08+-พัสกร+ลี้วิศิษฏ์พัฒนา+91-105 Flipbook PDF


23 downloads 115 Views 265KB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

การสรางรูปแบบกลยุทธการสื่อสารอัตลักษณทางการตลาดออนไลน ของบานวังหาด อำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัยสูแหลงทองเที่ยว แบบผสมผสาน Creating an Online Marketing Identity Communication Strategy Towards Integral Tourist Attraction of Ban Wang Had, Ban Dan Lan Hoy District in Sukhothai Province พัสกร ลี้วิศิษฏพัฒนา 1 สนทยา สาลี 2 ยรรยงวรกร ทองแยม 3 สิขรินทร คงสง 4 ศศินิภา ศรีกัลยานิวาท 5 ณัชชา สยมภูวนาถ 6 Passakorn Leevisitpattana, Sonthaya Salee, Yanyongvorakorn Thongyaem, Sikarint Kongsong, Sasinipa Srikanlayaniwart, Natcha Sayomphuvanart 0

1

2

4

3

5

บทคัดยอ (Abstract) บทความวิ จ ั ย นี ้ มี ว ั ตถุ ป ระสงค เ พื ่ อสรางรูป แบบกลยุทธการสื่อสารอัตลักษณทาง การตลาดออนไลนของบานวังหาด อำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัยสูแหลงทองเที่ยว แบบผสมผสาน ซึ่งมีรูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใชแบบสอบถามรวบรวมขอมูลจากกลุม ตัวอยางจำนวนทั้งสิ้น 200 คน ซึ่งวิเคราะหขอมูลดวยคารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหสมมติฐานใชการวิเคราะหสมการโครงสราง ผลการวิจัยพบวา รูปแบบกลยุทธ Received: 2021-11-16 Revised: 2021-12-20 Accepted: 2021-12-22 1 สาขาวิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม Marketing Program, Faculty of Management Science , Pibulsongkram Rajabhat University. Corresponding Author e-mail: [email protected] 2 สาขาวิชาบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล สงคราม Library and Information Science, Faculty of Humanities and Social sciences, Pibulsongkram Rajabhat University 3 สาขาวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม Communication Arts Program, Faculty of Management Science, Pibulsongkram Rajabhat University. [email protected] 4 สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม Business Economics Program, Faculty of Management Science, Pibulsongkram Rajabhat University. 5 สาขาวิชาธุรกิจการคาสมัยใหม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม Moderntrade Program, Faculty of Management Science, Pibulsongkram Rajabhat University. 6 สำนักงานเกษตรจังหวัดพิษณุโลก Phitsanulok Provincial Agrilcultural Extension Office.

ห น้ า | 92

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

การสื่อสารอัตลักษณทางการตลาดออนไลนของบานวังหาด อำเภอบานดานลานหอย จังหวัด สุโขทัยสูแหลงทองเที่ยวแบบผสมผสาน เริ่มจากการพัฒนาสื่อที่มีการพัฒนาเนื้อของสื่อมาจาก รากฐานของพื้นที่เปนปจจัยสำคัญ ซึ่งจากผลการวิจัยพบวา ทุนในทองถิ่นที่นำมาใชเปนสื่อมีผล ตอทัศนคติที่ดีที่นำไปสูการสรางความประทับใจในการจดจำอัตลักษณ และสงผลตอพฤติกรรม การตัดสินใจมาทองเที่ยวและการบอกตอสื่อโฆษณาอัตลักษณผานสื่อออนไลน นอกจากนี้ยัง พบวา พฤติกรรมการใชสื่อออนไลนเพื่อการทองเที่ยวสงผลตอพฤติกรรมการตัดสินใจเดินทางมา ทองเที่ยวจากสื่อโฆษณาอัตลักษณและการบอกตอสื่อโฆษณาอัตลักษณผานสื่อออนไลน สวน ปจจัยดานประสมทางการตลาดไมสงผลตอพฤติกรรมการตัดสินใจมาทองเที่ยว จากผลการวิจัย สรุปไดวา บานวังหาดมีความพรอมดานทรัพยากรทุนใน 3 ลักษณะ ไดแก ทุนทางดานสังคม วัฒนธรรม ทุนทางดานการจัดการการเงิน และทุนทางดานสิ่งแวดลอมที่มีประสิทธิภาพเปน ศักยภาพที่ตองมีการนำมาพัฒนาสูการนำเสนอเนื้อหาโดยกระบวนการสรางเรื่องราวเชิงพื้นที่ (Local Story) และนำคนรุนใหมในชุมชนเขามารวมในการสรางการสื่อสารใหเกิดการรับรูในวง กวางมากขึ้นจะเปนสิ่งที่ชวยเสริมแรงใหกับการพัฒนากลยุทธการตลาดในพื้นที่ทองเที่ยวบานวัง หาดไดอยางมีประสิทธิภาพ คำสำคัญ (Keywords): กลยุทธการสื่อสาร; การตลาดออนไลน; ทองเที่ยวแบบผสมผสาน Abstract This research article aims to present creation of an online marketing identity communication strategy towards integral tourist attraction of Ban Wang Had, Ban Dan Lan Hoy District in Sukhothai Province. The research model is mainly quantitative, using a questionnaire to collect data from 200 samples in total. The data were analyzed by percentage, mean and standard deviation whereas . hypothesis analysis used the structural equation analysis. The results showed that the model of the online marketing identity communication strategy towards integral tourist attraction of Ban Wang Had, Ban Dan Lan Hoy District in Sukhothai Province Starting from the development of media originated from developing media contents from the foundation of the area as an important factor. This indicated that the local capital used as a medium had a positive effect on attitudes leading to the impression with which identity would be remembered while affecting decision-making behaviors to travel and the media to advertise identities through an online platform. It was also found that behaviors of using online media for tourism affected travel decision-making from identity advertising

ห น้ า | 93

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

media and words of mouth concerning advertisement of identity through the online platform. However, marketing mix factors did not affect tourists’ decisionmaking behaviors. From the research results, it can be concluded that Ban Wang Had is available in terms of 3 types of capital resources: social and cultural, financial management and efficient environmental capitals. All are the potentials that need to be developed into presentation of contents through the process of creating a local story and bringing new generations in the community to create communication for wider awareness. Doing so may enable development of effective marketing strategies in Ban Wang Had areas Keywords: Communication Strategy; Online Marketing; Mixtourism บทนำ (Introduction) อุตสาหกรรมการทองเที่ยวเปนที่มาของแหลงเงินไดอันดับตนๆ ของประเทศ และเปน อุตสาหกรรมที่ทำใหเกิดการลงทุนหลายภาคสวน ซึ่งจะเห็นไดจากการเจริญเติบโตและขยายตัว ของแหลงทองเที่ยวใหมๆ และเกิดธุรกิจที่เกี่ยวกับการทองเที่ยวขึ้นมากมายที่นับวันมีการ ขยายตัวมากขึ้นอยางตอเนื่อง (มาลินี สนธิมูล และอิทธิกร ขำเดช, 2557) จากการทบทวน วรรณกรรมงานวิจัยเกี่ยวกับการเดินทางมาทองเที่ยวในประเทศไทย พบวา ในงานวิจัยของ Zhang (2016) ไดอธิบายผลการศึกษาวาประเทศไทยมีภาพลักษณแหลงทองเที่ยวที่ดีไมวาจะ เปนลักษณะทางภูมิศาสตร มรดกทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ วัฒนธรรมที่งดงาม รวมทั้งสิ่งอำนวยความสะดวกในเรื่องสถานที่พักผอน รานอาหาร แหลง บั น เทิ ง แหล ง สั น ทนาการ แหล ง การศึ ก ษาหาความรู  ต  างๆ เป น ต น ดั ง นั ้ น จึง กล า วได วา ภาพลักษณแหลงทองเที่ยว (Destination Image) เปนสิ่งที่สะทอนองครวมความประทับใจที่มี ต อสถานที ่ ห นึ ่ งๆ หรื อการรั บ รู  เ กี ่ ยวกั บ สถานที่ห นึ่งๆ ซึ่งเปน ภาพลักษณที่เกิดจากการที่ นักทองเที่ยวประเมินตอสถานที่หรือประเมินตอสภาพแวดลอมของสถานที่นั้นๆ โดยภาพลักษณ แหลงทองเที่ยวจะมีผลตอประสบการณที่นาจดจำของนักทองเที่ยวไปยังสถานที่ตางๆ ซึ่งแหลง ทองเที่ยวจำเปนตองบริการจัดการภาพลักษณอยางใสใจเพราะเปนสิ่งสำคัญในการตัดสิน ใจ เลือกจุดหมายนั้น ๆ (Echtner & Ritchie, 2003) และสอดคลองกับผลการวิจัยของ Ritchie & Hudson (2009) พบว า ภาพลั ก ษณ แ หล ง ท อ งเที ่ ย วเป น ตั ว แปรสำคั ญ ที ่ ม ี อ ิ ท ธิ พ ลต อ ประสบการณของนักทองเที่ยว ทั้งนี้ในปจ จุบ ันสังคมไดเ ขาสู  การเปนสังคมยุคใหมที ่มีลักษณะของการตลาดแบบ เฉพาะเจาะจง (Personalized Marketing) และกลุมลูกคาขนาดเล็กที่มีแนวโนมการบริโภคการ ทองเที่ยวแบบสวนบุคคล (Individualism) เปนที่นิยม นักพัฒนาผลิตภัณฑการทองเที่ยวไดนำ

ห น้ า | 94

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

เทคนิคการปรับเปลี่ยนตามความตองการของลูกคา (Customization) มาออกแบบสินคาการ ทองเที่ยวใหตอบสนองตอรายละเอียดความตองการของลูกคาใหมากที่สุดประกอบกับการ ทองเที่ยวทางเลือก (Alternative Tourism) หรือการทองเที่ยวเพื่อความสนใจพิเศษ (Special Interest Tourism) ไดถูกนำเสนอสูวงการทองเที่ยวอยางกวางขวาง โดยแตละรูปแบบมี คุณ ลักษณะเฉพาะขึ้นอยูกับวัตถุประสงคภายในที่เปนแรงผลักดันนักทองเที่ยวใหมีพฤติกรรมในการ เลื อกท อ งเที ่ ย วแตกต า งกั น กล า วได ว  า ความตองการของลู ก ค า ที ่แ ตกต า งสะท อ นได ถึ ง ประสบการณของแตละบุคคลที่ไดเลือกจดจำตางกันจากการทองเที่ยว ซึ่งเปนสิ่งที่จำเปนอยาง ยิ่งในการนำมาพัฒนาตอเนื่องตั้งแตประสบการณที่นาพึงพอใจ ประสบการณที่มีคุณภาพ ไป จนถึ งประสบการณ ที่ พิเ ศษ และประสบการณการทองเที่ย วที่น าจดจำ (Pine & Gilmore, 1999) จากการงานวิ จ ั ย ของ Kim, Ritchie, & McCormick (2012) พบว า ได ท ำการสรุ ป เกี่ยวกับประสบการณการทองเที่ยวที่นาจดจำในปจจุบันมีทั้งหมด 7 มิติ ไดแก การแสวงหา ความสุข ความสดชื่น บทบาททางสังคมและวัฒนธรรมทองถิ่น การมีคุณคาและมีความหมาย ความรู และความแปลกใหม เปนที่ยอมรับมากที่สุด ซึ่งจากมิติตางๆที่กลาวพิจารณาไดถึงการ เปนผลลัพธที่เกิดจากการรับรูของตัวบุคคลซึ่งถือไดวาแตละมิติของการเกิดประสบการณการ ทองเที่ยวที่นาจดจำนั้นมาจากทรัพยากรทุนของแตละพื้นที่การทองเที่ยวที่ถูกนำเสนอออกมาใน รูปแบบสารผานชองทางทั้ งกายภาพและชองทางเสมือนจริงหรือในรูป แบบเนื้อหาบนโลก อินเตอรเน็ตเพื่อกระตุนและดึงดูดใหเกิดความนาสนใจในการมาทองเที่ยวโดยมีฐานมาจากทาง วัฒนธรรมของพื้นที่นั้นดวยการทำใหเกิดสื่อในโซเชียลมีเดียเพื่อเปนกลยุทธการสื่อสารทาง การตลาดออนไลนของบานวังหาด อำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย ด ว ยความก า วหน าของเทคโนโลยี ก ารสื ่ อ สารได ก ารก อ กำเนิ ด “เครื อ ข า ยสั งคม ออนไลน” (Social Network) ปจจุบันเครื่องมือสื่อสารทางการตลาดที่เรียกวาโซเชียลมีเดีย Social Media หรือสื่อสังคมออนไลน มีบทบาทสำคัญในการเชื่อมตอประชากรทั่วทุกมุมโลกซึ่ง ซึ่งที่นิยมมากที่สุดคือสังคมออนไลนประเภท Facebook มากที่สุด จึงเปนเครื่องมือสื่อสาร ทางการตลาดที่ทุกภาคสวนธุรกิจตางใหการยอมรับและใหความสำคัญเปนอยางมาก ดังนั้นทาง คณะผู  ว ิ จ ั ย จึ งมี ความสนใจที ่ จ ะศึ ก ษาการสรา งรูป แบบกลยุ ทธ การสื่ อ สารอัตลัก ษณ ท าง การตลาดออนไลนของบานวังหาด อำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัยสูแหลงทองเที่ยว แบบผสมผสานเพื่อสรางแบรนดใหเปนที่รูจักและบงบอกถึงเอกลักษณของพื้นที่ อันจะนำไปสู การเพิ่มรายไดและสามารถยกระดับชีวิตของคนในชุมชนของบานวังหาด อำเภอบานดานลาน หอย จังหวัดสุโขทัยใหดีขึ้นไดตามกรอบยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ.2560-2579)

ห น้ า | 95

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

วัตถุประสงคของการวิจัย (Research Objective) เพื่อศึกษาการรับรูอัตลักษณ อิทธิพลของสื่อโฆษณาอัตลักษณและสรางรูปแบบกลยุทธ การสื่อสารอัตลักษณทางการตลาดออนไลนของบานวังหาด อำเภอบานดานลานหอย จังหวัด สุโขทัย วิธีดำเนินการวิจัย (Research Methods) 1. รูปแบบการวิจัย การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยตองการศึกษาถึงการสรางรูปแบบกลยุทธการสื่อสารอัต ลักษณทางการตลาดออนไลนของบานวังหาด อำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัยสูแหลง ทองเที่ยวแบบผสมผสาน โดยมีรูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และใช ขอมูลจากการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ที่รวบรวบขอมูลดวยแบบสอบถามกับกลุม ตัวอยางที่เปนประชากรที่เลนโซเชียลมีเดียเฟสบุคที่มีภูมิลำเนาอยูในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกและ สุโขทัย 2. ประชากร กลุมตัวอยางและผูใหขอมูลสำคัญ ประชากรที่เลนโซเชียลมีเดียเฟสบุคที่มีภูมิลำเนาอยูในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกและ สุโขทัย ซึ่งไมทราบจำนวนที่แนนอน โดยจำนวนตัวอยางที่เหมาะสมกับการใชสถิติการวิเคราะห พหุตัวแปร โดยการกำหนดขนาดกลุมตัวอยางใชโปรแกรม G*Power ในการคำนวณ ซึ่งมีเกณฑ ในการเลื อ กคื อ เลื อ ก Linear multiple regression: Fixed model, R² deviation from zero และกำหนด effect size = 0.15, error prob. = 0.05 และ power (1-B error prob.) = 0.95 เนื่องจากไมทราบคาประมาณการพารามิเตอรในอดีต จึงไดเลือกใชการกำหนดคาขนาด อิทธิพลสำเร็จรูป โดยเลือกกำหนดคาขนาดอิทธิพลขนาดกลาง (effect size = 0.15) (Cohen, 1977) และกำหนดให มี ค า ความเชื ่ อมั ่ น ของการทดสอบเทากับ 0.95 โดยยอมรับ คาความ คลาดเคลื่อนไมเกิน 0.05 ไดจำนวนกลุมตัวอยางทั้งสิ้น 107 คน และนอกจากนี้เมื่อพิจารณา ขนาดของการกำหนดกลุมตัวอยางตามแนวคิด Hair, J. et al (2010) เสนอเงื่อนไขเพื่อกำหนด ขนาดตัวอยางตาสุดสาหรับการวิเคราะหโมเดลสมการโครงสราง โดยจำนวนตัวแปรแฝง < 7 ตัว แปร และแตละตัวแปรแฝงวัดไดจากตัวแปรสังเกตได > 3 ตัวแปร (ไมมี Under Identified ของตัวแปรแฝง) และมีคาความสามารถในการรวมกลุมของตัวแปร (Communality) โดยมีคา เทากับ 0.5 พบวา ขนาดตัวอยางต่ำสุด เทากับ 150 ตัวอยาง ดังนั้นจึงสรุปไดวาจำนวนกลุม ตัวอยางที่ผูวิจัยจะทำการเก็บตัวอยางต่ำสุด 150 ตัวอยาง 3. เครื่องมือในการวิจัย

ห น้ า | 96

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

เครื ่ อ งมื อ ที ่ ใ ช ใ นการวิ จ ั ย เครื ่ อ งมื อ ที ่ ใ ช ใ นการวิ จ ั ย ครั ้ ง นี ้ เ ป น แบบสอบถาม (Questionnaire) ที่ผูวิจัยสรางขึ้นมาจากแนวคิด ทฤษฏี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของซึ่งจะ ใชในการเก็บขอมูลกับบุคคลทั่วไปเกี่ยวกับประสิทธิภาพของสื่อโฆษณาอัตลักษณจุดหมาย ปลายทางของบานวังหาด ทัศนคติตอสื่อโฆษณาอัตลักษณจุดหมายปลายทางของบานวังหาด ความประทับใจที่นาจดจำตออัตลักษณจุดหมายปลายทางจากการชมโฆษณาอัตลักษณจุดหมาย ปลายทางของบานวังหาด พฤติกรรมการตัดสินใจเดินทางมาทองเที่ยวจากสือ่ โฆษณาอัตลักษณ จุดหมายปลายทางของบานวังหาด พฤติกรรมการใชสื่อออนไลนที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยว พฤติกรรมการบอกตอเกี่ยวกับสื่อโฆษณาอัตลักษณ และปจจัยสวนประสมทางการตลาดที่สงผล ต อ การตั ด สิ น ใจเดิ น ทางมาท อ งเที ่ ย วที ่ บ  า นวั ง หาด นอกจากนี ้ ผ ู  ว ิ จ ั ย ได ท ำการพั ฒ นา แบบสอบถามและแกไข แลวนำไปทดลองใช (Try Out) กับกลุมตัวอยางจำนวน 50 คน เพื่อหา ความเชื่อมั่นโดยใชวิธีหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา (α - Coefficient) ของครอนบัค (Cronbarch) (Vanichpanya, K. 2003: 455) เพื ่ อ วั ด ความสอดคล อ งภายใน (internal consistency model) และใชเกณฑสัมประสิทธิ์แอลฟายอมรับที่คา α มากกวา 0.7 ซึ่งคาสัมประสิทธิ์แอลฟา อยู  ใ นเกณฑ ก ารทดสอบα มากกว า 0.7 ทั ้ ง หมด ถื อ ว า เชื ่ อ ถื อ ได (Hair, Black, Babin, Anderson, &Tatham, 2006: 137) จากการทดสอบคาความเชื่อมั่น ของขอคำถามมีคาอยู ในชวง 0.7258 - 0.9425 มากกวาเกณฑสัมประสิทธิ์แอลฟา 0.7 ยอมรับได 4. การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) โดยศึกษาจากการเก็บแบบสอบถาม กลุมตัวอยางที่เลนโซเชียลมีเดียเฟสบุคที่มีภูมิลำเนาอยูในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกและสุโขทัย และ จะเลือกตัวอยางแบบวิธีไมทราบความนาจะเปน (Non–probability Sampling) ซึ่งจะทำการ เก็บแบบสอบถามจนครบจำนวนทั้งหมด 150 ตัวอยางเปนจำนวนนอยที่สุด 5. การวิเคราะหขอมูล และสถิติ ผู  ศึ กษาจะดำเนิ น การวิ เ คราะห ข  อมู ล เพื ่ อประมวลผลการศึ กษาโดยใช โ ปรแกรม สำเร็จรูปทางสถิติและวิเคราะหขอมูลทั่วไปจะใชคาความถี่ คารอยละ และคาเฉลี่ย สวนการ วิเคราะหสมมติฐานใชการวิเคราะหสมการโครงสราง โดยใชโปรแกรมสำเร็จรูป Adanco2.2.1 6. วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล 6.1. การเก็บรวบรวมขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) โดยศึกษาจากการสอบถามกลุม ตัวอยางที่เลนโซเชียลมีเดียเฟสบุคที่มีภูมิลำเนาอยูในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกและสุโขทัย 6.2. การเก็บรวบรวมขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) โดยศึกษาจากแหลงขอมูลตาง ๆ เชน เอกสารทางวิชาการ ตำรา งานวิจัยที่เกี่ยวของ รวมทั้งขอมูลในเว็บไซตทางอินเทอรเน็ ต ที่ เกี่ยวของ

ห น้ า | 97

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

7. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ผู  ศึ กษาจะดำเนิ น การวิ เ คราะห ข  อมูล เพื่ อประมวลผลการศึ กษาโดยใชโ ปรแกรม สำเร็ จ รู ป ทางสถิ ติ และวิเ คราะหข อมู ล ทั ่ว ไปจะใชคาความถี่ (Frequency) และคารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) สวนการวิเคราะหสมมติฐ านใชการวิเคราะห การทดสอบ คาเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง 1 กลุม (One-sample test for the mean) และการวิเคราะหความ แปรปรวนและการถดถอยอย า งง า ยเพื ่ อ ค น หาตั ว แปรทำนายของกลุ  ม ตั ว อย าง (Simple regression analysis) ผลการวิจัย (Research Results) ผลการวิจัยพบวา จากการรับรูอัตลักษณ อิทธิพลของสื่อโฆษณาอัตลักษณและสราง รูปแบบกลยุทธการสื่อสารอัตลักษณทางการตลาดออนไลนของบานวังหาด อำเภอบานดานลาน หอย จังหวัดสุโขทัยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ จากการสำรวจดานการรับรูอัตลักษณผานสื่อโฆษณาบานวังหาดมีระดับการรับรูใน ภาพรวมอยูในระดับมาก โดยสวนใหญรับรูอัตลักษณของบานวังหาดผานสื่อโฆษณาวามีอัต ลักษณดานกลุมชุมชนเขมแข็ง รองลงมาดานเปนแหลงภูมิปญญาที่หลากหลายของชาติพันธจาก รุนสูรุน ลำดับทายสุดคือดานเปนแหลงทำการเกษตรที่ปลอดภัย นอกจากนี้ผูตอบแบบสอบถาม มีทัศนคติต อสื่ อโฆษณาอัตลั กษณจุ ดหมายปลายทางของบานวั งหาดมีร ะดับ ทั ศนคติว  าสื่อ โฆษณาอัตลักษณนี้สงผลตอภาพลักษณของบานวังหาดดูนาเชื่อถือ รองลงมาคือ มีผลตอความ เชื่อถือไววางใจตอการเลือกมาทองเที่ยวที่บานวังหาด ลำดับทายสุดคือชวยเพิ่มความนาสนใจให แหลงทองเที่ยวไดมากขึ้น ซึ่งหลังจากการชมสื่อโฆษณาอัตลักษณของบานวังหาดแลวไดทำการ สำรวจเกี่ยวกับความประทับใจที่นาจดจำตออัตลักษณจุดหมายปลายทางจากการชมโฆษณาอัต ลักษณ พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีความประทับใจอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาราย ประเด็นพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีความประทับใจตอคนในชุมชนบานวังหาดมี อัธยาศัยไมตรีและเปนมิตรโดย รองลงมา คือ มีความประทับใจตอแหลงศิลปะ แหลงโบราณคดี และวัฒนธรรมในชุมชนบานวังหาดมีความนาสนใจ และสถานทีท่ องเที่ยวในชุมชนบานวังหาดมี ความสะอาดและเปนระเบียบ ลำดับทายสุดคือ มีความประทับใจตอแหลงธรรมชาติของที่บาน วังหาดมีทัศนียภาพและจุดชมวิวสวยงามและที่โดดเดน ซึ่งจากความประทับใจที่เกิดขึ้นผูวิจัยไดทำการสำรวจพฤติกรรมการตัดสินใจเดินทาง มาทองเที่ยวจากสื่อโฆษณาอัตลักษณโดยมีระดับพฤติกรรมอยูในระดับมากที่จะตัดสิน ใจมา ทองเที่ยว โดยเมื่อพิจารณารายประเด็นพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีความคิดเห็นวาสื่อ โฆษณาอัตลักษณของของบานวังหาดที่ลงในสื่อออนไลนสามารถดึงดูดใจ กระตุนความสนใจ และความตองการในการเดินทางมาทองเทียวที่บานวังหาด และขอมูลจากสื่อโฆษณาอัตลักษณ

ห น้ า | 98

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

ของบานวังหาด ที่ลงในสื่อออนไลนเปนแรงจูงใจใหทานตัดสินใจเดินทาง ทองเที่ยวที่บานวังหาด รองลงมา คือ มีความคิดเห็นวาสื่อโฆษณาอัตลักษณของบานวังหาดที่ลงในสื่อออนไลนทำให ทานมีขอมูลเพียงพอในการตัดสินใจในการทองเที่ยวที่วังหาด นอกจากนี้จากการสำรวจดานพฤติกรรมการคนหาขอมูลสถานที่ทองเที่ยวและสถานที่ พักสวนใหญมีระดับพฤติกรรมอยูในระดับมากที่สุด โดยที่ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญใชสื่อ สังคมออนไลนในการสอบถามขอมูลสถานที่ทองเที่ยวหรือสถานที่พักที่ทานสนใจไปทองเที่ยว รองลงมา คือ ใชสื่อสังคมออนไลนในการรับชมและถายถอดรูปภาพหรือวิดีโอเพื่อแบงปนให ผูอื่นไดชม ลำดับทายสุดคือ ใชสื่อสังคมออนไลนขององคกรหรือหนวยงานการทองเที่ยวในการ คนหาขอมูลของสถานที่ทองเที่ยวและสถานที่พักที่ ทั้งนี้ผูตอบแบบสอบถามมีพฤติกรรมการ รับรูขอมูลที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวผานสื่อสังคมออนไลนมีระดับพฤติกรรมอยูในระดับมาก โดยสวนใหญมีพฤติกรรมการรับรูขอมูลที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวผานสื่อสังคมออนไลนคือ การรับชมความสวยงามของสถานที่ทองเที่ยวหรือสถานที่พักจากภาพและวิดีโอผานการแชร จากสั ง คมออนไลน เช น เฟสบุ  ค หรื อ อิ น สตาแกรม เป น ต น รองลงมา คื อ การรั บ รูถึง ประสบการณการทองเที่ยวเสมือนจริงจากการอานบันทึกประสบการณการทองเที่ยวผานสื่อ สังคมออนไลน ลำดับทายสุดคือ รับรูขอมูลของสถานที่เที่ยวหรือสถานที่พักแหงใหมจากการเขา รวมเปนสมาชิกกลุมสังคมออนไลน ในสวนของด า นพฤติ กรรมการบอกตอเกี่ยวกับสื่อโฆษณาอัตลักษณสว นใหญ จ ะมี พฤติกรรมการบอกตออยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายประเด็นพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวน ใหญมีพฤติกรรมการบอกตอเกี่ยวกับสื่อโฆษณาอัตลักษณ คือ การใชสื่อสังคมออนไลนในการ สอบถามขอมูลสถานที่ทองเที่ยวหรือสถานที่พักที่ทานสนใจไปทองเที่ยว รองลงมา คือ ใชสื่อ สังคมออนไลนขององคกรหรือหนวยงานการทองเที่ยวในการคนหาขอมูลของสถานที่ทองเที่ยว และสถานที่พักที่นาสนใจ ลำดับทายสุดคือ ใชสื่อสังคมออนไลนในการรับชมและถายถอด รูปภาพหรือวิดีโอเพื่อแบงปนใหผูอื่นไดชม อภิปรายผลการวิจัย (Research Discussion) ผลการวิจัยเรื่อง “การสรางรูปแบบกลยุทธการสื่อสารอัตลักษณทางการตลาดออนไลน ของบานวังหาด อำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัยสูแหลงทองเที่ยวแบบผสมผสาน” มี ประเด็นนาสนใจสามารถนำมาอภิปรายไดดังนี้ การวิ เ คราะห ต ั ว แปรแฝงลํ า ดั บ ที ่ 1 คาสถิติคุ ณภาพของแบบจํ าลองโดยรวม ทั้ง แบบจําลองการประเมินและการวัดคาความอิ่มตัว คาสถิติทั้งสามคา SRMR, dG และ dULS มี คามากกวาคา 95% Bootstrap Quantile ของตนเอง หมายความวาขอมูลไมสามารถอธิบาย แบบจําลองไดครบถวน แตอยูในเกณฑที่ยอมรับได ซึ่งสอดคลองตามขอเสนอของ Henseler et

ห น้ า | 99

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

al., (2015) เสนอที่ระดับ 0.08 และตามขอเสนอของ Hu & Bentler (1999) ปกติถาคา SRMR ต่ำกวา 0.1 นั้น ถือวายอมรับไดวาแบบจำลองเหมาะสมกับขอมูล (Kock, 2017) ดังนั้นจึงสรุป ไดวาเมตริกสหสัมพันธของขอมูลแนบสนิทกับแบบจำลอง ซึ่งสอดคลองกับการวิเคราะหใน ลําดับที่ 2 ที่แสดงวา แบบจําลองโดยรวมทั้งสองมีคุณภาพดี จากผลการศึกษายืนยันวาการรับรูอัตลักษณของแหลงทองเที่ยวบานวังหาดผานสื่อ โฆษณาอัตลักษณจุดหมายปลายทางมีอิทธิพลอยางมีนัยสำคัญตอทัศนคติตอสื่อโฆษณาอัต ลักษณจุดหมายปลายทางของบานวังหาด ซึ่งมีอิทธิพลตอความสนใจแหลงทองเที่ยวบานวังหาด สอดคลองกับผลการศึกษาของพัสกร ลี้วิศิษฏพัฒนา และ ยรรยงวรกร ทองแยม (2563) ได ศึกษาเกี่ยวกับ กลยุทธการสื่อสารการตลาดออนไลนโดยใชอัตลักษณทองถิ่นในการสรางแบรนด ชุ มชนกาแฟดอยเผา ไทยของบา นรั กไทย อำเภอเนิน มะปราง จังหวัดพิษณุโลก พบวา สื่อ โฆษณาอัตลักษณที่มาของผลิตภัณฑกาแฟคั่ว ดอยเผาไทยของบานรักไทย อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลกมีผลตอทัศนคติการรับรูขอมูลที่มาของผลิตภัณฑที่ดีและสามารถกระตุนการ ตัดสินใจซื้อ อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และสอดคลองกับงานวิจัยของ สุวัฒน ฉิ มะสังคนันท (2560) พบวา การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการสงผลตอการรับรูภาพลักษณ และอัตลักษณของตราสินคาอยางมีนัยสำคัญ 0.05 ทัศนคติตอสื่อโฆษณาอัตลักษณจุดหมายปลายทางของบานวังหาดมีอิทธิพลอยางมี นัยสำคัญตอความประทับใจที่นาจดจำตออัตลักษณจุดหมายปลายทางจากการชมโฆษณาอัต ลั ก ษณ ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ งานวิ จ ั ย ของ Muhoho-Minni and Lubbe, B.A. (2017) ศึ ก ษา เกี่ยวกับบทบาทของสื่อในการสรางภาพลักษณที่นาประทับใจของปลายทางในเคนยา จาก ผลการวิจัยพบวา สื่อมีอิทธิพลตอความประทับใจที่นาจดจำโดยเฉพาะสื่อสารคดีทองเที่ยวที่เปน รู ป แบบวิ ด ี โ อ และนอกจากนี้ ย ั ง สอดคล อ งกั บ งานวิ จ ั ย ของ Kim, J., Ahn, K., & Song, H. (2017) ศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของสื่อและความประทับใจที่นาจดจำที่มีตอพฤติกรรมความ ตั ้ งใจในการมาท องเที ่ ย วที ่ เ ทศกาลน้ำ แข็ งฮวาซอนซานซอนอ พบวา สื่อมีอิทธิพลอยางมี นัยสำคัญตอภาพจำที่โดดเดนของสถานที่และทัศนคติที่ดีตอการจดจำ ความประทับใจที่นาจดจำตออัตลักษณจุดหมายปลายทางจากการชมโฆษณาอัตลักษณ มีอิทธิพลอยางมีนัยสำคัญตอพฤติกรรมการตัดสินใจเดินทางมาทองเที่ยวจากสื่อโฆษณาอัต ลักษณ สอดคลองกับงานวิจัยของจิตราภรณ สุทธิวรเศรษฐ และคณะ (2557) ไดศึกษาเกี่ยวกับ การสื่อสารเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวตลาดน้ำในลุมน้ำภาคกลางอยางยั่งยืน พบวา การใชการ สื่อสารอัตลักษณของตลาดน้ำขวัญเรียม แสดงใหเห็นถึงความเขาใจ สังคมยุคสารสนเทศและสื่อ ใหมที่นักทองเที่ยวมีพฤติกรรมแชรภาพ และมีทัศนคติในการเลาเรื่อง (Narrativistic Attitude) เพื่อสื่อสารความทรงจำจากการไปเที่ยวสถานที่ตางๆ ที่แสดงใหเห็นถึง ประสบการณชีวิตของผู

ห น้ า | 100

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

เลา นักทองเที่ยวเก็บและแบงปนภาพถายกับเพื่อนในบล็อกและเว็บไซต สำหรับแชรภาพถาย และผูใชอินเทอรเน็ตก็สามารถคนหาขอมูลและตัวอยางของประสบการณ การทองเที่ยวไดดว ย เชนกัน (Lee, G. and Tussyadiah, 2010) ความประทับใจที่นาจดจำตออัตลักษณจุดหมายปลายทางจากการชมโฆษณาอัตลักษณ มีอิทธิพลอยางมีนัยสำคัญต อพฤติกรรมการบอกต อเกี่ยวกับสื่อโฆษณาอัตลั กษณจุ ด หมาย ปลายทาง สอดคลองกับงานวิจัยของ Mohammad shafiee, Majid & Tabaeeian, Reihaneh & Tavakoli, Hoda. (2016) ศึกษาเกี ่ยวกับ ผลกระทบของความประทับ ใจที่น าจดจำที่ มี ตอ ความพึงพอใจของนักทองเที่ยว ความตั้งใจกลับมาทองเที่ยว และการบอกตอ พบวา ความ ประทับใจที่นาจดจำมีอิ ทธิทางบวกอย างมีนัยสำคัญต อการบอกต อของนักทองเที ่ยวในสื่ อ โซเชียลมีเดียโดยเฉพาะในแอพพริเคชั่นโฟรสแควร ที่มีนัยยะวา คุณภาพการบริการที่มีตอความ พึงพอใจของนักทองเที่ยวและการบอกตอความประทับใจที่นาจดจำมีผลตอการบอกตอเพื่อเกิด การทองเที่ยวอยางมีนัยสำคัญ ในมิติการสรางรูปแบบกลยุทธการสื่อสารอัตลักษณทางการตลาดออนไลนของบานวัง หาด อำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย สำหรับขอคนพบของการวิจัย ที่ไดทำการทดสอบ แลวพบวาความสัมพันธของการรับรูอัตลักษณของแหลงทองเที่ยวบานวังหาดจากสื่ออัตลักษณ ออนไลนมีผลตอทัศนคติตอสื่อโฆษณาอัตลักษณจุดหมายปลายทางของบานวังหาดและสงผล มายังความประทับใจที่นาจดจำตอแหลงทองเที่ยวที่ไดชมจากสื่ออัตลักษณออนไลนของบานวัง หาด เมื่อพิจารณาจะเห็นไดวา ทรัพยากรทุนที่นำเสนอในสื่อนั้นมีนัยสำคัยตอความสนใจในการ รับรูอยางมีนัยสำคัญทางสถติ ไมวาจะเปนแหลงทองเที่ยวทางศาสนา ธรรมชาติ โบราณคดี และ แหลงน้ำที่เปนอางเก็บน้ำขนาดใหญ ซึ่งทรัพยากรทุนเหลานี้สรางการรับรูอยูในระดับมาก ทั้งนี้ เมื่อกลาวถึงความเปนอัตลักษณของพื้นที่บานวังหาด อำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย สื่อนี้สะทอนใหเห็นถึงพื้นที่ของทุนทางสังคมที่เกิดขึ้นจากความเปนปจเจกที่สะทอนออกมาใน กิจกรรมความเปนอยูและสภาพแวดลอมที่เปนอยู ซึ่งเปนองครวมที่อยูควบคูกันจนสะทอน ความเปนรูปธรรม (Bourdieu, 1997) ดังนี้แลว ทุนจึงเปนมรดกที่สืบทอดมาอยางตอเนื่อง สามารถเปลี่ยน รูปได มีลักษณะที่ทั้งสัมผัสไดและสัมผัสไมได รวมทั้งเปนปจจัยในการกำหนด ตำแหนงแหงที่ทางสังคม (positions) และความเปนไปไดของตัวแสดงหรือ ปจเจกบุคคลในการ เขาไปอยูสนาม (field) ตาง ๆ ที่ดำรงอยูในพื้นที่ทางสังคม ซึ่งทุนที่สามารถนำมาปรับเปลี่ยนให เกิดผลทางเศรษฐกิจไดในนิยามของบูดิเออร ไดอธิบายเอาไวอยางนาสนใจ โดยสอดคลองกับ งานวิจัยที่มีการนำทุนทางสังคมในเชิงองครวมเขามาในการพัฒนาสื่ออัตลักษณในโซเชียลมีเดีย

ห น้ า | 101

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

เพื่อเปนกลยุทธการสื่อสารทางการตลาดออนไลนของบานวังหาด อำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย ดังนี้ ประเด็นแรก บานวังหาดมีเอกลักษณที่นาสนใจโดยมีองคประกอบของทุนในพื้นที่ที่มี ความหลากหลายที่กอใหเกิดรูปแบบทุนทางการทองเที่ยวที่สามารถทองเที่ยวไดทั้งป ซึ่งมีทั้ง ดานวัฒนธรรม ดานการเกษตร ดานศิลปหัตถกรรม ดานสันทนาการ ดานโบราณคดี ซึ่งไป สอดคลองกับ ทุนขั้นกอรูปได (Embodied state)ของ บูดิเออร ซึ่งขั้นตอนนี้มักจะปรากฏอยูใน รูปของวัฒนธรรม ที่ตองใชระยะเวลาในการสะสมและรวมกันจนเปนรูปราง และเงื่อนไขการ เกิดขึ้นของทุนขั้นกอรูปนี้จะตองอยูในเงื่อนไขของ เวลา (Time) สังคม (Community) ดวย ซึ่ง สิ ่ งเหล า นี ้ ทำให เ กิ ดความแตกต า งของการผลิตซ้ำ ในแตล ะพื้น ที่ (Social Distinction) จน กลายเปนประเพณีและวัฒนธรรม (Culture) ซึ่งในพื้นที่วังหาด จะสงผลใหเกิดสังคมและการ พัฒนาพื้นที่ใน 4 ประเด็น คือ ศาสนสถาน โบราณสถาน ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อางเก็บน้ำ จะทำใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง ประเด็นที่สอง พื้นที่นี้ มีลักษณะเฉพาะทางกายภาพที่นาสนใจที่หลากหลายในการนำ พัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว มีแหลงโบราณคดีที่พบวัตถุโบราณ แหลงน้ำที่มีแกมลิงขนาดใหญ และโซนเลนน้ำแบบทะเลเทียม อาหารและโฮมสเตย แหลงธรรมชาติที่เปนปาชุมชนขนาดหนึ่ง หมื่นไร ตลอดจนวัฒนธรรมในทองถิ่นที่มีประเพณีการไหวสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งทุนที่ปรากฏออกมา อยางเปนรูปธรรม (Objectified State) ซึ่งบูดิเออรระบุวา ทุนนี้ จะสงผานและมองเห็นกันได จนกลายเปนสินคาเชิงวัฒนธรรมที่สามารถนำเขาไปสูกระบวนการของการสะสมทุนจนสามารถ ระเบิ ด แสดงออกมาจนอาจทำให เ กิ ด การครอบงำ (Dominate) ต อ ได หากมี ผ ู  บ ริ โ ภค (Consumer) ที ่ ร ั บ บริ ก ารจนถู ก ครอบงำ (Dominated) ซึ ่ ง การครอบงำในที ่ น ี ้ ค ื อ การที่ นักทองเที่ยวได แชรตอ และซื้อสินคา บริการ กอนเดินทางกลับ หรือกลาวไดวา คือ ความ ประทับที่นาจดจำตอแหลงทองเที่ยว จากขอคนพบและประเด็นดังกลาวสามารถสรุปเปนรูปแบบการรับรูอัตลักษณของ แหลงทองเที่ยวบานวังหาดผานสื่อโฆษณาอัตลักษณไดดังตอไปนี้

ห น้ า | 102

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

ลักษณ

ภาพ1 รูปแบบการรับรูอัตลักษณของแหลงทองเที่ยวบานวังหาดผานสื่อโฆษณาอัต

โดยจากขอสรุปของการวิจัยพบวา การรับรูอัตลักษณของแหลงทองเที่ยวบานวังหาด ผ า นสื ่ อโฆษณาอั ตลั ก ษณ จ ุ ดหมายปลายทางมี อิทธิพลอยา งมี น ัย สำคัญ ตอ ทั ศนคติ ต  อ สื่ อ โฆษณาอัตลั กษณ จุ ดหมายปลายทางของบ านวั งหาด และสงผลมายังการจดจำจนเกิ ดเปน กระทบตอการทองเที่ยวได โดยปกติในทุกพื้นที่นั้นมีทุนพื้นที่ที่สามารถจำแนกได 3 ลักษณะ ไดแก ทุนทางดาน สั ง คมวั ฒ นธรรม (Socio Cultural Capital) ทุ น ทางด า นการจั ด การการเงิ น (Financial Capital) ทุนทางดานสิ่งแวดลอม (Environment Capital) ทั้งสามทุนพื้นที่ 3 ลักษณะในพื้นที่ วังหาดที่ปรากฏและดำรงอยู ไดแก ศาสนสถาน แหลงโบราณสถาน ปา ธรรมชาติวิถีชีวิตและ สิ่งแวดลอม และอางเก็บน้ำ นี่คือทุนและอัตลักษณพื้นที่ (Flora, C. B., 2004). แตกระบวนการจัดการที่ทำใหเกิดทุนและอัตลักษณพื้นที่จะไมเกิดผลกระทบที่ขยายวง กวางออกไปได นั่นคือการสื่อสาร เพราะจากผลการศึกษาวิจัยนี้พบวา การรับรูสื่อโฆษณามีผล ตอการรับรูและการจดจำอัตลั กษณเ พื่ อนำมาสูแหลงท องเที่ยวได ดังนั้นแลว ที่งานวิจัยนี้ ชี้ใหเห็นถึงความสำคัญคือ

ห น้ า | 103

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

พื้นที่วังหาดมีประสิทธิภาพในการจัดการทุน ทั้งทุนสังคมวัฒนธรรม ทุนการจัดการเงิน และทุนดานสิ่งแวดลอมจนปรากฏเปนอัตลักษณใหเปนการทองเที่ยวได และเมื่อนำอัตลักษณนี้ มาพัฒนาเปนสื่อโฆษณาและทำการสื่อสารใหคนวงกวางรับรูและเขาใจมากขึ้นจึงจะทำใหเกิด การตื่นตัวในดานผลกระทบจนอาจจะนำมาสูการพัฒนาเปนการทองเที่ยวที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น หากแต ก ารก อ รู ป ให เ กิ ด ขึ ้ น ของรู ป แบบในทุ น ต า งๆ สำคั ญ ตรงที ่ ค วามร ว มมื อ และการ ประคับประคองดานการจัดการรูปแบบ ไมวาจะเปนการสรางเรื่องราวเชิงพื้นที่ (Local Story) การฝกฝนและสงตอใหคนรุนตอไปเห็นความสำคัญ Bourdieu, P. (1997). สรุปคือ วังหาดเต็มไปดวยอัตลักษณและประสิทธิภาพที่พรอมจะพัฒนาสูการทองเที่ยว ผานทุนในพื้นที่ และเมื่อสื่อสารอัตลักษณออกไปผูรับรู รูสึกสนใจ และจดจำอัตลักษณพื้นที่ได จึงเปนเรื่องที่สำคัญหากจะมีการพัฒนาเตรียมรับมือผลกระทบทั้ง 3 มิติที่จะเกิดขึ้นหากมี นักทองเที่ยวหรือผูสนใจเขาพื้นที่ในอนาคต ขอเสนอแนะการวิจัย (Research Suggestions) 1. ขอเสนอแนะทั่วไป หากมีการศึกษาวิจัยเพื่อประยุกตใชทางการตลาดในบริบทที่มีความใกลเคียง ประเด็น สำคัญที่ควรคำนึงกอนลงมือทำการตลาดคือ การนำทุนทางพื้นที่มาสรางอัตลักษณของพื้นที่ให ชัดเจนกอนที่จะดำเนินกระบวนการสื่อสารทางการตลาดและการสื่อสาร เพราะจะเปนสิ่งที่ชวย สรางการรับรูที่ดีและนำไปสูความประทับที่นาจดจำตอแหลงทองเที่ยว ซึ่งถาหากนำเสนอความ เปนพื้นที่โดยขาดอัตลักษณที่ชัดเจน อาจจะทำใหผูบริโภคและผูรับสารไมเขาใจ ความโดดเดน ของพื้นที่ไดและในมิติเชิงนโยบาย หนวยงานรัฐและเอกชน ควรมีการสงเสริม ความรู และธำรง รักษาภูมิป ญญา อันเปนทุนวัฒ นธรรมของพื้ นที่ เ อาไวอยางตอเนื่ องและมากขึ้ น อย า งเป น รูป ธรรม ในขณะเดี ย วกั น ควรอนุ ร ั กษ แบบเผยแพร ให ประชาชนและคนภายนอกได มีสวน เกี่ยวของเพื่อสรางคุณคาของพื้นที่ตอไป 2. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป การศึกษาถึงปจจัยทางดานการพัฒนาอัตลักษณที่นาสนใจสูการเปนเนื้อหาที่มีผลตอ การบอกตอโดยเชื่อมโยงจากสนามอัตลักษณสูสนามการตลาดเพื่อเปนการกระตุนใหเกิดการเขา มามีสวนรวมมากขึ้น

ห น้ า | 104

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

เอกสารอางอิง (References) Cohen, L. J. (1977). The probable and the provable Oxford: Clarendon Press. 75. Cornelia Butler Flora. (2004). Social Aspect of small water systems. Journal of Contemporary Water Research & Education. 12(8), 6-12, Echtner, C. M., & Ritchie, J. B. (2003). The meaning and measurement of destination image: [Reprint of original article published in v. 2, no. 2, 1991: 2-12.]. Journal of tourism studies. 14(1), 37-48. Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. (2006). Multivariate data analysis. Uppersaddle River. Hu, L. T., & Bentler, P. M. (1999). Cut off criteria for fit indexes in covariance structure analysis: Conventional criteria versus new alternatives. Structural equation modeling: a multidisciplinary journal. 6(1), 1-55. Jittraporn Sutthiworaseth et.al (2014). Communication for Sustainable Development to Promote Tourist Activities of Floating Market along the River Banks of Central Region. Journal of communication and innovation NIDA. 1(1), 99-130. Kim, J. H., Ritchie, J. B., & McCormick, B. (2012). Development of a scale to measure memorable tourism experiences. Journal of Travel research. 51(1), 12-25. Kim, J., Ahn, K., & Song, H. (2017). Effects of media and destination image on the behavioral intention to visit Hwacheon Sancheoneo Ice Festival. 관광연구저널. 31(4), 27-41. Lee, G., & Tussyadiah, I. P. (2010). Textual and visual information in eWOM: a gap between preferences in information search and diffusion. Information technology & tourism. 12(4), 351-361. Malinee Sontimul and Ittikorn Khamdej. (2014). Satisfaction of foreign tourists on services of five-star hotels in BANGKOK. Journal of Finance, Investment, Marketing and Business Management. 4(1), 204-216 Mohammad shafiee, Majid & Tabaeeian, Reihaneh & Tavakoli, Hoda. (2016). The effect of destination image on tourist satisfaction, intention to revisit and

ห น้ า | 105

วารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน 2565

WOM: An empirical research in Foursquare social media. 10th International Conference on e-Commerce in Developing Countries: with focus on e-Tourism (ECDC). 1-8. Muhoho-Minni, P., & Lubbe, B. A. (2017). The role of the media in constructing a destination image: The Kenya experience. Communication. 43(1), 58-79. Suwat Chimasungkanant. (2017). The Building A Brand Image Brand Identity of Pomelo Which Case of Nakhon Pathom Province. Ph. D. in Social Sciences Journal. 7(1), 203-219. Thongyaem, Y., & Leevisitpattana, P. (2020). Online Marketing Communication Strategies by Using Local Identities to Create Doi Phao Thai Coffee Community Brand of Ban Rak Thai Noen Maprang District, Phitsanulok Province. Journal of Legal Entity Management and Local Innovation. 6(4), 55-68.

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.