หลักสูตรการทำสบู่สมุนไพร13แก้ Flipbook PDF


37 downloads 104 Views 2MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

1

การจัดการศึกษาต่อเนื่อง กลุ่มอาชีพพาณิชยกรรมและการบริการ หลักสูตรการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโนนสูง จานวน 40 ชั่วโมง ความเป็นมา จากแนวทางการดาเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สถานศึกษา มีการพัฒนาหลักสูตรอาชีพตามความต้องการของผู้เรียนโดยหลักสูตรที่จัดมุ่งให้ผู้ที่ผ่านการฝึกอาชีพจากโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สามารถนาไปประกอบอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ การต่อยอดอาชีพเดิมให้เหมาะสมกับบริบทของ พื้นที่เพื่อเพิ่มมูลค่า การเพิ่มศักยภาพในการผลิต ส่งเสริมความรู้ เรื่องบรรจุภัณฑ์ และการส่งเสริมการขายผ่าน ระบบออนไลน์ โดยให้อยู่ในกระบวนการจัดทาหลักสูตร ๕ กลุ่ม อาชีพ ได้แก่ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคิดสร้างสรรค์ และ อาชีพเฉพาะทาง ให้ครบกระบวนการจัดการ เรียนการสอนในการส่งเสริมอาชีพเพื่อการมีงานทาและมีรายได้ ด้วย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโนนสูง ได้ตระหนักถึงการส่งเสริม การแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาลที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด จึงได้จัดทาหลักสูตรการแปรรูปผลไม้ตาม ฤดูกาล เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง เพื่อแก้ปัญหา การว่างงานรวมถึงสนองต่อความต้องการของชุมชน และบูรณาการปรัชญาคิดเป็นและหลักปรัชญาขอเศรษฐกิจ พอเพียงได้ หลักการของหลักสูตร การพัฒนาอาชีพ หมายถึง การศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ ของบุคคลเพื่อให้บุคคลสามารถเข้าสู่อาชีพสามารถประกอบอาชีพหรือพัฒนาอาชีพของตนเองได้โดยพิจารณาถึง ความต้องการในการเรียนของแต่ละบุคคล จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อให้ประชาชนนาความรู้ไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ 2. เพื่อให้ประชาชนนาความรู้ไปต่อยอดอาชีพเพื่อมีอาชีพและสร้างรายได้เพิ่ม 3. เพื่อให้ประชาชนมีการรวมกลุ่มและนาความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอาชีพไปต่อยอดอาชีพในระดับ ชุมชน กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป ระยะเวลา จานวน ๔๐ ชั่วโมง ภาคทฤษฎี ๑๐ ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ ๓๐ ชัว่ โมง

2

โครงสร้างหลักสูตร ๑. ช่องทางการประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล จานวน ๔ ชั่วโมง ๑.๑ ความสาคัญในการประกอบอาชีพ ๑.๒ ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล ๑.๓ แหล่งเรียนรู้การประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล ๑.๔ การตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล ๒. ทักษะในการประกอบอาชีพธุรกิจสบู่สมุนไพร จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๒.๑ การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล ๒.๒ การแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล - การแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาลมะขามดอง - การแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาลมะขามแช่อิ่ม - การแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาลมะยมแช่อิ่ม - การแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาลมะม่วงแช่อิ่ม - การแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาลมะม่วงหาวมะนาวโห่แช่อิ่ม ๒.๓ บรรจุภัณฑ์การแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล ๓. การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล จานวน ๖ ชั่วโมง ๓.๑ การเลือกทาเลที่ตั้งร้าน ๓.๒ การจัดและตกแต่งหน้าร้าน ๓.๓ การคิดราคาต้นทุนและการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ๓.๔ การขาย ๓.๕ การส่งเสริมการขาย ๓.๖ การทาบัญชีร้านค้าอย่างง่าย ๔. โครงการประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล จานวน ๑๐ ชั่วโมง ๔.๑ ความสาคัญของโครงการอาชีพ ๔.๒ ประโยชน์ของโครงการอาชีพ ๔.๓ องค์ประกอบของโครงการอาชีพ ๔.๔ การเขียนโครงการอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบออนไลน์ และออฟไลน์ ๑. การบรรยาย การสาธิต ทดสอบ และปฏิบัติ ในรูปแบบออนไลน์ หรือแบบออฟไลน์ ๒. การฝึกปฏิบัตผิ ่านออนไลน์ หรือแบบออฟไลน์ สื่อการเรียนรู้ ๑. ศึกษาจากวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกอบรม ๒. ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน/วิทยากร/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๓. ศึกษาจากสื่อเทคโนโลยี การวัดและประเมินผล ๑. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม ๒. ผลงานจากการฝึกปฏิบัติ 3. ผลการทดสอบ

3

การจบหลักสูตร 1. มีเวลาเรียนและฝึกปฏิบัติตามหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. มีผลการประเมินผ่านตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 3. มีผลงานผ่านการประเมินทดสอบที่มีคุณภาพตามหลักเกณฑ์หลักสูตรอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล อย่างน้อย 1 คน เอกสารหลักฐานการศึกษา 1. หลักฐานการประเมินผล 2. วุฒิบัตรออกโดยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ 3. ทะเบียนคุมวุฒิบัตร การเทียบโอน ประชาชนที่จบหลักสูตรนี้สามารถนาไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพรายวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้จัดทาขึ้นในระดับ ใดระดับหนึ่ง

4

รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตรการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล เรื่อง ๑. ช่องทางการ ประกอบอาชีพการ แปรรูปผลไม้ตาม ฤดูกาล

จานวนชั่วโมง จุดประสงค์การ เนื้อหา กิจกรรม เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนบอก ๑. ความสาคัญใน ๑. ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา ๔ ชม. ความสาคัญในการ การประกอบอาชีพ จากใบความรู้ เรื่อง ประกอบอาชีพ ความสาคัญในการ ประกอบอาชีพ ๒. ผู้เรียนและวิทยากร ร่วมสนทนาแลกเปลี่ยน ข้อมูลความคิดเห็น ๓. ผู้เรียนสรุปความรู้ เพื่อให้ผู้เรียน ๒. ความเป็นไปได้ ๑. ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา สามารถวิเคราะห์ ในการประกอบ จากใบความรู้ เรื่อง ความเป็นไปได้ใน อาชีพการทา ความเป็นไปได้ในการ การประกอบอาชีพ สบู่สมุนไพร ประกอบอาชีพการแปร การแปรรูปผลไม้ ๒.๑ การวิเคราะห์ รูปผลไม้ตามฤดูกาล ตามฤดูกาล ตนเอง ๒. ผู้เรียนและวิทยากร ๒.๒ การวิเคราะห์ ร่วมสนทนาแลกเปลี่ยน ตลาด ข้อมูลความคิดเห็น ๒.๒ การลงทุน/ ๓. ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ แหล่งเงินทุน วิเคราะห์ตนเอง ตลาด และการลงทุน ๔. ผู้เรียนสรุปความรู้ ๑. เพื่อให้ผู้เรียน ๓. แหล่งเรียนรู้ ๑. ให้ผู้เรียนศึกษาแหล่ง บอกแหล่งเรียนรู้ การประกอบอาชีพ เรียนรู้การประกอบอาชีพ การประกอบอาชีพ การแปรรูปผลไม้ การแปรรูปผลไม้ตาม การแปรรูปผลไม้ ตามฤดูกาล ฤดูกาล ตามฤดูกาล ๓.๑ ร้านจัด ๑.๑ ศึกษาข้อมูลจาก ๒. เพื่อให้ผู้เรียนได้ จาหน่ายผลิตภัณฑ์ เอกสาร สื่อ แบบอย่างการ จากสมุนไพรที่มี อิเล็กทรอนิกส์ สถาน ประกอบอาชีพการ ขายในท้องตลาด ประกอบการ สื่อของจริง แปรรูปผลไม้ตาม ๓.๒ ผู้ประกอบ สื่อบุคคลในชุมชน ฤดูกาล ธุรกิจจัดจาหน่าย ๑.๒ ศึกษาดูงานร้าน ผลิตภัณฑ์จาก จัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ สมุนไพร จากสมุนไพรในท้องตลาด ที่ประสบ จากสถานที่จริง ความสาเร็จ

5

เรื่อง

๒.ทักษะการ ประกอบอาชีพ การแปรรูปผลไม้ ตามฤดูกาล

จุดประสงค์การเรียนรู้

เนื้อหา

เพื่อให้ผู้เรียนบอกทิศ ทางการประกอบอาชีพ การแปรรูปผลไม้ตาม ฤดูกาล ได้ด้วยกระบวนการคิด เป็น

การตัดสินใจเลือก ประกอบอาชีพ การแปรรูปผลไม้ ตามฤดูกาล ๑.ทิศทางการ ประกอบอาชีพ ธุรกิจการแปรรูป ผลไม้ตามฤดูกาล

เพื่อให้ผู้เรียนสามาร เลือกซื้อ วัสดุ อุปกรณ์ ได้อย่างมีคุณภาพ

๑. การเตรียม วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ในการแปรรูป ผลไม้ตามฤดูกาล ๑.๒ งบประมาณ ในการจัดซื้อ วัสดุอุปกรณ์ ๑.๓ สถานที่ จาหน่ายวัสดุ อุปกรณ์

กิจกรรม ๑.๓ ศึกษาจากผู้ ประกอบธุรกิจ จัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ จากสมุนไพรที่ ประสบความสาเร็จ ๒. ให้ผู้เรียนสรุปองค์ ความรู้จากการศึกษา แหล่งเรียนรู้ ๑. วิทยากรและ ผู้เรียนร่วมกัน วิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับการประกอบ อาชีพธุรกิจการแปร รูปผลไม้ตามฤดูกาล ๒. การใช้ กระบวนการคิดเป็น กาหนดทิศทางการ ประกอบอาชีพธุรกิจ การแปรรูปผลไม้ตาม ฤดูกาล ๑. ให้ผู้เรียนศึกษา เนื้อหาจากใบความรู้ เรื่องการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทา สบู่สมุนไพร ๒. วิทยากรอธิบาย และสาธิตเกี่ยวกับ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ในการแปรรูปผลไม้ ตามฤดูกาล ๓ ผู้เรียนและวิทยากร ร่วมสนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็น ๔.ผู้เรียนสรุปความรู้

จานวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ

๒ชม.

๑๘ชม.

6

เรื่อง - การแปรรูปผลไม้ ตามฤดูกาล

จุดประสงค์การ เรียนรู้ ๑. เพื่อให้ผู้เรียน สามารถบอกวัสดุ อุปกรณ์ ในการ แปรรูปผลไม้ตาม ฤดูกาลได้ ๒. เพื่อให้ผู้เรียน สามารถบอก ขั้นตอนการทา สบู่สมุนไพรได้ ๓. เพื่อให้ผู้เรียน สามารถทา สบู่สมุนไพรได้ ๔. เพื่อให้ผู้เรียน สามารถวิเคราะห์ งบประมาณในการ ทาไม้สบู่สมุนไพร ได้

เนื้อหา

กิจกรรม

๒. การทาไม้กวาด ๑. ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา ดอกหญ้า จากใบความรู้ เรื่องการทา ประกอบด้วย สบู่สมุนไพร ๒.๑ วัสดุอุปกรณ์ - การแปรรูปผลไม้ตาม ทีใ่ ช้ในทาไม้กวาด ฤดูกาลมะขาม (ก้อน) ดอกหญ้า - การแปรรูปผลไม้ตาม ฤดูกาลขมิ้น (ก้อน) ๒.๒ ขั้นตอนการ - การแปรรูปผลไม้ตาม แปรรูปผลไม้ตาม ฤดูกาลฟักข้าว (ก้อน) ฤดูกาล - การแปรรูปผลไม้ตาม - การแปรรูปผลไม้ ฤดูกาลว่านหางจระเข้ ตามฤดูกาลมะขาม (ก้อน) ดอง - การแปรรูปผลไม้ตาม - การแปรรูปผลไม้ ฤดูกาลดอกอัญชัน (ก้อน) ตามฤดูกาลมะขาม ๒. วิทยากรอธิบายและ แช่อิ่ม สาธิตเกี่ยวกับการแปรรูป - การแปรรูปผลไม้ ผลไม้ตามฤดูกาล ตามฤดูกาลมะยม ๓. ผู้เรียนฝึกปฏิบัติการ แช่อิ่ม แปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล - การแปรรูปผลไม้ ๔. วิทยากรประเมินผลการ ตามฤดูกาลมะม่วง แปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล แช่อิ่ม ของผู้เรียน - การแปรรูปผลไม้ ตามฤดูกาลมะม่วง หาวมะนาวโห่แช่ อิ่ม ๒.๓ งบประมาณ การแปรรูปผลไม้ ตามฤดูกาล ๓. การบริหาร เพื่อให้ผู้เรียน การเลือกทาเลที่ตั้ง ๑. ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา จัดการในการ สามารถเลือกทาเล ร้าน จากใบความรู้ เรื่องการหา ประกอบอาชีพธุรกิจ ที่ตั้งร้านค้าที่ ๑. ความสาคัญของ ทาเลที่ตงั้ ร้าน การแปรรูปผลไม้ เหมาะสมในการค้า การเลือกที่ตั้ง ๒. ผู้เรียนและวิทยากรร่วม ตามฤดูกาล ขายได้ ๒. หลักเกณฑ์ใน สนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูล - ทาเลที่ตั้งร้าน การเลือกทาเลที่ตั้ง ความคิดเห็น ๓. ผู้เรียนสรุปความรู้

จานวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ

๒ ชม.

๔ ชม.

7

เรื่อง - การจัดและตก แต่งหน้าร้าน

จุดประสงค์การ เรียนรู้

เนื้อหา

เพื่อให้ผู้เรียน การจัดและตก สามารถจัดและตก แต่งหน้าร้าน แต่งหน้าร้านให้มี ความสะอาดและ สวยงามได้

กิจกรรม

๑. ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา จากใบความรู้ เรื่องการ จัดและตกแต่งหน้าร้าน ๒. วิทยากรอธิบายและ สาธิตการจัดและตกแต่ง หน้าร้าน ๓. ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจัดและ ตกแต่งหน้าร้านแล้ว ผู้เรียนและวิทยากรร่วม สนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็น ๔. ผู้เรียนสรุปความรู้ - การคิดต้นทุน เพื่อให้ผู้เรียน การคิดราคาต้นทุน ๑. ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา และวิเคราะห์ สามารถคิดราคา และการวิเคราะห์ จากใบความรู้ เรื่องการคิด จุดคุ้มทุน ต้นทุนของสบู่ จุดคุ้มทุน ราคาต้นทุนและการ สมุนไพรแต่ละ ๑. การคิดราคา วิเคราะห์จุดคุ้มทุน ชนิดได้ ต้นทุน ๒. วิทยากรอธิบายและ - ค่าวัสดุอุปกรณ์ สาธิตการคิดราคาต้นทุน สบู่สมุนไพร และการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน - ค่าส่วนผสมสบู่ ๓. ผู้เรียนฝึกปฏิบัติการคิด สมุนไพร ราคาต้นทุนและการ - ค่าแรงงาน วิเคราะห์จุดคุ้มทุนแล้ว - ค่าสาธารณูปโภค ผู้เรียนและวิทยากรร่วม ๒. การวิเคราะห์ สนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูล จุดคุ้มทุน ความคิดเห็น ๔. ผู้เรียนสรุปความรู้ - การขายสบู่สมุนไพร เพื่อให้ผู้เรียนบอก การขายสบู่ ๑. ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา วิธีการขาย สมุนไพร จากใบความรู้เรื่องการขาย สบู่สมุนไพรได้ ๒. ผู้เรียนและวิทยากรร่วม สนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็น ๓. ผู้เรียนสรุปความรู้

จานวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ

8

เรื่อง - การส่งเสริมการ ขาย

จุดประสงค์การเรียนรู้

เนื้อหา

กิจกรรม

๑. ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา จากใบความรู้ เรื่องการ ส่งเสริมการขาย ๒. ผู้เรียนและวิทยากร ร่วมสนทนาแลกเปลี่ยน ข้อมูลความคิดเห็น ๓. ผู้เรียนสรุปความรู้ ๑. ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา จากใบความรู้ เรื่องการ ทาบัญชีร้านค้าอย่างง่าย ๒. วิทยากรอธิบายและ สาธิตการทาบัญชีร้านค้า อย่างง่าย ๓. ผู้เรียนฝึกปฏิบัติการ ทาบัญชีร้านค้าอย่างง่าย แล้วผู้เรียนและวิทยากร ร่วมสนทนาแลกเปลี่ยน ข้อมูลความคิดเห็น ๔. ผู้เรียนสรุปความรู้ ๔. โครงการอาชีพ ๑. เพื่อให้ผู้เรียนบอก ๑. ความสาคัญ ๑. ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา ธุรกิจการแปรรูป ความสาคัญของ ของโครงการ จากใบความรู้ เรื่อง ผลไม้ตามฤดูกาล โครงการอาชีพได้ อาชีพ ความสาคัญของโครงการ - ความสาคัญ ๒. เพื่อให้ผู้เรียนบอก ๒. ประโยชน์ของ อาชีพ ประโยชน์ของ ประโยชน์ และ ประโยชน์ของ โครงการอาชีพ โครงการอาชีพ และ องค์ประกอบของ โครงการอาชีพได้ ๓. องค์ประกอบ องค์ประกอบของ โครงการอาชีพ ๓. เพื่อให้ผู้เรียนบอก ของโครงการ โครงการอาชีพ องค์ประกอบของ อาชีพ ๒. ผู้เรียนและวิทยากร โครงการอาชีพได้ ร่วมสนทนาแลกเปลี่ยน ๔. เพื่อให้ผู้เรียนอธิบา ข้อมูลความคิดเห็น องค์ประกอบของ ๓. ผู้เรียนสรุปความรู้ โครงการอาชีพได้ - การเขียนโครงการ ๑. เพื่อให้ผู้เรียน ๒. การเขียน ๑. ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา อาชีพ อธิบายลักษณะการ โครงการอาชีพ จากใบความรู้ เรื่องการ เขียนโครงการอาชีพ เขียนโครงการอาชีพ ที่ดี

จานวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ

เพื่อให้ผู้เรียนบอก วิธีการส่งเสริมการ แปรรูปผลไม้ตาม ฤดูกาล

การส่งเสริมการ ขาย ๑. ความหมาย การส่งเสริมการ ขาย ๒. กลยุทธ์ ส่งเสริมการขาย - การทาบัญชีร้านค้า เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ การทาบัญชี ทาบัญชีร้านค้าอย่าง ร้านค้าอย่างง่าย ง่ายได้

๒ ชม.

๘ ชม.

9

เรื่อง

จุดประสงค์การเรียนรู้

เนื้อหา

๒. เพื่อให้ผู้เรียน สามารถเขียนโครงการ อาชีพได้เหมาะสมและ ถูกต้อง

รวมทั้งสิ้น จานวน ๔0 ชั่วโมง

กิจกรรม

จานวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ

๒. ผู้เรียนและวิทยากร ร่วมสนทนาแลกเปลี่ยน ข้อมูลความคิดเห็น ๓. ให้ผู้เรียนฝึก ปฏิบัติการเขียนโครงการ อาชีพ ๔. ให้ผู้เรียนฝึก ปฏิบัติการประเมินความ เหมาะสมและสอดคล้อง ของโครงการอาชีพ ๕. วิทยากรประเมิน โครงการอาชีพ แล้วให้ ผู้เรียนปรับปรุงโครงการ อาชีพให้มีความเหมาะสม และถูกต้อง ๖. ให้ผู้เรียนเขียน โครงการอาชีพของตนเอง เพื่อเสนอขอรับการ สนับสนุนงบประมาณ ดาเนินงานอาชีพ และใช้ ในการดาเนินการ ประกอบอาชีพต่อไป ๑๐ ชม. ๓๐ชม.

10

ภาคผนวก

๑๑

ใบความรู้ เรื่องที่ ๑ ช่องทางการประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล ๑. ความสาคัญในการประกอบอาชีพ การประกอบอาชีพ หมายถึง การทามาหากินที่เกิดจากกิจกรรมหรือบริการใด ๆ ที่ก่อให้เกิด ผลผลิตและรายได้ ซึ่งเป็นงานประจาที่สุจริต ไม่ผิดศีลธรรม ลักษณะอาชีพ แบ่งออกเป็น ๑. อาชีพอิสระ มีลักษณะเป็นเจ้าของกิจการ บริหารจัดการด้วยตนเอง อาจเป็นกิจการขนาดเล็ก หรือเป็นอุตสาหกรรมในครัว เรือน อาชีพอิสระแยกย่อยออกไปเป็น ๒ ประเภท ดังนี้ • อาชีพอิสระด้านการผลิต การแปรรูปผลผลิตเป็นสินค้า นาไปจาหน่ายในท้องตลาดเป็นการขาย ปลีกและขายส่ง เช่น อาหารไทย เบเกอรี่ ผักผลไม้ • อาชีพอิสระด้านการให้บริการ เป็นอาชีพที่นิยมกันแพร่หลาย เนื่องจากมีความเสี่ยงน้อย การ ลงทุนต่า เช่น บริการทาความสะอาด ทานายโชคชะตา บริการซักรีดเสื้อผ้า ช่างซ่อมอื่น ๆ ๒. อาชีพรับจ้าง เป็นการทางานที่มีเจ้านายมอบหมาย ได้รับค่าตอบแทนเป็นเงิน เช่น งานก่อสร้าง พนักงานในบริษัท ห้างร้าน และโรงงาน ๓. อาชีพงานฝีมือ เป็นอาชีพที่ปฏิบัติงานโดยใช้ประสบการณ์และความชานาญเฉพาะด้าน เช่น งานศิลปะ งานหัตถกรรม งานประติมากรรม ๔. อาชีพข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ รวมทั้งพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นอาชีพที่ให้บริการแก่ ประชาชน ประโยชน์ของอาชีพ มีหลายด้าน ดังนี้ ๑. ด้านตนเอง เป็นคนที่รู้คุณค่าของเงิน ใช้จ่ายเงินอย่างประหยัด วางแผนการใช้จ่ายเงิน การเก็บ ออมเงินเพื่อความมั่นคงของชีวิต ๒. ด้านครอบครัว การมีอาชีพจะสร้างคุณค่าให้กับตนเองและสมาชิกในครอบครัว เป็นตัวอย่างแก่ คนในครอบครัวและบุคคลอื่น ๆ ๓. ด้านชุมชน เป็นการสร้างรายได้ให้ชุมชน ทาให้เศรษฐกิจชุมชนดีขึ้น ทาให้ชุมชนเข้มแข็ง พึ่งพา ตนเองได้ ๔. ด้านประเทศชาติ เมื่อประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ รัฐสามารถเก็บภาษีจากประชาชนได้ สามารถนารายได้จากการเก็บภาษีไปพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ได้ ๒. ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล อาชีพมีหลายประเภท มีลักษณะแตกต่างกัน การเลือกอาชีพต้องพิจารณาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ ๒.๑ การวิเคราะห์ตนเอง ๑. ความสนใจ สารวจความถนัด ความสนใจ ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับ ตนเองมากที่สุด เพื่อเป็นแนวทางการเลือกอาชีพที่เหมาะสม ๒. วิสัยทัศน์การเป็นคนที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมองการณ์ไกล จะได้เปรียบในเชิง ธุรกิจมากกว่าคนอื่น

12

๓. ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ หากไม่มีความรู้เพียงพอ ต้องศึกษาขวนขวายหา ความรู้เพิ่มเติม อาจจะฝึกอบรมจากสถาบันที่ให้ความรู้ ด้านอาชีพ หรือทางานเป็นลูกจ้างคนอื่น ๆ หรือ ทดลองปฏิบัติด้วยตนเองเพื่อให้มีความรู้ ความชานาญ และมีประสบการณ์ในการประกอบอาชีพนั้น ๆ ๒.๒ การวิเคราะห์ตลาด ๑. การตลาด เป็นปัจจัยที่สาคัญมากที่สุดปัจจัยหนึ่ง เพราะหากสินค้าและบริการที่ผลิตขึ้น ไม่เป็ น ที่นิย มและไม่ส ามารถสร้ างความพอใจให้ แก่ผู้ บริโ ภคได้ก็ถือว่ากระบวนการทั้งระบบไม่ประสบ ผลสาเร็จ ดังนั้นการวางแผนการตลาด ซึ่งปัจจุบันมีการแข่งขันสูง จึงควรได้รับความสนใจในการพัฒ นา รวมทั้งต้องรู้และเข้าใจในเทคนิคการผลิต การบรรจุและการหีบห่อ ตลอดจนการประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ สินค้าและบริการของเราเป็นที่นิยมของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ต่อไป ๒. การจัดการ เป็นเรื่องของเทคนิคและวิธีการ จึงต้องรู้จักการวางแผนการทางานในเรื่อง ของตัวบุคคลที่จะร่วมคิด ร่วมทาและร่วมทุน ตลอดจนเครื่องมือ เครื่องใช้และกระบวนการทางาน ๓. การเลือกกลุ่มเป้าหมาย เราอาจแบ่งกลุ่มลูกค้า โดยแบ่งตามอายุ ความชอบ เพศ ระดับ การศึกษา การเลือกซื้อสินค้า ราคา และรสชาติ เป็นต้น ๔. การวิเคราะห์ลูกค้า ๑) เราต้องรู้ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ๒) รู้วัตถุประสงค์ใน การบริโภคสินค้า ๓) รู้วิธีการตัดสินใจซื้อของลูกค้า ๒.๓ การลงทุน/แหล่งเงินทุน ๑. ทรัพยากรในท้องถิ่น การสารวจทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นว่าสามารถนามาใช้ในการผลิต สินค้า ซึ่งจะช่วยประหยัดต้นทุน ค่าใช้จ่าย และเป็นการสร้างงานให้คนในท้องถิ่น ๒. ทุน เป็นสิ่งที่จาเป็นปัจจัยพื้นฐานของการประกอบอาชีพใหม่ โดยจะต้องวางแผนและ แนวทางการดาเนินธุรกิจไว้ล่วงหน้า เพื่อที่จะทราบว่าต้องใช้เงินทุนประมาณเท่าไร บางอาชีพ ใช้เงินทุนน้อย ปัญหาย่อมมีน้อย แต่ถ้าเป็นอาชีพที่ต้องใช้เงินทุนมากจะต้องพิจารณาว่ามีทุนเพียงพอหรือไม่ซึ่งอาจ เป็น ปัญหาใหญ่ ถ้าไม่พอจะหาแหล่งเงินทุนจากที่ใด อาจจะได้จากเงินเก็บออม หรือการกู้ยืมจากธนาคาร หรือ สถาบันการเงินอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ในระยะแรกไม่ควรลงทุนจนหมดเงินเก็บออมหรือลงทุนมากเกินไป ๓. การประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล จะใช้ทุนเริ่มต้นประมาณ 1,๕๐๐ - 2, ๕๐๐ บาท ๓. แหล่งเรียนรู้การประกอบอาชีพ แหล่งเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข้อมู ลข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ ผู้เรียนใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย อย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง เพื่อ เสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ สาหรับแหล่งเรียนรู้การประกอบอาชีพการทาไม้กวาดดอกหญ้า มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนได้ ศึกษารูปแบบและวิธีการขายจากสถานที่จริง ได้เห็นรูปแบบการดาเนินกิจกรรมร้านจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ จากสมุนไพรที่มีขายในท้องตลาด นอกจากนี้ ก ารได้ ศึ ก ษาจากผู้ ป ระกอบอาชี พ จั ด จ าหน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากสมุ น ไพร ที่ ป ระสบ ความสาเร็จ จะทาให้ผู้เรียนได้รับการถ่ายทอดประสบการณ์ อันจะส่งผลให้เกิดแนวคิด และแรงบันดาลใจ ในการสร้างอาชีพ

13

๔. ทิศทางการเลือกประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล ก่อนพิจารณากาหนดทิศทางเลือกประกอบอาชีพใด ๆ ก็ตาม ควรพิจารณาอย่างรอบคอบ ซึ่งมี ข้อแนะนาดังนี้ ประการแรก ควรเลือกอาชีพที่ชอบหรือคิดว่าถนัด สารวจตัวเองว่าสนใจ อาชีพอะไร ชอบหรือ ถนัดด้านไหน มีความสามารถอะไรบ้าง ที่สาคัญคือต้อง การหรืออยากจะประกอบอาชีพอะไร จึงจะ เหมาะสมกับตัวเองและครอบครัว กล่าวคือ พิจารณาลักษณะงานอาชีพ และพิจารณาตัวเอง พร้อมทั้ง บุคคลในครอบครัวประกอบกันไปด้วย ประการที่สอง จะต้องพัฒนาความสามารถของตัวเอง คือ ต้องศึกษารายละเอียดของอาชีพที่จะ เลือกไปประกอบ ถ้าความรู้ความเข้าใจยังมีน้อย มีไม่เพียงพอก็ต้องทาการศึกษา ฝึกอบรม ฝึกปฏิบัติ เพิ่มเติมจากบุคคล หรือหน่วยงานต่าง ๆ ให้มีพื้นฐานความรู้ความเข้าใจในการเริ่มประกอบอาชีพที่ถูกต้อง เพื่อจะได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงของผู้มีประสบการณ์มาก่อน จักได้เพิ่มโอกาสความสาเร็จสมหวังใน การไปประกอบอาชีพนั้น ๆ ประการที่สาม พิจารณาองค์ประกอบอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น ทาเลที่ตั้งของอาชีพที่จะทาไม่ว่าจะเป็น การผลิต การจาหน่าย หรือการให้บริการก็ตาม สภาพ แวดล้อมผู้ร่วมงาน พื้นฐานในการเริ่มทาธุรกิจ เงินทุน โดยเฉพาะเงินทุนต้องพิจารณาว่ามีเพียงพอหรือไม่ถ้าไม่พอจะหาแหล่งเงินทุนจากที่ใด

14

ใบความรู้ เรื่องที่ ๒ ทักษะการประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล ๑. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทามะขามดอง 1. มะขามแก่ฝักใหญ่ 1 กิโลกรัม 2. น้าปูนใส 1/2 ถ้วย 3. เกลือป่น 1/2 ถ้วย 4. น้า 5 ถ้วย 5. น้าเย็น วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทามะขามแช่อิ่ม 1. มะขามเปรี้ยวดิบยักษ์ 3 กิโลกรัม 2. เกลือ 80 กรัม 3. น้าปูนใส 2 ลิตร 4. น้าสะอาด วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทามะยมแช่อิ่ม 1. มะยม 1 กิโลกรัม 2. น้าตาลทราย 2 ถ้วย 3. น้า 2 ถ้วย 4. น้าปูนใส 2 ถ้วย วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทามะม่วงแช่อิ่ม 1. มะม่วงดิบ 2. น้าปูนใส 3. เกลือ 4. น้า 5. น้าตาลทราย วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทามะม่วงหาวมะนาวโห่แช่อิ่ม 1. มะม่วงหาวมะนาวโห่ 1 กิโลกรัม 2. น้าตาลทรายแดง 450 กรัม 3. น้าเปล่า 600 ml ทั้ง 2 รอบ 4. เกลือปรุงรส 25 กรัม ( 3 ช้อนโต๊ะ )

15

๒.วิธีทาผลไม้แช่อิ่มตามฤดูกาล 2.1 วิธีการทามะขามดอง 1. ต้มน้าให้เดือด ใส่มะขามล้างสะอาดแล้วลงไปลวกประมาณ 1 นาที เสร็จแล้วตักขึ้น แช่น้าเย็น 2. แกะเปลือกมะขามออกแล้วแช่ในน้าปูนใส ประมาณ 15 นาที เอาขึน้ มาล้างด้วยน้า ให้สะอาด ผึ่งให้น้าแห้ง นาเรียงลงในขวดแก้ว เตรียมไว้ 3. ต้มน้าเกลือให้เดือด ทิ้งไว้ให้เย็น เทน้าเกลือใส่ให้ท่วมมะขาม ปิดฝาให้สนิท ดองไว้ 23 วัน เสิร์ฟกับพริกเกลือ ๒.2 วิธีการทามะขามแช่อิ่ม ขัน้ ตอนการทามะขามแช่อิ่ม 1. ต้มน้าให้เดือดในหม้อต้ม แล้วนามะขามไปต้มประมาณ 10-15 วินาที จะสังเกตได้ว่า เปลือกเริ่มเปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีน้าตาล การต้มมะขามด้วยน้าร้อนเป็นวิธีช่วยให้การแกะมะขามได้ง่ายขึ้น 2. จากนั้นก็เริ่มแกะมะขามได้เลย นามะขามที่แกะเปลือกเรียบร้อยแล้วไปแช่น้าเกลือ การแช่น้าเกลือจะช่วยให้เนื้อมะขามไม่ดา 3. หลังจากปลอกเปลือกเรียบร้อยแล้วนามะขามทั้งหมดไปแช่น้าเกลือ 1 คืน และทา การปิดฝาให้สนิท 4. หลังจากนั้น นามะขามที่แช่น้าเกลือไปล้างน้าแล้วนาไปแช่น้าปูนใสอีก 1 คืนให้มะขาม จมน้าปูนใส 5. ต้มน้าเชื่อมโดยนาน้าตาลไปเคี่ยวหรือจนน้าตาลละลาย 6. แยกมะขามออกเป็น 2 กล่อง แล้วนาไปแช่น้าเชื่อมปิดฝา จากนั้น พักไว้ในตู้เย็น 23 คืน ระหว่างที่รอ ต้องคอยหมั่นคนมะขามที่ลอยขึ้นมาจากน้าเชื่อม เพื่อให้มะขามจมน้า หมั่นคนทุกวัน เมื่อครบ 2 คืน จะได้มะขามแช่อิ่มตามที่ต้องการ ๒.3 วิธีการทามะยมแช่อิ่ม 1. นามะยมแช่ในน้าเกลือและน้าปูนใส 1 ชั่วโมง นาขึ้นล้างน้าแล้วผึ่งพอสะเด็ดน้า 2. ใส่น้ากับน้าตาลทรายลงในหม้อ ตั้งไฟ พอน้าตาลละลาย 3. กรองด้วยผ้าขาวบางพักให้เย็น 4. ใส่มะยมลงแช่ไปแช่ไว้ 3 วัน 5. ทุกๆวันให้นาน้าเชื่อมอุ่นให้เดือด แล้วปล่อยให้เย็นจึงเทใส่หม้อมะยม ทาจนครบ 3 วัน หรือจนมะยมเป็นเงาสีแดง

16

2.4 วิธีการทามะม่วงแช่อิ่ม 1. ละลายเกลือกับน้าปูนใสเข้าด้วยกัน เตรียมไว้ 2. ปอกเปลือกมะม่วงออกจนหมด ล้างให้สะอาดแล้วหั่นมะม่วงเป็นชิ้น ๆ ใส่ลงแช่ในน้า ปูนใสที่ผสมเกลือไว้ ปิดฝาให้สนิท พักทิ้งไว้ 1 คืน จากนั้นนามะม่วงไปล้างให้สะอาด ตักขึ้นสะเด็ดน้า เตรียมไว้ 3. ใส่น้าและน้าตาลทรายลงในหม้อ (อัตราส่วน 1:1) นาขึ้นตั้งไฟ คนผสมจนเดือดและ น้าตาลละลาย ยกลงจากเตา พักทิ้งไว้จนเย็นสนิท 4. ใส่มะม่วงลงแช่ในน้าเชื่อม ปิดฝาให้สนิท แช่ทิ้งไว้อย่างน้อย 1 คืน นาเข้าแช่เย็น พร้อมเสิร์ฟ 2.๕ วิธีการทามะม่วงหาวมะนาวโห่แช่อิ่ม 1. เริ่มวิธีกันเลย อย่างแรกให้นามะม่วงหาวมะนาวโห่ วันนี้จะใช้เป็น 1 กิโลกรัมล้างทา ความสะอาด แล้วให้นาผลดิบของมะม่วงหาวมะนาวโห่ที่ล้างเสร็จแล้วนั้นมาผ่าครึ่งใช้ มีดคว้าน เม็ดด้านใน ออกให้หมด 2. จากนั้นให้เรานามะม่วงหาวมะนาวโห่ที่ได้เอาเม็ดออกแล้วล้างทาความสะอาดด้วย น้าเปล่า 1 รอบ 3. ต้มน้าให้เดือด 600 ml ใส่เกลือลงไป 3 ช้อนโต๊ะ เมื่อเกลือละลายหมดดีแล้วปิดไฟ นาหม้อที่ต้มน้าเกลือพักเอาไว้รอให้เย็น 4 น้าเกลือที่พักเอาไว้จนเย็นแล้วใส่ลงไปในหม้อที่ได้มีผลดิบของมะม่วงหาวมะนาวโห่ที่เรา เก็บเอาไว้ก่อนหน้านี้ ปิดฝาหม้อให้สนิทแช่ทิ้งเอาไว้ในตู้เย็นเลยเป็นเวลา 3 วัน เมื่อครบ 3 วันแล้วนาหม้อ ออกมาจากตู้เย็นล้างด้วยน้าสะอาด 1 รอบ 5. จากนั้นต้มน้า 600 ml ให้เดือดใส่น้าตาลทรายลงไปประมาณ 450 กรัม คนให้เข้ากัน เมื่อน้าตาลทรายละลายจนหมดแล้วนาหม้อที่ต้มน้าตาลมาพักเอาไว้ให้หายร้อน 6. หม้อน้าตาลที่เราได้พักเอาไว้จนเย็นแล้วให้เทใส่ลงไปในหม้อมะม่วงหาวมะนาวโห่ที่ล้าง ทาความสะอาดเตรียมเอาไว้ จากนั้นทาการปิดฝาหม้อให้สนิทแช่ต่อเอาไว้ในตู้เย็นเป็นเวลานาน 3-4 วัน 7. หลังจากที่ได้แช่จนครบเวลาเป็นที่เรียบร้อย เราก็สามารถที่จะนามะม่วงหาวมะนาวโห่ ออกมารับประทานได้เลย จะให้รสชาติอมหวานอมเปรี้ยว เนื้อมะม่วงหาวมะนาวโห่นั้นมีความกรอบ มี ความอร่อยอย่างมาก

17

ใบความรู้ เรื่องที่ ๓ การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล ๑. การเลือกทาเลที่ตั้งร้าน ๑.๑ ความสาคัญของการเลือกที่ตั้ง การตัดสินใจเลือกทาเลที่ตั้งเป็นการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์เนื่องจากมีผลกระทบต่อ ธุรกิจในระยะยาว โดยเฉพาะต่อความได้เปรียบในเชิงแข่งขันทางธุรกิจและจะมีผลต่อความสาเร็จของธุรกิจ ซึ่งผู้ประกอบการ ต้องพิจารณาถึงกลยุทธ์ที่ตั้งของธุรกิจที่มีความสาคัญต่อการดาเนินงาน ๒ กลยุทธ์สาคัญได้แก่ ๑. กลยุทธ์ที่ตั้งตามพื้นที่ เป็นแนวทางในการกาหนดให้ ที่ตั้งแต่ละแห่งรับผิดชอบพื้นที่แต่ละ ส่วนโดยต้องผลิตสินค้าและบริการทุกอย่างสาหรับพื้นที่นั้น ๆ ซึ่งธุรกิจที่เลือกใช้กลยุทธ์ที่ตั้งตามพื้นที่มัก เป็นธุรกิจค้าปลีก หรือบริการ ๒. กลยุทธ์ที่ตั้งตามผลิตภัณฑ์ เป็นแนวทางในการกาหนดให้ที่ตั้งหนึ่งแห่งทาการผลิตสินค้า เพียงหนึ่งอย่าง โดยยึดหลักของความสาคัญของวัตถุดิบที่มีในพื้นที่ ๑.๒ หลักเกณฑ์ในการเลือกทาเลที่ตั้ง การตัดสินใจเลือกทาเลที่ตั้งเป็นกระบวนการที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น เมื่อโลกก้าวเข้าสู่ยุค โลกาภิวัตน์ อีกทั้งธุรกิจขนาดย่อมจานวนมากได้มีการเติบโตขึ้นและได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ดังนั้น ผู้ประกอบการควรพิจารณาถึงความจาเป็นที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงสาหรับกิจการควบคู่กันไปในแต่ละ สถานการณ์ ดังนี้ ๑. ความพึงพอใจส่วนบุคคล โดยที่ผู้ประกอบการส่วนหนึ่งมักจะพิจารณาตั้งกิจการของ ตนเองในชุมชนที่ตนอาศัยอยู่เป็นทาเลในการประกอบการ อย่างไรก็ตามในแง่ของการดาเนินธุรกิจไม่ได้ หมายความว่ า จะมี เ พี ย งพื้ น ที่ซึ่ ง ตนเองมีค วามเคยชิน เท่ านั้ น ที่ เหมาะสมต่ อการตั้ง กิ จ การ เพราะ ผู้ประกอบการธุรกิจสามารถใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ จากสิ่งเหล่านี้ได้ ไม่ว่าจะเป็นในด้านภาพลักษณ์ ส่วนตัว การได้รับความเชื่อถือ หรือการยอมรับจากสังคม และอาศัยประโยชน์จากความคุ้นเคย ความสามารถในการอ้างอิงกับบุคคลต่าง ๆ ภายในชุมชนที่เกี่ยวข้องกับกิจการของตนมากขึ้น ๒. ความได้เปรียบด้านต้นทุน โดยเฉพาะค่าแรงหรือค่าวัตถุดิบในพื้นที่ ที่มีต้นทุนในการ ดาเนินธุรกิจต่า ซึ่งสิ่งเหล่านี้สะท้อนถึงค่าใช้จ่ายในการลงทุนในช่วงเริ่มต้นของกิจการ ที่จะช่วยลดต้นทุน การผลิตให้ต่าลง ๓. ความสามารถในการจัดการทรัพยากร เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงค่าใช้จ่ายในการ ดาเนินงานทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เนื่องจากทักษะ ประสบการณ์ของแรงงานจะมีความสัมพันธ์ โดยตรงกับผลิตผลและคุณภาพในกระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์ ความยั่งยืนของแรงงานในท้องถิ่นมี ผลกระทบต่ออัตราค่าจ้าง ซึ่งถือเป็นต้นทุนที่สาคัญ ซึ่งผู้ประกอบการจะต้องคานึงถึงอยู่เสมอ อีกทั้งแหล่ง ที่ตั้งต้องมีความใกล้ชิดกับวัตถุดิบและความสามารถในการขนส่งที่ธุรกิจต้องมีการบริหารจัดการอย่างมี ประสิทธิภาพ ๔. การเข้าถึงลูกค้า ธุรกิจขนาดย่อมยุคปัจจุบันต้องให้ความสาคัญผันแปรแหล่งที่ตั้งของ ธุรกิจไปตามประเภทของกิจการ เช่น ธุรกิจค้าปลีกและบริการ ต้องมีรายละเอียดของสถานที่แสดงสินค้า บริการและรูปแบบ ดังนั้น การเลือกทาเลที่ตั้งต้องใกล้ชิดกับลูกค้าและอานวยความสะดวกต่อการเข้ามา ติดต่อ และถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความสาเร็จของกิจการ

18

ดังนั้น ในขั้นตอนแรกของเกณฑ์การเลือกทาเลที่ตั้ง ผู้ประกอบการต้องตัดสินใจก่อนว่าจะ เลือกดาเนินธุรกิจในชุมชน หมายถึง จังหวัดหรืออาเภอ แล้วจึงทาการตัดสินใจขั้นสุดท้าย คือ การเลือก บริเวณที่ตั้งจากหลาย ๆ พื้นที่ภายในชุมชน ซึ่งเป็นการระบุถึงตาแหน่งของที่ตั้งอย่างละเอียด ๒. การจัดและตกแต่งหน้าร้าน ส่วนใหญ่ร้านขายสินค้ามักจะมีผู้ขาย ซึ่งเป็นเจ้าของกิจการเอง หรือบางร้านอาจมีการจ้างพนักงาน ขายของโดยเฉพาะเพื่อทาหน้าที่เอาใจใส่คอยแนะนาให้คาอธิบายต่าง ๆ แก่ลูกค้า หากเป็นร้านขนาดใหญ่มี สินค้าหลายชนิดย่อมทาให้ต้องมีพนักงานขายจานวนมาก การจัดตกแต่งร้านค้า มีความสาคัญต้องคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ ๑. แสงสว่างภายในร้าน ควรจัดร้านให้มีความสว่างทั่วทั้งร้านจากแสงไฟฟ้าที่ร้านได้ติดเอาไว้ แสงสว่างธรรมชาติมักไม่เพียงพอและแสงแดดมักทาความเสียหายให้แก่สินค้า การใช้แสงไฟฟ้าแม้จะมี ค่าใช้จ่ายสูงแต่ก็จูงใจลูกค้าให้เข้ามาซื้อสินค้าได้มากกว่าร้านที่ดูมืดสลัว มุมห้องมืดๆ ก่อนตัดสินใจเรื่องแสง สว่างควรรู้ว่าค่าไฟฟ้าจะเป็นสักเท่าใด และใช้ไฟฟ้ากี่ดวงถึงจะคุ้มค่ากับการขายสินค้าด้วย ๒. การตกแต่งสีภายนอกและภายในร้าน นอกจากการทาสีร้านค้าให้สดใสสว่าง สวยงามแล้ว สี ของหีบห่อและตัวสินค้าก็สามารถนามาตกแต่งให้ร้านค้าดูดีขึ้นจะต้องให้ผู้คนเห็นสินค้า ชัดเจนและสวยงาม ๓. การจัดหมวดหมู่ของขนม ขนมที่มีลักษณะใกล้เคียงกันหรือขนมที่ใช้รับประทานร่วมกั น จะต้องจัดวางไว้ด้วยกัน เช่น ขนมหม้อแกงวางใกล้กับขนมตะโก้ ข้าวเหนียววางใกล้กับสังขยา เป็นต้น ๔. การติดป้ายราคาสินค้า การติดป้ายบอกราคาขนมให้ชัดเจนพอที่ลูกค้าจะอ่านได้ เป็นการให้ ความสะดวกกับลูกค้าในการตัดสินใจ การจัดวางสินค้า มีความสาคัญต่อการจูงใจลูกค้ าให้เลือกซื้อสินค้า เพื่อให้สะดวกและเกิดความพึงพอใจ ควรคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ ๑. ความพึงพอใจของลูกค้า ๒. จัดสินค้าไว้ในบริเวณที่เราจะขาย ๓. จัดสินค้าไว้ในระดับสายตาให้มากที่สุด ๔. จัดสินค้าด้านหน้าบนชั้นให้เต็มอยู่เสมอ ๕. ชั้นปรับระดับได้ตามขนาดของสินค้าจะเป็นการดี ๖. การใช้กล่องหนุนสินค้าให้ดูงดงามแม้จะมีสินค้าไม่มากนัก ๗. ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ๘. สินค้ามาก่อนต้องขายก่อน เราต้องขายสินค้าเก่าก่อนสินค้าใหม่เสมอพยายามวางสินค้ามาก่อน ไว้แถวหน้าเสมอ ควรทาสินค้าที่มาก่อนให้ดูสดใสสะอาดเหมือนสินค้าใหม่ ๓. การคิดราคาต้นทุนและการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ๓.๑ การคิดราคาต้นทุน ๑. ราคาวัตถุดิบทั้งหมด ๒. ๓๕ - ๕๐ % ของราคาวัตถุดิบเป็นค่าแรงและเชื้อเพลิง (แล้วแต่ความยากง่าย และขั้นตอนใน การทา) ๓. ๑๐% ของราคาวัตถุดิบรวมกับค่าแรงและเชื้อเพลิง เป็นค่าเสียหายอื่น ๆ (ของเหลือ ของทิ้ง) นา ๑ + ๒ + ๓ เท่ากับ ต้นทุนสุทธิ

19

การคิดกาไร การคิดกาไรตามหลักการทาธุรกิจ ส่วนใหญ่ควรบวกกาไรที่ ๓๐ - ๔๐ % จากราคาต้นทุนสุทธิ ๓.๒ การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ในการประกอบธุรกิจ จะต้องคานึงถึงระยะเวลาในการคืนทุน โดยสามารถคานวณได้จาก ระยะเวลาคืนทุน = เงินลงทุน หาร กาไรสุทธิต่อเดือน = ๕,๐๐๐ / ๑,๐๐๐ = ๕ เดือนจึงจะคืนทุน ๔. การขาย การขาย คือ กระบวนการทั้งทางตรงและทางอ้อมของการจูงใจให้ผู้ซื้อสินค้า หรือบริการยินยอม กระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งจะทาให้เกิดประโยชน์ทางด้ านการค้าแก่ผู้ขาย เมื่อผู้ผลิตสินค้าไปสู่ผู้บริโภค มีสิ่งที่ ควรพิจารณา ดังนี้ ๑. การหาตลาด ควรคานึ งถึงความต้องการของตลาดว่า มีมากน้อยเพียงใด โดยใช้วิธีสั งเกต สอบถามกับคนรู้จัก เพื่อนบ้าน และผู้ซื้อ กระแสการบริโภคของลูกค้านิยมกล้วยปิ้งรสชาติแบบไหน รูปแบบ ของกล้วยปิ้งให้มีลักษณะโดดเด่นอย่างไร ต้องการซื้อเป็นของขวัญของฝากหรือรับประทานในครอบครัว ตลาดควรเป็นตลาดที่มีการซื้อขายอย่างต่อเนื่อง เช่น ตลาดนัด ตลาดคลองถม เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อจะได้ ตรงตามความต้องการของตลาด ๒. วิธีการจาหน่าย เมื่อผู้ผลิตลงทุนผลิตสินค้าขึ้นมา ก็เพื่อนาสินค้าออกสู่ตลาด ถ้าผู้ผลิตสามารถ เลือกช่องทาง ลู่ทางจาหน่ายสินค้าได้อย่างถูกต้อง สินค้าก็จะเข้าถึงลูกค้าได้ง่าย ซึ่งอาจเป็นการจาหน่าย จากผู้ผลิตถึงลูกค้าโดยตรงด้วยการจัดหาสถานที่สาหรับจาหน่ายสินค้า ที่เป็นหลักแหล่ง มีการจัดวางสินค้า ที่สามารถนาเสนอสินค้าให้ดูสวยงามหรือเป็นผู้ผลิตให้พ่อค้าคนกลางมารับซื้อไปขายให้กับผู้บริโภคอีกต่อ หนึ่ง เพื่อจาหน่ายสินค้าได้อย่างทั่วถึง ๓. การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ถือเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้ผู้ซื้อหรือลูกค้ารู้จัก เกิดความต้องการที่ จะซื้อ เป็นวิธีการโน้มน้าวผู้ซื้ อที่สาคัญ การโฆษณาประชาสัมพันธ์มีหลายวิธี เช่น ใช้วิธีบอกปากต่อปาก การจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์สินค้า การออกร้านตามงานเทศกาลต่าง ๆ ของอาเภอหรือจังหวัด การ ประชาสัมพันธ์ผ่านอินเตอร์เน็ต โดยสิ่งที่เป็นการช่วยประชาสัมพันธ์อย่างหนึ่ง ก็คือ คุณภาพสินค้า เมื่อผู้ ซื้อ หรือลูกค้าได้ซื้อสินค้าไปรับประทาน มีรสชาติดี มีคุณภาพ ราคาย่อมเยา จะเป็นการช่วยประชาสัมพันธ์ ไปเอง ๕. การส่งเสริมการขาย วัตถุประสงค์สาคัญในการจัดทาการส่งเสริมการขายนั้นก็เพื่อ เป็นการกระตุ้นยอดขายของกิจการ และ การแนะนาสินค้าสู่ลูกค้า ทั้งนี้ยังสื บเนื่องกับ ความพึงพอใจที่ดีของลูกค้า ในการบริโภคหรืออุปโภค สินค้า เพื่อการสร้างเครือข่ายความเป็นไปได้ ในการเลือกบริโภคหรืออุปโภคสินค้านั้นๆ อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการแนะนาสินค้าโดยอาศัยช่องทางแบบปากต่อปากหรือเพื่อนสู่เพื่อนต่อไป สรุป "การส่งเสริมการขายคือการสนับสนุนการสร้างราคาสินค้าเฉพาะเจาะจง/การสร้างมูลค่า ตราสินค้า กลยุทธ์ส่งเสริมการขายที่นิยมนามาใช้ในการทาตลาดในปัจจุบันมีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์ของผู้ประกอบการ ซึ่งผู้ประกอบการสามารถเลือกนามาใช้ให้เหมาะกับสินค้า เช่น การส่งเสริม การขายที่มุ่งสู่ลูกค้าโดยตรง เพื่อต้องการให้ลูกค้าซื้อสินค้ามากขึ้น ผู้ประกอบการก็อาจเลือกใช้วิธีการให้ชิม สินค้า การแจกของตัวอย่าง การให้คูปอง ฯลฯ แต่หากต้องการส่งเสริมการขายโดยมุ่งไปที่ตัวแทนจาหน่าย

20

ที่เป็นคนกลาง เพื่อให้บุคคลเหล่านี้กระจายสินค้าไปยังลูกค้าได้ มากขึ้น ก็สามารถนาวิธีการส่งเสริมการขาย ในลักษณะให้ส่วนลดสินค้า การแถมสินค้า การกาหนดเป้าในการซื้อสินค้า การให้ของขวัญพิเศษ มาใช้เป็น แรงจูงใจ การใช้คูปอง (Coupon) เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการขายที่นิยมใช้แพร่หลายวิธีหนึ่ง เพราะวิธี นี้ลูกค้าที่ได้รับจะถือว่าเป็นการให้ส่วนลดอย่างหนึ่ง วิธีนี้จะทาให้เกิดแรงจูงใจในการซื้อสินค้ามากขึ้น เพราะ ได้ราคาถูก โดยอาจทาให้ลูกค้าที่เคยซื้อสินค้าอยู่แล้ว มีความต้องการสินค้าเพิ่ม หรืออาจได้ลูกค้าใหม่ ๆ เข้ามาเพราะมองว่าเป็นราคาพิเศษได้ การใช้แสตมป์การค้า การส่งเสริมการขายวิ ธีนี้ จะกระตุ้นให้ลูกค้าเกิดการซื้อซ้าได้ โดยลูกค้าอาจ เกิดความต้องการสะสมแสตมป์ไว้แลกของที่ต้องการ ทาให้ผู้ประกอบการสามารถขายของได้มากขึ้น และ อาจมีลูกค้าประจากลุ่มหนึ่ง โดยผู้ประกอบการสามารถกาหนดเงื่อนไขสินค้าที่ลูกค้าสามารถแลกซื้อได้ตาม ความเหมาะสมการลดราคาสินค้า การส่งเสริมการขายด้วยการลดราคาสินค้า เพื่อจูงใจให้ลูกค้ามาซื้อสินค้า ในช่วงเวลานั้น ซึ่งผู้ประกอบการสามารถนาอาหารไทยที่ต้องการมาจัดรายการพิเศษตามช่วงเวลา หรือวัน ให้ลูกค้าได้เลือกซื้อได้ อย่างไรก็ตามก่อนที่ผู้ประกอบการจะเลือกใช้กลยุทธ์ส่งเสริมการขายวิธีใด ต้องศึกษา ปัจจัยแวดล้อมหลายประการ เช่น ลักษณะของตลาด กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย อายุ อาชีพ สถานะภาพของกลุ่ม ลูกค้า ลักษณะของผลิตภัณฑ์ เพราะผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทจะมีลักษณะเฉพาะที่ไม่เหมือนกัน รวมทั้ง วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ราคาจาหน่าย และสิ่งสาคัญคืองบประมาณ เพราะการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย ในแต่ละครั้งผู้ประกอบการต้องมีเงินทุนพอสมควร ซึ่งผู้ประกอบการต้องพิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ๖. การทาบัญชีร้านค้าอย่างง่าย การบัญชี คือ การจดบันทึกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการรับ-จ่ายเงิน และสิ่งที่มีค่าเป็นเงินไว้ใน สมุดบัญชีอย่างสม่าเสมอ เป็นระเบียบถูกต้องตามหลักการ และสามารถแสดงผลการดาเนินงานและฐานะ การเงินของกิจการในระยะเวลาหนึ่งได้ การบั น ทึ ก รายการและตั ว เลข ในรายรั บ – รายจ่ า ยของร้ า นค้ า ถื อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ท าให้ ผู้ประกอบการค้าสามารถทราบสภาพการค้าของตนเอง ว่าผลการประกอบการนั้นได้กาไรหรือขาดทุน และ สามารถนารายการที่บันทึกมาพิจารณาได้ว่ามีจุดบกพร่องในส่วนใด และเป็นข้อมูลในการตัดสินใจว่าควรจะ ปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างไร ประโยชน์ของการทาบัญชีร้านค้าอย่างง่าย ๑. ทาให้เจ้าของกิจการสามารถควบคุมและดูแลรักษาทรัพยากรของกิจการที่มีอยู่ไม่ให้เกิดการสูญ หายได้ ๒. ทาให้ผู้เป็นเจ้าของกิจการสามารถที่จะได้รับข้อมูลที่เพียงพอเพื่อนามาใช้ในการบริหารงานให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ๓. ทาให้เจ้าของกิจการได้ทราบถึงผลการดาเนินงาน ฐานะการเงิน และการเปลี่ยนแปลงฐานะ การเงินของกิจการได้เป็นระยะ ๆ ๔. การทาบัญชีเป็นการรวบรวมสถิติอย่างหนึ่งที่ช่วยในการบริหารงาน และให้ข้อมูลอันเป็น ประโยชน์ในการวางแผนการดาเนินงาน และควบคุมกิจการให้ประสบผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย ๕. ทาให้บุคคลภายนอก เช่น เจ้าหนี้ ผู้ลงทุน เป็นต้น มีข้อมูลทางการเงินเพื่อนาไปใช้ในการ ตัดสินใจได้

21

ใบความรู้ เรื่องที่ ๔ โครงการประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล โครงการอาชีพ เป็น แผนงานหรือ เค้า โครงของกิจ กรรม งานอาชีพ โดยมีก ารก าหนด รายละเอียดที่ต้องปฏิบัติอย่างมีระบบ มีความต่อเนื่องอย่างชัดเจนไว้ล่วงหน้าว่า จะทาอะไร อย่างไร เมื่อใด ที่ใด และโดยใคร รวมทั้ง การพิจารณาการใช้ทรัพยากรในการดาเนินงานอาชีพ ความคาดหวังที่จะได้ ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า การดาเนินงานอาชีพให้ประสบความส าเร็จ การเขียนโครงการอาชีพ จึงเป็นส่วนงานที่สาคัญ เพราะการเขียนโครงการอาชีพ จะช่วยให้การดาเนินงานอาชีพ สามารถดาเนินงานได้อย่างต่อเนื่องและเป็น ระบบ มีประสิทธิภาพโดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้คุ้มค่า สามารถควบคุม กากับ และตรวจสอบ ขั้นตอนการดาเนินงาน ผลการดาเนินงานอาชีพได้ ทาให้เกิดความมั่นใจในการบริหารงาน ช่วยให้ความ ผิดพลาดในการทางานน้อยลง อีกทั้งยังช่วยลดการทางานที่ซ้าซ้อน และช่วยควบคุมสภาพแวดล้อมในการ ทางาน เพื่อให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดขึ้น ภายในระยะเวลาที่กาหนดและภายใน ทรัพยากรที่มีอยู่ นอกจากประโยชน์ของโครงการอาชีพ ที่มีผลต่อการบริหารจัดการงานอาชีพด้งกล่าวแล้ว โครงการ อาชีพ ยังมีประโยชน์ต่อการนาโครงการไปเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงาน สถานบัน การเงิน ที่ส่ งเสริ มการดาเนิ น งานอาชีพอีกด้ว ย ดังนั้น การเขียนโครงการอาชีพจึงต้องมีวิธีการเขียน โครงการที่ดี จะต้องบรรยายสภาพและความจาเป็น ของสถานการณ์ที่ทาให้เกิดโครงการอาชีพ มีการ กาหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ระบุรายการกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นไปได้ในการดาเนินงานอาชีพเพื่อที่จะให้ บรรลุถึงวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ และมีแนวทางและวิธีการประเมินผล เพื่อให้รู้ถึงความสาเร็จของการ ดาเนินการอาชีพ ดังนั้น การจัด ทาโครงการอาชีพ จึงมีค วามจาเป็น ที่ ผู้เรียนตามหลั กสูตรการจัดการศึกษา อาชีพเพื่อการมีงานทา ต้องศึกษาเรียนรู้และฝึกปฏิบัติในการเขียนโครงการอาชีพให้ดี เหมาะสม และ ถูกต้องความสาคัญของโครงการอาชีพ โครงการอาชีพ ( PROJECT ) หมายถึง แผนงานที่จัดทาขึ้นอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย กิจกรรมย่อยๆ หลายกิจกรรม ที่ต้องใช้ทรัพยากรในการดาเนินงานโดยคาดหวังผลงานที่คุ้มค่า มีประโยชน์ แสดงถึงความสามารถทางความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ในศาสตร์ของตน มีขั้นตอนในการดาเนินงาน หรือ จุดมุ่งหมายในการดาเนินงานอย่างชัดเจน และสามารถนาเสนอผลงานได้อย่างมีระบบ ( วีรวุธ มาฆะศิรา นนท์ , ๒๕๔๒ : ๒๖ – ๒๗ ) โดยมีหลักสาคัญ คือ เป็นงานที่เปิดโอกาสให้สมาชิกในทีมงานทุกคน ได้ร่วมกันศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วย ตนเอง โดยอาศัยความรู้ ความสามารถที่ได้ศึกษามาเป็นองค์ประกอบในการดาเนินงานภายในระยะเวลาที่ กาหนดงานที่ต้องใช้ความสามารถ (Competence) และภูมิปัญญา (Knowledge / Wisdom) รวมถึง ทักษะ (Skills) จากหลายๆ คน มารวมกัน เพื่อให้เกิดการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึง สถานการณ์ที่ไม่ได้คาดคิดไว้ก่อนงานที่มีความซับซ้อนและเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายๆ ฝ่าย ประกอบด้วย กิจกรรมหลายๆ กิจกรรมมาประสานกันเป็นงานที่มีวัตถุประสงค์และขอบเขตของงานอย่างชัดเจน ทั้งนี้ต้อง มีกาหนดวันที่เริ่มต้นและวันที่สิ้นสุด เป็นงานหรือกิจกรรมที่ทาขึ้น เพื่อหวังผลประโยชน์ตอบแทนทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งนี้ผู้เรียน เป็นผู้วางแผนการดาเนินงานตั้งแต่การศึกษาค้นคว้า การออกแบบ การประดิษฐ์ การทดลอง การเก็บข้อมูล

22

ตลอดจนการแปลผล สรุปผล และเสนอผลงานด้วยตนเองภายใต้การดูแล และให้คาปรึกษาของผู้สอน หรือ ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น โครงการอาชีพด้านธุรกิจหรือบริการ ( Entrepreneurship Project) เป็นโครงการที่เกี่ยวกับ การฝึกและสร้างประสบการณ์เพื่อเตรียมความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการณ์ในอนาคต โครงการ ประเภทนี้เหมาะสาหรับผู้เรียนที่มีความคิดสร้างสรรค์ในการหาข้อมูลหรือช่องทางในการดาเนินธุรกิจมี บุคลิกภาพและความรู้ความสามารถ ชอบงานบริหาร ขยัน อดทนต่อปัญหาต่างๆ ความหมายของโครงการ พจนานกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้ความหมายของคาโครงการว่า หมายถึง "แผนหรือเค้าโครงการตามที่กะกาหนดไว้"โครงการเป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งในการวางแผนพัฒนาซึ่งช่วยให้ เห็นภาพ และทิศทางการพัฒนา ขอบเขตของการที่สามารถติดตามและประเมินผลได้ โครงการเกิดจาก ลักษณะความพยายามที่จะจัดกิจกรรม หรือดาเนินการให้บรรจุวัตถุประสงค์ เพื่อบรรเทาหรือลดหรือขจัด ปัญหา และความต้องการทั้งในสภาวการณ์ปัจจุบันและอนาคต โครงการโดยทั่วไป สามารถแยกได้หลาย ประเภท เช่น โครงการเพื่อสนองความต้องการ โครงการพัฒนาทั่วๆ ไป โครงการตามนโยบายเร่งด่วน เป็นต้น องค์ประกอบของโครงการอาชีพ การวางแผนการปฏิบัติงาน และประมาณการโครงการ จะต้องจัดทา เค้าโครงของโครงการ อย่าง รัดกุมและให้สามารถปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีองค์ประกอบดังนี้ ๑. ชื่อโครงการ ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายตรงกัน ๒. ผู้จัดทาโครงการ รายชื่อผู้เรียนหรือกลุ่มผู้เรียนที่ทาโครงการนี้ร่วมกัน และชื่อครูที่ปรึกษา ๓. หลักการและเหตุผล แสดงถึงความจาเป็นหรือเหตุผลที่เลือกทาโครงการนี้ โดยควรจะ กล่าวถึงประเด็น ต่อไปนี้ ๓.๑ สภาพที่เป็นจริง ปัญหา เหตุการณ์ ๓.๒ สิ่งที่ควรจะเป็น สภาพที่ต้องการ ความมุ่งหวัง ๓.๓ สาเหตุที่ทาให้ไม่เป็นไปตามความมุ่งหวัง ๓.๔ ถ้าเป็นปัญหา ปัญหานี้มีความรุนแรงเพียงใด ถ้าปล่อยไว้จะเกิดผลเสียอย่างใด ๓.๕ มีวิธีแก้ไขอะไร ควรจะมีหลายๆ วิธี ทาไมจึงเลือกวิธีนี้ ๓.๖ ถ้าแก้ไข หรือดาเนินการแล้ว จะส่งผลดีอย่างไร ๓.๗ ประโยชน์ที่ได้จะคุ้มค่าเพียงใด ฯลฯ ๔. วัตถุประสงค์ ควรเป็นจุดมุ่งหมายที่สามารถวัดได้อย่างเป็นรูปธรรม หรือกล่าวถึงสิ่งที่ต้องการ ให้เกิดขึ้นหลังจากทาโครงการนี้แล้ว โดยไม่จากัดวิธีทา ๕. เป้าหมาย ควรระบุเป้าหมายให้ชัดเจนว่าจะเกิดอะไรขึ้น กับใคร จานวนเท่าไรและคุณภาพ ของสิ่งนั้นจะเป็นอย่างไร ๖. แนวความคิดในการออกแบบโครงการ เขียนในลักษณะแผนภาพประกอบคาบรรยายหรือ บอกหลักการ / ทฤษฎีที่ใช้ในการทาโครงการ หรือที่เกี่ยวข้องโดยย่อ ควรมีเอกสารอ้างอิง ๗. แหล่งความรู้ อาจจะเป็นเอกสาร ตารา บุคคล หรือสถานที่ที่ผู้เรียนจะสามารถศึกษาหา ความรู้เพื่อให้การปฏิบัติโครงการนั้นบรรลุจุดมุ่งหมาย ๘. งบประมาณและทรัพยากร ควรระบุรายชื่อวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ แหล่งที่จะหาได้ ราคา จาหน่ายในปัจจุบัน และรวมงบประมาณค่าใช้จ่ายทั้งหมดให้ดูด้วย

23

๙. วิธีดาเนินงาน ควรจะมีลาดับขั้นตอนที่ถูกต้อง เหมาะสม สมเหตุสมผล เป็นไปตาม กระบวนการของการทางานนั้น ๆ กิจกรรมตามวิธีดาเนินการจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ และแต่ละขั้นตอนของการดาเนินงานให้ระบุ วัน เดือน ปี ที่จะทางานในแต่ละขั้นตอนด้วย ๑๐. การติดตามและประเมินผล ให้ผู้เรียนเขียนว่าจะประเมินผลอย่างไร ที่จะให้ครูที่ปรึกษา ทราบความก้าวหน้าของงาน เพื่อการปรับปรุงแก้ไข ๑๑. ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินการ ๑๒. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ให้ระบุผลที่จะเกิดขึ้นเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ เป็นทั้งผลที่ได้รับโดยตรง และผลพลอยได้ หรือผลกระทบจากโครงการที่เป็นผลในด้านดี ผลที่คาดว่าจะได้รับนี้จะต้องสอดคล้องกับ จุดประสงค์และเป้าหมาย ๑๓. การประมาณการโครงการ ( Project Estimating ) เป็นการกาหนดรายละเอียดสาคัญ สาหรับการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการวางแผนดาเนินงานของโครงการ เช่น ประมาณการด้านกาลังคน ด้านระยะเวลา ด้านเครื่องมือ วัสดุ – อุปกรณ์ และเงินงบประมาณตลอด โครงการ การประมาณการโครงการ สามารถใช้เป็นข้อมูลสาหรับการเตรียมหาเงินทุนในการดาเนินการ โครงการได้ ซึ่งแหล่งเงินทุนของการทาโครงการโดยทั่วไปได้มาจาก ๒ แหล่ง คือ แหล่งเงินทุนภายใน เช่น จากกลุ่มผู้ทาโครงการ และ จากสถานศึกษา กับ แหล่งเงินทุนภายนอก เช่น สถานประกอบการ และ บุคคลที่สนใจ หรือได้ประโยชน์จากการทาโครงการนั้น โดยผู้วางแผนโครงการควรต้องคานึงถึงหลักสาคัญ ๔ ประการ ได้แก่ ๑๓.๑ ความประหยัด ( Economy): การเสนองบประมาณโครงการจะต้องเป็นไปโดยมี ความประหยัดกล่าวคือ ใช้ทุนหรือทรัพยากรทุกชนิดตามสมควร แต่ผลของการดาเนินโครงการเป็นไปด้วยดี และมีคุณภาพ ๑๓.๒ ความมีประสิทธิภาพ ( Efficiency): โครงการทุกโครงการจะต้องมีคุณค่าเป็นที่ ยอมรับและทุกคนมีความพึงพอใจในผลงานที่เกิดขึ้น ๑๓.๓ ความมีประสิทธิผล ( Effectiveness): โครงการทุกโครงการจะต้องดาเนินงาน เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้ ๑๓.๔ ความยุติธรรม ( Equity): การจัดสรรทรัพยากรทุกชนิด หรือการใช้จ่ายทรัพยากร จะต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ทั้งนี้เพื่อให้ทุกฝ่ายปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง คล่องตัว และมี ประสิทธิภาพสูงสุด ๑๔. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ เมื่อวางแผนและเขียนเค้าโครงของโครงการ ซึ่งแสดงถึงความพร้อมในการดาเนินโครงการแล้ว ผู้เรียนต้องร่วมกันนาข้อมูลหรือรายละเอียดที่ได้ศึกษามา พร้อมแผนการดาเนินงานนาเสนอต่ออาจารย์ที่ ปรึกษา / คณะกรรมการโครงการ เพื่อพิจารณาขออนุมัติดาเนินงานโครงการ ๑๕. วิธีการนาเสนอโครงการ ๑๕.๑ ควรนาเสนออย่างเป็นขั้นเป็นตอน เป็นลาดับไม่วกวน ๑๕.๒ ควรเริ่มต้นโดยกล่าวสรุปภาพรวมของทั้งโครงการ ว่าเกี่ยวกับเรื่องอะไร ใช้งบประมาณ และเวลา ๑๕.๓ อย่างไร และที่สาคัญประโยชน์ที่จะได้รับจากโครงการนั้นมีอะไรบ้าง ๑๕.๔ สื่อประกอบในการนาเสนอจะต้องชัดเจนและชวนให้ติ ดตาม ในระหว่างการนาเสนอ ควรใช้คาพูดที่ผู้ฟังสามารถจะเข้าใจได้ง่ายๆ พูดชัดถ้อยชัดคา กิริยาท่าทางประกอบที่เหมาะสม

24

๑๕.๕ ควรสรุปในตอนท้ายการนาเสนออีกครั้งว่าโครงการนี้มีทางเลือกดาเนินการแบบใด ความคุ้มค่าอยู่ที่ไหน ทรัพยากรต่าง ๆ ที่จาเป็นต้องใช้จะมีอะไรและประโยชน์ที่จะได้รับเป็นอย่างไร ในการเขียนโครงการ ควรจะมีขั้นตอนในการเขียนอย่างน้อยประกอบไปด้วย ๑. ชื่อโครงการ ๒. หลักการและเหตุผล ๓. วัตถุประสงค์ ๔. เป้าหมาย ๕. วิธีดาเนินการ ๖. ระยะเวลาดาเนินการ ๗. งบประมาณ ๘. ผู้รับผิดชอบโครงการ ๙. หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน ๑๐. การประเมินผล ๑๑. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ลักษณะของโครงการที่ดี ๑. มีรายละเอียด วัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ชัดเจน สามารถดาเนินงานได้ หรือมีความเป็นไป ได้ ๒. รายละเอียดของโครงการต้องเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน กล่าวคือ วัตถุประสงค์ต้องสอดคล้องกับ ปัญหาหรือหลักการ และ เหตุผล วิธีการดาเนินงานต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป็นต้น สามารถตอบ คาถามได้ว่าทาอะไร ทาเพื่ออะไร ทาที่ไหน ทาเมื่อไร ทาอย่างไร ทาเท่าไหร่ ใครรับผิดชอบ และทากับใคร ใครเป็นผู้ที่ได้รับประโยชน์ ๓. รายละเอียดของโครงการสามารถเข้าใจได้ง่าย และสามารถดาเนินการตามโครงการได้ ๔. โครงการต้องกาหนดขึ้นจากข้อมูลที่มีความเป็นจริง และ เป็นข้อมูลที่ได้รับการวิเคราะห์อย่าง รอบคอบแล้ว ๕. มีระยะเวลาในการดาเนินงาน กล่าวคือ จะต้องระบุถึงวันเวลาที่เริ่มต้น และ วันเวลาที่แล้ว เสร็จที่แน่ชัด ๖. เป็นโครงการที่ปฏิบัติได้และสามารถติดตามและประเมินผลได้ การวางแผนและการเขียนโครงการ ความหมายของการวางแผน มีผู้ให้คาจากัดความของการวางแผนไว้หลายลักษณะ เช่น การวางแผน คือ การมองอนาคต การ เล็งเห็นจุดหมายที่ต้องการ การคาดปัญหาเหล่านั้นไว้ล่วงหน้าไว้อย่างถูกต้อง ตลอดจนการหาทางแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ เหล่านั้น การวางแผน เป็นการใช้ความคิดมองจินตนาการตระเตรียมวิธีการต่าง ๆ เพื่อคัดเลือกทางที่ดีที่สุด ทางหนึ่ง กาหนดเป้าหมายและวางหมายกาหนดการกระทานั้น เพื่อให้สาเร็จลุล่วงไปตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ การวางแผน เป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่เกี่ยวกับการกาหนดสิ่งที่จะกระทาในอนาคต การประเมินผล ของสิ่งที่กาหนดว่าจะกระทาและกาหนดวิธีการที่จะนาไปใช้ในการปฏิบัติ ถ้าจะกล่าวโดยสรุป การวางแผนก็คือการคิดการหรือกะการไว้ล่วงหน้าว่าจะทาอะไร ทาไม ทาที่ ไหน เมื่อไร อย่างไร และใครทา การวางแผนจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับอนาคต การตัดสินใจ และการปฏิบัติ

25

ความสาคัญของการวางแผน ถ้าจะเปรียบเทียบระบบการศึกษากับคน การวางแผนก็เปรียบเสมือนสมองของคน ซึ่งถ้ามองใน ลักษณะนี้แล้ว การวางแผนก็มีความสาคัญไม่น้อยทีเดียว เพราะถ้าสมองไม่ทางานส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย เช่น แขน ขา ก็จะทาอะไรไม่ได้ หรือถ้าคนทางานไม่ใช้สมอง คือทางานแบบไม่มีหัวคิดก็ลองนึกภาพดูก็แล้ว กันว่าจะเป็นอย่างไร คนทุกคนต้องใช้สมองจึงจะทางานได้ ระบบการศึกษาหรือการจัดการศึกษาก็่ เช่นเดียวกัน ต้องมีการวางแผน คือ อย่างน้อยต้องมีความคิด การเตรียมการว่าจะจัดการศึกษาเพื่ออะไร เพื่อใคร อย่างไร ประโยชน์ของการวางแผน ๑. การวางแผนเป็นเครื่องช่วยให้มีการตัดสินใจอย่างมีหลักเกณฑ์ เพราะได้มีการศึกษาสภาพเดิม ในปัจจุบันแล้ว กาหนดสภาพใหม่ในอนาคต ซึ่งได้แก่การตั้งวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมาย แล้วหาลู่ทางที่จะ ทาให้สาเร็จตามที่มุ่งหวัง นักวางแผนมีหน้าที่จัดทารายละเอียดของงานจัดลาดับความสาคัญ พร้อมทั้ง ข้อเสนอแนะที่ควรจะเป็นต่าง ๆ เพื่อให้ผู้มีหน้าที่ตัดสินใจพิจารณา ๒. การวางแผนเป็นศูนย์กลางประสานงานเช่น ในการจัดการศึกษาเราสามารถใช้การวางแผนเพื่อ ประสานงานการศึกษาทุกระดับและทุกสาขาให้สอดคล้องกันได้ ๓. การวางแผนทาให้การปฏิบัติงานต่าง ๆ เป็นไปโดยประหยัดมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพราะการวางแผนเป็นการคิดและคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าและเสนอทางเลือกที่จะก่อให้เกิดผลที่ดีที่สุด ๔. การวางแผนเป็นเครื่องมือในการควบคุมงานของนักบริหารเพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงาน ของฝ่ายต่าง ๆ ให้เป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายที่ต้องการ ประเภทของแผน แบ่งตามระยะเวลา แบ่งออกเป็น ๔ ประเภทใหญ่ๆ คือ ๑. แผนพัฒนาระยะยาว (๑๐ - ๒๐ ปี) กาหนดเค้าโครงกว้างๆ ว่าประเทศชาติของเราจะมีทิศทาง พัฒนาไปอย่างไร ถ้าจะดึงเอารัฐธรรมนูญ และ/หรือแผนการศึกษาแห่งชาติมาเป็นแผนประเภทนี้ก็พอถูไถ ไปได้ แต่ความจริงแผนพัฒนาระยะยาวของเราไม่มี ๒. แผนพัฒนาระยะกลาง (๔ - ๖ ปี) แบ่งช่วงของการพัฒนาออกเป็น ๔ ปี หรือ ๕ ปี หรือ ๖ ปี โดยคาดคะเนว่าในช่วง ๔ - ๖ ปี นี้ จะทาอะไรกันบ้าง จะมีโครงการพัฒนาอะไร จะงบประมาณใช้ ทรัพยากรมากน้อยเพียงไร แผนดังกล่าวได้แก่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นั่นเองในส่วนของ การศึกษาก็มีแผนพัฒ นาการศึกษาแห่ งชาติ (ไม่ใช่แผนการศึกษาแห่ งชาติ) ในเรื่องของการเกษตรก็มี แผนพัฒนาเกษตร เป็นต้น ๓. แผนพัฒนาประจาปี (๑ ปี) ความจริงในการจัดทาแผนพัฒนาระยะกลาง เช่น แผนพัฒนา การศึกษาได้มีการกาหนดรายละเอียดไว้เป็นรายปีอยู่แล้ว แต่เนื่องจากการจัดทาแผนพัฒนาระยะกลางได้ จัดทาไว้ล่วงหน้า ข้อมูลหรือความต้องการที่เขียนไว้อาจไม่สอดคล้องกับสภาพที่แท้จริงในปัจจุบัน จึงต้อง จัดทาแผนพัฒนาประจาปีขึ้น นอกจากนั้น วิธีการงบประมาณของเราไม่ใช้แผนพัฒนาระยะกลางขอตั้ง งบประมาณประจาปี เพราะมีรายละเอียดน้อยไป แต่จะต้องใช้แผนพัฒนาประจาปี เป็นแผนขอเงิน ๔. แผนปฏิบัติการประจาปี (๑ ปี) ในการขอตั้งงบประมาณตามแผนพัฒนาประจาปีในข้อ ๓ ปกติ มักไม่ได้ตามที่กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ขอไป สานักงบประมาณหรือคณะกรรมาธิการของรัฐสภามักจะ ตัดยอดเงินงบประมาณที่ส่วนราชการต่าง ๆ ขอไปตามความเหมาะสมและจาเป็นและสภาวการณ์การเงิน งบประมาณของประเทศที่จะพึงมีภายหลังทีส่วนราชการต่าง ๆ ได้รับงบประมาณจริง ๆแล้ว จาเป็นที่ จะต้องปรั บแผนพัฒ นาประจ าปี ที่จั ดทาขึ้นเพื่อขอเงินให้ ส อดคล้ องกับเงินที่ได้รับอนุมัติ ซึ่งเรียกว่า แผนปฏิบัติการประจาปีขึ้น

26

แผนที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนั้นเป็นแผนที่ใช้ในหน่วยงานราชการทั่วไป สาหรับแผนที่ใช้ในวงการ ธุรกิจ เรียกว่า แผนธุรกิจ หรือ Business Plan ซึ่งเป็นแผนการดาเนินงานของธุรกิจ หรือโครงการหนึ่งๆ ที่ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินธุรกิจทั้งในระยะสั้น ๑–๓ ปี และในระยะยาว ๓–๕ ปี อันประกอบ ไปด้วยการวิเคราะห์ถึงผลกระทบต่อธุรกิจทั้งทางด้านมหภาค (Macro Analysis) และจุล ภาค (Micro Analysis) การวิเ คราะห์ธุร กิจ ของโครงการในแง่มุม ต่า ง ๆ ทั้ง ทางด้า นการตลาด ทางด้านการ ดาเนินงาน ทีมผู้บริหาร และทางด้านการเงิน เพื่อเป็นการประเมินความเป็นไปได้ข องโครงการ และเป็น กรอบในการดาเนินธุรกิจ แนวทางการพัฒนาธุรกิจในอนาคต การเขีย นแผนธุร กิจ เป็น สิ ่ง ส าคัญ อย่า งหนึ ่ง และเป็น มาตรฐานในการท าธุร กิจ สมัย ใหม่ แม้กระทั่งการขอกู้เงินหรือการขอสินเชื่อจากธนาคารเพื่อนาเงินมาลงทุน การขอเงินจาก Venture Capital หรือการใช้เงิน ลงทุน ของตนเองก็ดี เนื่องจากจะทาให้เจ้า ของกิจ การ ผู้ร่ว มธุรกิจ หรือ ธนาคารได้เห็น ภาพรวมของโครงการ รวมถึงการประเมินความเป็นไปได้ของโครงการต่าง ๆ ว่ามีความเป็นไปได้มากน้อย เพีย งใด จะให้ผ ลคุ้มทุน เมื่อใด มีความสามารถในการชาระหนี้ห รือไม่ ก่อ นที่จ ะเริ่ ม ต้น ลงทุนในโครงการนั้น ๆ จริง โดยแผนธุรกิจนอกจากจะเป็นการประเมินความเป็นไปได้ของโครงการแล้ว ยังเป็นแผนงานและแผนควบคุมการดาเนินงานของธุรกิจนั้น ๆ ได้อีกทางหนึ่ง ลักษณะของแผนธุรกิจที่ดี ต้องประกอบด้วยส่วนสาคัญดังนี้ ๑. บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) เพื่ อให้ ผู้บริห ารหรือผู้ พิจารณาแผน ได้ทราบ ภาพรวมทั้งหมดของโครงการ และผลตอบแทนที่ได้รับจากการลงทุน ๒. โครงสร้างอุตสาหกรรมของบริษัท (Industry Analysis) บอกถึงภาพรวมของอุตสาหกรรมของ โครงการ วิสัยทัศน์ ภารกิจ และวัตถุประสงค์ของโครงการ ๓. การวิเคราะห์ตลาด (Marketing Analysis) เป็นการวิเคราะห์ถึงปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน สภาพการแข่งขันในตลาด การกาหนดตลาดเป้าหมาย การวางตาแหน่งผลิตภัณฑ์ พฤติกรรมผู้บริโภค และ การประมาณการยอดขายสินค้าและบริการ ๔. แผนการตลาด (Marketing Plan) การกาหนดกลยุทธ์ทางการตลาด ทั้งทางด้านสินค้าและ บริการ ราคา ช่องทางการจัดจาหน่าย การสื่อสารทางการตลาด การบริหารการขาย และการรับประกัน สินค้าและบริการ ๕. แผนการพัฒนาในอนาคต (Improvement Plan) แผนงานการพัฒนาสินค้าและบริการของ บริษัทในอนาคต ๖. แผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan) กลยุทธ์การดาเนินงาน สถานที่ตั้ง แผนการดาเนินงาน ๗. โครงสร้างองค์กร (Organization Plan) แผนผังองค์กร ทีมงานหลักในการบริหาร และหน้าที่ ความรับผิดชอบของหน่วยงานต่าง ๆ ๘. ความสามารถในการทากาไรของธุรกิจ (Business Profit) นโยบายทางการเงิน สมมติฐาน การเงิน งบกาไรขาดทุน งบดุล งบกระแสเงินสด เงินลงทุน และผลตอบแทน อัตราส่วนทางการเงิน การ วิเคราะห์ความอ่อนไหวของผลการดาเนินงาน การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน นอกจากนี้ส ถานประกอบการหรือผู้ ทาธุรกิจจะต้องจัดทาแผนธุรกิจแล้ ว ยังจะต้องมีแผนอื่นๆ ประกอบการดาเนินงานธุรกิจของตนเองอีกด้วย เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับตนเอง และแหล่งเงินทุน แผน เหล่านั้น ได้แก่

27

๑. แผนการดาเนินงาน (Gantt Chart) แผนภาพระยะเวลาของการดาเนินงานในช่วงเวลาต่างๆ (Time Frame) ๒. แผนการควบคุม (Controlling Plan) แผนควบคุมการดาเนินการเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่ วางไว้ ๓. แผนฉุกเฉิน (Emergency Plan) แผนสารองหากการดาเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่ได้วางไว้ หรือแผนการแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต

28

แบบโครงการอาชีพ ๑. ชื่อโครงการอาชีพ....................................................................................................................................... ๒. ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ (ลงชื่อ)............................................................................................................... ๓. ที่ปรึกษา ๑. ............................................................................................................................................. ๒. .......................................................................................................................................... ๔. หลักการและเหตุผล. ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ๕. วัตถุประสงค์ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ๖. เป้าหมาย ด้านปริมาณ............................................................................................................................................. ด้านคุณภาพ............................................................................................................................. ................ ๗. ขั้นตอนและแผนการดาเนินงาน การเตรียมการ................................................................................................................................... การเตรียมสถานที่............................................................................................................................. การดาเนินงาน................................................................................................................................... ๘. ระยะเวลาดาเนินโครงการ........................................................................................................................ ๙. สถานที่ประกอบการ................................................................................................................................ ๑๐. รูปแบบผลิตภัณฑ์/บริการ ผลิตภัณฑ์/บริการ ลักษณะเด่น ๑. ๑. ๒. ๒. ๓. ๓. ๑๑. การวางแผนบริหารจัดการ แผนการตลาด................................................................................................................... ................. แผนการผลิต.................................................................................................................................... แหล่งวัตถุดิบ..................................................................................................................................... แผนบริหารจัดการ............................................................................................................................ ๑๒. ประมาณการต้นทุนการผลิตและการกาหนดราคาจัดจาหน่าย ผลิตภัณฑ์/บริการ ต้นทุน ราคาขาย ๑. ๑. ๑. ๒. ๒. ๒. ๓. ๓. ๓.

ราคาขายของคู่แข่ง (ถ้ามี) ๑. ๒. ๓.

29

๑๓. ประมาณการรายรับและรายจ่ายในการประกอบอาชีพต่อเดือน รายรับ บาท ราคาจ่าย บาท จากยอดขาย ค่าเช่าสถานที่ จากรายได้อื่น ค่าวัตถุดิบ/วัสดุเพื่อผลิต ค่าแรงงาน ค่าสาธารณูปโภค (ค่าน้า ค่าไฟ ค่า โทรศัพท์) ค่าใช้จ่ายอื่น.... ๑๔. ทรัพยากร/งบประมาณ ทรัพยากร งบประมาณ ๑๕. แผนการปฏิบัติงาน ปี พ.ศ. กิจกรรมดาเนินงาน มค. กพ. มีค. เมย พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. หมายเหตุ .

๑๖. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑) ๒) ๑๗. ปัญหา / อุปสรรค /ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ๑๘. การประเมินผล (ตนเองของผู้เรียน) ........................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ) ....................................ผู้เสนอ โครงการ (.........................................) วันที่ เดือน พ.ศ.

30

ความเห็นของอาจารย์ที่ปรึกษา ......................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................

วันที่

(ลงชื่อ) ( เดือน

อาจารย์ที่ปรึกษา ) พ.ศ.

ความเห็นของการตรวจสอบโครงการ ......................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................

วันที่ ผลการพิจารณาโครงการ ( ) อนุมัติให้ดาเนินการได้

(ลงชื่อ……………………….ผู้วิเคราะห์โครงการ ( ) เดือน พ.ศ. ( ) อนุมัติในหลักการ

ลงชื่อ...........................................ผูว้ ิเคราะห์โครงการ ( .........................................) ผู้อานวยการ กศน. อาเภอ.....................................

31

ตัวอย่าง ร่างโครงการอาชีพ ๑. ชื่อโครงการอาชีพ จาหน่ายอาหารสาเร็จรูป ๒. ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอารียา ศิริมาลา ๓. ที่ปรึกษา ๑. นายรอบรู้ สอนดี ๒. นางสมศรี ดีพร้อมจริง ๔. หลักการและเหตุผล อาหารเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับทุกคน คนทุกคนต้องรับประทานอาหารทุกวัน โดยคนในชุมชนของ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพนอกบ้าน ไม่มีเวลาในการประกอบอาหารเอง นอกจากนั้นชุมชนใกล้เคียงมี สานักงานของเอกชนซึ่งมีพนักงานจานวนมาก แต่ในบริเวณชุมชนมีร้านจาหน่ายอาหารสาเร็จรูปน้อย ไม่ เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า และบางร้านมีคุณภาพอาหารและการบริการไม่ค่อยดี ราคาขายปาน กลาง ดังนั้ น จากความรู้ และทักษะการฝึ กทั กษะอาชี พ การบริห ารจัดการในอาชีพจ าหน่ ายอาหาร สาเร็จรูป และข้อมูลบริบทชุมชนดังกล่าว จึงได้มีความคิดเห็นว่า น่าจะมีส่วนแบ่งตลาดในการจาหน่าย อาหารสาเร็จรูปได้อีก โดยมีความมั่นใจว่า จะประกอบอาชีพจาหน่ายอาหารสาเร็จรูปได้อย่างมีคุณภาพ และต่อเนื่อง ๕. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเป็นช่องทางในการประกอบอาชีพ ๒. เพื่อประกอบอาชีพจาหน่ายอาหารสาเร็จรูปให้เกิดรายได้ ๓. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้รับประทานอาหารสาเร็จรูปที่มีคุณภาพ หลากหลาย และราคา ย่อมเยาว์ ๖. เป้าหมาย ด้านปริมาณ ๑. ปรุงและจาหน่ายอาหารสาเร็จรูปทุกวัน วันละ ๕ – ๑๐ อย่าง ๒. มีรายได้หลังจากหักค่าใช้จ่ายแล้ว ไม่น้อยกว่า ๘๐๐ – ๑,๐๐๐ บาท ต่อวัน ด้านคุณภาพ - ดาเนินงานอาชีพจาหน่ายอาหารสาเร็จรูปได้อย่างมีคุณภาพ และต่อเนื่อง ๗. ขั้นตอนและแผนการดาเนินงาน ขั้นตอนการดาเนินงาน ๗.๑ การเตรียมการ - ศึกษาสารวจข้อมูล เช่น แหล่งและราคาวัตถุดิบประเภทต่าง ๆ ที่ต้องใช้ รวมทั้ง ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการปรุงและจาหน่ายอาหารสาเร็จรูป - สารวจตลาด และความนิยมประเภทอาหารสาเร็จรูป - กาหนดรายการอาหารที่จะจาหน่าย - กาหนดวันเริ่มจาหน่าย - เขียนโครงการ - ขออนุมัติโครงการ - เตรียมหาทุน

32

๗.๒ การเตรียมสถานที่ - จัดตกแต่งสถานที่ - เตรียมวัสดุอุปกรณ์ ๗.๓ การดาเนินงาน - ประชาสัมพันธ์กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย - ดาเนินงานปรุงอาหารและจัดจาหน่าย - จัดทาบัญชี ประเมินการปฏิบัติงานเป็นรายวัน / รายสัปดาห์ /รายเดือน - ประเมินสรุปเมื่อปฏิบัติงานเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กาหนด - เสนอแนวทางการพัฒนาอาชีพ ๘. ระยะเวลาดาเนินโครงการ ๑ มกราคม – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕ ๙. สถานที่ประกอบการ บ้านของนางสาวอารียา ศิริมาลา เลขที่ ๙๙ ชุมชนบ้านล่าง ตาบลบางพระ อาเภอเมือง จังหวัด ตราด ๑๐. รูปแบบผลิตภัณฑ์/บริการ ผลิตภัณฑ์/บริการ ลักษณะเด่น ๑. อาหารสาเร็จรูป ๑. สด ใหม่ สะอาด ๒. อาหารปิ่นโต ๒. ราคาไม่แพง ๓. อาหารสาหรับงานเลี้ยงเล็ก ๆ ตามเทศกาล ๓. ทาจากวัตถุดิบในท้องถิ่น ๑๑. การวางแผนบริหารจัดการ ๑๑.๑ แผนการตลาด ๑) ลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ๑. ลูกค้าในชุมชนที่ทางานนอกบ้าน ได้แก่ พนักงานบริษัท ห้างร้าน ข้าราชการ ประชาชนทั่วไป ๒. กลุ่มจัดเลี้ยง เช่น งานสังสรรค์ งานวันเกิด วันสาคัญอื่น ๆ ๓. ลูกค้าจากชุมชนอื่น ๆ ๒) การโฆษณา ๑. แผ่นพับใบปลิว ๒. ติดป้ายโฆษณาตามสถานที่ต่าง ๆ ในตัวเมือง ตลาด และชุมชนใกล้เคียง ๓. การบอกต่อ ๓) ประชาสัมพันธ์ - ในวันเปิดกิจการวันแรก ทางร้านจะมีการแจกของชาร่วยให้ลูกค้าที่มารับประทานอาหาร ในร้านและซื้อกลับบ้าน ๔) การส่งเสริมการขาย - ซื้ออาหาร ๕ อย่าง/ครั้ง แถม น้าพริก ๑ ถุง - บัตรสะสมแต้ม ซื้ออาหารครบ ๒๐ ครั้ง แถม แกง ๑ ถุง

33

๑๑.๒ แผนการผลิต ๑. เน้นความหลากหลายของอาหาร ๒. เน้นคุณภาพ สด ใหม่ รสชาติดี อร่อยคงที่สม่าเสมอ ๓. มีการบริการจัดเลี้ยงนอกสถานที่ ๑๑.๓ แหล่งวัตถุดิบ ๑. วัตถุดิบในท้องถิ่น ๒. วัตถุดิบตามฤดูกาล ๓. วัตถุดิบที่เป็นอาหารสดต้องจัดการหมุนเวียนวันต่อวัน ส่วนอาหารแห้งสัปดาห์ละ ๑ ครั้ง ๑๑.๔ แผนบริหารจัดการ ๑. เป็นธุรกิจในครัวเรือน ๒. ลูกค้าสะดวกสบาย มีที่จอดรถ ๑๒. ประมาณการต้นทุนการผลิตและการกาหนดราคาจัดจาหน่าย ผลิตภัณฑ์/บริการ ต้นทุน (บาท) ราคาขาย (บาท) ราคาขายของคู่แข่ง (ถ้ามี) ๑. แกง ๒๐ บาท ๒๕ บาท ๓๐ บาท ๒. ต้มยา ๒๕ บาท ๓๐ บาท ๓๐ บาท ๓. ผัดผักรวมมิตร ๒๐ บาท ๒๕ บาท ๓๐ บาท ๔. ต้มจืด ๒๐ บาท ๒๕ บาท ๓๐ บาท ๕. น้าพริก ๒๐ บาท ๒๕ บาท ๒๕ บาท ๑๓. ประมาณการรายรับและรายจ่ายในการประกอบอาชีพต่อเดือน รายรับ บาท ราคาจ่าย บาท จากยอดขาย ๓๐,๐๐๐ - ค่าเช่าสถานที่ ไม่มี จากรายได้อื่น ๓,๐๐๐ - ค่าวัตถุดิบ/วัสดุเพื่อผลิต ๑๕,๐๐๐ ค่าแรงงาน ๕,๐๐๐ ค่าสาธารณูปโภค ๘๐๐ (ค่าน้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์) ค่าใช้จ่ายอื่น ๕๐๐ รวม ๓๓,๐๐๐รวม ๑๔. ทรัพยากร / งบประมาณ ทรัพยากร - ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องครัว ที่มีอยู่แล้ว งบประมาณ - จานวนเงินทุนที่ขอรับการสนับสนุน เริ่มโครงการ ๕,๐๐๐ บาท

๒๑,๐๐๐ -

34

๑๕. แผนการปฏิบัติงาน กิจกรรมดาเนินงาน การเตรียมการ - สารวจตลาด และ ความนิยมประเภท อาหารสาเร็จรูป - กาหนดรายการ อาหารที่จะจาหน่าย - เขียนโครงการ - ขออนุมัติโครงการ - เตรียมหาทุน การเตรียมสถานที่ - จัดตกแต่งสถานที่ - เตรียมวัสดุอุปกรณ์ การดาเนินงาน - ประชาสัมพันธ์กลุ่ม ลูกค้าเป้าหมาย - ดาเนินงานปรุงอาหาร และจัดจาหน่าย - จัดทาบัญชี ประเมิน การปฏิบัติงานเป็น รายวัน / รายสัปดาห์ - ประเมินสรุปเมื่อ ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นตาม ระยะเวลาที่กาหนด - เสนอแนวทางการ พัฒนาอาชีพ

มค.

ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ กพ มีค. เมย. พค มิย. กค. สค. กย. ตค. พย ธค. หมายเหตุ . . .

กาหนดทุกวันเพื่อ ไม่ให้รายการ อาหารช้า - เขียน

ประชาสัมพันธ์ไม่ ใช้เวลานานเพื่อ ไม่ให้ลูกค้าลืม

๑๖. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. สามารถประกอบอาชีพจาหน่ายอาหารสาเร็จรูปได้อย่างต่อเนื่อง มีรายได้ที่สามารถนาไปใช้ใน การดารงชีวิตและนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพได้อย่างต่อเนื่อง ๒. การดารงชีวิตมีความมั่นคงมากขึ้นเป็นลาดับ

35

๑๗. ปัญหา / อุปสรรค /ข้อเสนอแนะ - การหาเงินทุนจากแหล่งอื่น ๑๘. การประเมินผล ๑. ประเมินผลจากการจัดทาบัญชี ๒. ประเมินผลจากข้อมูลสรุปผลเมื่อเสร็จสิ้นโครงการตามระยะเวลาที่กาหนด (ลงชื่อ)

อารียา ศิริมาลา

ผู้เสนอโครงการ วันที่

( นางสาวอารียา ศิริมาลา ) ๓๐ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕

36

(ตัวอย่าง) แบบประเมินโครงการ โครงการ................................................................. ตามหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา คาชี้แจง ให้พิจารณาเอกสารโครงการ พร้อมวิเคราะห์ และประเมินตามประเด็นที่กาหนด โดยให้ทาเครื่องหมาย / ลงใน ( ) หน้าข้อความที่ตรงกับความคิดเห็น ............................................................................................................................................................. องค์ประกอบในโครงการ ( ) มีครบ ( ) มีไม่ครบ ขาดหัวข้อ.............................. ชื่อโครงการชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาสาระของโครงการ ( ) ชัดเจน ( ) ไม่ชัดเจน ระบุผู้รับผิดชอบโครงการ ( ) ชัดเจน ( ) ไม่ชัดเจน ระบุที่ปรึกษาโครงการ ( ) ชัดเจน ( ) ไม่ชัดเจน หลักการและเหตุผล ๕.๑ ความสอดคล้องกับปัญหาและความต้องการ ( ) สอดคล้อง ( ) ไม่สอดคล้อง ๕.๒ ความชัดเจนของปัญหาและความต้องการ ( ) ชัดเจน ( ) ไม่ชัดเจน วัตถุประสงค์ ๖.๑ ความสอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ( ) สอดคล้อง ( ) ไม่สอดคล้อง ๖.๒ ความสอดคล้องกับเป้าหมาย ( ) สอดคล้อง ( ) ไม่สอดคล้อง ๖.๓ ความสอดคล้องกับผลที่คาดว่าจะได้รับ ( ) สอดคล้อง ( ) ไม่สอดคล้อง ๖.๔ ความเป็นไปได้ ( ) มีความเป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ เป้าหมาย ๗.๑ ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ( ) สอดคล้อง ( ) ไม่สอดคล้อง ๗.๒ การระบุหน่วยนับ ( ) วัดได้ ( ) วัดไม่ได้ ๗.๓ ความเป็นไปได้ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้

37

ขั้นตอนและแผนการดาเนินงาน ๘.๑ การกาหนดขั้นตอน ( ) ชัดเจน ( ) ไม่ชัดเจน ๘.๒ การกาหนดระยะเวลาตามแผนการดาเนินงาน ( ) ชัดเจน ( ) ไม่ชัดเจน ๘.๓ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ( ) สอดคล้อง ( ) ไม่สอดคล้อง ๘.๔ ความเป็นไปได้ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ ระยะเวลาดาเนินการ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ สถานที่ประกอบอาชีพ ( ) ชัดเจน ( ) ไม่ชัดเจน รูปแบบผลิตภัณฑ์/บริการ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ การวางแผนบริหารจัดการ แผนการตลาด ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ การผลิต ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ แหล่งวัตถุดิบ ( ) เพียงพอความต้องการ ( ) ไม่เพียงพอความต้องการ แผนการบริหารจัดการ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ ประมาณการต้นทุนการผลิตและการกาหนดราคาจัดจาหน่าย ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ ประมาณการรายรับและรายจ่ายในการประกอบอาชีพต่อเดือน ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ ทรัพยากร / งบประมาณ ๑๕.๑ ความเป็นไปได้ของทรัพยากรที่ใช้ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ ๑๕.๒ เปรียบเทียบงบประมาณกับเป้าหมาย ( ) คุ้มค่า ( ) ไม่คุ้มค่า ๑๕.๓ ความเป็นไปได้ของงบประมาณกับงานอาชีพ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ ผลที่ได้รับจากโครงการ ๑๖.๑ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ( ) สอดคล้อง ( ) ไม่สอดคล้อง

38

๑๖.๒ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต ( ) ไม่มี ( ) มี คือ................................................ ๑๗. ปัญหา / อุปสรรค /ข้อเสนอแนะ ( ) มี ( ) ไม่ได้ ๑๘. การประเมินผล ๑๘.๑ ระบุวิธีการประเมินผล ( ) ชัดเจน ( ) ไม่ชัดเจน ๑๘.๒ ระบุเครื่องมือหรือแหล่งข้อมูลที่ใช้ในการประเมินผล ( ) ชัดเจน ( ) ไม่ชัดเจน

(ลงชื่อ)

ผู้ประเมินโครงการ ( วันที่

) พ.ศ.

เดือน

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

สรุปผลการวิเคราะห์โครงการ ( ) อนุมัติให้ดาเนินการได้

( ) อนุมัติในหลักการ

( ) ปรับปรุงใหม่

(ลงชื่อ)

ผู้วิเคราะห์

โครงการ ( หัวหน้า กศน. ตาบล วันที่ เดือน ผลการพิจารณาโครงการ ( ) อนุมัติให้ดาเนินการได้

) พ.ศ.

( ) อนุมัติในหลักการ (ลงชื่อ)

ผู้วิเคราะห์

โครงการ ( ผู้อานวยการ กศน. อาเภอ วันที่ เดือน

) พ.ศ.

39

ใบงานที่ 1 1. จงบอกความสาคัญในการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล

2. ให้นักศึกษาสารวจข้อมูลและบันทึกแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่น พร้อมถ่ายภาพ

40

ใบงานที่ 2 1. ให้ผู้เรียนออกแบบชิ้นงานในการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล

2. ให้ผู้เรียนประกอบตกแต่งการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาลให้เป็นชิ้นงานพร้อมนาเสนอ

41

ใบงานที่ 3 1. ให้นักศึกษาสารวจแหล่งวัตถุดิบในชุมชน

2. ให้นักศึกษาออกแบบประชาสัมพันธ์ (แผ่นพับ ใบปลิว) พร้อมนาเสนอ

42

ใบงานที่ 4 ให้นักศึกษาเขียนโครงการประกอบอาชีพการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล

43

แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน คาชี้แจง จงทาเครื่องหมาย X ในข้อที่ถูกที่สุด ๑. การวางแผนการทางานมีประโยชน์อย่างไร ก.ทางานได้อย่างรวดเร็ว ข.ทางานได้มากในเวลาที่จากัด ค.ทางานได้สาเร็จตามที่ต้องการ ง.ทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. การวางแผนการทางาน ข้อใดไม่สามารถประเมินผลได้ ก.เปรียบเทียบกับมาตรฐานของผู้อื่น ข.ประเมินผลการทางานตามความพอใจของตนเอง ค.ให้สมาชิกหรือเพื่อนร่วมงานแสดงความคิดเห็น ง.เขียนจาแนกระดับคุณภาพงานเพื่อประเมินว่าอยู่ในระดับใด ๓. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ ลาดับขั้นตอนการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล ก.ต้มน้าให้เดือดแล้วนาดอกอัญชันที่เตรียมไว้ลงไปต้มจนได้น้าสีน้าเงินเข้ม ข.นากลีเซอรีนที่เตรียมไว้ไปละลายในหม้อโดยตั้งไฟอ่อนๆ ค.ค่อยๆเติมน้าอัญชันลงไปผสมกับกลีเซอรีนแล้วคนจนเป็นเนื้อเดียวกันแล้วนาลงจากเตา ง.รีบหยดน้ามันหอมระเหยลงในส่วนผสมแล้วคนให้เข้ากัน ๔. ข้อใดไม่ใช่วัสดุ อุปกรณ์ในการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาลฟักข้าว ก. เยื่อหุ้มเมล็ดฟักข้าว ข. กลีเชอรีนใสแบบแข็ง ค. น้าขิง ง. พิมพ์สาหรับใส่สบู่ ๕. ในการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาลขมิ้น เมื่อส่วนผสมเข้ากันดีแล้วยกลงจากเตาแล้วคนต่อไปเรื่อย ๆให้อุณหภูมิ เหลือประมาณกี่องศาจึงใส่หัวน้าหอมแล้วคนให้เข้ากันอีกครั้ง ก. 25 องศา ข. 30 องศา ค. 35 องศา ง. 40 องศา ๖. ข้อใดต่อไปนี้บอกลดับ วิธีการแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาลดอกอัญชัน ได้ถูกต้อง 1. นากลีเซอรีนที่เตรียมไว้ไปละลายในหม้อโดยตั้งไฟอ่อนๆ 2. ตักส่วนผสมใส่ในแม่พิมพ์ที่เตรียมไว้ 3. ต้มน้าให้เดือดแล้วนาดอกอัญชันที่เตรียมไว้ลงไปต้มจนได้น้าสีน้าเงินเข้ม 4. ค่อยๆหยดน้ามันหอมระเหยลงในส่วนผสมแล้วคนให้เข้ากัน 5. รอให้ผิวด้านบนของสบู่แข็งตัวแล้วจึงนาไปเข้าตู้เย็น 6. เมื่อสบู่แข็งตัวทั้งหมดแล้วจึงแกะออกจากพิมพ์ 7. ค่อยๆเติมน้าอัญชันลงไปผสมกับกลีเซอรีนแล้วคนจนเป็นเนื้อเดียวกันแล้วนาลงจากเตา ก. 3 1 7 4 2 5 6 ข. 3 1 7 4 6 2 5 ค. 3 2 1 7 5 4 6 ค. 3 4 2 1 7 5 6

44

๗.ข้อใดคือความหมายของโครงการ ก. การรายงานผลการทางานอย่างละเอียด ข. ขั้นตอนการทางานที่มีระบบ ค. งานที่จะทาในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพ ง. การวางแผนการทางาน ๘. ข้อใดแสดงถึงเหตุผลที่ต้องจัดทาโครงการ ก. วัตถุประสงค์ ข. หลักการและเหตุผล ค. ชื่อโครงการ ง. วิธีดาเนินงาน ๙. ข้อใดคือส่วนประกอบของโครงการ ก. ค่าใช้จ่าย ข. เป้าหมาย ค. สถานที่ ง. ถูกทุกข้อ ๑๐. การจะเปิดร้านค้าควรคานึงถึงสิ่งใดมากที่สุด ก. ทาเลที่จะขายสินค้า ข. กฎระเบียบของสถานที่ ค. ขนาดพื้นที่ของตัวร้าน ง. ราคาค่าเช่าและเงินประกัน

45

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๑. ง ๒. ข ๓. ง ๔. ค ๕. ง ๖. ก ๗. ข ๘. ข ๙. ง ๑๐. ก

46

บรรณานุกรม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. สานักงาน กศน. กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 แนวทางการดาเนินงานการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑). สานักงาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๖๑ การแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาลมะขาม https://sites.google.com/site/withikarthasbu/ สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ การแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาลขมิ้น http://cddata.cdd.go.th/cddkm/prov/km1_viewlist.php?action=view&div=26&kid=373 สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ การแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล https://banmakam.com/วิธีการทามะขามแช่อิ่ม สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ การแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล https://sara99idea.com/feed/213 สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ การแปรรูปผลไม้ตามฤดูกาล https://hostingrc.com/compote-fruit/ สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๕

47

48

49

50

51

52

คณะผู้จัดทา ที่ปรึกษา นางวิไลลักษณ์ โรจนาศรีรัตน์ ผู้รวบรวมและเรียบเรียง นางประสงค์ ปลั่งกลาง นายวิชิต ชูชีวา บรรณาธิการ นางวิไลลักษณ์ โรจนาศรีรัตน์ ผู้พิมพ์และจัดรูปเล่ม นางประสงค์ ปลั่งกลาง นายวิชิต ชูชีวา

ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโนนสูง ครู กศน.ตาบลลาคอหงษ์ ครู กศน.ตาบลดอนชมพู ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโนนสูง ครู กศน.ตาบลลาคอหงษ์ ครู กศน.ตาบลดอนชมพู

53

54

55

56

57

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.