แฟ้มผลงานมาตรฐานที่ 1-3 (008 อุทัยรัตน์ แก้วมีชัย) Flipbook PDF

แฟ้มผลงานมาตรฐานที่ 1-3 (008 อุทัยรัตน์ แก้วมีชัย)

11 downloads 113 Views 27MB Size

Recommend Stories


008
Vacante para el puesto de Auxiliar de Activos (agente contractual, GF III) en la Oficina Europea de Apoyo al Asilo (EASO) REF.: EASO/2016/CA/008 Publi

008 art
PRODUCTORES LECHEROS - DEC.778/008 art. 4 TITULARES DE EXPLOTACIONES PECUARIAS, GANADEROS Y LECHEROS - DEC. 778/008 art.5 FORMULARIO 3905 INSTRUCTIVO

ORIENTACION PROFESIONAL No. 008
ORIENTACION PROFESIONAL No. 008 CERTIFICACIONES DEL CONTADOR PUBLICO PARA FINES DEL ARTICULO 50 DE LA LEY 789 DE 2002 Y EL ARTICULO 9 DE LA LEY 828 DE

Story Transcript

แฟ#มผลงาน ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา1 โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ จัดทำโดย นางสาวอุทัยรัตนAแกCวมีชัย นักศึกษาชั้นปGที่4 รหัสนักศึกษา6211011320008 ครูพี่เลี้ยง ครูพรรณทิยาเพ็ชรจำรัส ครูกาญจนาธรรมลังกา อาจารยAนิเทศกA อาจารยAอภิชญา ทองประดับเพชร ภาคเรียนที่1 ปGการศึกษา2565 หลักสูตรศึกษาศาสตรAบัณฑิต คณะครุศาสตรA สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต


คำนำ แฟ#มมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยเป3นแฟ#มผลงานที่เกี่ยวกับการรวบรวมการปฏิบัติงานใน หน?าที่ครูฝCกสอน การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน จัดทำสื่อการสอนในหนLวยการเรียน ซึ่งเป3นการ วางแผนงานตLางๆ การจัดสภาพแวดล?อมในชั้นเรียน การเขียนแผนการสอนและการพัฒนาตนเองใน การเป3นครูปฐมวัยในอนาคต การจัดทำแฟ#มผลงานเลLมนี้จึงเป3นการรวบรวมข?อมูลที่เกี่ยวข?องกับการ ฝCกประสบการณUในระดับชั้นบ?านสาธิต รวมทั้งเอกสารตLางๆ โดยหวังวLาจะเป3นประโยชนUตLอผู?ที่สนใจ ตLอไป ทั้งนี้ข?าพเจ?าขอขอบคุณ ดร. สิทธิพร เอี่ยมเสน ผู?อำนวยการโรงเรียนสาธิตละอออุทิศที่ เป[ดโอกาสให?นักศึกษาชั้นป\ที่ 4 ได?ปฏิบัติงานวิชาชีพครูในโรงเรียนสาธิตละอออุทิศ ขอขอบพระคุณ ครูอภิชญา ทองประดับเพชร (อาจารยUนิเทศกU) ที่ได?ให?คำปรึกษาและคำแนะนำในระหวLางการฝCก ปฏิบัติงานวิชาชีพครูรวมทั้งขอขอบพระคุณคุณครูพรรณทิยา เพ็ชรจำรัส และคุณครูกาญจนา ธรรมลังกา (ครูพี่เลี้ยง) ที่คอยดูแลเอาใจใสLให?ความรู?ในวิชาชีพครูให?คำปรึกษาให?คำแนะนำ ซึ่งเป3น สLวนหนึ่งของการจัดทำแฟ#มผลงานให?ผLานลุลLวงไปด?วยดีหากมีข?อผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด?วย นางสาวอุทัยรัตนUแก?วมีชัย นักศึกษาฝCกประสบการณUระดับชั้นบ?านสาธิต 1


ประวัติส)วนตัว ประวัติการฝCกประสบการณUวิชาชีพครู การปฏิบัติงานในสถานศึกษา 1 โรงเรียนสาธิตลอออุทิศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่อยูL : บ?านเลขที่ 152 หมูLที่ 4 ถนนบ?านถ้ำใหญLตำบล ถ้ำใหญLอำเภอทุLงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80110 เบอรUโทรศัพทU: 0653572520 Gmail : [email protected] ID : 0653572520 FB : Uthairat Kaewmeechai นางสาวอุทัยรัตนUแก?วมีชัย (แป#ง) รหัสนักศึกษา 6211011320008 วัน/เดือน/ป\เกิด : 14 พฤษภาคม 2543 อายุ22 ป\ ศาสนา : พุทธ กรุÑปเลือด : A ประวัติการศึกษา ระดับชั้นอนุบาล : ศูนยUเด็กเล็กบ?านน้ำพุ ระดับชั้นประถมศึกษา : โรงเรียนวัดถ้ำใหญL ระดับชั้นมัธยม (ตอนต?น - ตอนปลาย) : โรงเรียนทุLง สง ระดับอุดมศึกษา : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตรU มหาวิทยาลัยสวนดุสิต


ประวัติของโรงเรียน กLอน พ.ศ. 2482 การอนุบาลศึกษาของไทยยังไมLเป3นที่รู?จักแพรLหลาย เพราะมีโรงเรียนเอกชน เพียง 2 แหLงที่จัดสอนระดับชั้นอนุบาล คือ โรงเรียนมาแตรUเดอีและโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัยแตLก็ยังไมLได?สอน เต็มรูปแบบการจัดการศึกษาระดับอนุบาลของมาดามมอนเตสเซอรี่เน?นเพียงการให?เด็กร?องเพลงเลLนและ แสดงภาพประกอบตัวอักษรเทLานั้นเมื่อหมLอมเจ?ารัชฎาภิเษก โสณกุล อธิบดีกรมศึกษาธิการซึ่งเป3นเพียงกรม เดียวของกระทรวงศึกษาธิการ (กระทรวงธรรมการ) ในขณะนั้นได?เล็งเห็นวLาการอนุบาลมีความสำคัญอยLาง ยิ่งสำหรับการพัฒนาเด็กจึงมีนโยบายที่จะตั้งโรงเรียนอนุบาลของรัฐขึ้นโดยในป\พ.ศ.2482 กระทรวงศึกษาธิการได?แตLงตั้งกรรมการ 3 คน เพื่อพิจารณาจัดตั้งโรงเรียนอนุบาลเต็มรูปแบบขึ้น เรียกวLา "กรรมการจัดโครงการโรงเรียนอนุบาล" ประกอบด?วยนายนาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา (เคยเรียนการอนุบาล มอนเตสเซอรี่ที่ประเทศอิตาลี) ม.ล.มานิจ ชุมสาย และ นางแพทยพัทยภาคยU (หัวหน?านาง พยาบาลศิริราช) คณะกรรมการได?ตกลงวLาให?โรงเรียนอนุบาลรับเด็กอายุสามขวบครึ่งเข?าเรียนแบบมอนเตสเซอรี่ คือ ร?องเพลง เลLานิทาน เน?นเรียนรู?จากการเลLน เชLน ให?สังเกตอักษรกับภาพจับคูLกัน ให?เลLนรูปทรงตLางๆ รวมทั้งดูแล อบรม สร?างนิสัยที่ดีให?กับเด็กๆ เชLน รักษาความสะอาด ความเป3นระเบียบ สุขนิสัยในการกินอยูL การมีเพื่อน ความมีน้ำใจฯลฯ เพื่อพัฒนารLางกายและจิตใจของเด็กไปในแนวทางที่ถูกต?องดีงามเพื่อที่จะให?การดำเนินงาน ด?านอนุบาลศึกษาเป3นไปตามโครงการ กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกผู?สนใจไปศึกษา และดูงานการอนุบาลศึกษาที่ประเทศญี่ปุãน เป3นเวลา 6 เดือนเพื่อให?มีความรู?และกลับมาชLวยจัดตั้งโรงเรียน อนุบาล ผู?ที่สอบได?คือ นางจิตรา ทองแถม ณ อยุธยา (คุณหญิงจิตรา ทองแถม ณ อยุธยา) เมื่อกลับมาจึง จัดเตรียมดำเนินงานโรงเรียนอนุบาลในป\พ.ศ.2482 ในระหวLางการดำเนินการจัดตั้งโรงเรียนอนุบาลเมื่อป\ พ.ศ. 2482 นั้นกระทรวงศึกษาธิการได? วางแผนจัดเตรียมครูอนุบาลให?กลับมารับราชการในโครงการนี้ จึงประกาศสอบคัดเลือกครูเพื่อไปเรียนวิชา อนุบาลที่ประเทศญี่ปุãน มีผู?ผLานการคัดเลือก 4 คน คือ น.ส.สมถวิล สวยสำอาง (สังขทรัพยU) , น.ส.เบญจา ตุลคะศิริ(คุณหญิงเบญจา แสงมลิ) , น.ส.สรัสวดีวรรณโกวิท และ น.ส.เอื้อมทิพยUเปรมะโยธิน (วินิจฉัยกุล) ซึ่งถือวLาทั้ง4คนนี้เป3นผู?ที่มีบทบาทอยLางยิ่งในการวางรากฐานการสอนในโรงเรียนอนุบาลขณะนั้น กระทรวงศึกษาธิการได?รับเงินบริจาคของ นางสาวลออ หลิมเซLงไถL จำนวนแปดหมื่นบาท จึงได?นำเงินจำนวน ดังกลLาวสร?างตึกอนุบาลขึ้นในโรงเรียนการเรือนพระนคร (มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิตในปéจจุบัน ให?ชื่อตึก หลังนี้วLา "ตึกละอออุทิศ" (เดิมใช?ละอออุทิส) ใช?ตึกหลังนี้เป3นโรงเรียนอนุบาล ชื่อวLาโรงเรียนอนุบาลละออ อุทิศ สังกัดกองฝCกหัดครูกรมสามัญศึกษา ซึ่งถือวLาเป3นโรงเรียนอนุบาล แหLงแรกของกระทรวงศึกษาธิการ


และเป[ดทำการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2483 โดยมีนางจิตรา ทองแถม ณ อยุธยา (คุณหญิง จิตรา ทองแถม ณ อยุธยา) เป3นครูใหญLคนแรกจุดมุLงหมายในการจัดตั้งโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ ขึ้นมาเพื่อ ทดลองและทดสอบวLาประชาชนมีความสนใจและเข?าใจเรื่องการอนุบาลศึกษาอันเป3นรากฐานการเรียนรู?ของ เด็กมากน?อยเพียงใด สำหรับผู?ที่ดำเนินการอนุบาล คือ หมLอมหลวงมานิจ ชุมสาย หัวหน?ากองฝCกหัดครูและ นางจิตรา ทองแถม ณ อยุธยา หัวหน?าแผนกโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ ซึ่งปรากฏวLาในระยะ 1 ป\ที่เป[ด ดำเนินการประชาชนมีความสนใจพากันนำบุตรหลานมาเข?าโรงเรียนละอออุทิศเป3นจำนวนมากจนต?องขยาย ชั้นเรียนเพิ่มขึ้นอีกและกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายที่จะเป[ดโรงเรียนอนุบาลของรัฐขึ้นในตLางจังหวัดด?วย การดำเนินงานของโรงเรียนอนุบาลลอออุทิศประสบกับความสำเร็จเป3นที่นLาพอใจกระทรวงศึกษาธิการจึง มอบหมายให?กองฝCกหัดครู โดยหมLอมหลวงมานิจ ชุมสายหัวหน?ากองฝCกหัดครูดำเนินการให?โรงเรียนอนุบาล ละอออุทิศเป[ดรับนักเรียนฝCกหัดครูที่สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรประโยคครูประถมเข?ารับการอบรม หลักสูตร 1 ป\เพื่อเป3นครูอนุบาล ซึ่งเป3นการเป[ดแผนกฝCกหัดครูอนุบาลขึ้นเป3นป\แรกให?นางจิตร ทองแถม ณ อยุธยา เป3นหัวหน?าแผนกอบรมครูอนุบาลอีกตำแหนLงหนึ่งด?วย มีผู?สมัครเข?ารับการอบรมในป\แรกเพียง 10 คน และเมื่อสำเร็จการศึกษาก็ได?รับการบรรจุเป3นข?าราชการครูอนุบาลรุLนแรกของโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ ตLอมาในป\พ.ศ. 2485 กระทรวงศึกษาธิการได?ให?นางจิตรา ทองแถม ณ อยุธยา ย?ายไปรับราชการตำแหนLง อาจารยUโรงเรียนศิลปากร และแตLงตั้งให?นางสาวสมถวิล สวยสำอาง ดำรงตำแหนLงแทนและได?ดำเนินงาน ด?านการอนุบาลศึกษาใน คุณยายลออ หลิมเชLงไถL นายนาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา นางสมถวิล สังขทรัพย (นางสาวสมถวิล สวยสำอาง)


เนื่องจากโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศได?รับความสนใจจากประชาชนอยLางรวดเร็วในป\ พ.ศ. 2486 จึงได?มีการ ขยายการฝCกหัดครูอนุบาลโดยให?นางสาวเบญจา ตุงคะศิริ(คุณหญิง เบญจา แสงมลิ) ซึ่งสำเร็จการศึกษาจาก ประเทศญี่ปุãน มารับหน?าที่หัวหน?าแผนกฝCกหัดครูอนุบาลเป3นคนแรก และเป3นผู?มีสLวนสำคัญยิ่งในการ วางรากฐานด?านการฝCกหัดครูอนุบาลของประเทศไทย โดยเสนอปรับปรุงหลักสูตรใหมLจากการอบรมครูอนุบาล (พ.ศ. 2484-2485) มาเป3นหลักสูตรการอนุบาลศึกษาสำหรับผู?เข?าเรียน ในชLวงระหวLางป\พ.ศ. 2487-2490ได?มี การแยกสLวนการบริหารจัดการระหวLางโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศกับแผนฝCกหัดครูอนุบาล โดยนางสาวสมถวิล สวยสำอาง เป3นครูใหญLโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ และ นางสาวเบญจา ตุงคะศิริเป3นหัวหน?าแผนกฝCกหัดครู อนุบาล ในป\ 2488 นักเรียนฝCกหัดครูอนุบาลต?องอพยพไปเรียนที่โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทราสLวน โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศได?ป[ดการเรียนชั่วคราว พ.ศ.2490 แผนกฝCกหัดครูอนุบาลได?มาเป[ดทำการสอนที่ หลังกระทรวงศึกษาธิการ ตLอมานางสาวสมถวิล สวยสำอาง ได?ทำการลาออก (13 ตุลาคม พ.ศ.2490) นางสาว เบญจา ตุงคะศิริ ได?รับการแตLงตั้งให?ดำรงตำแหนLง ครูใหญLโรงเรียนอนุบาลลอออุทิศอีกตำแหนLงหนึ่งและได? ย?ายการฝCกหัดครูอนุบาลมาอยูLที่เดิมในโรงเรียน การเรือน ผศ.อารยา สุขวงศU ผู?ชLวยศาสตราจารยUจงรักษUอังกุราภินันทU


ในป\ พ.ศ. 2527 ผู?ชLวยศาสตราจารยUสมใจ ทิพยUชัยเมธา เกษียณอายุราชการผู?ชLวยศาสตราจารยU อารยา สุขวงศUได?รับตำแหนLงให?ดำรงตำแหนLงครูใหญLโรงเรียนสาธิตอนุบาลละอออุทิศ ในชLวงระยะเวลานี้มีการ เปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษาทางด?านการอนุบาลศึกษาเป3นอยLางมากในประเทศไทยจากการที่มีจำนวน ประชากรเพิ่มขึ้นในวัยอนุบาล และความตื่นตัวของประชากรในการให?การศึกษาสำหรับเด็กอนุบาลทำให?การ แขLงขันของโรงเรียนอนุบาลมีมาก มีโรงเรียนอนุบาลเกิดขึ้นใหมLทั้งของรัฐ และเอกชน ประกอบกับผู?ปกครอง สLวนใหญLอยูLในวัยทำงาน ทำให?มีการจัดชั้นเรียนเพิ่มขึ้นมีการเป[ดระดับชั้นเด็กเล็ก (กLอนอนุบาล) และขยายการ จัดชั้นอนุบาลจาก 2 ป\เป3น 3 ป\เปลี่ยนชื่อจากการจัดการศึกษาระดับอนุบาลไปเป3นการจัดการศึกษาปฐมวัย เพื่อให?สอดคล?องกับชLวงระยะทางการจัดการศึกษา จากการแขLงขันทางการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยทำให? ปรัชญาในการจัดการศึกษาจากเดิมที่เป3นการเตรียมความพร?อมสำหรับเด็กกLอนจะเข?าเรียนประถมศึกษาป\ที่ 1 มาเป3นการเตรียมความพร?อมทางด?านวิชาการมากขึ้น โดยการเพิ่มการเรียนรู?ในภาษาอังกฤษ คณิตศาสตรUและ สังคมมากขึ้น เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของผู?ปกครองที่ต?องการเห็นลูกหลานตนเองเกLง และสามารถสอบ คัดเลือกเข?าเรียนในระดับประถมของโรงเรียนที่มีชื่อเสียงได?การยัดเยียดความรู?ทางวิชาการให?กับเด็กวัยนี้เป3น สLวนที่ทางโรงเรียนสาธิตอนุบาลลอออุทิศไมLเห็นด?วย จึงยังคงยึดแนวทางและปรัชญาเดิม เพื่อให?เด็กมีความ พร?อมทั้งด?านรLางกาย อารมณUและสังคมกLอนการเรียนรู?ทางวิชาการ


รูปแบบการจัดการเรียนการสอน ปéจจุบันทางโรงเรียนยังได?นำแนวทางการประเมินผลพัฒนาการเด็กโดยใช?แฟ#มผลงาน ดังกลLาวมาใช?และพัฒนาปรับปรุงใช?ให?เหมาะสมโดยเพิ่มในสLวนของการรายละเอียดตLางๆดังตLอไปนี้ การให?รายละเอียดเกี่ยวกับนิยามศัพทUเฉพาะที่เกี่ยวข?องในการจัดเก็บแฟ#มผลงาน ผลงานอิสระ หมายถึง ผลงานที่เด็กเป3นผู?คัดเลือกจากผลงานตLางๆ ผลงานที่ผู?ปกครองเลือก หมายถึง ผลงานเด็กที่ผู?ปกครองคัดเลือกจากผลงานเด็กที่ได?รับจากครูหรือ คัดเลือก จากผลงานที่เด็กกับผู?ปกครองรLวมกันสร?างสรรคU ผลงานเฉพาะ หมายถึง ผลงานที่ครูเป3นผู?จัดเก็บโดยครูเป3นผู?กำหนดเป#าหมายหรือวัตถุประสงคU ในการจัดเก็บและเขียนขั้นตอนการทำกิจกรรมในงานชิ้นนั้นอยLางละเอียดชัดเจน โดยคำนึงถึง ความสอดคล?องของหลักการจัดประสบการณUของโรงเรียนที่เน?นทักษะกระบวนการคิดทักษะการคิดทาง วิทยาศาสตรUรวมถึงเขียนรายละเอียดเกี่ยวกับบทบาทของผู?เกี่ยวข?องในแฟ#มผลงาน เด็ก สร?างสรรคUผลงานจากกิจกรรมที่บ?านและที่โรงเรียนคัดเลือกผลงานตนเองที่ทำทั้งจากที่บ?านและที่ โรงเรียน สะท?อนความคิดเห็นจากผลงานของตนเอง โดยบอกเหตุผลในการเลือกผลงานวLาเพราะเหตุใด จึงเลือกงานชิ้นนี้สะท?อนความคิดเห็นตLอผลงานของผู?อื่น โดยการกลLาวชื่นชมหรือข?อเสนอแนะในผลงาน ชิ้นนั้น ผู

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.