นิตยสารออนไลน์ รอบรู้สุขภาพ กับ ราชประชา (ฉบับที่ 1) Flipbook PDF


66 downloads 117 Views 96MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

นิตยสารออนไลนรอบรูสุขภาพ (ฉบับที่ 1) ราย 6 เดือน ป 2566

เคล็ด(ไม่)ลับ จัดการความเครียด • • • •

“หาสาเหตุผิวหนัง...ผื่นแพ้ สัมผัสด้วย Patch test” ลุยนํ้ามา ดูแลเท้ายังไงดี? เชื้อดื้อยา คืออะไร? อย่าให้โรคเรื้อน...เป็นโรคที่ถูกลืม

สวัสดีผูอาน นิตยสารรอบรูสุขภาพ กับ ราชประชา ทุกทานครับ นิตยสารรอบรูสุขภาพฉบับนี้ เปนฉบับแรก ที่ทางสถาบันราชประชาสมาสัย ไดจัดทําขึ้นเพื่อเผยแพรความรูสุขภาพดานตางๆ ในเนื้อหาที่เขาใจงาย เเละสามารถ นําไปปฏิบัติไดจริง การสร า งความรอบรู  ด  า นสุ ข ภาพให กั บ ประชาชน เป น องค ป ระกอบสํ า คั ญ ในการพั ฒ นาความสามารถ ของประชาชน ในการเขาถึง เขาใจ และใชขอมูลขาวสาร นําไปสูการตัดสินใจที่เหมาะสม ความรอบรูดานสุขภาพ จึงถือเปนสิ่งสําคัญ และนับไดวาเปนปจจัยพื้นฐานนําไปสูการมีสุขภาวะที่ดีขึ้นไดครับ ทัง้ นี้ การรอบรูส ขุ ภาพเปนเรือ่ งของทุกคนในองคกร การสงเสริมใหบคุ ลากรและผูร บั บริการ มีความรอบรูส ขุ ภาพ โดยสรางกลไกในการขับเคลื่อนใหสามารถบรรลุเปาหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งการนํากลไกดานการสื่อสารสุขภาพ มาดําเนินการ ใหกลุมเปาหมายสามารถเขาถึงขอมูล มีความเขาใจ และมีการตัดสินใจในการมีพฤติกรรมที่ถูกตอง เหมาะสมเกี่ยวกับสุขภาพ เพื่อบรรลุเปาหมายการมีสุขภาพดีไดในที่สุด หากทานผูอ า น ตองการขอมูลสุขภาพทีถ่ กู ตอง และนําไปใชในการดูเเลสุขภาพในชีวติ ประจําวัน สามารถติดตาม ได ท างนิ ต ยสารรอบรู  สุ ข ภาพ กั บ ราชประชา เเละทาง fanpage สถาบั น ราชประชาสมาสั ย สํ า หรั บ ในฉบั บ นี้ ก็เขาสูการเริ่มตนป 2566 ในนามของสถาบันราชประชาสมาสัย ขอใหผูอานทุกทานดูแลรักษาสุขภาพกาย ใจ ใหพรอม ในการทํางาน และเริ่มตนสิ่งดีๆ ตลอดทั้งปครับ

นายแพทยจุมพล ตันติวงษากิจ ผูอํานวยการสถาบันราชประชาสมาสัย

สวัสดีผูอานทุกทาน ขอเริ่มตนป 2566 ดวยนิตยสารรอบรูสุขภาพ กับ ราชประชา ฉบับที่ 1 ในปนี้ กันคะ ซึ่งเปนฉบับแรก ที่ทางสถาบันราชประชาสมาสัย ไดจัดทําขึ้น เพื่อสื่อสารความรูดานสุขภาพ ในเนื้อหาที่เขาใจงาย และนําไปปรับใชในชีวิตประจําวันได ผูอานทุกทานจะไดรับสาระ ความรู เกี่ยวกับสุขภาพในทุกๆ ดาน และสามารถ นําไปปรับเปลี่ยนใหมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีไดอยางแนนอนคะ สําหรับเนื้อหาในนิตยสารรอบรูสุขภาพ ฉบับนี้ เริ่มตนดวย คอลัมน “เรื่องเลา...ราชประชา” เปนการเลา เรื่องราวของสถาบันราชประชาสมาสัย ในอดีต จนถึง ปจจุบัน ทุกทานจะไดทราบถึงประวัติการกอตั้งสถาบันฯ และรับชมภาพอดีตและเรือ่ งราวตางๆ ไดในฉบับนีก้ นั คะ การเริม่ ตนป ทานผูอ า นอาจจะมีแผนการเดินทางไปทองเทีย่ ว หรือไปหาญาติผูใหญ ซึ่งจะมีขอแนะนําในการเดินทางเพื่อใหถึงที่หมายอยางปลอดภัย สําหรับคอลัมน “คําถาม มีคําตอบ” ก็จะพบเนื้อหาสาระความรูดีๆ ในการดูแลสุขภาพเทา เมื่อตองเดินลุยนํ้า คอลัมน “รอบรูเรื่องยา” เปนเรื่องใกลตัวที่สําคัญ ในฉบับนี้ก็จะมาดูกันวาเชื้อดื้อยา คืออะไร? สําหรับ คอลัมน “สารพันปญหาโรคผิวหนัง” ก็จะเปนเนื้อหาเกี่ยวกับการทดสอบผิวหนังเมื่อสงสัยผื่นแพสัมผัส โดยการทํา Patch test จะเปนยังไง สามารถติดตาม ความรูจากคุณหมอ ไดในคอลัมนนี้กันคะ เดือนมกราคม นอกจากจะเปนเดือนทีเ่ ริม่ ตนปแลว ยังเปนเดือนทีม่ คี วามสําคัญอยางยิง่ กับสถาบันราชประชาสมาสัย โดยวันที่ 16 มกราคม ของทุกป ถือเปน “วันราชประชาสมาสัย” เพื่อเปนการสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่พระองคทานไดทรงพระราชทานกําเนิดสถาบันราชประชาสมาสัย โดยมีวัตถุประสงคในการ ควบคุมและกําจัดโรคเรื้อนใหหมดไป ทั้งนี้สาระสําคัญในฉบับนี้ก็จะมีความรูเกี่ยวกับโรคเรื้อน มาฝากผูอานทุกทาน กันดวยคะ สําหรับคอลัมน “หองสบายใจ”ก็จะเปนเนื้อหาในการดูแลจิตใจผูปวยโรคเรื้อน โดยมีเคล็ดลับงายๆ ในการจั ด การความเครี ย ดมาฝากกั น ค ะ และท า นใดมี ป  ญ หาสุ ข ภาพเกี่ ย วกั บ โรคข อ เข า เสื่ อ ม ก็ เข า มาอ า น กั น ได ใ นคอลั ม น “สร า งสุ ข (ภาพ)” นะคะ สํ า หรั บ การดู แ ลสุ ข ภาพของคนทํ า งาน ก็ ห  า มพลาดในคอลั ม น “สูตรลับหางไกลโรคจากการทํางาน” และพบกับคอลัมน “เก็บมาฝาก” นองบรรณารักษ ไดหยิบยกหนังสือ นาอานมาใหเราไดติดตามกันอีกดวยคะ ขอใหผูอานทุกทาน มีความสุข กาย สบายใจ ปลอดโรค ปลอดภัย และรักษา สุ ข ภาพทั้ ง ตนเอง และคนใกล ชิ ด เพื่ อ มี ค วามสุ ข ในการใช ชี วิ ต และการทํ า งาน ตลอดทั้งป... กลับมาพบกันใหม ในฉบับหนานะคะ ดร.นวิยา นันทพานิช นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ บรรณาธิการ นิตยสารรอบรูสุขภาพ กับ ราชประชา

บรรณาธิการ ดร.นวิยา นันทพานิช

กองบรรณาธิการ ดร.นฤมล ใจดี นางสาวจุรียวัลย วาสะ นายสุรชัย ขําเมือง

ช่างภาพ นายทวีศักดิ์ วงษชู

เรื่องเล่า...ราชประชา

6

รูจักสถาบันราชประชาสมาสัย

สารพั นปัญหาโรคผิวหนัง

8

“หาสาเหตุผิวหนัง...ผื่นแพสัมผัสดวย Patch test”

รอบรู้เรื่องโรค

10

อยาใหโรคเรื้อน เปนโรคที่ถูกลืม

สร้างสุ ข(ภาพ)

13

โรคขอเขาเสื่อม…ทุกคนปองกันได

สูตรลับห่างไกลโรคจากการทํางาน 14 ปลอดภัย ปลอดโรคจากการทํางาน

รอบรู้เรื่องยา

16

เชื้อดื้อยา คืออะไร

คําถามมีคําตอบ

17

ลุยนํ้ามา ดูแลเทายังไงดี?

ห้องสบายใจ

18

ดูแลจิตใจผูปวยโรคเรื้อน

รู้ทันโรคยอดฮิต

20

เริ่มตนป...ปลอดภัยจากอุบัติเหตุ

เก็บมาฝาก แนะนํา...หนังสือนาอาน

21

ติดตอกันอยางไร? ติ ด ต อ ผ า นระบบทางเดิ น หายใจ ซึ ่ ง เชื ้ อ จะแพร อ อกมาจาก โพรงจมูกของผูปวยที่ยังไม ไดรับการรักษา แตติดตอไดยากมาก สำหรับผูที่มีโอกาสเสี่ยงสูงในการติดเชื้อ คือผูที่สัมผัสคลุกคลี ใกล ช ิ ด เป น เวลานาน กั บ ผู  ป  ว ยที ่ ย ั ง ไม ไ ด ร ั บ การรั ก ษา เเละไม ม ี ภูมิตานทานตอเชื้อโรคเรื้อน

รักษาหายหรือไม?

โรคเรื้อน (Leprosy) โรคเรื้อนเปนโรคติดตอเรื้อรังที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อนี้จะทำใหเกิดผื่นผิวหนัง เเละทำลายเสนประสาทสวนปลาย เปนโรคที่สามารถรักษาใหหายขาดไดแตถาไมไดรับการรักษา อยางถูกตอง และทันทวงทีจะกอใหเกิดความพิการได

โรคเรื้อนสามารถรักษาใหหายขาดได ดวยวิธีรับประทานยาตาน จุลชีพ (antibacterial drug) การใชยาชนิดเดียว ไมสามารถ ทำลายเชื้อโรคเรื้อนในรางกายไดหมด 100% จึงเปนหลักสำคัญ ในการรักษาโรคเรื้อน ที่ตองใชยารักษาโรคเรื้อนพรอมกันอยางนอย 2 ชนิด โดยผูปวยประเภทเชื้อนอยใชเวลารักษา 6 เดือน ประเภท เชื้อมากใชเวลารักษา 2 ป ซึ่งในระหวางการรักษาผูปวยสามารถ อยูรวมกับครอบครัวเเละดำเนินชีวิตไดตามปกติ

อาการของโรค

รอยโรคที่ผิวหนัง

ผื่นผิวหนัง เปนวงดางสีจางหรือแดงกวาผิวหนังปกติ บริเวณรอยโรคแหง เหงื่อไมออก อาจพบขนรวง ที่สำคัญ รอยโรค จะมีอาการชา ไมคัน หรือเปน ตุมนูนแดงทั่วตัว ไมชา ไมคัน เปนเรื้อรังนานมากกวา 3 เดือน หากไมไดรับการรักษา อาจทำใหเกิดความพิการบริเวณ ตา มือ เเละเทาได

เอกสารแนะนำ ความรูโรคเรื้อน สำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข และบุคคลทั่วไป

วงดางขาว

วงดางขาว ขอบชัด

ผื่นขอบชัด

ผื่นรูปวงแหวน

ตุมแดงเปนมัน

ผื่นและตุมนูนแดง กระจายทั่วรางกาย

หากมีอาการ “ผิวหนังเปนวงดางสีขาว สีซีดจางหรือแดงกวาผิวหนังปกติ มีอาการชา หรือเปนผื่นนูนแดง ตุมแดง ไมคัน รีบพบแพทย รักษาหายได ไมพิการ”

สถาบันราชประชาสมาสัย

สถาบันราชประชาสมาสัย กรมควบคุมโรค Rajpracha News

02-385-9135-7, 02-386-8153-9 https://ddc.moph.go.th/rpsi/

àÃ×èͧàÅ‹Ò...ÃÒª»ÃÐªÒ นางสาวจุรียวัลย วาสะ นักประชาสัมพันธ

ÃÙŒ¨Ñ¡Ê¶ÒºÑ¹ÃÒª»ÃЪÒÊÁÒÊÑ เมื่ อ กล า วถึ ง “โรคเรื้ อ น” ในอดี ต มั ก จะมี ก าร ถายทอดเรื่องราวความทุกขทรมาน ของผูปวยโรคเรื้อน และครอบครัว วาเปนโรคติดตอที่สังคมรังเกียจกลัวมาก ที่ สุ ด ทํ า ให ผู  ป  ว ยโรคเรื้ อ น และครอบครั ว พยายาม หลบซอนตัว ไมสามารถออกมาใชชีวิต หรือประกอบ อาชี พ อย า งคนปกติ ทั่ ว ไปได สะท อ นให เ ห็ น ชี วิ ต ความเปนอยูที่ยากลําบากของผูปวยโรคเรื้อน และหาก ย อ นกลั บ ไป ป อ มปู  เจ า สมิ ง พราย ถื อ เป น สถานที่ ที่ มี ความสําคัญในการปูรากฐานงานโรคเรื้อน และมีประวัติ อั น ยาวนาน โดยสมเด็ จ พระพั น วั ส สาอั ย ยิ ก าเจ า ทรงมีพระราชเสาวนียใหสราง “สํานักคนปวยโรคเรื้อน” โดยใชทดี่ นิ บริเวณปอมปูเ จาสมิงพราย อําเภอพระประแดง จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ ที่ เ ป น จุ ด เริ่ ม ต น ของ “สถาบั น ราชประชาสมาสั ย ” ในปจจุบันคะ

สํานักคนปวยโรคเรื้อน

การตรวจหาเชื้อโรคเรื้อนดวยการกรีดผิวหนัง (slit skin smear) ตําแหนงทดสอบบริเวณติ่งหู

การลงทะเบียนในการรักษาโรคเรื้อน

ตึกสถาบันราชประชาสมาสัยในอดีต

ส ถาบันราชประชาสมาสัย ถือกําเนิดมาจาก

พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบาทสมเด็ จ พระบรมชน กาธิเบศรมหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณตองานโรคเรื้อนในประเทศไทย จากการที่ในอดีตยังไมมียารักษาโรคเรื้อนที่ไดผลดี ผูปวย โรคเรื้ อ นและครอบครัวถูก รังเกียจและถูก เลือ กปฏิ บัติ พระองค ท รงเมตตารั บ โครงการควบคุ ม โรคเรื้ อ น เปนโครงการตามแนวพระราชดําริ เรงรัดขยายโครงการฯ ให ค รอบคลุ ม ทั่ ว ประเทศ ด ว ยมี พ ระราชประสงค ให โรคเรื้ อ นหมดไปจากประเทศไทย ทรงพระกรุ ณ า โปรดเกล า ฯ พระราชทานเงิ น “ทุ น อานั น ทมหิ ด ล” แก ก ระทรวงสาธารณสุ ข ให เ ป น ทุ น เริ่ ม แรกในการ จัดสรางอาคาร เพือ่ เปนสถาบันฝกอบรมและวิจยั โรคเรือ้ น ณ บริเวณสถานพยาบาลพระประแดง จ.สมุทรปราการ โดยได พ ระราชนามว า “สถาบั น ราชประชาสมาสั ย ” อันมีความหมายวา “พระราชากับประชาชนอาศัยซึ่งกัน และกัน” นอกจากสถาบันราชประชาสมาสัย จะเปนหนวยงาน ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญ ในการป อ งกั น ควบคุ ม โรคเรื้ อ น ของประเทศแลว ยังมีการประยุกตและตอยอด องคความรู ความเชีย่ วชาญ และประสบการณการทํางานดานโรคเรือ้ น มาใชในการดําเนินงานดานโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดลอม รวมถึงใหบริการตรวจรักษาโรคทั่วไป ไมวาจะเปนวิวริมแมนํ้าเจาพระยา ปอมปูเจาสมิงพราย แ ล ะ โร ค เ ฉ พ า ะ ท า ง ห า ก ใ ค ร ไ ด  เ ดิ น ท า ง ม า ยั ง กําแพงปอมและปนใหญโบราณที่มีความเปนเอกลักษณ สถาบั น ราชประชาสมาสัย จะพบวาเปนหนวยงานที่ มี และมีความนาสนใจอีกดวยคะ สถานทีต่ งั้ ทีม่ คี วามสวยงาม และมีคณ ุ คาทางประวัตศิ าสตร อางอิง : ราชประชาสมาสัยสาร 2559

สถาบันราชประชาสมาสัยในปจจุบัน

บริเวณปอมปูเจาสมิงพราย

ปนใหญ ริมแมนํ้าเจาพระยา บริเวณสถาบันราชประชาสมาสัย

สารพั นปัญหาโรคผิวหนัง นายแพทยพนด ชินพิพัฒน แพทยเฉพาะทางผิวหนัง สถาบันราชประชาสมาสัย

“หาสาเหตุผิวหนัง... ผื่นแพสัมผัสดวย Patch test” การทดสอบผื่นแพ้ สัมผัส เรียกว่า Patch test คือ การนํากลุ่มสารที่คาดว่าผู้ป่วยอาจมีการสั มผัส แล้วแพ้ มาทดสอบบนแผ่นหลัง ดังนั้นการซักประวัติ และตรวจร่ า งกายจากแพทย์ จึ ง เป็ น สิ่ งสํ าคั ญ ่ แพ้ สัมผัส เพื่ อประเมินว่าเข้าข่ายหรือสงสัยอาการผืน หรื อ ไม่ จะได้ เ ลื อ กใช้ ก ลุ่ ม สารทดสอบได้ เ หมาะสม กั บ ผู้ ป่ ว ยแต่ ล ะราย หากพบว่ า มี อ าการแพ้ จะได้ หลีกเลี่ยงการสัมผัสวัตถุหรือสารที่แพ้ เหล่านั้น

่ ผิวหนังอักเสบ มีสาเหตุไดจากภายในรางกาย และภายนอกรางกาย สําหรับสาเหตุจากภายนอก พบวาเกิดจาก ผืน การระคายเคืองไดบอ ย ขณะทีส่ ว นนอยพบวาเกิดผืน่ แพจากการสัมผัส ซึง่ มีความจําเพาะในแตละบุคคล เชน การลองใช เครือ่ งสําอางทีซ่ อื้ มาใหม แลวเริม่ มีอาการผืน่ อักเสบบริเวณตําแหนงทีใ่ ช การใสตมุ หูโลหะปลอมไปสักระยะ แลวเริม่ เกิดมี ผื่นคันบริเวณรอบตําแหนงที่ใส การเกิดผื่นแพ้ สัมผัส มักจะมีประวัติใชวัตถุ ผลิตภัณฑ หรือสารเคมีในชีวิตประจําวันแลวเกิดผื่นขึ้นทันที หรือผานไปสักระยะหนึ่ง ตําแหน่งที่เกิดผื่น มักจะเกิดบริเวณที่ไดรับการสัมผัสโดยตรงกอน และอาจลุกลามไปสวนอื่นของรางกายได

ขอบงชี้ในการทดสอบ Patch test

• มีประวัติสัมผัสกับวัตถุหรือผลิตภัณฑที่สงสัยแลวเกิด ผื่นอักเสบขึ้น • มี ป ระวั ติ ผื่ น อั ก เสบทั้ ง เฉี ย บพลั น และเรื้ อ รั ง ที่ อ าจ จะเกี่ยวของกับงานที่ทํา • ผื่นที่เปนเรื้อรังที่ด้ือตอการรักษา โดยเฉพาะบริเวณมือ • ผื่ น ผิ ว หนั ง อั ก เสบนอกร ม ผ า ที่ สั ม พั น ธ กั บ การ แพรกระจายของสารทางอากาศ • อาการผืน่ ผิวหนังทีเ่ หอมากขึน้ บนรอยโรคเดิมของผูป ว ย ทีม่ โี รคประจําตัวทางผิวหนัง เชน ผืน่ ภูมแิ พผวิ หนังอักเสบ (Atopic dermatitis) ผื่นผิวหนังลักษณะกลมรีคลาย เหรียญบาท (Nummular eczema) เปนตน

การเตรียมตัวกอน ระหวาง และหลังการทดสอบ

• อาการของผื่นผิวหนังอักเสบโดยรวมควรจะสงบกอน • การทดสอบจะทําบริเวณแผนหลังซึง่ ไมควรจะมีผนื่ หรือตุม อักเสบ หลีกเลีย่ งการออกแดดกลางแจง กอนรับการทํา 4 สัปดาห • งดออกกําลงกายหรืออยูในพื้นที่รอนที่ทําใหเหงื่อออก และงดโดนนํ้าบริเวณแผนหลังตลอด ระยะเวลาที่รับการทดสอบ • หลีกเลีย่ งการรับประทานยาสเตียรอยด (Oral Corticosteroids) หรือถารับประทานควรนอยกวา 15 มิลลิกรัม/วัน และงดรับประทานยากดภูมิ (Immunosuppresive drugs) เนื่องจาก อาจทําใหเกิดผลลบลวง • หากผลการทดสอบพบวามีการแพสาร แพทยจะแจงชื่อสารที่แพ และใหคําแนะนําในการ หลีกเลี่ยงสารที่แพซึ่งอาจมียูในสวนประกอบของวัตถุหรือกลุมผลิตภัณฑที่เกี่ยวของ

ระยะเวลาในการทดสอบ

• ใชระยะเวลาตั้งแตการติดและการแปลผลเปนวันถึงสัปดาห เนื่องจากตองรอการตอบสนองของรางกาย โดยวันแรก ที่นัดมาทําทดสอบ (วันที่ 1) จะเริ่มแปะสารทดสอบที่หลังทิ้งไว และนําสารออกจากแผนหลังจากแปะครบ 48 ชม. • การอ า นผล : อ า นผล 2 ครั้ ง ที่ 48 ชม. (วั น ที่ 3) และ 96 ชม. (วั น ที่ 5) อาจมี ก ารอ า นผลที่ 7 วั น (วั น ที่ 7) หากเกิดปฏิกิริยาลาชาของสารบางชนิด

รอบรู้เรื่องโรค นางนัชชา พรหมทันใจ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ

Âؤ¹Õ.é .. ¾.È. ¹Õ.é .. ถามีใครพูดถึง

“โรคเรือ้ น” คนสวนใหญอาจไมรจู กั ไมเคยเห็น หรือคิดวา โรคนีน้ า จะหายจากโลกใบนีไ้ ปนานแลว แตในความเปนจริง โรคเรือ้ นไมไดหายไปไหน ยังคงพบผูป ว ยโรคเรือ้ นรายใหม อยูใ นหลายประเทศ เชน ประเทศในทวีปแอฟริกา อินเดีย เมียนมาร รวมถึงประเทศไทย ซึ่งปจจุบันพบวาคนไทย ปวยดวยโรคเรือ้ นทีข่ น้ึ ทะเบียนรักษาอยู จำนวน 216 ราย และจากรายงานสถานการณโรคเรือ้ น ป 2565 ของสถาบัน ราชประชาสมาสัย ณ วันที่ 9 ธันวาคม 2565 มีรายงาน การค น พบผู  ป  ว ยโรคเรื ้ อ นรายใหม จำนวน 33 ราย ในจำนวนนี้เปนผูปวยโรคเรื้อนรายใหมที่มีความพิการ ระดับ 2 (ความพิการที่มองเห็นได) 8 ราย

โรคเรื้อนเปนโรคติดตอเรื้อรังที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ทํ า ให เ กิ ด อาการที่ ผิ ว หนั ง และเส น ประสาทส ว นปลาย เชื้อโรคเรื้อนแพรติดตอผานระบบทางเดินหายใจ โดยการ สั ม ผั ส คลุ ก คลี แ ละใกล ชิ ด กั บ ผู  ป  ว ยเชื้ อ มากระยะติ ด ต อ ที่ ยั ง ไม ไ ด รั บ การรั ก ษา ซึ่ ง เป น แหล ง แพร เชื้ อ ที่ สํ า คั ญ อาการเริ่ ม แรกของโรคเรื้ อ นมั ก จะพบว า มี ว งด า ง สี ข าว หรือสีแดง ในวงดางจะแหง เหงื่อไมออกและชา หยิกไมเจ็บ หรือผิวหนังเปนตุม ผื่นนูนแดง ไมคัน ทายากินยา 3 เดือน แลวไมดีขึ้น ปจจุบันยังไมมีวัคซีนหรือยาปองกันโรคเรื้อน แต มีย ารั ก ษาโรคเรื้ อ นที่ ไ ด ผ ลดี ใช เวลา 6 เดื อ นถึ ง 2 ป ขึ้นอยูกับความรุนแรงของโรค ซึ่งถาผูปวยไดรับการรักษา ตั้งแตระยะเริ่มแรก จะไมพิการอยางแนนอน

ÃÍÂâäàÃ×Íé ¹ วงดางขาว

วงดางขาว ขอบชัด

ผื่นขอบชัด

ผื่นรูปวงแหวน

ตุมแดงเปนมัน

ผื่นนูนแดง กระจายทั่วรางกาย

ในวันที่ 16 มกราคม ที่จะเวียนมาถึงนี้ ตรงกับ “วันราชประชาสมาสัย” ซึง่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกา ธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดพระราชทานทุนแกกระทรวงสาธารณสุขในการจัดตั้ง สถาบันราชประชาสมาสัย ใหเปนสถานที่วิจัย คนควา อบรมและใหความรูเ รือ่ งโรคเรือ้ น เพือ่ เปนการนอมรําลึก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ และสื บ สานพระราชปณิ ธ าน การกําจัดโรคเรือ้ นของพระองค สถาบันราชประชาสมาสัย ขอเชิญชวนหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ พีน่ อ งอสม. และจิตอาสา

รวมกันคนหา ...ผูที่มีความผิดปกติที่ผิวหนัง “เปนวงดาง ชา หรือเปนตุม ผื่น เรื้อรัง หรือเปนโรคผิวหนัง กินยา ทายา นานเกิน 3 เดือนแลวไมหาย” ใหไดรับการตรวจ วิ นิ จ ฉั ย ที่ ส ถานบริ ก ารสาธารณสุ ข ทุ ก แห ง ทั่ ว ประเทศ และร ว มเป น กํ า ลั ง ใจให ผู  ป  ว ยได รั บ การรั ก ษาที่ ถู ก ต อ ง ครบถ ว นตามแผนการรั ก ษาของแพทย เพื่ อ ให ห าย เปนปกติและดํารงชีวิตอยูกับคนที่รัก ครอบครัว ชุมชน ไดอยางมีความสุขตลอดไปคะ

การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อน ในระหว่างการรักษา

รับชมคลิปวิดีโอ การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อน ในระหว่างการรักษา

รับชมคลิปวิดีโอ การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อน ในระหว่างการรักษา

่ อรับชม กดติดตาม สาระความรู ้ด้านสุ ขภาพ กดติเพื ดตาม เพื่ อคลิ รับปชม คลิปสาระความรู ้ด้านสุ ขภาพ ได้ท่ีช่อง...สถาบั นราชประชาสมาสั ย Rajpracha ได้ที่ช่อง...สถาบั นราชประชาสมาสั ย Rajpracha

สร้างสุ ข(ภาพ) นายแพทยธารินทร ไวประเสริฐวงศ แพทยเฉพาะทางสาขาเวชศาสตรฟนฟู

โรคข้อเข่าเสื่ อม คือ โรคที่เกิดจากกระดูกออนบริเวณผิวขอเขา

เกิดการสึกหรอ สวนใหญเปนในผูสูงอายุ พบในเพศหญิงมากกวาเพศชาย อาการที่พบบอยคือ ปวดขอเขา ขอเขาบวม มีเสียงดังในขอเขาเวลา เคลื่อนไหว ขอเขายึดติด ในบางรายถาไมไดรับการรักษาอาจเกิด ขอเขาผิดรูปได

สาเหตุที่พบบ่อย การใชงานขอเขาที่ไมเหมาะสมตอเนื่องเปนระยะเวลานาน นํา้ หนักตัวทีม่ ากเกินไป ทําใหขอ เขาตองแบกรับนํา้ หนักทีเ่ พิม่ มากขึน้ เคยไดรับอุบัติเหตุบริเวณขอเขา เชน ขอเขาเคลื่อนหลุด, เสนเอ็นบริเวณขอเขาฉีกขาด หรือกระดูกบริเวณขอเขาหัก โรคขออักเสบ เชน โรคเกาท หรือโรคขออักเสบรูมาตอยด เปนตน

วิธีป้องกันและการปฏิบัติตัว แนะนําบริหารกลามเนื้อรอบขอเขาอยางเปนประจํา ควบคุมนํ้าหนักไมใหมากเกินไป โดยการควบคุมอาหารและออกกําลังกาย อยางสมํ่าเสมอ หลีกเลี่ยงทาทางที่ทําใหขอเขาเสื่อมไดงาย เชน การนั่งคุกเขา, การนั่งพับเพียบ, การนั่งยองๆ หรือการนั่งขัดสมาธิ เปนตน เมื่อเริ่มมีอาการปวดขอเขา ควรรีบปรึกษาแพทย เพื่อใหการรักษาที่ถูกตอง

แพทย์จะวินิจฉัยข้อเข่าเสื่อมได้อย่างไร ซักประวัติและตรวจรางกายบริเวณขอเขา ซึ่งมักพบลักษณะที่สําคัญคือ ขอเขาบวมแดง หรือขนาดขอเขาใหญกวา อีกขางชัดเจน บางรายถาเปนมากอาจพบขอเขาผิดรูปได การถายภาพรังสี ก็จะเห็นชองวางระหวางกระดูกขอเขาแคบลง นัน่ หมายถึงกระดูกออนบริเวณผิวขอเขาเกิดการสึกหรอ การเจาะเลือดเพื่อวินิจฉัยแยกโรคที่อาจจะเปนสาเหตุของโรคปวดขอเขาเชน โรคเกาท หรือโรครูมาตอยด เปนตน

วิธีการรักษา 1. มุ่งเนนการปฏิบัติตัวเพื่อหลีกเลี่ยงตอการเกิดขอเขาเสื่อม เชน การยกของหนัก การนั่งพับเพียบ การนั่งขัดสมาธิ การนั่งยองๆ ตอเนื่องเปนระยะเวลานาน แนะนําควรนั่งบนเกาอี้ การนอนกับพื้นเปนประจําเพราะขณะลุกขึ้น หรือลงนอนจะทําใหองศาการงอของขอเขามากเกินไป 2. การควบคุมหรือลดนํ้าหนัก เปนอีกปจจัยที่จะลดอาการปวดและชวยชะลอขอเขาเสื่อมได 3. การออกกําลังกายและการบริหารกลามเนื้อ โดยเฉพาะการบริหารกลามเนื้อตนขา จะทําใหกลามเนื้อแข็งแรง ชวยลด แรงที่กระทําตอขอเขา วิธีการบริหารสามารถทําไดโดย นั่งบนเกาอี้เหยียดขาเกร็งไว 10 วินาทีแลวจึงงอขอเขา สามารถทําซํ้าไดวันละหลายครั้ง 4. เวลาเดินหรือวิ่งแนะนําใหใสรองเทาสําหรับเดินหรือวิ่งโดยเฉพาะ ซึ่งจะมีพื้นกันกระแทก 5. เวลาขึ้นบันไดใหกาวขางดีขึ้นกอน เวลาลงใหกาวขางปวดลงกอนและมือควรจับราวบันไดเสมอ 6. การทํากายภาพบําบัด จะเนนแนะนําวิธีการบริหารกลามเนื้อและขอเขาเพื่อลดอาการปวด ปองกันขอติด ปองกัน ขอติดผิดรูป รวมทั้งทําใหกลามเนื้อและกระดูกแข็งแรงมากขึ้น ที่สําคัญตองปฏิบัติอยางตอเนื่องจึงจะไดผลลัพธที่ดี 7. การรับประทานยา, การฉีดนํ้าหลอเลี้ยงขอเทียม หรือการผาตัด หากการรักษาวิธีดังกลาวไมสามารถลดอาการ ปวดบวมขอเขาได

ห่างไกลโรคจากการทํางาน

นางสาววนิดา คะลา พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ

¡ÒôÙáÅÊØ¢ÀÒ¾¢Í§¤¹·íÒ§Ò¹ ถือเปนเรื่องที่ควรใหความสําคัญในลําดับตน เพื่อทําใหผูปฏิบัติงาน

ปลอดภัยจากอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ ในขณะปฏิบตั งิ าน และลดการเจ็บปวยจากการทํางานไดคะ โดยธรรมชาติของการเกิด โรคจากการทํางาน เริ่มจากการที่เขาไปทํางานและในงานมีสิ่งคุกคาม เมื่อมีการสัมผัสกับสิ่งคุกคาม ก็ทําใหเกิดโรค จากการทํางานขึน้ ปจจัยทีค่ วรแกไขเพือ่ ปองกันหรือลดความรุนแรงของโรค ไดแก คนทํางาน สิง่ คุกคาม และ สิง่ แวดลอม หากพูดถึงการแกไขที่คนทํางาน ตองทําความเขาใจและความรวมมือจากผูที่ทํางานเปนอยางมากคะ การเพิ่ม ความทนทานหรือความตานทานตอโรค เชน คนที่ทํางานทาทางซํ้าซาก ตองใชมือทําทาซํ้าๆ ตลอดทั้งวัน มีความเสี่ยง ต อ การเกิ ด โรคเส น เอ็ น อั ก เสบขึ้ น การให ค นทํ า งานทํ า กายบริ ห ารยื ด เส น ยื ด สาย จะช ว ยลดโอกาสการอั ก เสบ ที่เสนเอ็นได และการกันไมใหคนที่มีความไวรับตอโรค เขามาทํางานที่เสี่ยง เชน คนที่มีพันธุกรรมเสี่ยงตอมะเร็งเตานม ก็หามไมใหทํางานกะดึก เพื่อลดความเสี่ยงตอการเกิดมะเร็งเตานม ในสวนของสิ่งคุกคามนั้น การไมใช หรือกําจัดสิ่งคุกคามนั้นไปเลย หากสามารถทําไดก็จะเปนการแกที่ตนเหตุ อยางแทจริง เชน การใชยาฆาแมลง ทําใหเกษตรกรเกิดโรคพิษจากยาฆาแมลง จึงหันมาปลูกพืชแบบปลอดสารพิษแทน การใชสิ่งอื่นทดแทน โดยใชสิ่งที่มีโอกาสกอโรคนอยกวามาแทนที่ เชน แรใยหินทําใหเกิดมะเร็งเยื่อหุมปอด จึงใช ใยสังเคราะหเปนวัสดุทนไฟแทน การลดปริมาณการใชหรือลดความเขมขนของสิ่งคุกคามนั้นลง เชน นํ้ายาลางจาน ความเขมขนสูงจะระคายมือ การเจือจางใหความเขมขนนอยลงจะลดโอกาสเกิดผื่นที่มือจากการระคายเคืองนํ้ายา ลางจานไดคะ การแกไขที่สิ่งแวดลอม เปนการชวยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคไดอยางมาก การควบคุมที่แหลงกําเนิด คือ การปองกันไมใหสิ่งคุกคามมาสัมผัสกับคนทํางานได โดยการแกไขที่จุดกําเนิดของสิ่งคุกคามนั้นเลย เชน เครื่องจักร มีเสียงมอเตอรไฟฟาดังมาก หากคนทํางานใกลๆ นานๆ จะทําใหเกิดเปนโรคประสาทหูเสื่อมจากการสัมผัสเสียงดังได ก็แกไขโดยการทําฝาครอบเครือ่ งจักรนัน้ ทําใหเสียงทีด่ งั ออกมาภายนอกมีนอ ยลงได การควบคุมทีท่ างผาน คือการปองกัน ไมใหสิ่งคุกคามสัมผัสกับคนทํางาน โดยการแกไขที่ทางผานระหวางแหลงกําเนิดสิ่งคุกคามกับตัวคนทํางาน โดยเพิ่ม

ระยะหางระหวางคนกับเครื่องจักร เชน หากคนควบคุมเครื่องจักรยืนอยูติดกับเครื่องจักร ก็ควรตอสายไฟใหแปน ควบคุมมีสายยาวขึ้น แลวใหคนคุมเครื่องจักรจากระยะไกลและการควบคุมที่ตัวคน คือการปองกันไมใหสิ่งคุกคาม เข า สู  ร  า งกายคนทํ า งาน โดยแก ไขที่ ตั ว คน ซึ่ ง ก็ ทํ า ได โ ดยการให ค นทํ า งานใส อุ ป กรณ ป  อ งกั น ส ว นบุ ค คลนั่ น เอง เชน ที่อุดหูลดเสียง ครอบหูลดเสียง ผากันเปอน ถุงมือปองกันสารเคมี รองเทานิรภัย ชุดกันสารเคมี จะเห็นไดวาการลดปจจัยเสี่ยงจะชวยปองกัน หรือลดความรุนแรงของโรคจากการทํางานไดทั้งสิ้น และในการ ปองกันโรคจากการทํางาน ก็เปนสิ่งสําคัญ ที่จะชวยใหผูปฏิบัติงานปลอดภัยจากอันตราย และโรคจากการทํางาน ที่อาจเกิดขึ้นไดคะ ที่มา : นพ.วิวัฒน เอกบูรณะวัฒน.(2562). การปองกันโรคจากการทํางาน สืบคนจาก https://www.summacheeva.org/article/prevention

รอบรู้เรื่องยา เภสัชกรหญิงปยาณี ออนเอี่ยม เภสัชกรชํานาญการพิเศษ

“เชื้อดื้อยา” คืออะไร?

เชื้อดื้อยา คือ เชื้อโรคที่มีความสามารถปรับตัวใหตอตานยาปฏิชีวนะ อยูรอดไดแมวารางกายจะไดรับ ยาปฏิชีวนะหรือยาฆาเชื้อในขนาดที่สูง และตานการรักษาโรคนั้นๆ ทําใหผลการรักษาผูปวยไมดี ตองใขเวลารักษา นานขึ้น เสียคาใชจายพิ่มขึ้นและมีโอกาสเสียชีวิตจากการติดเชื้อมากขึ้น สาเหตุ ข องการเกิ ด เชื้ อ ดื้ อ ยา เกิ ด จากการใช ย าปฏิ ชี ว นะที่ ไ ม ถู ก ต อ ง ไม เ หมาะสม ทํ า ให เชื้อแบคทีเรียมีโอกาสพัฒนาจนสามารถสูและมีชีวิตรอดจากยาปฏิชีวนะได 3 โรคที่รักษาได้โดยไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ ไดแก โรคหวัด แผลสด และโรคอุจจาระรวง เฉียบพลัน โดยพบวามากกวา 80% ของโรคเหลานี้ไมไดเกิดขึ้นจากแบคทีเรียแตเกิดจากเชื้อไวรัส ดังนั้นการมีความรู และความเขาใจเกี่ยวกับโรคเหลานี้จึงเปนสิ่งสําคัญ ทําความรู้จัก “โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน” โรคอุจจาระรวง หมายถึง การถายอุจจาระเหลวหรือถายเปนนํ้าจํานวนเทากับหรือมากกวา 3 ครั้งตอวัน อาจมีอาการคลื่นไสอาเจียน สาเหตุของโรคอุจจาระรวง อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย โปรโตซัว และปรสิต ทัง้ นีถ้ า มีอาการอุจจจาระรวงนานไมเกิน 14 วัน จัดเปน “โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน” สวนใหญอาการโรคอุจจาระรวง จะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วและสามารถหายไดเองภายใน 1-2 วัน โดยไมจําเปนตองใชยาปฏิชีวนะในการรักษา เนื่องจาก ยาปฏิชีวนะใชไดผลกับอาการทองเสียที่มีสาเหตุจากการติดเชื้อแบคทีเรียเทานั้น แตถาอุจจาระมีมูกเลือดปนและมีไข ควรไปพบแพทย อันตรายทีส่ าํ คัญจากโรคอุจจาระรวง คือ การเกิดภาวะขาดนํา้ และเกลือแร อาจทําใหชอ็ ก หมดสติ และเกิดภาวะ ขาดสารอาหาร ดังนั้นการรักษาที่ดีที่สุด คือ ดื่มนํ้าเกลือแรโออารเอส เพื่อทดแทนนํ้าและเกลือแรที่เสียไป รับประทาน อาหารออนๆ งดอาหารรสจัดหรือยอยยากและไมควรดื่มนม ควรรับประทานอาหารที่ปรุงสุก ดื่มนํ้าสะอาด ลางมือ ใหสะอาดทั้งกอนรับประทานอาหารและหลังขับถาย การรับประทานยาปฏิชีวนะทุกครั้งที่อุจจาระรวง โดยเฉพาะอยางยิ่งยากลุม quinolone ซึง่ เปนยาปฏิชวี นะทีใ่ ชบอ ยในการรักษาโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน นอกจากจะกอปญหาเชือ้ แบคทีเรีย ดื้อยาใหเพิ่มมากขึ้นแลวยังพบวามีรายงานการแพยาและผลขางเคียงของยาซึ่งรวมเรียกวาอาการ ไมพงึ ประสงคจากยาเพิม่ มากขึน้ อยางตอเนือ่ งดวย จากการติดตามอาการไมพงึ ประสงคของการใชยา กลุม quinolone ในผูปวยของสถาบันราชประชาสมาสัย 3 ปยอนหลัง ตั้งแตป พ.ศ. 2563-2565 พบวาจํานวนผูปวยที่มีอาการไมพึงประสงคจากการใชยากลุมนี้เพิ่มขึ้นทุกป คือ 35, 38 และ 39 รายตามลําดับ โดยอาการไมพงึ ประสงคทพี่ บมีตงั้ แต มีอาการเล็กนอยจนถึงมีอาการอันตรายรายแรง เชน นอนไมหลับ ผื่นแพ ปากบวม แนนหนาอก หายใจไมออก หัวใจเตนผิดจังหวะ เปนตน ดั ง นั้ น เพื่ อ ความปลอดภั ย ของผู  ป  ว ย การใช ย าปฏิ ชี ว นะในรั ก ษาโรคอุ จ จาระเฉี ย บพลั น จึงควรใหแพทยเปนผูพิจารณา “การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ถูกโรค ถูกวิธี จะช่วยลดการสร้างเชื้อดื้อยาได้”

แหลงขอมูล : กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

คําถาม? มีคําตอบ

ลุ ย นํ้ า มา ดู แ ล เท า ยั ง ไงดี

นางสาวมนัสพร คงสาหราย นักกายภาพบําบัดชํานาญการ

ผูอานหลายทาน คงเคยประสบปญหานํ้าทวมขัง โดยเฉพาะในชวงทีม่ ปี ริมาณฝน ทัง้ ในพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร และในตางจังหวัด รวมถึงในพื้นที่ จังหวัดสมุทรปราการ ในช ว งที่ นํ้ า ทะเลหนุ น สู ง ทํ า ให ป ระชาชนในจั ง หวั ด พบปญหานํ้าขึ้น ลงอยูตลอดเวลา การเดินทางบางครั้ง ก็ ย ากที่ จ ะหลี ก เลี่ ย งจึ ง มี ค วามจํ า เป น ต อ งเดิ น ลุ ย นํ้ า บางครั้งก็เปนแหลงนํ้าขัง แหลงนํ้าที่ไมสะอาด บางก็เปน นํ้าเนาเสีย ทําใหเสี่ยงตอการเกิดปญหาเทาตางๆ ตามมา เชน นํ้ากัดเทา เทาเปอย บาดทะยัก เปนตน

คลินกิ สุขภาพเทา สถาบันราชประชาสมาสัย จึงอยากแนะนําผูอ า นทุกทาน ในการดูแลเทา และรองเทางายๆ ดังนี้คะ... 1. หลีกเลี่ยงการลุยนํ้า หรือนําเทาไปแชอยูในนํ้านานๆ

หรือปลอยใหเทาอับชื้น หลังลุยนํ้าใหรีบลางทําความสะอาดเทา เช็ ด เท า ให แ ห ง และตรวจสภาพเท า ตนเอง ว า มี ร อยขี ด ขวน หรือบาดแผลหรือไม

2. นํารองเทาไปทําความสะอาด ผึง่ ลมเบาๆ หากระดาษ

หนังสือพิมพยดั ในรองเทาเพือ่ ชวยดูดซับความชืน้ และรอใหรองเท้า แหงสนิท กอนนํากลับมาใชซํ้า

3. หากรูลวงหนาวาจะตองลุยนํ้า แนะนําใหเตรียม

รองเทาแตะ หรือสวมรองเทาบูทพลาสติกไปสลับเปลี่ยน เพื่อลด ภาวะแชนํ้า หรืออยูในนํ้านานๆ

4. หากพบวามีลักษณะผิดปกติเกิดขึ้นที่เทา

เช น หิ น บาด เท า เป  อ ย ระคายเคื อ ง คั น ตามเท า หรื อ ซอกนิ้ ว ควรรีบพบแพทยทันที

ห้องสบายใจ นางเบญจมาพร ศรีจําปา พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ

âäàÃ×é ͹เปนโรคติดตอเรือ้ รัง ทีส่ ามารถรักษา

ใหหายขาดได โดยการรักษาจากแพทยอยางถูกตอง และการได รั บ กํ า ลั ง ใจจากคนใกล ชิ ด ของผู  ป  ว ยก็ มี ความสํ า คั ญ เป น อย า งมากค ะ มี ผู  ป  ว ยหลายท า น เมื่อทราบวาตนเองเปนโรคเรื้อน ก็เกิดความรูสึกกลัว เกิดความเครียด วิตกกังวล สงผลกระทบไปถึงการนอน ทําใหนอนไมหลับ ทําใหประสิทธิภาพการทํางานลดลง เมื่อเกิดความรูสึกนี้ เราเรียกวาเปนความรูสึกดานลบ ซึง่ เปนปกติของบุคคลเมือ่ เผชิญกับเรือ่ งราว หรือสิง่ คุกคาม ก็อาจเกิดความรูสึกเหลานี้ไดคะ

à¤Åç´(äÁ‹)ÅѺ ¨Ñ´¡ÒäÇÒÁà¤ÃÕ´

2. ËÒàÇÅÒÍÍ¡¡ÓÅѧ¡ÒÂàÅ硹ŒÍÂæ

สิ่งสําคัญเราควรหาสาเหตุของความกลัว ความวิตก กั ง วลและหาช อ งทางคลี่ ค ลายป ญ หาที่ ทํ า ให เ กิ ด ความ รูสึกนั้นๆ กอน เชน กลัววาจะรักษาไมหาย กลัวความพิการ หากเป น เรื่ อ งการรั ก ษา เราก็ ค วรหาข อ มู ล ในการรั ก ษา ทีถ่ กู ตองจากแพทยหรือผูด แู ลรักษา วาแทจริงแลวเปนอยางไร เพื่อคลายความวิตกกังวล สวนสาเหตุอื่นๆ ก็จัดการไปตาม เหตุปจจัยนั้นๆ โดยในฉบับนี้ผูเขียน จะมาแนะนําวิธีจัดการ กับความเครียดหรือความคิดดานลบนี้กันคะ

1. ½ƒ¡¡ÒÃËÒÂ㨠à¾×èͼ‹Í¹¤ÅÒ¤ÇÒÁà¤ÃÕ´

จะชวยทำให จิตใจทีว่ า วุน วิตกกังวล กลับมาอยูท ล่ี มหายใจ และอยูกับปจจุบัน วิธีการคือ การนั่ง, ยืน หรือนอน ในทา ที่สบายๆ สูดหายใจเขายาวๆ แลวกลั้นไว นับ 1-3 แลวจึง คอยๆ ผอนลมหายใจออก ทำซ้ำ 10-15 ลมหายใจ ทุกครั้ง ที่สูดลมหายใจ ใหนำจิตมารับรูที่ลมหายใจเขาและออก จะชวยใหรสู กึ ผอนคลายจากความเครียดและความวิตกกังวล สามารถทำไดบอยๆ วันละหลายๆครั้ง

หรืออยางนอยวันละ 15-30 นาที แลวแตบริบทของตัวเอง เชน อาจจะวิง่ เหยาะๆ หรือเดินตอเนือ่ ง 30 นาที ทุกๆ วัน หรือการออกกำลังกายทีต่ นเองชอบ

3. ¾Ù´¤ØÂÃкÒÂÊÔ觷Õè äÁ‹ÊºÒÂã¨

ความวิตกกังวลกับผูท ไ่ี วใจได อาจเปนบุคคลในครอบครัว สามี ภรรยา หรื อ เพื ่ อ น ซึ ่ ง การพู ด คุ ย จะช ว ยให เ กิ ด ความรูสึกผอนคลาย แมบางครั้ง ยังไมไปถึงกระบวนการ แกปญหา แตถามีคนรับฟง เขาใจ ก็จะชวยทำใหรูสึก สบายใจมากขึ้น ความรูสึกทางลบลดลงได

ÊÔè§ÊÓ¤ÑÞ㹡ÒÃÃÑ¡ÉÒâäàÃ×é͹ ¹Í¡à˹×ͨҡ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ´ŒÇÂÂÒáÅŒÇ ¼ÙŒ»†Ç·ÕèÁÕÊÀҾËҧ¡Ò à»ÅÕè¹á»Å§ä» â´Â੾Òмٌ·ÕèÁÕ¤ÇÒÁ¾Ô¡Òà ÂѧµŒÍ§¡ÒáÓÅѧ㨠¡ÒÃÂÍÁÃѺ ¨Ò¡¼ÙŒ ã¡ÅŒªÔ´ «Ö觨Ъ‹ÇÂãËŒ¼ÙŒ»†ÇÂÃÙŒÊÖ¡Ç‹Òµ¹àͧÁդس¤‹ÒáÅÐÊÒÁÒö㪌ªÕÇÔµÍÂًËÇÁ¡Ñº¼ÙŒÍ×è¹ä´ŒµÒÁ»¡µÔ¤‹Ð

IPL

ฟื้ นฟู สภาพผิวพรรณด้วยแสงความเข้มข้นสูง

V-Beam รอยแดงจากสิว ปานแดง แผลนูน Qs Nd-yag รอยสัก กระ และกระแดด Co2 ติ่งเนื้อ กระเนื้อ ไฝ ขี้แมลงวัน

สอบถามข้อมูลได้ที่ โทร. 0 2385 9135-7 ต่อ 1102-1103

เผยแพร่โดย งานสื่อสารความเสี่ยงฯ สถาบันราชประชาสมาสัย

รู้ทันโรคยอดฮิต นายสุรชัย ขําเมือง นักวิชาการเผยแพร

คนส ว นใหญ มั ก จะใช โ อกาสในการเริ่ ม ต น ป ออกไปหาอะไรใหม ๆ ปรั บ เปลี่ ย นตั ว เอง หรื อ พั ฒ นา ตนเองใหดีขึ้น รวมถึงการออกเดินทางเพื่อไปพักผอน ท อ งเที่ ย ว หรื อ ในช ว งวั น หยุ ด ยาวก็ อ าจจะเดิ น ทาง กลับบาน เพือ่ พบปะพอแม ญาติพนี่ อ ง เพือ่ นฝูง สงผลให ปริมาณการใชรถใชถนน เพิ่มมากขึ้นกวาเดิม สิ่งตามมา ก็ คื อ อุ บั ติ เ หตุ บ นท อ งถนน ซึ่ ง เป น สาเหตุ สํ า คั ญ ของ การเสียชีวติ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในชวงเทศกาลทีม่ วี นั หยุด ติดตอกันหลายวัน จากขอมูล สถานการณการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ ทางถนนของประเทศไทย ของกองปองกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค พบวา ในป 2564 ที่ผานมา ผูเสียชีวิต จากอุ บั ติ เ หตุ ท างถนนมี ม ากกว า 16,957 ราย ทํ า ให มีการรณรงคอยางตอเนือ่ งเพือ่ ชวยปองกันและลดอุบตั เิ หตุ ทางถนน

เริ่ ม ต น ป นี้ ก็ ข อให ผู  อ  า นทุ ก ท า น ขั บ รถอย า ง ระมัดระวัง ปฏิบัติตามกฎจราจรอยางเครงครัด พักผอน ให เ พี ย งพอ ไม ดื่ ม แอลกอฮอล ตรวจเช็ ค รถก อ น ออกเดิ น ทาง คาดเข็ ม ขั ด นิ ร ภั ย และสวมหมวกนิ ร ภั ย ทุ ก ครั้ ง เมื่ อ ขั บ ขี่ ย านพาหนะ เพื่ อ ได เ ดิ น ทางท อ งเที่ ย ว อยางปลอดภัยไรอุบัติเหตุ สําหรับใครที่ยังไมไดวางแผน ในการเดินทาง ลองหากิจกรรมอื่นๆ ในชวงวันหยุดยาว อยางเชน การออกกําลังกาย ทําอาหาร ฟงเพลง หรือ พักผอนอยูกับบาน ก็จะทําใหมีเวลาอยูกับตัวเองมากขึ้น ทีส่ าํ คัญยังชวยทําใหลดปริมาณรถบนทองถนนไดอกี ดวยครับ

à¡çºÁÒ½Ò¡

นางสาวจันทปภา บริบูรณ บรรณารักษ

หนังสื อเปนสิ่งหนึ่งที่ชวยเสริมสรางความรู หลายคนเลือกอานหนังสือเพือ่ ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน แตไมวาจะเปนหนังสือเรื่องไหน ยอมทําใหผูอานไดรับ ประโยชน ทั้ ง สิ้ น ค ะ เช น เดี ย วกั บ หนั ง สื อ น า อ า น ที่จะแนะนําในฉบับนี้ มีสาระความรู ที่สามารถนําไป ปรับใชในชีวิตของผูอานได หลายทานคงจะเคยไดยิน หรื อ รั บ ทราบข อ มู ล การพลั ด ตกหกล ม ในผู  สู ง อายุ ซึ่งเปนเรื่องใกลตัวของคนในครอบครัว หรือตัวเราเอง ที่อาจจะเกิดขึ้นได หากไมระมัดระวังในปองกันการเกิด การพลัดตกหกลม เมื่อกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ ในฉบับนี้ ผูเ ขียนจึงอยากจะแนะนําหนังสือนาอาน ทีใ่ หความสําคัญ กับผูสูงอายุ กันคะ ในประเทศไทยเปนสังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณ มี สั ด ส ว นผู  สู ง อายุ ม ากถึ ง ร อ ยละ 20 ของประชากร ทัง้ ประเทศ 1 ใน 3 ของผูส งู อายุหกลมทุกป หรือมากกวา 3.6 ลานคนตอป ผูบ าดเจ็บเขารับการรักษาในโรงพยาบาล สูงเปนอันดับ 1 ของผูป ว ยในจากสาเหตุนอก โดยผูส งู อายุ

ส่วนใหญเปนเพศหญิง หกลมสูงกวาเพศชาย 1.6 เทา สถานที่หกลมสวนใหญเกิดขึ้นนอกบาน แตผูบาดเจ็บ ที่ น อนโรงพยาบาลร อ ยละ 65 หกล ม ภายในบ า น และเกิ ด เหตุ สู ง ในห อ งนํ้ า ถึ ง ร อ ยละ 30 สาเหตุ ข อง การพลัดตกหกลมเกิดจาก การลืน่ สะดุด หรือกาวพลาด บนพื้นระดับเดียวกัน และเสียการทรงตัว จากขอมูลที่กลาวขางตนนั้น ผูเขียนเล็งเห็นถึง ความสําคัญ ของผูส งู อายุในครอบครัว จึงแนะนําหนังสือ ให อ  า นและติ ด ตาม เรื่ อ ง “บ า นผู  สู ง อายุ กั น ล ม ” ซึ่ ง มี เ นื้ อ หาที่ น  า สนใจ และมี ค วามรู  ที่ เ ป น ประโยชน ทั้งขอแนะนําผูสูงอายุในการดูแลตนเอง การทดสอบ การทรงตั ว การออกกํ า ลั ง กายการจั ด บ า นผู  สู ง อายุ การปองกันการพลัดตกหกลมในผูสูงอายุ รวมถึงการวัด สายตาของผูสูงอายุ ดวยคะ หากทานใดสนใจอานเนื้อ หาความรู สามารถติดตอหรือดาวนโหลด ไดที่ กองปองกัน การบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข นะคะ

สนใจอานเนือ้ หาเพิม่ เติม ติดตอบรรณารักษ ไดที่ หองสมุด ชัน้ 2 อาคารฟน ฟู 5 ชัน้ สถาบันราชประชาสมาสัย หรือดาวนโหลดเอกสารตาม QR code นะคะ

สถาบันราชประชาสมาสัย

โรคสะเก็ ด เงิ น เป็ น โรคผิ ว หนั ง อั ก เสบเรื้ อ รั ง สาเหตุ ่ และมีปจ ยังไม่ทราบแน่ชด ั พั นธุกรรมเป็นปัจจัยหนึง ั จัยแวดล้อม เป็นสิ่ งกระตุ้น ผื่นเกิดขึ้นได้ที่ผิวหนังทุกส่ วน เล็บผิดรูป หรือ ข้ อ อั ก เสบได้ ตํ า แหน่ ง ที่ พ บบ่ อ ย ได้ แ ก่ หนั ง ศี ร ษะ ศอก เข่ า เป็ น ต้ น ลั ก ษณะเฉพาะ คื อ ผื่ น ขอบแดงชั ด สะเก็ ด นู น หนา คล้ายสีเงิน

การดูแลตนเอง พั กผ่อนให้เพี ยงพอ ผ่อนคลายและทําจิตใจให้แจ่มใส ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ รับประทานอาหารครบหมู่ หลีกเลี่ยงการดื่มสุราและสูบบุหรี่ ควบคุมไม้ให้นํ้าหนักเกินเกณฑ์ หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น เช่น แกะเกา "สะเก็ดเงินเป็นโรคไม่ติดต่อ เราสามารถอยู่ร่วมกับผู้ป่วยได้ปกตินะคะ"

แพทย์หญิงสราญจิต วิมูลชาติ

รองผู้อํานวยการฝ่ายการแพทย์

สถาบันราชประชาสมาสัย

การรักษา ยังไม่มีการรักษาที่ทําให้หายขาด การรักษาเพื่ อให้โรค มีความรุนแรงลดลงหรือสงบ จะเป็นการรักษาแบบผสมผสาน ร่วมกับนวัตกรรมใหม่ๆ และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเหมาะสม ก็จะทําให้โรคไม่กําเริบมีชีวิตที่ดีขึ้นได้

"สะเก็ดเงินเป็นโรคไม่ติดต่อ เราสามารถอยู่ร่วมกับผู้ป่วยได้ปกตินะครับ"

นายแพทย์สมศั กดิ์ โตวณะบุตร

แพทย์เฉพาะทางผิวหนัง สถาบันราชประชาสมาสัย

ตารางแพทย์ออกตรวจ สถาบันราชประชาสมาสัย

02 385 9135-7 ตรวจสอบตารางแพทย์ออกตรวจ ผ่านการสแกน QR Code

รอบรูสุขภาพ กับ ราชประชา

02-385-9135-7, 02-386-8153-9 สถาบันราชประชาสมาสัย กรมควบคุมโรค-Rajpracha News https://ddc.moph.go.th/rpsi

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.