รายงานโครงการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ 15 Flipbook PDF

รายงานโครงการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ 15

68 downloads 126 Views 12MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript


1 การศึกษาเป็นปัจจัยส าคัญในการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีคุณภาพ และน าไปสู่การพัฒนา ประเทศให้มีความเข้มแข็งในทุกด้าน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาก าแพงเพชรเขต 1 ได้ ด าเนินการจัดท าโครงการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์ในการน าสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นต่างๆ มาจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนอย่างมีคุณภาพในทุกชั้น เรียน เป้าหมายคือ นักเรียนทุกคนได้เรียนในสาระการเรียนรู้ที่เป็นวิถีชีวิตของตนเองในครอบครัว ชุมชนและ ท้องถิ่น ที่เหมาะสมกับความสามารถและวัยของนักเรียน ช่วยส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ นักเรียนน าความรู้ต่าง ๆ ที่ได้จากการเรียนรู้ไปใช้ ให้เกิดทักษะอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น รักการอ่าน เกิด ทักษะคิดเป็นท า เป็น แก้ปัญหาและสร้างแรงบันดาลใจการท างาน และต่อยอดน าไปใช้ได้จริงใน ชีวิตประจ าวันอย่างมีคุณภาพ ตลอดจนให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมต่อไป กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาก าแพงเพชร เขต 1 ก


2 หน้า ค าน า............................................................................................................................................ ก สารบัญ......................................................................................................................................... ข วัตถุประสงค์................................................................................................................ 1 เป้าหมาย................................................................................................................... 1 วิธีการด าเนินงาน/กิจกรรม........................................................................................ 2 ผลการด าเนินงาน...................................................................................................... 6 ปัญหาและอุปสรรค.................................................................................................... 6 ข้อเสนอแนะ............................................................................................................... 7 ภาคผนวก...................................................................................................................................... 8 ข


3 รายงานผลการด าเนินงานโครงการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้ วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ………………………………………………………….. 1.วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อพัฒนาครูผู้สอนมีความรู้ ความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถี ชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น 1.2เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้สอนพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและ ท้องถิ่น สอดคล้องกับสภาพและบริบทของสถานศึกษา และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษ ที่ 21 1.3 เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาน าหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตและท้องถิ่นที่ไปใช้ใน การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เรียนในศตวรรษ ที่ 21 1.4 เพื่อนิเทศและติดตามการใช้หลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและ ท้องถิ่น ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เรียนในศตวรรษ ที่ 21 2. เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output) 1) ครูผู้สอนสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาก าแพงเพชร เขต 1 จ านวน 2,051 คน มีความรู้ ความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น 2) ครูผู้สอนพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ที่สอดคล้องกับสภาพและบริบทของสถานศึกษา และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษ ที่ 21 3) สถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาก าแพงเพชรเขต 1 จ านวน 202 โรงเรียน 1 สาขา มีหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น และน าไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เรียนในศตวรรษ ที่ 21 4) สถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาก าแพงเพชร เขต1 ได้รับนิเทศและติดตาม การใช้หลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ในการพัฒนาคุณภาพของ ผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เรียนในศตวรรษ ที่ 21 3.2 เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) 1) ผู้เรียนระดับประถมศึกษาให้มีทักษะการอ่านออก เขียนได้ รักการอ่าน และคิดเลขเป็น 2) ผู้เรียนให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร 3) ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะที่จ าเป็นของโลกในศตวรรษที่ 21 1


4 3. วิธีด าเนินงาน/กิจกรรม 3.1 วางแผนการด าเนินงาน 1) ประชุมวางแผนการด าเนินงานโครงการ 2) แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงานโครงการ 3.2 ด าเนินงานตามแผน 1) พัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถี ชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น 2) ส่งเสริมให้ครูผู้สอนพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและ ท้องถิ่น 3) จัดหาและพัฒนาสื่อหรือสร้างสื่อในการใช้หลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตและท้องถิ่น 4) ส่งเสริมให้สถานศึกษาน าหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้ วิถีชีวิตและท้องถิ่นไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของผู้เรียน 5) นิเทศและติดตามการใช้หลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตและท้องถิ่น 6) จัดประกวดคัดเลือก Best Practice จากการน าหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตใน ครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ประจ าปีการศึกษา 2564โดยมีรายละเอียดในการจัดประกวดผลการปฏิบัติที่ เป็นเลิศ (Best Practice) ของผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา และผลงานนักเรียน ดังนี้ ประเภทผู้บริหารสถานศึกษา การประกวดผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของผู้บริหารสถานศึกษาในการพัฒนา และส่งเสริมการใช้หลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ปีการศึกษา 256๔ ด าเนินการดังนี้ (1) ผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาหลักสูตร บูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น เพื่อเข้าประกวดผลงานการปฏิบัติที่เป็น เลิศ (Best Practice) ในระดับกลุ่มโรงเรียน (2) กลุ่มโรงเรียนด าเนินการประกวดผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนา หลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ประเภทผู้บริหารสถานศึกษา ทั้ง 2 ขนาด เพื่อคัดเลือกตัวแทนได้รับรางวัลชนะเลิศ มายังกลุ่มพื้นที่การศึกษา (Cluster) (3) กลุ่มพื้นที่การศึกษา (Cluster) ด าเนินการจัดประกวดผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ประเภทผู้บริหารสถานศึกษา ทั้ง ๒ ขนาด เพื่อคัดเลือกตัวแทน ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ ส่งผลงานการปฏิบัติที่ เป็นเลิศ (Best Practice) มายังส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาก าแพงเพชร เขต 1 ภายในวันที่ 4-8 เมษายน 2565 2


5 (4) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาก าแพงเพชร เขต 1 ด าเนินการประกวดผลการ ปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ประเภทผู้บริหารสถานศึกษา ทั้ง 2 ขนาด คัดเลือกผู้บริหารที่บริหาร ที่ได้รางวัลสูงสุด ที่ 1-3 เข้ารับรางวัลการประกวด ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาก าแพงเพชร เขต 1 โดยก าหนดการจัดกิจกรรม ในวันที่ 25 เมษายน 2565 ผ่าน Google Meet ประเภทครูผู้สอน การประกวดผลงานของครูผู้สอนมีผลการการปฏิบัติที่เป็นเลิศ( Best Practice) ด้านการใช้ หลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ปีการศึกษา 2564ด าเนินการดังนี้ (1) ครูผู้สอนทุกระดับชั้นส่งผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ด้านการใช้หลักสูตร บูรณาการสาระ การเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น เพื่อเข้าประกวดผลงานการปฏิบัติที่เป็น เลิศ (Best Practice) ประเภทครูผู้สอน ในระดับกลุ่มโรงเรียน (2) กลุ่มโรงเรียนด าเนินการประกวดผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ด้านการใช้ หลักสูตรบูรณาการสาระ การเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ประเภทครูผู้สอน ระดับชั้นละ 1 คน เพื่อคัดเลือกตัวแทนของกลุ่มโรงเรียนที่ได้รับรางวัลชนะเลิศเข้าประกวดในระดับกลุ่มพื้นที่การศึกษา (Cluster) (3) กลุ่มพื้นที่การศึกษา (Cluster)ด าเนินการประกวดผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ด้านการใช้หลักสูตรบูรณาการสาระ การเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ประเภท ครูผู้สอน ระดับชั้นละ 1 คน เพื่อคัดเลือกตัวแทนของกลุ่มพื้นที่การศึกษา (Cluster) ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ เข้าประกวดในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ภายในวันที่ ภายในวันที่ 4- 8 เมษายน 2565 (4) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ด าเนินการประกวดผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ด้านการใช้หลักสูตรบูรณาการสาระ การเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ประเภทครูผู้สอน ระดับชั้นละ 1 คน คัดเลือกครูผู้สอนรางวัลสูงสุด ที่ 1-3 แต่ละระดับชั้น เข้ารับรางวัล ในระดับเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาก าแพงเพชร เขต 1 โดยก าหนดการจัดกิจกรรมในวันที่ 25 เมษายน 2565 ผ่าน Google Meet ประเภทนักเรียน การประกวดผลงานของนักเรียนที่มีผลงานดีเด่น ตามนโยบายที่ 3 จุดเน้นที่ 6 พัฒนาคุณภาพ และทักษะวิชาการของนักเรียน ปีการศึกษา 2564 ด าเนินการดังนี้ (1) โรงเรียนด าเนินการคัดเลือกนักเรียน เพื่อส่งเป็นตัวแทนของโรงเรียนในการเข้ารับคัดเลือก ในระดับกลุ่มโรงเรียน ดังนี้ 1) ระดับชั้นปฐมวัย การสร้างภาพฉีก ตัด ปะ กระดาษ จ านวน 1 ทีม ทีมละ 3คน 2) ระดับชั้นปฐมวัยการปั้นดินน้ ามัน จ านวน 1 ทีม ทีมละ 3คน 3) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3การเขียนเรื่องจากภาพ ระดับชั้นละ 1 คน 4) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5การเขียนเรียงความ ระดับชั้นละ 1 คน 3


6 5) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6การจัดท าหนังสือเล่มเล็ก จ านวน 1 ทีม ทีมละ 5คน 6) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3การจัดท าโครงงาน ระดับชั้นละ 1 ทีม ทีมละ 3 คน (2) กลุ่มโรงเรียนด าเนินการจัดประกวดผลงานนักเรียนที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้ หลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ระดับชั้นละ 1 คน เพื่อคัดเลือก เป็นตัวแทนของกลุ่มโรงเรียนเข้าประกวดในระดับกลุ่มพื้นที่การศึกษา (Cluster) (3) กลุ่มพื้นที่การศึกษา (Cluster) ด าเนินการจัดประกวดผลงานนักเรียนที่เกิดจากการจัดการ เรียนรู้โดยใช้หลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ตามระดับชั้น เพื่อ คัดเลือกเป็นตัวแทนของกลุ่มพื้นที่การศึกษา (Cluster) เข้าประกวดในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ภายในวันที่ 4- 8 เมษายน 2565 (4) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาก าแพงเพชร เขต 1 ด าเนินการจัดประกวด ผลงานนักเรียน คัดเลือกนักเรียนที่มีคะแนนสูงสุด ล าดับที่ 1-3 ตามระดับชั้น เข้ารับรางวัล ในระดับ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาก าแพงเพชร เขต 1 ในวันที่27เมษายน 2565 3.3 นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการด าเนินงาน 1) นิเทศและติดตามการด าเนินงานหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น 2) ประเมินผลการด าเนินงานหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและ ท้องถิ่น 4. รูปแบบ/เทคนิคที่ท าให้เกิดความส าเร็จ 1. โรงเรียนด าเนินการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ พัฒนาสื่อส่งเสริมการจัดการ เรียนรู้รูปแบบ Active Learning 2. ส านักงานเขตพื้นทีการศึกษาพัฒนารูปแบบโมเดล เบญจศีลโมเดล คือรูปแบบการน าสาระการ เรียนรู้ท้องถิ่น (วิถีชีวิตครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น) สู่การจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน โดยใช้ แนวทางจัดการ เรียนรู้ เรื่อง “ศีล 5” เป็นตัวอย่าง การเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะส าคัญของผู้เรียน สร้างความตระหนัก เรียนรู้เชิญรุก (Active Learning) ให้สามารถเรียนรู้ สร้างและน าเสนอความรู้ได้ด้วยตนเอง 2.1 แนวทางจัดการเรียนรู้ “เบญจศีลโมเดล” แนวทางจัดการเรียนรู้ “เบญจศีลโมเดล” ตัวอย่างเรื่อง ศีล 5 สามารถสรุปแนวทางการ ด าเนินงาน 8 ขั้นตอนส าคัญ ดังนี้ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการพัฒนา “ความรู้ ความเข้าใจและ การปฏิบัติรักษาศีล 5” สภาพปัญหา (สังคมไทยและสังคมท้องถิ่นในปัจจุบันยังปรากฏให้เห็นว่ามีคดีความ ความ ไม่สงบสุขที่เกิดจากการกระท าที่ละเมิดต่อกันเป็นจ านวนมาก ทั้งทางร่างกายและจิตใจ) - ความต้องการพัฒนา (สังคมไทยและสังคมท้องถิ่นมีความต้องการความสงบสุข ทั้ง ภาครัฐและเอกชน จังหวัดก าแพงเพชร โดยเฉพาะบริษัทเฉาก๊วยชากังราว จ ากัด ได้จัดให้มีโครงการส่งเสริม 4


7 คุณธรรม ศีลน าการศึกษา ต้องการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการน าความรู้ด้านคุณธรรม สู่การจัดการเรียนรู้ ในโรงเรียน) 2) ชมสื่อมัลติมีเดียเพื่อสร้างความตระหนักและความรู้ความเข้าใจพื้นฐาน “หลักธรรมพุทธ ศาสนา เรื่อง ศีล 5” - จัดให้นักเรียนชมสื่อมัลติมีเดีย (รับรู้โดยการดูและการฟัง) เรื่อง ศีล 5 เพื่อให้มีความ ตระหนักและมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ ศีล 5 3) ศึกษาค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล สารสนเทศจากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย - ภูมิปัญญาท้องถิ่น (ชุมชน) (V.1 เรียนรู้เชิงประจักษ์จากผู้รู้/ผู้ถือปฏิบัติ ศีล 5 ที่ สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีหรือเป็นที่ยอมรับระดับชุมชนหรือในเขตหมู่บ้าน/ในเขตบริการของโรงเรียน) - ภูมิปัญญาท้องถิ่น (จังหวัด) (V.2 : เรียนรู้จากสื่อการเรียนรู้ที่ผ่านกระบวนการอ่านจาก ผู้รู้/ผู้ถือปฏิบัติ ศีล 5 ที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีหรือความรู้ที่เป็นที่ยอมรับ ระดับจังหวัด) - ภูมิปัญญาไทย (V.3 : เรียนรู้จากสื่อการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีที่หลากหลายจากผู้รู้/ผู้ ถือปฏิบัติ ศีล 5 ที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีหรือหรือความรู้ที่เป็นที่ยอมรับ ระดับประเทศ) - - ภูมิปัญญาอื่น (V.4 : เรียนรู้จากสื่อการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีที่หลากหลายจากผู้อื่นทั้ง ในระดับสากลและ/หรือสื่อที่มีความมุ่งหมายอื่นๆ ในลักษณะ I.O (Information Operation) 4) วิเคราะห์สรุปสร้างความรู้ของตนเอง โดยเขียนเรียงความ “เรื่อง ศีล 5” - ครูเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้อ านวยความสะดวก (Facilitator)/ ผู้ฝึกสอน (Coach)/ หรือพี่ เลี้ยง (Mentor) ที่จะส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสามารวิเคราะห์และสรุปสร้างเป็นความรู้ของตนเองโดย เขียนเรียงความ “ศีล 5” ที่มีองค์ประกอบ 3 ส่วนคือ บทน า เนื้อหา และส่วนสรุป 5) ครูตรวจให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาและแก้ไข - ครูตรวจเรียงความศีล 5 อันเป็นความรู้ที่นักเรียนสร้างขึ้นและให้ข้อแนะน าในการ พัฒนาและแก้ไข 6) พัฒนาและปรับปรุงความรู้ของตนเอง - นักเรียนด าเนินการแก้ไขและเขียนเรียงความใหม่ด้วย “ลายมือที่สวยงาม” น าไปอ่าน หรือเสนอความรู้ของตนเองต่อเพื่อนในชั้นเรียน หรืออ่าน/น าเสนอในโรงเรียน 7) น าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวัน - ปฏิบัติการรักษาศีล โดยใช้ความรู้ของตนเอง สร้างสื่อและน าเสนอ/เผยแพร่ “ศีล 5” ต่อผู้อื่นในรูปแบบต่าง ๆ ตามความสนใจของนักเรียน ตัวอย่างเช่น จัดท าโปสเตอร์ (เขียนภาพระบายสี) แต่ง บทเพลงหรือบทร้อยกรอง ท าหนังสือเล่มเล็ก พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ภาพยนตร์สั้น เว็บไซต์ การจัด นิทรรศการ หรือจัดให้มีโครงการ/โครงงาน 8) ทบทวนและสรุปกระบวนการเรียนรู้ของตนเอง - ทบทวนและสรุปกระบวนการเรียนรู้ของตนเองตั้งแต่ต้นจนจบ ก าหนดแนวทางที่ สามารถน าไปใช้ในการเรียนรู้ในสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ที่ตนเองสนใจต่อไป ตัวอย่างเช่น ความกตัญญูกตเวที (เพื่อให้รู้และมีจิตส านึกในการรู้คุณและการตอบแทนผู้มีพระคุณ) มารยาทไทย (เพื่อให้รู้และปลูกฝังค่านิยม 5


8 ในการแสดงกิริยาและวาจาต่าง ๆ ที่ดีและเหมาะสมส าหรับคนไทย) หลักศาสนพิธี (เพื่อให้รู้และเข้าใจการ ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนอันดีงามของศาสนาพุทธ) เรารักพระเจ้าอยู่หัว (เพื่อปลูกฝังอุดมการณ์และส านึก ในความรักชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์) หรือ “การประกอบอาชีพ” ซึ่งเป็นการเรียนรู้การประกอบ อาชีพท้องถิ่นก าแพงเพชรตามนโยบาย “การศึกษาปลอดภัยและมีคุณภาพ” เป็นต้น 5. ผลการด าเนินงาน ผลการด าเนินงานตามวัตถุประสงค์การด าเนินงานโครงการ 1. ครูผู้สอนร้อยละ 100 มีความรู้ ความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิต ในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น 2. สถานศึกษา ร้อยละ 100 มีหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ที่สอดคล้องกับสภาพและบริบทของสถานศึกษา และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษ ที่ 21 3. สถานศึกษา ร้อยละ 100 น าหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เรียนในศตวรรษ ที่ 21 4. สถานศึกษา ร้อยละ 100 ได้รับการนิเทศและติดตามการใช้หลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้ วิถี ชีวิตในครอบครัวชุมชน และท้องถิ่น 6.สถานศึกษา ร้อยละ 100 มีBest Practice ในการใช้หลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตใน ครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่นที่ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของ ผู้เรียนในศตวรรษ ที่ 21 7.ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูที่มีต่อการด าเนินงานโครงการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ สาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น พบว่า ผู้บริหารและครูที่มีต่อการด าเนินงานโครงการ พัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ในภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 6. ปัญหาและอุปสรรค 1. เนื่องจากการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2564 มี รูปแบบ On-Site On-Air Online On-Demand On-Hand ท ำให้กำรจัดกำรกำรเรียนกำรสอนไม่ต่อเนื่อง 6


9 2. ครูผู้สอนยังไม่ทราบแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ และการจัดท าหลักสูตรบูรณา การตามบริบทของสถานศึกษา 3.ครูยังไม่มีความรู้ความเข้าใจในการจัดท าสื่อและเทคโนโลยีสนับสนุนใช้หลักสูตรบูรณาการสาระการ เรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น 4.สถานศึกษา ไม่น าหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่นไปใช้อย่าง จริงจัง 5.สถานศึกษา มีการนิเทศและติดตามการใช้หลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้ วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ไม่ต่อเนื่อง 6.ครูผู้สอน ผู้บริหาร ยังไม่เข้าใจการจัดท า Best Practice 7. ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะส าหรับสถานศึกษา 1.1 ครูควรวิเคราะห์ผลการประเมินของนักเรียนรายบุคลในแต่ละสมรรถนะเพื่อใช้เป็นข้อมูล ส าคัญในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาความสามารถของผู้เรียน 1.2 ครูควรส่งต่อข้อมูลผลการประเมินของนักเรียนรายบุคลเพื่อให้ครูผู้สอนในระดับชั้นถัดไป น าไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน 1.3 สถานศึกษาควรวางแผนและพัฒนาความสามารถของนักเรียนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้นในปีการศึกษา 2565 1.4 สถานศึกษาควรมีการนิเทศ ก ากับติดตาม และประเมินการจัดการเรียนการสอนและการ ด าเนินงานเพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง 1.5 ผู้บริหารสถานศึกษาควรสร้างขวัญและก าลังใจ รวมทั้งสร้างความตระหนักให้แก่ครูและ บุคลากรทางการศึกษาให้เห็นความส าคัญของพัฒนาความสามารถของนักเรียนและเห็นความส าคัญในการ ประเมินความสามารถของนักเรียนทุกระดับชั้น 2. ข้อเสนอแนะส าหรับเขตพื้นที่ 2.1 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุน และวางแผนในการพัฒนาครู ให้ความรู้ และทักษะในการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 2.2 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาคุณภาพ ของ นักเรียนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เพื่อกระตุ้นให้ทุกฝ่ายเห็นความส าคัญต่อการพัฒนาความสามารถของ ผู้เรียน 2.3 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรส่งเสริมให้สถานศึกษาก าหนดนโยบายและจัดท า แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาในโรงเรียน หรือโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างชัดเจน และให้ มีการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง 7


10 2.4 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรก าหนดนโยบายในการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะใน การ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3R8C) โดยเฉพาะทักษะด้านการอ่านที่เป็นเครื่องมือส าคัญในการเรียนรู้ส าหรับ ผู้เรียน 3. ข้อเสนอแนะส าหรับผู้เกี่ยวข้อง 3.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และศึกษานิเทศก์ควรร่วมมือกับครูผู้สอนวิเคราะห์ผู้เรียนเป็น รายบุคคลเพื่อวางแผนใน การพัฒนาความสามารถของผู้เรียน 3.2 ศึกษานิเทศก์ควรส่งเสริมให้ครูผู้สอนและสถานศึกษามีการพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนา ความสามารถ และนวัตกรรมในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 3.3 ศึกษานิเทศก์และครูผู้สอนควรร่วมมือกันศึกษาวิเคราะห์ผลการประเมินเพื่อน ามาใช้เป็น ข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนจัดท าโครงการและกิจกรรมต่างๆเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพ 3.4 ควรส่งเสริมให้ผู้ครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนและพัฒนาความสามารถของ นักเรียนในความดูแล เพื่อให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 8


11 ภาคผนวก โครงการ ค าสั่งแต่งตั้งคณะท างาน แนวทางการท าโครงสร้างหลักสูตรบูรณาการ คู่มือการประกวดผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ สูจิบัตรการประกวดผลงาน ผลการประกวด เกียรติบัตร ภาพกิจกรรม . แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ 9


12 10


13 11 9


14 12


15 13


16 14


17 15


1816


19 17


20 18


21 19


22 20


23 21


24 22


25 23


26 24


27 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้บริหารและครูที่มีต่อการด าเนินงานโครงการ การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ประจ าปีการศึกษา 2564 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาก าแพงเพชร เขต 1 **************************** ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม น าเสนอดังตารางที่ 1 และ 2 ตารางที่ 1แสดงจ านวนผู้ให้ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามเพศ เพศ จ านวน ร้อยละ เพศหญิง 196 74.2 เพศชาย 68 25.8 รวม 264 100 จากตารางที่ 1ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงมากที่สุด (196คน หรือคิดเป็น 74.2%) รองลงมา คือ เพศชาย(68คน หรือคิดเป็น 25.8%) ตารางที่ 2แสดงต าของผู้ตอบแบบสอบถาม จ าแนกตามต าแหน่ง ต าแหน่ง จ านวน ร้อยละ ผู้บริหาร 57 21.6 ครู 200 75.8 นักเรียน 2 0.8 อื่นๆ 5 2 รวม 264 100 จากตารางที่ 2 ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นครูมากที่สุด (200คน หรือคิดเป็น 75.8%) รองลงมาคือ ผู้บริหาร (57 คน หรือคิดเป็น 21.6%) น้อยที่สุดเป็นนักเรียน (2 คน หรือคิดเป็น 0.8%) 25 5


28 ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจที่มีต่อการด าเนินงานโครงการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้ วิถีชีวิตในครอบครัวชุมชน และท้องถิ่น ความพึงพอใจที่มีต่อการด าเนินงานโครงการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตใน ครอบครัวชุมชน และท้องถิ่น ดังตารางที่ 3 ตารางที่3ระดับความพึงพอใจของผู้บริหารและครูที่มีต่อการด าเนินงานโครงการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ สาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัวชุมชน และท้องถิ่น รายการ ระดับความพึงพอใจ µ แปลผล ค่าเฉลี่ย 1. ความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการด าเนินงานโครงการ 1.1 กิจกรรมสร้างความตระหนักให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง 4.31 .74 มาก 1.2 กิจกรรมการจัดท าคู่มือเพื่อเป็นแนวทางในการจัดท า หลักสูตรบูรณาการ 4.33 .72 มาก 1.3 กิจกรรมส่งเสริมให้สถานศึกษาน าหลักสูตรบูรณา การสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตและท้องถิ่นที่ไปใช้ใน การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของผู้เรียนในศตวรรษ ที่ 21 4.32 .73 มาก 4. กิจกรรมส่งเสริมให้ครูผู้สอนพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ สาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น สอดคล้องกับสภาพและบริบทของสถานศึกษา และ ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษ ที่ 21 4.36 .71 มาก 5. กิจกรรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนการสอนโดย เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 4.43 .70 มาก 6. กิจกรรมพัฒนาสื่อหรือสร้างสื่อในการใช้หลักสูตร บูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น 4.37 .69 มาก 7. กิจกรรมสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลระดับ ชั้นเรียน 4.25 .72 มาก 8. กิจกรรมการประกวดผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) 4.25 .82 มาก 9. กิจกรรมการประกวดผลงานนักเรียนที่มีผลงานดีเด่น 4.24 .83 มาก 26


29 ตารางที่3 (ต่อ) รายการ ระดับความพึงพอใจ µ แปลผล ค่าเฉลี่ย 10. กิจกรรมนิเทศการจัดการเรียนการสอน บูรณาการ สาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและ ท้องถิ่น 4.19 .82 มาก 2. ความพึงพอใจต่อผลการด าเนินงานโครงการ 2.1 ครูมีการจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักสูตร บูรณาการ 4.26 .72. มาก 2.2 ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ 4.29 .76 มาก 2.3 ครูวัดและประเมินผลตามแผนการจัดการเรียน การสอน 4.25 .76 มาก 2.4 นักเรียนมีความสนใจใฝ่เรียนรู้ 4.22 .77 มาก 2.5 นักเรียนมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง 4.08 .79 มาก 2.6 ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนมีผลงาน การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) 4.14 .83 มาก 2.7 โรงเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 4.03 .76 มาก ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.25 .10 มาก จากตารางที่3ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูที่มีต่อการด าเนินงานโครงการพัฒนา หลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น พบว่า ผู้บริหารและครูมีความพึง พอใจต่อการด าเนินงานโครงการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน และ ท้องถิ่น ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (µ = 4.25) โดยด้านความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการ ด าเนินงานโครงการ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ กิจกรรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนการสอนโดยเน้น ผู้เรียนเป็นส าคัญ (µ = 4.43) รองลงมาคือกิจกรรมพัฒนาสื่อหรือสร้างสื่อในการใช้หลักสูตรบูรณาการสาระ การเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น (µ = 4.37) กิจกรรมส่งเสริมให้ครูผู้สอนพัฒนาหลักสูตร บูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น สอดคล้องกับสภาพและบริบทของสถานศึกษา และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษ ที่ 21(µ = 4.36) และกิจกรรมการจัดท าคู่มือเพื่อเป็นแนวทางในการ 27


30 จัดท าหลักสูตรบูรณาการ (µ = 4.33) ส่วนด้านความพึงพอใจต่อผลการด าเนินงานโครงการ ข้อที่มีค่าเฉลี่ย สูงสุด ได้แก่ 2.2 ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้(µ = 4.29) รองลงมาคือ ครูมีการจัดท า แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักสูตรบูรณาการ (µ = 4.26) ครูวัดและประเมินผลตามแผนการจัดการเรียน การสอน (µ = 4.25) และนักเรียนมีความสนใจใฝ่เรียนรู้(µ = 4.22) ตามล าดับ หมายเหตุ* เกณฑ์ค่าคะแนนเฉลี่ยและการแปลความหมายเป็นรายข้อ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ความพึงพอใจในระดับค่าคะแนนเฉลี่ย ระดับค่าเฉลี่ย4.51– 5.00 ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมากที่สุด ระดับค่าเฉลี่ย 3.51– 4.50 ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก ระดับค่าเฉลี่ย 2.51– 3.50 ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีปานกลาง ระดับค่าเฉลี่ย 1.51– 2.50 ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับน้อย ระดับค่าเฉลี่ย 0.00– 1.50 ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีน้อยที่สุด ตอนที่3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ผลการสอบถามความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของผู้บริหารและครูที่มีต่อการด าเนินงาน โครงการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการสาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัวชุมชน และท้องถิ่น เรียงตามความถี่ใน การให้ข้อมูลเรียงจากมากไปหาน้อย ดังนี้ 1. ควรก าหนดเวลาปฏิทินด าเนินกิจกรรมเริ่มปีการศึกษา 2565 2. ควรมีการด าเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง 3. ควรให้เวลาในการท ากิจกรรมมากกว่านี้ และต่อเนื่องเพราะจะเสริมสร้างศักยภาพของครูและ นักเรียนมากขึ้น 4. บางกลุ่มโรงเรียนขาดความเข้าใจ และแนวทางในการปฏิบัติที่ไม่ตรงกัน จึงท าให้เกิดความ คลาดเคลื่อนในเรื่องระยะเวลา จึงด าเนินการได้อย่างไม่สมบูรณ์ จึงขาดโอกาสในการแข่งขัน และเชื่อว่าในปี การศึกษานี้ ถ้ามีนโยบายดังกล่าวจะท าให้มีโรงเรียนเข้าประกวดและมีเรื่องที่น่าสนใจมากขึ้น 5. ควรมีแนวทางมาตรการวัดประเมินที่ชัดเจน ประชุม ผู้บริหารและครูทุกคนรับทราบ 6. การประกวดนวัตกรรม ควรให้ส่งโดยตรงที่ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา 7. ควรมีการแจ้งให้โรงเรียนทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1ภาคเรียน 8. การจัดกิจกรรมbest practice ควรอยู่ในช่วงเวลาเปิดเทอม 9. โครงมีงบประมาณสนับสนุนกิจกรรมให้มากกว่านี้ 10. ควรมีการอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง 11. ครูผู้สอนขาดความรู้ในการจัดกิจกรรม Active Learning 28


3129


32 30


33 ที่ปรึกษา 1. นายสุพล จันต๊ะคาด ผู้อ านวยการสพป.ก าแพงเพชร เขต 1 2. นายประจักษ์ ศรสาลี รองผู้อ านวยการสพป.ก าแพงเพชร เขต 1 3. นายทินกร หมวกแก้ว รองผู้อ านวยการสพป.ก าแพงเพชร เขต 1 4. นายคงชนะ ปะมาคะเต รองผู้อ านวยการสพป.ก าแพงเพชร เขต 1 5. นางทิพวรรณ สุวรรณ ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ผู้จัดท า/คณะกรรมการปรับเกณฑ์การแข่งขัน 1. นางทิพวรรณ สุวรรณ ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา 2. นางเตือนใจ กุลมิ่ง ศึกษานิเทศก์สพป.ก าแพงเพชร เขต 1 3. นางวีระวรรณ หัดไทย ศึกษานิเทศก์สพป.ก าแพงเพชร เขต 1 4. นางจันแรม พงษ์สิงห์ ศึกษานิเทศก์สพป.ก าแพงเพชร เขต 1 5. นางสาวสุชาดา ปุญปัน ศึกษานิเทศก์สพป.ก าแพงเพชร เขต 1 6. นางสุภา สุขป้อม ศึกษานิเทศก์สพป.ก าแพงเพชร เขต 1 7. นางสาวจารุนันต์ หมู่อ าพันธ์ ศึกษานิเทศก์สพป.ก าแพงเพชร เขต 1 8. นางสาวธัญณัฏฐ์นรี ศรีพัก ศึกษานิเทศก์สพป.ก าแพงเพชร เขต 1 9. นางสาววิรัลพัชร สุรเดช ศึกษานิเทศก์สพป.ก าแพงเพชร เขต 1 10. นางสาวศิริขวัญ กลางสุพรรณ ศึกษานิเทศก์สพป.ก าแพงเพชร เขต 1 11. นางสาวพัสฏาพรห์ ค าจันทร์ ศึกษานิเทศก์สพป.ก าแพงเพชร เขต 1 12. นางขวัญชนก แสงท่านั่ง ศึกษานิเทศก์สพป.ก าแพงเพชร เขต 1 13. นางณัชชา ประดิษฐ์ ศึกษานิเทศก์สพป.ก าแพงเพชร เขต 1 รวบรวม/ รูปเล่ม / ออกแบบปก นางณัชชา ประดิษฐ์ ศึกษานิเทศก์สพป.ก าแพงเพชร เขต 1 31


34 ปกหลัง 39


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.