผลการลงคะแนนเสียงเัื่อให้สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นั้นจากตาแหน่ง หากมีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจานวนผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงทั้งหมด ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ถือว่าการเข้าชื่อถอดถอนบุคคลนั้นตกไป และจะมีการร้องขอให้ มี ก ารลงคะแนนเัื่ อ ถอดถอนบุ ค คลดั ง กล่ า วออกจากต าแหน่ ง โดยอาศั ย เหตุ เ ดี ย วกั น อี ก ไม่ ไ ด้ และหากกระีที่มีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่งของจานวนผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงทั้งหมด ในองค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่น และมีคะแนนเสียงจานวนไม่น้อยกว่า ๓ ใน ๔ ของผู้มีสิทธิเลือกตั้ ง ที่มาลงคะแนนเสียง เห็นว่าสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นนั้นไม่สมควรดารงตาแหน่งต่อไป บุคคลนั้นต้องั้นจากตาแหน่งนับแต่วันลงคะแนนเสียง๒ ๓. การด าเนิ น การเพื่ อ ถอดถอนสมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ของประเทศไทย ตามร่างพระราชบัญญัติการเข้าชื่อเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. .... ร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. .... ได้กาหนดหลักเกะฑ์ วิธีการ ตลอดจนขั้นตอนในการดาเนินการเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่นของประเทศไทย เัื่อให้สอดคล้องกับมาตรา ๒๕๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาะาจักรไทย กล่าวโดยสรุป ดังนี้ ๒

มาตรา ๒๓

ัระราชบัญญัติว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. ๒๕๔๒



๓.๑ มูลเหตุในการร้องขอให้มีการถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นออกจาก ตาแหน่ง กาหนดเหตุในการร้องขอไว้ คือ จงใจทอดทิ้งหรือละเลยไม่ป ฏิบัติการตามหน้าที่และอานาจ อันจะเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง หรือมีความประัฤติในทางที่จะนามาซึ่งความเสื่อมเสีย หรือก่อความไม่สงบเรียบร้ อยแก่องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น หรือมีั ฤติการะ์ส่อไปในทางทุจริ ต หรือกระทาการอันเป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น๓ ๓.๒ การเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นต้องมีจานวนผู้เข้าชื่อ เกินกึ่งหนึ่งของผู้ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง หากมีการถอนชื่อแล้วจานวนเหลือไม่ถึงกึ่งหนึ่ง ให้ผู้กากับดูแ ล คือ นายอาเภอ หรือปลัดอาเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แล้วแต่กระี ยุติ เ รื่ อ ง แต่ห ากมี ก ารถอนชื่ อ หรือ ไม่ ถ อนชื่อ และมี จ านวนเกิ น กึ่ง หนึ่ ง ให้ ผู้ก ากั บ ดู แ ลประกาศให้ ประชาชนทราบและให้ถือวันประกาศเป็นวันั้นจากตาแหน่งของผู้ถูกถอดถอน ๓.๓ การเข้าชื่อขอให้ มีการสอบสวนเัื่ อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ต้องมีจานวนไม่น้อยกว่า ๕,๐๐๐ คน หรือไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๕ ของจานวนผู้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งทั้งหมด ในเขตเลือกตั้ง สุดแต่จานวนใดจะน้อยกว่า หากมีการถอนชื่อแล้วมีจานวนไม่ถึง ๕,๐๐๐ คน หรือไม่ถึง ๑ ใน ๕ ของจานวนผู้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งทั้งหมดในเขตเลือกตั้ง ให้ผู้กากับดูแลยุติเรื่อง หากมีการถอนชื่อ หรื อ ไม่ ถ อนชื่ อ และมี จ านวนไม่ น้ อ ยกว่ า ๕,๐๐๐ คน หรื อ ไม่ น้ อ ยกว่ า ๑ ใน ๕ สุ ด แต่ จ านวนใด จะน้อยกว่า ให้ผู้กากับดูแลตั้งคะะกรรมการสอบสวนและดาเนินการสอบสวนต่อไป ๔. การศึกษาเปรียบเทียบการดาเนินการเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ของประเทศไทยตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ กับร่างพระราชบัญญัติการเข้าชื่อเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. .... ๔.๑ รูปแบบการถอดถอน ัระราชบัญ ญั ติว่ า ด้ ว ยการลงคะแนนเสีย งเัื่ อ ถอดถอนสมาชิ ก หรื อ ผู้บ ริ หารท้อ งถิ่ น ั.ศ. ๒๕๔๒ กาหนดรูปแบบการถอดถอนเัียงรูปแบบเดียว คือ รูปแบบการลงคะแนนเสียงถอดถอน สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น แตกต่างจากร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิก สภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. .... ซึ่งกาหนดรูปแบบการถอดถอนไว้ ๒ รูปแบบ คือ รูปแบบ ๓

ร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. .... (คะะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ) มาตรา ๗ วรรคหนึ่ง



การเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น และรูปแบบการเข้าชื่อเัื่อขอให้ มีการสอบสวนเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ๔.๒ การลงลายมือชื่อเพื่อเสนอถอดถอน ัระราชบัญ ญั ติว่ า ด้ ว ยการลงคะแนนเสีย งเัื่ อ ถอดถอนสมาชิ ก หรื อ ผู้บ ริ หารท้อ งถิ่ น ั.ศ. ๒๕๔๒ กาหนดให้สิทธิประชาชนเข้าชื่อยื่นคาร้องต่อผู้ว่าราชการจังหวัด (สาหรับองค์การบริหาร ส่ว นจัง หวัด เทศบาล องค์ การบริ ห ารส่ ว นต าบล และเมื อ งััท ยา) หรื อ รัฐ มนตรี ว่ าการกระทรวง มหาดไทย (สาหรับกรุงเทัมหานคร) แล้วแต่กระี เัื่อขอลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่นตามเกะฑ์จานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่น ขะะเดียวกัน ผู้รับคาร้องต้องแจ้งไปยังคะะกรรมการการเลือกตั้งประจาจังหวัดให้ดาเนินกระบวนการลงคะแนนเสียง ถอดถอน๔ ขะะที่ร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. .... รูปแบบการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่ นหรือผู้บริหารท้องถิ่นได้ให้กระบวนการ “ลงลายมือชื่อเพื่อเสนอถอดถอนและการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอน” เป็นกระบวนการเดียวกัน โดยให้รวบรวมรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าชื่อถอดถอนเป็นจานวนเกินกึ่งหนึ่งของจานวนผู้ ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ทั้งหมดในเขตเลือกตั้ ง ๕ แล้ว จึง เสนอให้ ผู้ ก ากับดูแลัิ จาระาและปิด ประกาศหนังสือแสดงเจตนา และบั ญ ชี ร ายชื่ อ ผู้ เ ข้ า ชื่ อ ส่ ว นรู ป แบบการเข้ า ชื่ อ เัื่ อ ขอให้ มี ก ารสอบสวนเัื่ อ ถอดถอนสมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ก าหนดให้ ร วบรวมรายชื่ อ ผู้ มี สิ ท ธิ เ ข้ า ชื่ อ ถอดถอนเป็ น จ านวน ไม่ น้ อ ยกว่ า ๕,๐๐๐ คน หรื อ ไม่ น้ อ ยกว่ า จ านวน ๑ ใน ๕ ของจ านวนผู้ ไปใช้ สิ ทธิ เ ลื อกตั้ งทั้ งหมด ในเขตเลือกตั้งแล้วแต่จานวนใดจะน้ อยกว่า ๖ แล้วจึงเสนอให้ผู้กากับดูแลัิจาระาและปิด ประกาศ หนังสือแสดงเจตนาและบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อ๗



ัระราชบัญญัติว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเัื่อถอดถอนสมาชิกหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๘ ร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. .... (คะะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ) มาตรา ๗ ๖ ร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. .... (คะะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ) มาตรา ๘ วรรคหนึ่ง ๗ ร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. .... (คะะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ) มาตรา ๑๔ ๕



๔.๓ การจัดการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอน ัระราชบัญ ญั ติว่ า ด้ ว ยการลงคะแนนเสีย งเัื่ อ ถอดถอนสมาชิ ก หรื อ ผู้บ ริ หารท้อ งถิ่ น ั.ศ. ๒๕๔๒ ก าหนดให้ ค ะะกรรมการการเลื อ กตั้ ง จั ด ให้ มี ก ารลงคะแนนเสี ย งถอดถอนสมาชิ ก สภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๘ และกาหนดให้การลงคะแนนเสียง ให้ใช้วิธีลงคะแนนโดยตรงและลับ ๙ แตกต่างจากร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิก สภาท้องถิ่น หรือผู้ บริห ารท้องถิ่น ั.ศ. .... ในรูปแบบการเข้าชื่ อเัื่ อถอดถอนสมาชิ กสภาท้อ งถิ่ น หรือผู้บริห ารท้องถิ่น ได้ให้ กระบวนการ “ลงลายมือชื่อเัื่อเสนอถอดถอนและการลงคะแนนเสีย ง เัื่อถอดถอน” เป็นกระบวนการเดียวกัน๑๐ ส่วนการเข้าชื่อเัื่อขอให้มีการสอบสวนเัื่อถอดถอนสมาชิก สภาท้ องถิ่ น หรือ ผู้บริ ห ารท้ องถิ่ น กาหนดให้ประชาชนเัี ยงรวบรวมรายชื่อให้เัี ยงัอตามเกะฑ์ เัื่อตั้งคะะกรรมการสอบสวน ๑๑ โดยไม่ได้กาหนดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนในการลงคะแนนเสียง ถอดถอนแต่ประการใด ๔.๔ การตัดสินผลการถอดถอน ัระราชบัญ ญั ติว่ า ด้ ว ยการลงคะแนนเสีย งเัื่ อ ถอดถอนสมาชิ ก หรื อ ผู้บ ริ หารท้อ งถิ่ น ั.ศ. ๒๕๔๒ กาหนดให้ มีผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่งของจานวนผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียง ทั้งหมดในองค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่นและให้มีคะแนนเสียงจานวนไม่น้อยกว่าสามในสี่ของผู้มีสิทธิ เลือกตั้งที่มาลงคะแนนเสียง เห็นว่าสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นผู้นั้นไม่สมควรดารงตาแหน่ง ต่อไป ให้บุคคลนั้นั้นจากตาแหน่งนับแต่วันลงคะแนนเสียง๑๒ ขะะที่ร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. .... ในรูปแบบการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นได้ให้กระบวนการ “ลงลายมือชื่อเัื่อเสนอถอดถอนและการลงคะแนนเสียงเัื่อถอดถอน” เป็นกระบวนการเดียวกัน ๑๓ ๘

ัระราชบัญญัติว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเัื่อถอดถอนสมาชิกหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๘ ัระราชบัญญัติว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเัื่อถอดถอนสมาชิกหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๓ ๑๐ ร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริ หารท้องถิ่น ั.ศ. .... (คะะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ) มาตรา ๗ และมาตรา ๑๒ ๑๑ ร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. .... (คะะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ) มาตรา ๘ และมาตรา ๑๕ ๑๒ ัระราชบัญญัติว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเัื่อถอดถอนสมาชิกหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๓ ๑๓ ร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. .... (คะะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ) มาตรา ๗ และมาตรา ๑๒ ๙



ส่ ว นการเข้ า ชื่ อ เัื่ อ ขอให้ มี ก ารสอบสวนเัื่ อ ถอดถอนสมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ผลการถอดถอนจะขึ้นอยู่กับคะะกรรมการสอบสวนที่ถูกแต่งตั้งขึ้น ๑๔ เมื่อผลการสอบสวนปรากฏว่า สมาชิกสภาหรือผู้บริหารท้องถิ่นผู้ใดกระทาความผิดตามข้อกล่าวหาให้ออกคาสั่งถอดถอนได้๑๕ ๕. บทสรุป การมีส่ว นร่วมทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองในท้องถิ่นในเรื่องการถอดถอน ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถือเป็นกระบวนการที่สาคัญตามระบอบ ประชาธิปไตย ซึ่งประชาชนควรได้มีส่วนร่วมในทางการเมืองอย่างแท้จริง ซึ่งจะสอดคล้องและเป็นไป ตามเจตนารมะ์และหลักการที่ได้บัญญัติและรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ จากการศึกณาร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร ท้ องถิ่ น ั.ศ. .... (คะะรั ฐ มนตรี เป็ น ผู้ เสนอ) มี ข้ อ สั ง เกตและข้ อ เสนอแนะบางประการเกี่ ย วกั บ ร่างัระราชบัญญัติดังกล่าว กล่าวโดยสรุป ดังนี้ ๕.๑ ควรกาหนดจานวนหรือสัดส่วนการเข้าชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในัื้นที่ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นโดยคานึงถึงลักณะะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดัื้นที่และจานวนประชากร แตกต่ า งกั น เัื่ อ สร้ า งความชอบธรรมในกระบวนการและแสดงถึ ง ความต้ อ งการของประชาชน อย่างแท้จริง ตลอดจนเัื่อมุ่งอานวยความสะดวกและเอื้อให้เกิดการเสนอถอดถอนที่ง่ายขึ้น ๕.๒ ควรจัดการลงคะแนนเสียงเัื่อถอดถอนโดยประชาชนแบบโดยตรงและลับ และควรแยก “ขั้นตอนการลงลายมือชื่อเัื่อเสนอถอดถอน” ออกจาก“ขั้นตอนการลงคะแนนเสียงเัื่อถอดถอน” ให้แยกขาดออกจากกัน ตามรูปแบบการดาเนินการถอดถอน (recall) ของนานาประเทศ ๕.๓ จานวนคะแนนเสียงในการตั ด สิน ผลการถอดถอนที่ กาหนดควรสอดคล้องกับ จ านวน การออกมาใช้สิทธิลงคะแนนของประชาชนและควรกาหนดสัดส่วนของคะแนนเสียงที่ใช้ในการถอดถอน อย่างเหมาะสม

๑๔

ร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. .... (คะะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ) มาตรา ๑๕ (๒) ๑๕ ร่างัระราชบัญญัติการเข้าชื่อเัื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ั.ศ. .... (คะะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ) มาตรา ๑๘

สาระสำคัญและบทวิเคราะห์ ร่างพระราชบัญญัติการเข้าชื่อเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. .... (ฉบับย่อ)

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.