โรงเรียนประถมศึกษาอัลจีส์ เบย์ (1) Flipbook PDF


89 downloads 101 Views 1MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

เนื้ อหา วิชาภาษาไทย

ความหมายของภาษา คําว่า “ภาษา” หมายถึง ถ้อยคําที่ใช้ พูดหรือเขียน เพื่อสื่อความของชน กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง (พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542, 2546: 822) เช่น ภาษาไทย ภาษา จีน เป็นต้น ประเภทของภาษา ภาษาแบ่งตามลักษณะการ

สื่อสารได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1. วัจนภาษา คือ ภาษาที่ใช้ถ้อยคําใน การสื่อสาร ได้แก่ ภาษาพูด และภาษาเขียน 2. อวัจนภาษา คือ ภาษาที่ไม่ใช่ถ้อยคํา ในการสื่อสาร ได้แก่ ภาษาท่าทาง ภาษาหน้าตา ภาษามือ และภาษาสัญลักษณะ องค์ประกอบ ของภาษา

พยัญชนะไทย วรรณยุกต์ไทย

โ ร ง เ รี ย น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า อั ล จี ส์ เ บ ย์

สนุกกับ นิทานพื้นบ้าน

พยัญชนะไทยในปัจจุบันมี 44 ตัว แต่ใช้เพียง 42 ตัว โดยมีพยัญชนะที่ไม่ได้ใช้ตั้งแต่ พ.ศ.2445 อยู่ 2 ตัว ได้แก้ ไฃ ฅ (กรม วิชาการ, 2445 : 69) พยัญชนะไทย มี 21 เสียง 44 รูป

กิจกรรมการอ่านเชิงโต้ตอบ เพื่อส่งเสริมการรู้หนังสือ วรรณยุกต์ทั้ง 4 จะใช้เขียนบนส่วนท้ายของ

พยัญชนะต้น เช่น น้า หน้า จ้า เป็นต้น ใน กรณีที่คํามีรูปสระกํากับอยู่ข้างบนแล้ว ให้ เขียนรูปวรรณยุกต์นั้นกํากับเหนือรูปสระอีกที หนึ่ง เช่น ชื่อ ปรื๋อ เที่ยว เรื่อย เป็นต้น

การสะกดคำ

การสะกดคํา หมายถึง การอ่านโดยนําเสียงพยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดมาประสมเป็นคําอ่าน

การสะกดคํา มีวิธีการสะกดคําหลายวิธี ถ้าสะกดคําเพื่ออาาน จะสะกดคําตามเสียง ถ้าสะกดคําเพื่อเขียนจะสะกดคําตามรูป และการสะกดคําจะสะกดเฉพาะคําที่เป็นคําไทยและตัวสะกด ตรงตามรูป



1. วิธีการสะกดคําตามรูปคํา กา สะกดว่า กอ - อา - กา คาง สะกดว่า คอ - อา - งอ - คาง ร้าน สะกดว่า รอ - อา - นอ - ร้าน ไม้โท - ร้าน

การผันวรรณยุกต์

การผันวรรณยุกต์ หมายถึง การอ่านคําโดย แจกแจงเสียงวรรณยุกต์ของคําไปตามลําดับ เสียง โดยมีเครื่องหมายวรรณยุกต์เป็์ ตัวกําหนด เครื่องหมายวรรณยุกต์ไทยมี 4 รูป ส่วนเสียง วรรณยุกต์ไทย มี 4 เสียง ได้แก่ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวา

เครื่องหมายวรรณยุกต์ที่กํากับคําต่างๆ นอก จากจะทําให้รูปของคําต่างกันแล้วยังทําให้เสียง และความหมายของคําต่างกันด้วย การผันเสียง วรรณยุกต์ทําให้คําในภาษาไทยมีลักษณะที่เป็น เอกลักษณะอย่างหนึ่ง

มาตราตัวสะกด ตัวสะกด หมายถึง พยัญชนะที่ประกอบอยู่ท้ายสระและมี

เสียงประสมเข้ากับสระทําให้เสียงของคําแตกต่างกันตาม ตัวพยัญชนะที่นํามาประกอบ ตัวสะกดจําแนกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. ตัวสะกดตรงมาตรา เช่น กาน กาม กาย กาก กาด กาบ กาบ 2. ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา เช่น กาล ขวัญ ศาล เหตุ มาตราตัวสะกดในภาษาไทย มี 8 มาตรา ดังนี้ 1. มาตราแม่ กก ใช้ ก ข ค ฆ เป็นตัวสะกด ออกเสียง เหมือน ก 2. มาตราแม่ กง ใช้ ง เป็นตัวสะกด 3. มาตราแม่ กด ใช้ จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฒ ฑ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส เป็นตัวสะกด ออกเสียงเหมือน ด 4. มาตราแม่ กน ใช้ น ร ล ญ ณ ฬ เป็นตัวสะกด ออก เสียงเหมือน น สะกด 5. มาตราแม่ กบ ใช้ บ ป พ ฟ ภ เป็นตัวสะกด ออก เสียงเหมือน บ สะกด 6. มาตราแม่ กม ใช้ ม เป็นตัวสะกด 7. มาตราแม่ เกย ใช้ ย เป็นตัวสะกด 8. มาตราแม่ เกอว ใช้ ว เป็นตัวสะกด

อักษรนำ อักษรควบ

อักษรนํา คือ พยัญชนะ 2 ตัว ประสมอยู่ในสระเดียวกัน มีวิธีการออกเสีย

งอักษรนํา ดังนี้ 1. อ่านออกเสียงร่วมกันสนิทเป็นพยางค์เดียว ได้แก่ 1.1 เมื่อ ห นํา อักษรต่ํา ได้แก่ ง ญ น ม ย ร ล ออกเสียง พยางค์เดียวสูงตามเสียง ห เช่น หงาย หญ้า หนอน ไหม หยาม หรือ หลาน 1.2 เมื่อ อ นํา ย มี ๔ คํา ได้แก่ อย่า อยู่ อย่าง อยาก 2. อ่านออกเสียง 2 พยางค์ พยางคแรกออกเสียง อะ กึ่งเสียง พยางค์หลังออกเสียงตามสระที่ประสมอยู่และออกเสียงเหมือน ห นํา ดังนี้ 2.1 อักษรสูงนําอักษรต่ําที่เป็นอักษรเดี่ยว เช่น ขนม อ่านว่า ขะ-หนม ฉลาม อ่านว่า ฉะ-หลาม สมุด อ่านว่า สะ-หมุด 2.2 อักษรกลางนําอักษรต่ําที่เป็นอักษรเดี่ยว เช่น จมูก อ่านว่า ตะ-หมูก ตลาด อ่านว่า ตะ-หลาด องุ่น อ่านว่า อะ-หงุ่น

คำพ้อง

คําพ้อง หมายถึง คําที่มีรูปหรือเสียงเหมือนกัน แต่จะมี ความหมายต่างกันซึ่งเวลาอ่านต้องอาศัยการสังเกต เนื้อความของคําที่เกี่ยวข้องคําพ้องมีหลายลักษณะ ได้ เเก่ 1. คําพ้องรูป คือ คําที่เขียนเหมือนกันแต่ออกเสียงต่าง กัน ในการอ่านจึงต้องระมัดระวัง โดยดูจากบริบทของ คําแวดล้อม เพื่อให้ถูกต้องและสื่อความหมายได้ตรง กับเจตนารมณ์ของสาร คําพ้องเสียง คือ คําที่เขียนต่างกันแต่ออกเสียงเหมือนกัน เช่น กาล กาฬ กานต์ กาล อ่านว่า กาน แปลว่า เวลา กาฬ อ่านว่า กาน แปลว่า ดํา กานต์ อ่านว่า กาน แปลว่า น่ารัก 3. คําพ้องทั้งรูปและเสียง คือ คําที่เหมือนกันและอ่านออก

เสียงเหมือนกัน แต่จะต่างกันในด้านความหมาย ซึ่งขึ้นอยู่กับ ใจความของคําในบริบทข้างเคียง กัน กัน อ่านว่า กัน แปลว่า โกนให้เสมอกัน พีื่ทกัุคนึุ น อ่านว่า กัน แปลว่า ฉัน, ข้าพเจ้า

คำย่อและอักษรย่อ

คําย่อ มี 2 แบบ ได้แก่ 1. คําที่ตัดให้สั้น และใช้เครื่องหมาย “ฯ” เขียนกํากับต่อท้าย โดยไม่ต้องเว้นช่องไฟ เช่น กรุงเทพฯ โปรดเกล้าฯ น้อมเกล้าฯ ซึ่งคําย่อ เหล่านี้สามารถใช้เป็นภาษาเขียนได้ 2. คําที่ตัดบางส่วนของคําออก โดยไม่ต้อง เว้นช่องไฟ เช่น กันยา ย่อจาก กันยายน ธันวา ย่อจาก ธันวาคม



การคัดลายมือ การคัดลายมือมี 3 ลักษณะ คือ 1. การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 2 ควรฝึกคัดลายมืvตัวบรรจง เต็มบรรทัด เนื่องจากเป็นช่วงที่กล้ามเนื้อมือและการ ประสาน ระหว่างตากับมือยังพัฒนาไม่เต็มที่ 2. การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 4 จะมีการประสาน ระหว่าง กล้ามเนื้อมือและตาเพิ่มมากขึ้น จึงควรฝึกคัดลายมือตัว บรรจงครึ่งบรรทัด แต่ขณะเดียวกันก็ยัง ต้องฝึกคัด ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดด้วย 3. การคัดลายมือหวัดแกมบรรจง เป็นการคัด ลายมือแบบหวัดแต่ให้อ่านออก การเขียนลายมือหวัดแกม บรรจงเป็นการเขียนที่ใช้ในชีวิตประจําวัน ซึ่งผู้เขียนจะ ต้องเขียนให้อ่านง่าย มีช่องไฟ เว้นวรรคตอนถูกต้อง และ เขียนด้วยลายมือที่สวยงาม นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 ควรหัดคัดลายมือลายมือหวัด แกมบรรจง โดยคัดให้รวดเร็ว สวยงาม ถูกต้อง และน่า อ่าน โดยมีการฝึกคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง บรรทัดเป็นครั้งคราว

สมาชิกกลุ่ม

1 นายจิณณวัตร ไต่ครบุรี เลขที่ 14

2 นางสาวอรจิรา จิตราช เลขที่ 17

3 นางสาวญาณิศาภา อุดมพัทธ์ เลขที่ 18

4 นางสาววิชาญาดา สิงห์สำราญ เลขที่ 32

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.