เทอม 2 สรุปแบบประเมินห้องเรียนคุณภาพครูสุธีรา2565 Flipbook PDF

เทอม 2 สรุปแบบประเมินห้องเรียนคุณภาพครูสุธีรา2565

52 downloads 121 Views 11MB Size

Story Transcript



คำนำ แบบรายงานการดาเนิ น การห้ องเรียนคุณ ภาพระดับ การศึกษาขั้น พื้ นฐาน จัดท าขึ้น เพื่ อรวบรวม หลักฐานเอกสารต่าง ๆทีเ่ กี่ยวข้องการกับการดาเนินงานตามโครงการการประเมินห้องเรียนคุณภาพสู่คุณภาพ การศึกษา ปี การศึก ษา 2565 โดยมีก ารรายงานผลการดาเนิ นงานใน 3 ด้ าน คือ ด้านที่ 1 ด้านการจั ด สภาพแวดล้อมที่เอื้อและส่งเสริมการเรียนรู้ ด้านที่ 2 ด้านคุณภาพของครู และด้านที่ 3 ด้านคุณภาพนักเรียน รายงานฉบับนี้ ได้รวบรวมผลการดาเนินงานตามประเด็นการพิจารณา โดยมีรายละเอียดของการปฏิบัติงาน เอกสารหลักฐาน/ร่องรอยและประมวลภาพกิจกรรมและหลักฐานที่ เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการ นาเสนอข้อมูลสาหรับท่านคณะกรรมการในการประเมิน ตามเกณฑ์ห้องเรียนคุณภาพ ในการประเมิน ทั้งหมด 3 ด้าน 30 ประเด็นการพิจารณา ผู้จัดทาหวังว่ารายงานผลการปฏิบัติงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อท่าน คณะกรรมการ เพื่อประกอบการพิจารณาต่อไป

นางสาวสุธีรา หล้าจันทร์ ตาแหน่ง ครู

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน



สำรบัญ หน้ำ คานา



สารบัญ



ข้อมูลทั่วไป

1

ด้ำนที่ 1 ด้ำนกำรจัดสภำพแวดล้อมที่เอื้อและส่งเสริมกำรเรียนรู้

2

1.1 ความสะอาด และการจัดสภาพห้องเรียนที่มีบรรยากาศที่ดี

3

1.2 การจัดบรรยากาศห้องเรียนที่เอื้อและส่งเสริมการเรียนรู้

8

1.3 ห้องเรียนมีแสงสว่างเพียงพอ อากาศถ่ายเทสะดวกและมีความปลอดภัยสาหรับนักเรียน

13

1.4 การแสดงผลงานของนักเรียนเป็นปัจจุบัน

15

ด้ำนที่ 2 ด้ำนคุณภำพของครู

18

2.1 ครูรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล

19

2.2 ครูมีการใช้จิตวิทยาการเรียนรู้ และการเสริมแรงทางบวก

29

2.3 ครูใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน

32

2.4 ครูมีหน่วยการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญและ

35

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลาง 2.5 ครูจัดทาและใช้แผนการจัดการเรียนรู้ตามหน่วยการเรียนรู้

42

2.6 ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

46

2.7 ครูมีการวัดผล และประเมินผลที่เป็นไปตามหลักการและกระบวนการของการวัดผลและ

50

ประเมินผลตามหลักสูตร 2.8 ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียน

54

2.9 ครูศึกษาและพัฒนาตนเอง

60

ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน

65

3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของนักเรียน

66

3.1.1 ความสามารถในการอ่านตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น

66

3.1.2 ความสามารถในการเขียนตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น

71

3.1.3 ความสามารถในการสื่อสารภาษาไทยตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น

75

3.1.4 ความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น

81

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน



สำรบัญ หน้ำ

3.1.5 ความสามารถในการคิดคานวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น

84

3.1.6 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น

87

และแก้ปัญหา 3.1.7 ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม

93

3.1.8 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสาร

97

3.1.9 ความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ

102

3.1.10 ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดซึ่งได้แก่ความสามารถใน การสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3.1.11 ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนจาก การวัดผลปลายปีของแต่ละชั้น

108

3.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

113

111

3.2.1 การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและ วัฒนธรรมอันดีงามของสังคม 3.2.2 การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

113

3.2.3 ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

121

3.2.4 การยอมรับเหตุผลความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี

124

3.2.5 การมีวิธีรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษาอารมณ์ และสุขภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ

127

3.2.6 การไม่เพิกเฉยต่อการกระทาสิ่งที่ไม่ถูกต้องและอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัวชุมชนและสังคม

134

3.2.7 การมีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ซึ่งระบุไว้ 8 ประการ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ

136

118

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

1

แบบประเมินห้องเรียนคุณภำพระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำลำพูน เขต 1 ……………………………………………..

1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 โรงเรียนอนุบาลลาพูน 1.2 เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาอาเภอ เมือง 1 1.3 ชื่อครูประจาห้องเรียน นางสาวสุธีรา หล้าจันทร์

ตาแหน่ง ข้าราชการ

1.4 รายละเอียดระดับชั้นเรียนที่จะดาเนินการประเมินห้องเรียนคุณภาพ 1.4.1 ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ (นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5)

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

2

ด้ำนที่ 1 ด้ำนกำรจัดสภำพแวดล้อมที่เอื้อและ ส่งเสริมกำรเรียนรู้

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

3 ผลกำรดำเนินกำรห้องเรียนคุณภำพ คำชี้แจง 1. เกณฑ์ห้องเรียนคุณภาพเพื่อการประเมินนี้มีทั้งหมด 3 ด้าน 30 ประเด็นการพิจารณา กาหนดให้ประเมิน ครบทุกประเด็นการพิจารณา โดยแต่ละประเด็นการพิจารณามีค่าคะแนน 5 คะแนน รวมทั้งหมด 150 คะแนน 2. ให้ทาเครื่องหมาย  ในช่องระดับคุณภาพที่ตรงกับระดับที่ประเมิน 3. ในประเด็นด้านที่ตรวจสอบรายการ ให้ทาเครื่องหมาย  ถ้าปรากฏข้อมูลตามสภาพจริง ด้ำนที่ 1 ด้ำนกำรจัดสภำพแวดล้อมที่เอื้อและส่งเสริมกำรเรียนรู้ (15 คะแนน) ประเด็นกำรพิจำรณำ 1.1 ความสะอาด และการจัดสภาพห้องเรียนที่มีบรรยากาศที่ดี (5 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 1.1 การจัดบรรยากาศ ห้องเรียนที่เอื้อและส่งเสริม การเรียนรู้ (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ 1. มีความสะอาด ความเป็นระเบียบ 2. มีป้ายชื่อชั้นเรียนกากับทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3. มีป้ายชื่อครูประจาชั้น 4. มีป้ายชื่อ-สกุลของผู้เรียน 5. มีสัญลักษณ์ของชาติ, ศาสนา, พระมหากษัตริย์ 6. มีป้ายข้อตกลงของห้องเรียน 7. มีมาตรการป้องกัน และเฝ้าระวังความปลอดภัย ตามสถานการณ์ปัจจุบัน 8. มีสื่อ/เทคโนโลยีสารสนเทศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ 9. มีป้ายนิเทศที่สอดคล้องกับการเรียนการสอนและสถานการณ์ปัจจุบัน 10. มีการจัดตกแต่งห้องเรียนให้สวยงาม ใช้สีสันเหมาะสม และเอื้อต่อ การเรียนรู้ ระดับคะแนน ระดับ 1  ปฏิบัติได้น้อยกว่า 4 รายการ ระดับ 2  ปฏิบัติได้ 4-5 รายการ ระดับ 3  ปฏิบัติได้ 6-7 รายการ ระดับ 4  ปฏิบัติได้ 8-9 รายการ ระดับ 5  ปฏิบัติได้ครบทุกรายการ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

4 รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้าพเจ้าได้มีการบริหารจัดการ ดูแลชั้นเรียน 1. ภาพถ่ายการจัดบรรยากาศสภาพห้องเรียน ให้มีบรรยากาศที่ดี สะอาด ที่เอื้อต่อการจัดการเรียน 2. ป้ายชื่อห้องเรียน / ป้ายชื่อครูประจาห้องเรียน การสอนอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ 3. ข้อตกลงร่วมกันในชั้นเรียน และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยได้ดาเนินการ ดังนี้ 1. การจัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศห้องเรียน ให้น่าอยู่ - มีความสะอาด ความเป็นระเบียบ - มีป้ายชื่อชั้นเรียนกากับทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ - มีป้ายชื่อครูประจาชั้น - มีสัญลักษณ์ของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ - มีป้ายข้อตกลงของห้องเรียน 2. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี ต่อกันระหว่างครูกับนักเรียนและนักเรียนกับนักเรียน เช่น ความเป็นประชาธิปไตยในชั้นเรียน การร่วมมือ กันในการทางาน การแบ่งกลุ่ม การจัดบอร์ด การจัด โต๊ะเก้าอี้ การรักษาสิ่งแวดล้อม การรักษาความเป็น ระเบียบในห้องเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

5 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ

มีสัญลักษณ์ของชำติ ศำสนำ พระมหำกษัตริย์

มีป้ำยชื่อชั้นเรียนเป็นภำษำไทย / ภำษำอังกฤษ

มีป้ำยชื่อครูประจำชั้นเป็นภำษำไทย / ภำษำอังกฤษ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

6 ข้อตกลงร่วมกันในห้องเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

7 ด้ำนที่ 1 ด้ำนกำรจัดสภำพแวดล้อมที่เอื้อและส่งเสริมกำรเรียนรู้ (15 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 1.2 ห้องเรียนมีแสงสว่ำง เพียงพออำกำศ ถ่ำยเท สะดวกและมีควำม ปลอดภัยสำหรับนักเรียน (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน  1. มีไฟฟ้า และแสงสว่างเพียงพอ  2. มีอากาศถ่ายเทสะดวก  3. ไม่มีกลิ่นรบกวน  4. ไม่มีเสียงรบกวน  5. ระบบไฟฟ้ามีความปลอดภัย ระดับคะแนน ระดับ 1 ปฏิบัติได้น้อยกว่า 2 รายการ ระดับ 2  ปฏิบัติได้ 2 รายการ ระดับ 3  ปฏิบัติได้ 3 รายการ ระดับ 4  ปฏิบัติได้ 4 รายการ ระดับ 5  ปฏิบัติได้ครบทุกรายการ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

8 ประเด็นกำรพิจำรณำ 1.2 ห้องเรียนมีแสงสว่ำงเพียงพออำกำศ ถ่ำยเทสะดวกและมีควำมปลอดภัย สำหรับนักเรียน (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้าพเจ้าได้มีการบริหารจัดการห้องเรียนมี แสงสว่างเพียงพอ อากาศถ่ายเทสะดวกและมีความ ปลอดภัยสาหรับนักเรียน โดยได้ดาเนินการ ดังนี้ 1. มีไฟฟ้าและแสงสว่างเพียงพอ 2. มีอากาศถ่ายเทสะดวก 3. ไม่มีกลิ่นรบกวน 4. ไม่มีเสียงรบกวน 5. ระบบไฟฟ้ามีความปลอดภัยสาหรับนักเรียน

1. ภาพบรรยากาศในห้องเรียนทีมีไฟฟ้าเพียงพอ อากาศถ่ายเทสะดวก 2. ภาพบรรยากาศในห้องเรียนทีมีระบบไฟฟ้ามีความ ปลอดภัยสาหรับนักเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

9 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ

ภำพบรรยำกำศในห้องเรียนทีมีไฟฟ้ำเพียงพอ อำกำศถ่ำยเทสะดวก

ภำพบรรยำกำศในห้องเรียนทีมีระบบไฟฟ้ำมีควำมปลอดภัยสำหรับนักเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

10 มีสื่อ ICT ที่พร้อมใช้งำน

มีมุมส่งเสริมกำรเรียนรู้

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

11 ป้ำยนิเทศที่สอดคล้องกับกำรเรียนกำรสอนและสถำนกำรณ์ปัจจุบัน

มีกำรจัดตกแต่งห้องเรียนให้สวยงำม ใช้สีสันเหมำะสม และเอื้อต่อกำรเรียนรู้

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

12 นักเรียนได้ใช้สื่อในมุมต่ำงๆอย่ำงคุ้มค่ำ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

13

ด้ำนที่ 1 ด้ำนกำรจัดสภำพแวดล้อมที่เอื้อและส่งเสริมกำรเรียนรู้ (15 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 1.3 กำรแสดงผลงำนของ นักเรียนเป็นปัจจุบัน (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ  1. มีกล่อง/แฟ้มเก็บผลงานผู้เรียนเป็นรายบุคคล  2. มีป้ายนิเทศแสดงผลงานที่เป็นปัจจุบัน  3. มีตู้/ชั้นเก็บชิ้นงานหรือวางแสดงผลงาน  4. ผลงานผู้เรียนมีความหลากหลาย  5. ผลงานผู้เรียนได้รับการประเมินและสะท้อนคุณภาพของผู้เรียนจากครู ระดับคะแนน ระดับ 1 ปฏิบัติได้น้อยกว่า 2 รายการ ระดับ 2  ปฏิบัติได้ 2 รายการ ระดับ 3  ปฏิบัติได้ 3 รายการ ระดับ 4  ปฏิบัติได้ 4 รายการ ระดับ 5  ปฏิบัติได้ครบทุกรายการ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

14 ประเด็นกำรพิจำรณำ 1.3 กำรแสดงผลงำนของนักเรียนเป็นปัจจุบัน ( 5 คะแนน ) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน ข้าพเจ้าได้มีการบริหารจัดการชั้นเรียนการ แสดงผลงานของนักเรียนเป็นปัจจุบัน โดยได้ ดาเนินการ ดังนี้ 1.มีแฟ้มเก็บผลงานนักเรียนเป็นรายบุคคล รายวิชา 2.มีป้ายนิเทศ บอร์ดแสดงผลงานของนักเรียน 3.มีที่จัดเก็บผลงานและที่จัดแสดงผลงานของ นักเรียน 4.ผลงานของนักเรียนมีความหลากหลาย 5.ผลงานนักเรียนได้รับการประเมินและตรวจ จากครูเพื่อนหรือผู้เกี่ยวข้อง

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย 1.ภาพการจัดเก็บเอกสารงานธุรการชั้นเรียนและ แฟ้มเก็บผลงานนักเรียนเป็นรายบุคคล 2. ป้ายนิเทศในห้องเรียน บอร์ด มุมแสดงผลงาน นักเรียน 3. มีการจัดเก็บและแสดงผลงานนักเรียน 4. ผลงานนักเรียน 5. ผลงานนักเรียนได้รับการประเมินและตรวจจาก ครู เพื่อนหรือผู้เกี่ยวข้อง

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

15 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ

ภำพกำรจัดเก็บเอกสำรงำนธุรกำรชั้นเรียนและแฟ้มเก็บผลงำนนักเรียนเป็นรำยบุคคล

กำรจัดป้ำยนิเทศในห้องเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

16 ผลงำนนักเรียนรำยบุคคล

ผลงำนนักเรียนได้รับกำรประเมินและตรวจจำกครู เพื่อนหรือผู้เกี่ยวข้อง

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

17 ข้อเสนอแนะจำกกำรประเมินห้องเรียนคุณภำพ ด้ำนที่ 1 ด้ำนกำรจัดสภำพแวดล้อมที่เอื้อและส่งเสริมกำรเรียนรู้ 1.จุดเด่น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.จุดที่ควรพัฒนำ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

18

ด้ำนที่ 2 ด้ำนคุณภำพของครู

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

19 ด้ำนที่ 2 ด้ำนคุณภำพของครู (45 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 2.1 การรู้จักผู้เรียนเป็น รายบุคคล (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1  ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคลแต่ไม่มีบันทึก ข้อมูล ระดับ 2  ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนเป็นราย บุคคลมีบันทึก ข้อมูลเป็นรายบุคคล ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน เหมือนกันทั้งห้อง ระดับ 3 ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคลมีบันทึกข้อมูล เป็นรายบุคคล มีการวิเคราะห์และจัดกลุ่มผู้เรียน นาข้อมูลไปออกแบบการ เรียนรู้เหมือนกันทั้งห้อง ระดับ 4 ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนเป็นราย บุคคลมีบันทึกข้อมูล เป็นรายบุคคล มีการวิเคราะห์และจัดกลุ่มผู้เรียน นาข้อมูลไปออกแบบการ เรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนเป็นรายกลุ่ม ระดับ 5 ครูเข้าใจความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคลมีหลักฐานการ วิเคราะห์และจัดกลุ่มผู้เรียน นาผลการวิเคราะห์ข้อมูลไปใช้ในการออกแบบ การเรียนรู้เป็นรายกลุ่มกาหนดเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ จัดระบบสารสนเทศ อย่างเป็นระบบ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

20 ประเด็นกำรพิจำรณำ 2.1 ครูรู้จักนักเรียนเป็นรำยบุคคล (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้ า พเจ้ า ได้ ด าเนิ น การวิ เ คราะห์ ผู้ เ รี ย นเป็ น รายบุ ค คลและใช้ ข้ อ มู ล ในการวาง แผนการเรีย นรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ดังนี้ 1.การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 1. รายงานการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 1.1 การศึกษา รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน 2. แบบบันทึกภาวะโภชนาการของนักเรียน นักเรียนเป็นรายบุคคล โดยวิธกี าร - ตรวจสอบจากข้อมูล เอกสารของ สถานศึกษา ระเบียบสะสมและแฟ้มสะสมงานของ นักเรียน - สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต เยี่ยมบ้าน 1.2 การสารวจข้อมูลพื้นฐานจากครูผู้สอนเดิม - การวิเคราะห์ด้านความสามารถ ในการอ่าน เขียน 1.3 การวิเคราะห์สารสนเทศผู้เรียนเป็น รายบุคคล - ข้อมูลระดับผลการเรียนของผู้เรียน - ข้อมูลฐานะทางเศรษฐกิจของผู้เรียน - ข้อมูลฐานะสภาพครอบครัวของผู้เรียน - ข้อมูลพฤติกรรมการมาเรียนของผู้เรียน - ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนเป็น รายบุคคล 1.4 การวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย แนวทางใน การพัฒนาของผู้เรียนเป็นรายบุคคล 2. การจัดทาเอกสารบันทึกข้อมูล 2.1 รวบรวมข้อมูลจัดเก็บเป็นรายบุคคล รายชั้นเรียน และจัดทาสารสนเทศอย่างเป็นระบบ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

21 รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

3. การคัดกรองและจัดกลุ่มนักเรียน 3.1 จัดกลุ่มผู้เรียนตามสภาพความต้องการแก้ปัญหา หรือพัฒนาจากข้อมูลการวิเคราะห์ผู้เรียน 3.2 การจัดกลุ่มผู้เรียนโดยให้แต่ละกลุ่มมีความ สอดคล้องใกล้เคียงกันตามจุดเน้นระดับชั้น เพื่อดูแล ติดตามความสามารถ 4. การวางแผนการจัดการเรียนรู้พัฒนาผู้เรียน 4.1 จัดทาแนวทางกิจกรรมการพัฒนารายบุคคลที่ เป็นการแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ จากการ วิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของผู้เรียน 4.2 การจัดกิจกรรมที่เอื้อตามความสามารถ ความ ถนัดและความสนใจของผู้เรียน 5. การจัดกิจกรรมปรับพื้นฐานและส่งเสริม 5.1 การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนที่ต้องการความ ช่วยเหลือได้รับการปรับพื้นฐานที่เหมาะสมกับ สภาพปัญหา และผู้เรียนที่ต้องได้รับการส่งเสริม ได้เข้าร่วมกิจกรรม 6. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 6.1 การจัดทา SDQ โดยนักเรียนประเมินตนเอง ผู้ปกครองประเมินนักเรียน และครูประเมินนักเรียน 6.2 การช่วยเหลือนักเรียนเป็นรายบุคคล 6.3 การแจ้งผลช่วยเหลือนักเรียน 6.4 การสรุปการดาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน 6.5 การส่งต่อ จัดส่งต่อข้อมูลสารสนเทศให้ระดับชั้น ที่สูงขึ้น 7. การนาผลการวิเคราะห์ข้อมูลไปใช้ในการออกแบบการ เรียนรู้ 8. การนาผลการวิเคราะห์ข้อมูลไปจัดทาวิจัย ในชั้นเรียน

- แบบคัดกรองนักเรียนรายบุคคล

-. แบบสรุปผลการคัดกรอง - แบบบันทึกข้อมูลนักเรียนรายบุคคล

- แบบประเมิน SDQ

- รายงานการวิจัยในชั้นเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

22 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ บันทึกข้อมูลรำยบุคคล

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

23 แบบบันทึกภำวะโภชนำกำรของนักเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

24 แบบสรุปกำรคัดกรองนักเรียนรำยบุคคล

แบบสรุปกำรคัดกรองนักเรียนรำยบุคคล

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

25

แบบประเมิน SDQ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

26

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

27 กำรประเมินผู้เรียนรำยบุคคล

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

28

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

29 ด้ำนที่ 2 ด้ำนคุณภำพของครู (45 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 2.2 การใช้จิตวิทยา การเรียนรู้ และ การ เสริมแรงทางบวก (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1  ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตรแต่ไม่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น ระดับ 2 ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตร เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดง ความคิดเห็น รับฟังอย่างเข้าใจและให้เกียรติ ระดับ 3 ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตร เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดง ความคิดเห็น รับฟังอย่างเข้าใจและให้เกียรติ ใช้คาถามให้ผู้เรียนสะท้อน ความรู้สึก หาสาเหตุ และผลการกระทาบนพื้นฐานการยอมรับของผู้เรียน ระดับ 4 ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตร เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดง ความคิดเห็น รับฟังอย่างเข้าใจและให้เกียรติใช้คาถามให้ผู้เรียนสะท้อน ความรู้สึก หาสาเหตุ และผล การกระทาบนพื้นฐานการยอมรับของผู้เรียน ใช้คาถามให้ผู้เรียนประเมินและเลือกทางเลือก กาหนดแนวปฏิบัติที่เกิดผลดี กับตนเองโดยสร้างข้อตกลงร่วมกัน ระดับ 5  ครูสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดง ความคิดเห็น รับฟังอย่างเข้าใจและให้เกียรติ ใช้คาถามให้ผู้เรียนสะท้อน ความรู้สึก หาสาเหตุ และผลการกระทาบนพื้นฐานการยอมรับของผู้เรียนใช้ คาถามให้ผู้เรียนประเมินและเลือกทางเลือก กาหนดแนวปฏิบตั ิที่เกิดผลดีกับ ตนเองโดยสร้างข้อตกลงร่วมกันครูเสริมแรงให้เกิดการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจน เกิดผลดีต่อตนเองและสังคมมีความภาคภูมิใจและยึดถือปฏิบัติอย่างยั่งยืน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

30 ประเด็นกำรพิจำรณำ 2.2 กำรใช้จิตวิทยำกำรเรียนรู้ และกำรเสริมแรงทำงบวก (5 คะแนน)

รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้ า พเจ้ า ได้ มี ก ารใช้ จิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู้ และการเสริ ม แรงทางบวกกั บ นั ก เรี ย นในการ ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยได้ปฏิบัติ ดังนี้ 1.การสื่อสารกับผู้เรียนด้วยท่าทีที่เป็นมิตร 1. แบบบันทึกข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล 2. เปิ ด โอกาสให้ ผู้ เรี ย นได้ แ สดงความรู้ สึ ก 2. ระเบียนสะสมของนักเรียน นึกคิด ครูรับฟังอย่างเข้าใจและให้เกียรติผู้เรียน 3.การใช้คาถามเพื่อให้ผู้เรียนสามารถสะท้อน ความรู้สึก หาสาเหตุ และผลการกระทาบนพื้นฐาน การยอมรับของผู้เรียน 4.ให้ผู้เรียนประเมินและเลือกทางเลือก ในการปฏิบัติต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง 5. มีการกาหนดแนวปฏิบัติที่เกิดผลดีกับผู้เรียน โดยการสร้างข้อตกลงร่วมกันในการทางาน 6. ครูมีการให้กาลังใจและเสริมแรงทางบวก เพื่อให้เกิดการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนเกิดผลดีต่อ ตนเองและสังคม มีความภาคภูมิใจและถือปฏิบัติ อย่างยั่งยืน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

31 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ แบบบันทึกข้อมูลนักเรียนเป็นรำยบุคคล

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

32 ด้ำนที่ 2 ด้ำนคุณภำพของครู (45 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 2.3 กำรใช้ ICT เพื่อกำร สอนและสนับสนุนกำร สอน (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ  1. ครูให้ผู้เรียนทุกคน ใช้สื่อ ICT เพื่อฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมการเรียนรู้ และตามความต้องการในชั้นเรียนและหรือการเรียนตามรูปแบบวิธีการสอน ที่ดาเนินการจัดการเรียน การสอน  2. ครูใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ได้ในชั้นเรียนและหรือการเรียนตามรูปแบบวิธีการสอนที่ดาเนินการจัดการ เรียนการสอน  3. ครูมีทักษะพื้นฐานในการใช้สื่อ ICT ในชั้นเรียนและหรือการเรียน ตามรูปแบบวิธีการสอนที่ดาเนินการจัดการเรียนการสอน  4. ครูออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในชั้นเรียนและหรือการเรียน ตามรูปแบบวิธีการสอนที่ดาเนินการจัด การเรียนการสอน  5. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อ ICT ในชั้นเรียนและหรือการเรียน ตามรูปแบบวิธีการสอนที่ดาเนินการจัด การเรียนการสอน ระดับคะแนน ระดับ 1  ปฏิบัติได้ 1 รายการ ระดับ 2  ปฏิบัติได้ 2 รายการ ระดับ 3  ปฏิบัติได้ 3 รายการ ระดับ 4  ปฏิบัติได้ 4 รายการ ระดับ 5  ปฏิบัติได้ครบทุกรายการ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

33 ประเด็นกำรพิจำรณำ 2.3 กำรใช้ ICT เพื่อกำรสอนและสนับสนุนกำรสอน (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้าพเจ้าได้มีการใช้สื่อ ICT เพื่อการสอน และสนับสนุนในการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยได้ปฏิบัติ ดังนี้ 1.ภาพกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ ICT 1.นักเรียนทุกคนได้ใช้สื่อ ICT เพื่อฝึกปฏิบัติใน 2. ภาพการจัดกิจกรรมการเรียนของครุผู้สอนโดยใช้ กิจกรรมการเรียนรู้และตามความต้องการ สื่อICT 2. ครูใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานใน กระบวนการจัดการเรียนรู้ได้ 3. ครูมีทักษะพื้นฐานในการใช้สื่อ ICT 4. ครูออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดย เปิดโอกาสให้นักเรียนใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง 5. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อ ICT

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

34 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ ภำพถ่ำยกำรจัดกำรเรียนกำรสอนโดยใช้สื่อ ICT

ภำพกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนของครุผู้สอนโดยใช้สื่อICT

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

35 ด้ำนที่ 2 ด้ำนคุณภำพของครู (45 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 2.4 การจัดทาหน่วย การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลาง (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1  ครูไม่มีหน่วยการเรียนรู้ สอนโดยใช้ประสบการณ์ ระดับ 2  ครูมีหน่วยการเรียนรู้ มีการวิเคราะห์ความสอดคล้องกับ มาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม หลักสูตรแต่ไม่ครบตามโครงสร้างหลักสูตรและไม่เป็นปัจจุบัน ระดับ 3  ครูมีหน่วยการเรียนรู้ ที่ครบตามโครงสร้างหลักสูตร โดยนามา จากตาราอื่น ๆ ระดับ 4 ครูมีหน่วยการเรียนรู้ ที่ครบตามโครงสร้างหลักสูตรโดยปรับมาจาก ตาราอื่น ๆ วิเคราะห์เทียบเคียงกับหลักสูตรแกนกลาง ความสอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ตวั ชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม หลักสูตรสถานศึกษา ระดับ 5  ครูมีหน่วยการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นเองครบตามโครงสร้าง หลักสูตรหน่วยการเรียนรู้ที่มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร สถานศึกษา

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

36 ประเด็นกำรพิจำรณำ 2.4 กำรจัดทำหน่วยกำรเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตำมหลักสูตรแกนกลำง ( 5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้าพเจ้าได้มีการจัดทาหน่วยการเรียนรู้ที่ สอดคล้อง กับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะ สาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตร แกนกลาง ดังนี้ 1. การวิเคราะห์หลักสูตร 1.หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน - การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และ 2.โครงสร้างรายวิชา ตัวชี้วัดที่กาหนด เพื่อกาหนดเป้าหมายของการจัดการ 3.แผนการจัดการเรียนรู้ เรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและ ความสามารถตามที่ระบุไว้ในตัวชี้วัดแต่ละข้อ - จัดทาสาระการเรียนรู้ให้สัมพันธ์หรืออิง มาตรฐานตัวชี้วัดแต่ละข้อให้ชัดเจน 2. การจัดทาคาอธิบายรายวิชา 3. การจัดทาโครงสร้างรายวิชา - วิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา โดยวิเคราะห์ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ ปรากฏในคาอธิบายรายวิชาที่สามารถนามาจัด กิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกันได้ กาหนดเป็น โครงสร้างรายวิชา 4. หน่วยการเรียนรู้ - โดยเริ่มจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ เชื่อมโยงของมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดที่สามารถ นามาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันได้ รวมทั้งการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

37 รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

4.1. หน่วยการเรียนรู้มีองค์ประกอบ คือ - ชื่อหน่วยการเรียนรู้ - มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด - สาระสาคัญ สาระการเรียนรู้ 1.หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน - สมรรถนะสาคัญ 2.โครงสร้างรายวิชา - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.แผนการจัดการเรียนรู้ - ชิ้นงาน / ภาระงาน - การวัดและประเมินผล - กิจกรรมการเรียนรู้ - เวลาเรียน/จานวนชั่วโมง 5. กาหนดเวลาเรียน 5.1 กาหนดเวลาเรียนครบทุกหน่วยให้เท่ากับ จานวนในโครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรของกลุ่มสาระ 5.2 การกาหนดเวลาเรียนให้เหมาะสมและ เพียงพอกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาให้ ผู้เรียนมีความสามารถตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานการ เรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปี

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

38 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ หลักสูตรสถำนศึกษำ

หลักสูตรกลุ่มสำระ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

39 วิเครำะห์หลักสูตร

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

40 โครงสร้ำงหลักสูตรกำรสอน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

41 หน่วยกำรเรียนรู้อิงมำตรฐำน

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

42 ด้ำนที่ 2 ด้ำนคุณภำพของครู (45 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 2.5 การจัดทาและ ใช้แผนการจัด การเรียนรู้ตาม หน่วยการเรียนรู้ (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1  ครูไม่มีแผนการจัดการเรียนรู้ แต่สอนโดยใช้ประสบการณ์ ระดับ 2  ครูมีและใช้แผนการจัดการเรียนรู้ แต่ไม่สอดคล้องกับหน่วย การเรียนรู้ ระดับ 3  ครูใช้แผนการจัดการเรียนรู้จากเอกสาร ตาราอื่น ๆ โดยไม่ ปรับให้สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ ระดับ 4  ครูมีและใช้แผนการจัดการเรียนรู้จากเอกสาร ตาราอื่น ๆ ที่ สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียนตามระดับ ความสามารถ และปรับปรุงพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ระดับ 5 ครูจัดทาและใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนา ขึ้นเองด้วยการ วิเคราะห์จากหน่วยการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียนตามระดับ ความสามารถและมีการนาผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้มาปรับปรุง พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

43 ประเด็นกำรพิจำรณำ 2.5 กำรจัดทำและใช้แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหน่วยกำรเรียนรู้ (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้าพเจ้าได้จัดทาและใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ตามหน่วยการเรียนรู้ ดังนี้ 1.ศึกษาทบทวนคาอธิบายรายวิชา หน่วยการ 1.หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ การวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคล 2.แผนการจัดการเรียนรู้ - จัดทาแนวทางการพัฒนารายกลุ่มสาระการ 3.บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ เรียนรู้ 2.การวางแผนการจัดการเรียนรู้ - จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละหน่วย โดยกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งจะต้องนาผู้เรียน ไปสู่มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ ของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่กาหนดไว้ ในหน่วยการเรียนรู้ 3. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ - ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมายของการเรียนรู้ โดยใช้ เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลายเหมาะสม 4. การใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้ - เลือกใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ในกิจกรรม โดยการเลือกสื่อที่กระตุ้น ส่งเสริมให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ 5. การออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผล - ออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผล ให้เหมาะสมกับกิจกรรมและสิ่งที่ต้องการวัด

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

44 รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน 6. การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ - ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามข้อมูล การออกแบบการเรียนรู้และครบองค์ประกอบตาม รูปแบบที่โรงเรียนกาหนด 7. การสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ - ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนานักเรียนตาม ศักยภาพ แล้วบันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ 8. การนาผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้มา ปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย 1.หน่วยการเรียนรู้ 2.แผนการจัดการเรียนรู้ 3.บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

45 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ หน่วยกำรเรียนรู้อิงมำตรฐำนแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหน่วยกำรเรียนรู้

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

46 ด้ำนที่ 2 ด้ำนคุณภำพของครู (45 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 2.6 การจัดการเรียน การสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1  ครูไม่มีการวางแผนและเตรียมการสอน และบรรยากาศไม่เน้นการมีส่วน ร่วมของผู้เรียน สอนโดยใช้ประสบการณ์จัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยไม่เน้นการมีสว่ นร่วม ของผู้เรียนในชั้นเรียนและหรือการเรียนตามรูปแบบวิธีการสอนที่ดาเนินการจัดการ เรียนการสอน ระดับ 2 ครูมีการวางแผนและเตรียมการสอน สร้างบรรยากาศและเน้นการมีสว่ น ร่วมของผู้เรียน สอนตามลาดับที่กาหนดในแผน ใช้สื่อหรือแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสมจัด กิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยสร้างบรรยากาศและเน้นการมีสว่ นร่วมของผู้เรียนในชัน้ เรียนและ หรือการเรียนตามรูปแบบวิธีการสอนที่ดาเนินการจัดการเรียนการสอน ระดับ 3 ครูมีการวางแผนและเตรียมการสอน สร้างบรรยากาศและเน้นการมีสว่ น ร่วมของผู้เรียน สอนตามลาดับที่กาหนดในแผน ใช้สื่อหรือแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมกระบวนการคิดจัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยสร้างบรรยากาศ เน้นการมีสว่ นร่วมและส่งเสริมกระบวนการคิดของผู้เรียนในชัน้ เรียนและหรือการเรียน ออนไลน์ ระดับ 4 ครูมีการวางแผนและเตรียมการสอน สร้างบรรยากาศและเน้นการมีสว่ น ร่วมของผู้เรียน สอนตามลาดับที่กาหนดในแผน ใช้สื่อหรือแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมกระบวนการคิด รูปแบบกิจกรรมมีความหลากหลายและ บูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยสร้างบรรยากาศ เน้นการมีสว่ นร่วมส่งเสริม กระบวนการคิดของผู้เรียน และรูปแบบกิจกรรม มีความหลากหลายในชั้นเรียนและหรือ การเรียนตามรูปแบบวิธีการสอนทีด่ าเนินการจัดการเรียนการสอน ระดับ 5 ครูมีการวางแผนและเตรียมการสอน สร้างบรรยากาศ และเน้นการมีสว่ น ร่วมของผู้เรียน สอนตามลาดับที่กาหนดในแผน ใช้สื่อหรือแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมกระบวนการคิด รูปแบบกิจกรรมมีความหลากหลาย และ บูรณาการให้ผเู้ รียนเรียนรู้อย่างมีความสุขจัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยสร้างบรรยากาศ เน้นการมีสว่ นร่วมส่งเสริมกระบวนการคิดของผู้เรียน มีการใช้กระบวนการเรียนรู้ ซึ่ง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองโดยมีการบูรณาการรูปแบบกิจกรรมมี ความหลากหลายในชั้นเรียนและหรือการเรียนตามรูปแบบวิธีการสอนที่ดาเนินการ จัดการเรียนการสอน งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

47 ประเด็นกำรพิจำรณำ 2.6 กำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (5 คะแนน)

รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้าพเจ้าได้จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดย ได้ปฏิบัติ ดังนี้ 1.การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดสมรรถนะ สาคัญของผู้เรียนในการจัดการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.หน่วยการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2.แผนการจัดการเรียนรู้ 2.การใช้หลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ 3.บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 2.1 การจัดการเรียนรู้ที่คานึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคล 2.2 การจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง 2.3 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณธรรม จริยธรรม 3. การจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ 4. จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรียนรู้ 5.การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้ที่จาเป็นสาหรับผู้เรียน เช่น 5.1 กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ 5.2 กระบวนการสร้างความรู้ 5.3 กระบวนการคิด 5.4 กระบวนการทางสังคม 5.5 กระบวนการปฏิบัติ 5.6 กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง 5.7 กระบวนการวิจัย 5.8 กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง 5.9 กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

48 รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

6. ประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วย วิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมธรรมชาติของวิชาใน แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ และระดับพัฒนาการของ ผู้เรียน 7. วิเคราะห์ผลการประเมิน เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ ในการซ่อมเสริม และพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ของตนเองด้วยกระบวนการวิจัย

1.หน่วยการเรียนรู้ 2.แผนการจัดการเรียนรู้ 3.บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

49 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ หน่วยกำรเรียนรู้อิงมำตรฐำน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

50 ด้ำนที่ 2 ด้ำนคุณภำพของครู (45 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 2.7 กำรวัดผล และประเมินผล ที่เป็นไปตำม หลักกำรและ กระบวนกำร ของกำรวัดผล และประเมินผล ตำมหลักสูตร (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดั บ 1 ครู มี ก ารวัด และประเมิ น ผลตามสภาพจริงแต่ ไม่ มี เกณฑ์ การ ประเมินผลงาน/ชิ้นงานผู้เรียน ระดับ 2 ครูมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการและเครื่องมือ ที่หลากหลายและมีเกณฑ์การประเมินผลงาน/ชิ้นงาน ผู้เรียนครอบคลุมตาม มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด /จุดประสงค์การเรียนรู้ ระดับ 3 ครูมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการและเครื่องมือที่ หลากหลาย มีเกณฑ์การประเมินผลงาน/ชิ้นงานผู้เรียนครอบคลุมมาตรฐาน/ ตัวชี้วัด /จุดประสงค์การเรียนรู้นาผลการประเมินมาวิเคราะห์จุดเด่น จุด ด้อยของผู้เรียนและสะท้อนผลสู่ผู้เรียนเพื่อการพัฒนา ระดับ 4 ครูมีการวัดและ ประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการและเครื่องมือที่ หลากหลาย มีเกณฑ์ การประเมิ นผลงาน/ชิ้ นงานครอบคลุ มมาตรฐาน/ตั ว ชี้ วัด / จุดประสงค์การเรียนรู้นาผลการประเมินมาวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของผู้เรียน สะท้ อนผลสู่ ผู้ เรียนเพื่อการพั ฒนา จัดกลุ่มผู้ เรียนและออกแบบการจัดการเรียนรู้ อย่างเหมาะสม ระดับ 5 ครูมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการและเครื่องมือ ที่หลากหลาย มีเกณฑ์การประเมินผลงาน/ชิ้นงานครอบคลุมมาตรฐาน/ตัวชี้วัด / จุดประสงค์การเรียนรู้ มีการนาผลการประเมินมาวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของ ผู้เรียนและสะท้อนผลสู่ผู้เรียนเพื่อการพัฒนามีการนาผลการประเมินมาจัดกลุ่ม ผู้เรียนและออกแบบการจัดการเรียนรู้อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง มีการรายงาน ผลต่อผู้เกี่ยวข้องเพื่อใช้ผลการพัฒนาผู้เรียนร่วมกัน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

51 ประเด็นกำรพิจำรณำ 2.7 กำรวัดผล และประเมินผลที่เป็นไปตำมหลักกำรและกระบวนกำรของกำร วัดผล และประเมินผลตำมหลักสูตร (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติการวัดผลและประเมินผลที่ เป็นไปตามหลักการและกระบวนการของการวัดผล และประเมินผลตามหลักสูตร ดังนี้ 1. การประเมินระดับชั้นเรียน - เพือ่ ตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนากาความก้าวหน้า ในการเรียนรู้ อันเป็นผลมาจาก การจัดกิจกรรม การเรียนรู้หรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่ จะต้องได้รับการพัฒนา ปรับปรุง และส่งเสริมใน ด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ครูผู้สอนใช้ ปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของตนด้วย ดังนี้ 1.1 ประเมินก่อนเรียน - ตรวจสอบความพร้อมความรู้พื้นฐาน - เครื่องมือ ได้แก่ แบบทดสอบ แบบ สารวจรายการ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ - นาผลการประเมินไปวางแผนการแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาศักยภาพรายบุคคล รายกลุ่ม 1.2 ประเมินระหว่างเรียน - ตรวจสอบผลการพัฒนาความก้าวหน้า ทา.การเรียนของผู้เรียน - เน้นการประเมินสภาพจริง เช่น การประเมินภาคปฏิบัติ การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน แบบบันทึก แบบสรุป ความรู้ และแบบทดสอบ -นาผลการประเมินไปปรับปรุง พัฒนา คุณภาพตามศักยภาพรายบุคคล รายกลุ่ม รายห้องเรียน

1. 2. 3. 4. 5. 6.

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ผลงาน/ชิ้นงานนักเรียน เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน แบบทดสอบก่อน – หลังเรียนประจา หน่วยการเรียนรู้ 7. แบบทดสอบประจาภาคเรียน/ปลายปี 8. บันทึกหลังการสอน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

52 รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

1.3 ประเมินหลังเรียน - ตรวจสอบผลส าเร็ จ การเรี ย นรู้ ข อง ผู้เรียนหลังแผนการจัดการเรียนรู้/หน่วยการเรียนรู้ - ใช้วิธีการ/เครื่องมือที่เป็นมาตรฐาน - นาผลการประเมินไปวางแผนแก้ไขและ พัฒนา นาไปสู่การวิจัยในชั้นเรียน 2. การประเมินระดับสถานศึกษา - เพื่ อตรวจสอบผลการเรีย นของผู้เรียนเป็ น รายปี / รายภ าค ผลการป ระเมิ น การอ่ า น คิ ด วิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ กิจ กรรมพั ฒ นาผู้เรีย น ซึ่งเป็ น การประเมินเกี่ยวกับ การจัดการศึกษาของสถานศึกษา

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

53 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ ผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนที่เป็นผลงานจากการจัดการเรียนรู้

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

54 ด้ำนที่ 2 ด้ำนคุณภำพของครู (45 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 2.8 กำรร่วมชุมชนกำร เรียนรู้ทำงวิชำชีพ (PLC) มีผลงำนกำรวิจัย ในชั้นเรียน (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ  1. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)มีการนาข้อมูลนักเรียน เป็นรายบุคคล มาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหานักเรียน 2. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการพัฒนานวัตกรรมการ แก้ไขปัญหานักเรียนร่วมกัน เพื่อนานวัตกรรม ที่พัฒนาขึ้นไปใช้แก้ไขปัญหา นักเรียนในห้องเรียนของตนเอง 3. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนานวัตกรรมไปใช้แก้ไขปัญหานักเรียนในห้องเรียน ของตนเอง  4. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการจัดทาและ รายงานวิจัยชั้นเรียนเกี่ยวกับการใช้และพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ตามที่ตกลงร่วมกัน  5. ครูเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการนาผลการวิจัยใน ชั้นเรียนไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show & Share) ในกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ ระดับคะแนน ระดับ 1  ปฏิบัติได้ 1 รายการ ระดับ 2  ปฏิบัติได้ 2 รายการ ระดับ 3  ปฏิบัติได้ 3 รายการ ระดับ 4  ปฏิบัติได้ 4 รายการ ระดับ 5  ปฏิบัติได้ครบทุกรายการ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

55 ประเด็นกำรพิจำรณำ 2.8 กำรร่วมชุมชนกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ (PLC) มีผลงำนกำรวิจัย ในชั้นเรียน รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน (5 คะแนน) เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติในการเข้าร่วมชุมชนการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC ) มีผลงานการวิจัยในชั้น เรียน โดยปฏิบัติดังนี้ 1.การเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC )แล้วนาข้อมูลนักเรียนรายบุคคล มาใช้ในการ วิเคราะห์ปัญหานักเรียน 2.การพัฒนานวัตกรรมการแก้ไขปัญหานักเรียน ร่วมกัน เพื่อนานวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นไปใช้แก้ไข ปัญหานักเรียนในห้องเรียนของตนเอง 3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อพัฒนา นวัตกรรมไปใช้แก้ไขปัญหานักเรียนในห้องเรียนของ ตนเอง 4. การจัดทาและรายงานวิจัยชั้นเรียนเกี่ยวกับ การใช้และพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามที่ ตกลงร่วมกัน 5. การนาผลการวิจัยในชั้นเรียนไปแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

1. การบันทึกกิจกรรมการเข้าร่วมชุมชนการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) 2. ปฏิทินการปฏิบัติงาน 3. สื่อ/ นวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน 3. วิจัยชั้นเรียน - งานวิจัยภาคเรียนที่ 1/2565 - งานวิจัยภาคเรียนที่ 2/2565

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

56 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ การเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

57 ปฏิทินการปฏิบัติงาน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

58 วิจัยชั้นเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

59 วิจัยชั้นเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

60 ด้ำนที่ 2 ด้ำนคุณภำพของครู (45 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 2.9 กำรศึกษำและ พัฒนำตนเอง (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ  1. ครูมีแผนพัฒนาตนเอง ID Plan  2. ครูมีบันทึกข้อตกลงเพื่อพัฒนางาน(MOU)ต่อผู้บริหารโรงเรียน  3. ครูมีการพัฒนาตนเองอย่างน้อย 10 ชั่วโมง/ภาคเรียน  4. ครูมีการเชื่อมโยงและบูรณาการแผนงานของตนเอง กับแผนงานของโรงเรียน  5. ครูวางแผนพัฒนาผู้เรียนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ผู้เรียน  6. ครูมีรายงานผลการพัฒนาตนเอง ระดับคะแนน ระดับ 1  ปฏิบัติได้น้อยกว่า 3 รายการ ระดับ 2  ปฏิบัติได้ 3 รายการ ระดับ 3  ปฏิบัติได้ 5 รายการ ระดับ 4  ปฏิบัติได้ 5 รายการ ระดับ 5  ปฏิบัติได้ครบทุกรายการ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

61 ประเด็นกำรพิจำรณำ 2.9 กำรศึกษำและพัฒนำตนเอง (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตนในการศึกษาและพัฒนา ตนเองให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ ดังนี้ 1. การจัดทาแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) 1 .ID Plan แผนงานของตนเอง 2. การจัดทาปฏิทินการทางานของตนเอง 1.1 แผนแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การจัดการ 3. การจัดทาบันทึกข้อตกลงเพื่อพัฒนางาน เรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ( MOU) ต่อผู้บริหารโรงเรียน 1.2 วุฒิบัตร 4. การเชื่อมโยงและบูรณาการแผนงานของ 2. บันทึกข้อตกลงเพื่อพัฒนางาน ( MOU) ตนเองกับแผนงานของโรงเรียน 3. รายงานการอบรม 5. การวางแผนพัฒนาผู้เรียนโดยเน้นการมีส่วน ร่วมของนักเรียน 6. การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครูอยู่ เสมอ - การศึกษาเอกสาร ตารา และสื่อต่าง ๆ - การเข้าร่วม ประชุม อบรม สัมมนาทาง วิชาชีพครูกับหน่วยงานต่าง ๆ 7. การเป็นสมาชิกและเข้าร่วมกิจกรรมของ องค์กร สมาคม ชมรม ที่ส่งเสริมการพัฒนา วิชาชีพครู

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

62 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ แผนพัฒนาตนเอง ID Plan

บันทึกข้อตกลงเพื่อพัฒนางาน(MOU)ต่อผู้บริหารโรงเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

63 การพัฒนาตนเอง

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

64 ข้อเสนอแนะจำกกำรประเมินห้องเรียนคุณภำพด้ำนที่ 2 ด้ำนคุณภำพครู 1.จุดเด่น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.จุดทีค่ วรพัฒนำ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

65

ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

66 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของนักเรียน (50 คะแนน) ประเด็น รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ 3.1.1 ควำมสำมำรถ กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ในกำรอ่ำน ระดับ 1 จานวนผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 มีผล การประเมินการ ตำมเกณฑ์ของ อ่านได้ระดับพอใช้ขึ้นไป แต่ละระดับชั้น ระดับ 2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50.00-59.99 มีผล การประเมินการ (5 คะแนน) อ่านได้ระดับพอใช้ขึ้นไป ระดับ 3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60.00-69.99 มีผล การประเมินการ อ่านได้ระดับพอใช้ขึ้นไป ระดับ 4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70.00-79.99 มีผล การประเมินการ อ่านได้ระดับพอใช้ขึ้นไป ระดับ 5  จานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 มีผลการประเมินการอ่านได้ ระดับพอใช้ขึ้นไป

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

67

ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.1.1 ควำมสำมำรถในกำรอ่ำนตำมเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น ( 5 คะแนน )

รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 ปีการศึกษาจานวนนักเรียน 40 คน 1. ความสามารถในการอ่านออกเสียง ระดับความสามารถในการอ่านออกเสียง ผลการประเมิน ระดับดีมาก จานวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 97.5 % ระดับดีมาก จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.5 %

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

1. แบบรายงานผลความสามารถในการอ่าน ออกเสียง อ่านเอาเรื่องระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4

2. ความสามารถในการอ่านรู้เรื่อง ระดับความสามารถในการอ่านรู้เรื่อง ผลการประเมิน ระดับดีมากจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 25 % ระดับดี จานวน 21 คน คิดเป็น 52.5 % ผ่าน จานวน 8 คน คิดเป็น 20 %

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

68 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ ผลการประเมินการอ่าน (แนบเอกสารประกอบ)

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

69

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

70 ควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำน จำกกำรทดสอบควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำนและเขียน ปีกำรศึกษำ 2565 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 จานวน 40 คนมีผลการประเมินการอ่านออกเสียง ระดับ ดีมาก จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ระดับ ดี จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ระดับ พอใช้ จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ระดับ ปรับปรุง จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ผลกำรอ่ำนออกเสียงระดับพอใช้ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 100.00 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 จานวน 40 คนมีผลการประเมินความสามารถการอ่านรู้เรื่อง ระดับ ดีมาก จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ระดับ ดี จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 57.50 ระดับ พอใช้ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 22.50 ระดับ ปรับปรุง จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ผลกำรอ่ำนรู้เรื่องระดับพอใช้ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 100

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

71 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของนักเรียน (50 คะแนน) ประเด็น รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ 3.1.2 ควำมสำมำรถใน ระดับ 1  จานวนนักเรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 มีผลการประเมินการ กำรเขียนตำมเกณฑ์ของ เขียนได้ระดับพอใช้ขึ้นไป แต่ละระดับชั้น ระดับ 2  จานวนนักเรียนร้อยละ 50.00-59.99 มีผลการประเมินการ (5 คะแนน) เขียนได้ระดับพอใช้ขึ้นไป ระดับ 3  จานวนนักเรียนร้อยละ 60.00-69.99 มีผลการประเมินการ เขียนได้ระดับพอใช้ขึ้นไป ระดับ 4  จานวนนักเรียนร้อยละ 70.00-79.99 มีผลการประเมินการ เขียนได้ระดับพอใช้ขึ้นไป ระดับ 5  จานวนนักเรียนร้อยละ 80.00 มีผลการประเมินการเขียนได้ ระดับพอใช้ขึ้นไป

ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.1.2 ควำมสำมำรถในกำรเขียนตำมเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้าพเจ้าได้รายงานผลการประเมินความสามารถ ในการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 ปีการศึกษา 2565 จานวนนักเรียน 40 คน 1. ความสามารถในการเขียน ระดับความสามารถในการเขียน ผลการประเมิน 1.แบบรายงานผลความสามารถในการเขียน ระดับ ดีมาก จานวน 15 คน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 คิดเป็นร้อยละ 37.50 ระดับ ดี จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 62.50 %

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

72 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ ผลการประเมินการเขียนของนักเรียน (แนบเอกสารประกอบ)

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

73

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

74 ควำมสำมำรถด้ำนกำรเขียน จำกกำรทดสอบควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำนและเขียน ปีกำรศึกษำ 2565 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 จานวน 40 คนมีผลการประเมินการเขียนเรื่อง ระดับ ดีมาก จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 ระดับ ดี จานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 70.00 ระดับ พอใช้ จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ระดับ ปรับปรุง จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ผลกำรเขียนระดับพอใช้ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 100.00

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

75 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของนักเรียน (50 คะแนน) ประเด็น รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ 3.1.3 ควำมสำมำรถใน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน กำรสื่อสำรภำษำไทยตำม ระดับ 1  จานวนนักเรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 ผ่านเกณฑ์การประเมินการ เกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น สื่อสารภาษาไทยตามจุดเน้นของหลักสูตรในแต่ละระดับชั้น (5 คะแนน) ระดับ 2  จานวนนักเรียนร้อยละ 50.00-59.99 ผ่านเกณฑ์การประเมินการ สื่อสารภาษาไทยตามจุดเน้นของหลักสูตรในแต่ละระดับชั้น ระดับ 3  จานวนนักเรียนร้อยละ 60.00-69.99 ผ่านเกณฑ์การประเมินการ สื่อสารภาษาไทยตามจุดเน้นของหลักสูตรในแต่ละระดับชั้น ระดับ 4  จานวนนักเรียนร้อยละ 70.00-79.99 ผ่านเกณฑ์การประเมินการ สื่อสารภาษาไทยตามจุดเน้นของหลักสูตรในแต่ละระดับชั้น ระดับ 5  จานวนนักเรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมินการ สื่อสารภาษาไทยตามจุดเน้นของหลักสูตรในแต่ละระดับชั้น

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

76

ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.1.3 ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำรภำษำไทยตำมเกณฑ์ ของแต่ละระดับชั้น (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน ข้าพเจ้าได้รายงานผลความสามารถในการ สื่อสารภาษาไทยตามเกณฑ์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผลการวิเคราะห์ จานวนนักเรียน 40 คน ระดับดีขึ้นไป 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของนักเรียนทั้งหมด

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย 1.แบบรายงานผลการประเมินการสื่อสาร ภาษาไทยทั้งการฟังพูด อ่านและการเขียนนักเรียน ในของห้องเรียน

โดยอยู่ในระดับ 5 ตามเกณฑ์จานวนนักเรียน ร้อยละ 80.00 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน การสื่อสารภาษาไทยตามจุดเน้นของหลักสูตร ในแต่ละระดับชั้น

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

77 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ ผลกำรประเมินกำรสื่อสำรภำษำไทยทั้งกำรฟังพูด อ่ำนและกำรเขียนนักเรียน ชั้นประถมศึกษำปีที่ 4/5

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

78

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

79

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

80

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

81 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของนักเรียน (50 คะแนน) ประเด็น รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ 3.1.4 ควำมสำมำรถ กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ในกำรสื่อสำร ระดับ 1  จานวนนักเรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 ผ่านเกณฑ์การประเมินการ ภำษำอังกฤษตำม สื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร เกณฑ์ของ ระดับ 2  จานวนนักเรียนร้อยละ 50.00-59.99 ผ่านเกณฑ์การประเมินการ แต่ละระดับชั้น สื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร (5 คะแนน) ระดับ 3  จานวนนักเรียนร้อยละ 60.00-769.99 ผ่านเกณฑ์การประเมินการ สื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ระดับ 4  จานวนนักเรียนร้อยละ 70.00-79.99 ผ่านเกณฑ์การประเมินการ สื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ระดับ 5  จานวนนักเรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมินการ สื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร

ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.1.4 ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำรภำษำอังกฤษตำมเกณฑ์ ของแต่ละระดับชั้น (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้าพเจ้าได้จัดทาแบบรายงานความสามารถ ในการสื่อสารภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของนักเรียน 1.ผลการประเมินการสื่อสารภาษาอังกฤษทั้งการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 ปีการศึกษา 2564 ฟัง พูด อ่านและการเขียนของนักเรียนใน จานวนนักเรียน 39 คน มีผลการประเมิน คิดเป็น ห้องเรียน ร้อยละ 97.43 โดยอยู่เกณฑ์ในระดับ 5 ซึ่งมีจานวนนักเรียนร้อย ละ 80.00 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมินการสื่อสาร ภาษาอังกฤษตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้น ปีของหลักสูตร งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

82 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ ผลการประเมินการสื่อสารภาษาอังกฤษ ทั้งการฟัง พูด อ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

83

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

84 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของนักเรียน (50 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 3.1.5 ควำมสำมำรถ ในกำรคิดคำนวณตำม เกณฑ์ของ แต่ละระดับชั้น (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1  จานวนนักเรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 ผ่านเกณฑ์การประเมิน การคิดคานวณตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ระดับ 2  จานวนนักเรียนร้อยละ 50.00-59.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน การคิดคานวณตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ระดับ 3  จานวนนักเรียนร้อยละ 60.00-69.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน การคิดคานวณตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ระดับ 4  จานวนนักเรียนร้อยละ 70.00-79.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน การคิดคานวณตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ระดับ 5  จานวนนักเรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน การคิดคานวณตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร

ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.1.5 ควำมสำมำรถในกำรคิดคำนวณตำมเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 ปีการศึกษา 1.ผลการประเมินการคิดคานวณของนักเรียน 2564 จานวนนักเรียน 39 คน มีผลการประเมิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 คิดเป็นร้อยละ 100 โดยอยู่เกณฑ์ในระดับ 5 ซึ่งมีจานวนนักเรียน ร้อยละ 80.00 ผ่านเกณฑ์การประเมิน การคิดคานวณตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ชั้นปีของหลักสูตร งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

85 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ ผลการประเมินการคิดคานวณของนักเรียนในห้องเรียนตามมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5

2

.

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

86

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

87 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของนักเรียน (50 คะแนน) ประเด็น รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ 3.1.6 ควำมสำมำรถ กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ในกำรคิดวิเครำะห์ คิด ระดับ 1  จานวนนักเรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 ผ่านเกณฑ์การประเมิน วิจำรณญำณ อภิปรำย การคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และ แลกเปลี่ยน ควำมคิดเห็น แก้ปัญหา ตามจุดเน้นของหลักสูตร และแก้ปัญหำ ระดับ 2  จานวนนักเรียนร้อยละ 50.00-59.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน (5 คะแนน) การคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และ แก้ปัญหา ตามจุดเน้นของหลักสูตร ระดับ 3  จานวนนักเรียนร้อยละ 60.00-69.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน การคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และ แก้ปัญหา ตามจุดเน้นของหลักสูตร ระดับ 4  จานวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินการคิดวิเคราะห์ คิด วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา ตามจุดเน้น ของหลักสูตร ร้อยละ 70.00-79.99 ระดับ 5  จานวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินการคิดวิเคราะห์ คิด วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา ตามจุดเน้น ของหลักสูตร ร้อยละ 80.00 ขึ้นไป

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

88 ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.1.6 ควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์ คิดวิจำรณญำณ อภิปรำยแลกเปลี่ยน ควำมคิดเห็น และแก้ปัญหา5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้าพเจ้าได้จัดทารายงานความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและแก้ปัญหา ตามจุดเน้น ของหลักสูตรสถานศึกษา ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4/5 ระดับ ดีเยี่ยม จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100 - การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ของ นักเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใน แบบบันทึกผล การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเป็นรายวิชา (ปพ.5)

1.ผลการประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและแก้ปัญหา 2. แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนประจา รายวิชา (ปพ.5)

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

89

เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ ผลกำรประเมินควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์ คิดอย่ำงมีวิจำรณญำณ อภิปรำย แลกเปลี่ยน ควำมคิดเห็นและแก้ปัญหำ นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 4/5

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

90

แบบบันทึกผลกำรพัฒนำคุณภำพผู้เรียนประจำรำยวิชำ (ปพ.5) กำรประเมินคุณลักษณะกำรคิดวิเครำะห์ รำยวิชำ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

91 เกณฑ์กำรประเมินคุณลักษณะกำรคิดวิเครำะห์ รำยวิชำ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

92

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

93 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของนักเรียน (50 คะแนน) ประเด็น รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ 3.1.7 ควำมสำมำรถใน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน กำรสร้ำงนวัตกรรม ระดับ 1 จานวนผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 ผ่านเกณฑ์การประเมิน (5 คะแนน) ความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเองและการทางานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ระดับ 2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50.00-59.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเองและการทางานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ระดับ 3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60.00-69.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเองและการทางานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ระดับ 4  จานวนผู้เรียนร้อยละ 70.00-79.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเองและการทางานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณ์ มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ระดับ 5 จานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไปผ่านเกณฑ์การประเมิน ความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเองและการทางานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

94

ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.1.7 ควำมสำมำรถในกำรสร้ำงนวัตกรรม (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้ า พ เจ้ า ได้ ด าเนิ น การจั ด กิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม ความสามารถในการสร้ า งนวั ต กรรมของนั ก เรี ย น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 1. การสื บ เสาะหาความรู้ การรวบรวมความรู้ ด้ว ยตนเองและการท างานด้ ว ยกระบวนการกลุ่ ม การทางานเป็นทีม รวมถึงการสร้างสรรค์ สิ่งใหม่ ๆ 2. การร่วมกิจกรรมต่าง ๆ - กิจกรรมการเรียนรู้ Cubetto - กิจกรรมการเรียนรู้การถอดรหัส - กิจกรรมการเรียนรู้สัญลักษณ์ Flowchart จ านวนผู้ เรี ย นร้ อ ยละ 80.00 ขึ้ น ไปผ่ านเกณฑ์ การ ประเมินความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วย ตนเองและการทางานเป็นทีมเชื่อมโยงองค์ความรู้และ ประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ

-การประเมินความสามารถของผู้เรียนในห้องเรียน ในด้านการรวบรวม ความรู้ได้ด้วยตนเอง และการทางานเป็นทีมรวมถึงการสร้างสรรค์สิ่ง ใหม่ๆได้และการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรม สะต็มศึกษา -ภาพถ่ายกิจกรรม

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

95 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ

กิจกรรมสะเต็มศึกษำ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

96 กิจกรรมกำรเรียนรู้

กิจกรรมกำรเรียนรู้

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

97 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของนักเรียน (50 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 3.1.8 ควำมสำมำรถใน กำรใช้เทคโนโลยีและกำร สื่อสำร (5 คะแนน

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1 จานวนผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของ หลักสูตร ระดับ 2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50.00 59.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของ หลักสูตร ระดับ 3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60.00 69.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของ หลักสูตร ระดับ 4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70.00 79.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของ หลักสูตร ระดับ 5  จานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของ หลักสูตร

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

98 ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.1.8 ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยีและกำรสื่อสำร (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

ข้ าพ เจ้ าได้ ท ารว บ รว ม ผ ล ก ารป ระ เมิ น ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี แ ละการสื่ อ สาร ของนั ก เรี ย น ตามเกณฑ์ ก ารประเมิ น ของ สพฐ. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 ปีการศึกษา 2565 - จานวนนักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการ สื่อสารได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ระดับ ดี ขึ้นไป จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100

1. ผลการประเมินความ สามารถของผู้เรียนใน ห้องเรียนในด้านความ สามารถในการใช้ เทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานการ เรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร 2.ภาพถ่ายกิจกรรม

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

99 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ ผลการประเมินความ สามารถของผู้เรียนในห้องเรียนในด้านความ สามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารได้ อย่างเหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

100 เกณฑ์การประเมินความ สามารถของผู้เรียนในห้องเรียนในด้านความ สามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสาร ได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

101 ภำพถ่ำยกิจกรรมในห้องเรียนที่ผู้เรียนเป็นรำยบุคคลมีควำมสำมำรถในในกำรใช้เทคโนโลยี

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

102

ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของนักเรียน (50 คะแนน) ประเด็น รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ 3.1.9 ควำมรู้ ทักษะ กำรพิจำรณำและระดับคะแนน พื้นฐำน และเจตคติที่ดี ระดับ 1 จานวนผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต่องำนอำชีพ (5 คะแนน) ความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ การทางานหรืองานอาชีพ และมีเจตคติ ที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น ระดับ 2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50.00 59.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ การทางานหรืองานอาชีพ และมีเจตคติ ที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น ระดับ 3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60.00 69.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ การทางานหรืองานอาชีพ และมีเจตคติ ที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น ระดับ 4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70.00 79.99 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ การทางานหรืองานอาชีพ และมีเจตคติ ที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น ระดับ 5  จานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การการ ประเมินความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ การทางานหรืองานอาชีพ และ มีเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

103

ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.1.9 ควำมรู้ ทักษะพื้นฐำน และเจตคติที่ดี ต่องำนอำชีพ (5 คะแนน)

รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

นักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดี ต่องานอาชีพ ปีการศึกษา 2565 ดังนี้ โดยมีจานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไป ผ่าน เกณฑ์การการประเมินความรู้ ทักษะพื้นฐานในการ จัดการ การทางานหรืองานอาชีพ และมีเจตคติที่ดี พร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น

1. ผลการประเมิน ความรู้ ทักษะพื้นฐานใน การจัดการ เจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อใน ระดับชั้นที่สูงขึ้น การทางานหรืองานอาชีพ 2. การตรวจสอบเอกสาร -บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ -ผลงาน/ชิ้นงานของ ผู้เรียนที่เป็นผลงาน จาก การจัดการเรียนรู้ 3. เครื่องมือวัดและ ประเมินความสามารถ และทักษะตามจุดเน้น การพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน “ด้านทักษะ ชีวิต” ของสพฐ. 4. สภาพจริงเชิงประจักษ์

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

104

เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ กำรประเมินกำรพัฒนำคุณภำพ ผู้เรียน “ด้ำนทักษะ ชีวิต”

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

105

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

106 เกณฑ์กำรประเมินกำรพัฒนำคุณภำพ ผู้เรียน “ด้ำนทักษะ ชีวิต”

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

107

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

108

ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของนักเรียน (50 คะแนน) ประเด็น รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ 3.1.10 ผลกำรประเมิน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน สมรรถนะสำคัญตำม ระดับ 1 จานวนผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 ผ่านการประเมิน เกณฑ์ที่สถำนศึกษำ สมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด กำหนดซึ่งได้แก่ ระดับ 2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50.00 59.99 ผ่านการประเมิน ควำมสำมำรถในกำร สมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด สื่อสำร ควำมสำมำรถใน ระดับ 3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60.00 69.99 ผ่านการประเมิน กำรคิด ควำมสำมำรถใน สมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด กำรแก้ปัญหำ ระดับ 4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70.00 79.99 ผ่านการประเมิน ควำมสำมำรถในกำรใช้ สมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ทักษะชีวิต และ ระดับ 5  จานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไป ผ่านการประเมิน ควำมสำมำรถในกำรใช้ สมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด เทคโนโลยี(5 คะแนน)

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

109 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

นักเรียนมีผลการประเมินสมรรถนะสาคัญตาม เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดซึ่งได้แก่ความสามารถใน 1.ร่องรอยการใช้เครื่องมือประเมินสมรรถนะ การสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถใน สาคัญของผู้เรียน การแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และ ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี ข องนั ก เรีย นชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 4/5 ปีการศึกษา 2565 โดยมีจานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไป ผ่าน การประเมินสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรตามเกณฑ์ ที่สถานศึกษากาหนด

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

110 ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.1.10 ผลกำรประเมินสมรรถนะสำคัญตำมเกณฑ์ที่สถำนศึกษำกำหนดซึ่ง ได้แก่ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร ควำมสำมำรถในกำรคิด ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต และควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี(5 คะแนน) รูปภำพกิจกรรม

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

111

ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของนักเรียน (50 คะแนน) ประเด็น รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำ 3.1.11 ผลสัมฤทธิ์ กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ทำงกำรเรียนจำก กำร ระดับ 1 จานวนผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ วัดผลปลำยปีของแต่ละ เรียนระดับ 3 ขึ้นไป ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้น (5 คะแนน) ระดับ 2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50.00 59.99 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากผลการสอบระดับ 3 ขึ้นไป ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับ 3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60.00 69.99 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากผลการสอบระดับ 3 ขึ้นไป ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับ 4  จานวนผู้เรียนร้อยละ 70.00 79.99 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากผลการสอบระดับ 3 ขึ้นไป ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับ 5 จานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไป มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากผลการสอบระดับ 3 ขึ้นไป ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

นักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนจาก การ วั ด ผลป ลายปี ของแต่ ล ะชั้ น ของนั กเรี ย น ชั้ น 1.แบบรายงานผลการเรียนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4/5 ปีการศึกษา 2564 ประถมศึกษาปีที่ 4/5 โดยมี จ านวนผู้ เรี ย นร้ อ ยละ 80.00 ขึ้น ไป มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากผลการสอบระดับ 3 ขึ้น ไป ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

112 ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.1.11 ผลสัมฤทธิ์ ทำงกำรเรียนจำก กำรวัดผลปลำยปีของแต่ละชั้น (5 คะแนน) รูปภำพกิจกรรม

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

113 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน (35 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 3.2.1 กำรมีคุณลักษณะ และค่ำนิยมที่ดีตำมที่ สถำนศึกษำกำหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมำย และวัฒนธรรมอันดีงำม ของสังคม (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1  จานวนนักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา กาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงามของสังคม น้อยกว่า ร้อยละ 50.00 ระดับ 2  จานวนนักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา กาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงามของสังคม ร้อยละ 50.00-59.99 ระดับ 3  จานวนนักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา กาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงามของสังคม ร้อยละ 60.00-69.99 ระดับ 4  จานวนนักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา กาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงามของสังคม ร้อยละ 70.00-79.99 ระดับ 5  จานวนนักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา กาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงามของสังคม ร้อยละ 80.00 ขึ้นไป

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

114 ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.2.1 กำรมีคุณลักษณะและค่ำนิยมที่ดีตำมที่สถำนศึกษำกำหนด โดยไม่ขัดกับ กฎหมำยและวัฒนธรรมอันดีงำมของสังคม (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ส่งเสริมให้ 1. ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่ 2. ภาพกิจกรรมการอบรมคุณธรรมจริยธรรม สถานศึกษากาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและ 3. ภาพกิจกรรมการบาเพ็ญประโยชน์ จิตอาสา วัฒนธรรมอันดีงามของสังคม ในระดับชั้น ของนักเรียน ประถมศึกษาปีที่ 4/5 จากการประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของนักเรียน พบว่า จานวนนักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ตามที่สถานศึกษากาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและ วัฒนธรรมอันดีงามของสังคม ร้อยละ 100

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

115 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ ผลกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

116 เกณฑ์กำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

117 ภำพกิจกรรมกำรอบรมคุณธรรมจริยธรรม

โรงเรียนอนุบาลลาพูน รับนโยบายการขับเคลื่อนหลักสูตรต้านทุจริต (Anti-corruption Education) "การป้องกันการทุจริต" และจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษา

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

118 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน (35 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 3.2.2 กำรอนุรักษ์ ทรัพยำกรธรรมชำติและ สิ่งแวดล้อม (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1 จานวนผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ50.00 มีการปฏิบัติตนที่ดีในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระดับ 2 จานวนผู้เรียนร้อยละ50.00 59.99 มีการปฏิบัติตนที่ดีในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระดับ 3 จานวนผู้เรียนร้อยละ60.00 69.99 มีการปฏิบัติตนที่ดีในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระดับ 4 จานวนผู้เรียนร้อยละ70.00 79.99 มีการปฏิบัติตนที่ดีในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระดับ 5  จานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไป มีการปฏิบัติตนที่ดีในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

119 ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.2.2 กำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

นั ก เรี ย น เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม ให้ 1.ภาพกิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ นั ก เรี ย น มี ก าร ป ฏิ บั ติ ต น ที่ ดี ใน ก ารอ นุ รั ก ษ์ และสิ่งแวดล้อมทั้งในและน้องห้องเรียน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งในและนอก ห้ อ งเรี ย น และสร้ า งความตระหนั ก ให้ เ ห็ น ถึ ง ประโยชน์ ของการการอนุ รัก ษ์ท รั พยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จากการประเมิน พบว่า นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4/5 ปีการศึกษา 2565 มีจานวน ผู้ เรีย นร้ อยละ 80.00 ขึ้น ไป มี การปฏิบั ติตนที่ ดีใน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

120 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ ภำพกิจกรรมกำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกห้องเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

121 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน (35 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 3.2.3 ควำมภูมิใจใน ท้องถิ่นและควำมเป็นไทย (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1 จานวนผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 มีการปฏิบัติตนที่ดีที่ แสดงถึงความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ระดับ 2 จานวนผู้เรียนร้อยละ50.00 59.99 มีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดง ถึงความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ระดับ 3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60.00 69.99 มีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดง ถึงความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ระดับ 4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70.00 79.99 มีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดง ถึงความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ระดับ 5  จานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไปมีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดง ถึงความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.2.3 ควำมภูมิใจในท้องถิ่นและควำมเป็นไทย (5 คะแนน)

รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน นักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีแสดงถึงความ ภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย 1. แบบบันทึกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2. ภาพการเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมความภูมิใจ ในท้องถิ่นและความเป็นไทย

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

122 เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ ผลกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

123 ภำพกำรเข้ำร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมควำมภูมิใจในท้องถิ่นและควำมเป็นไทย

กิจกรรมวันภาษาไทยบูรณาการวันสุนทรภู่ ที่เป็นผลเกิดกับนักเรียนในด้านการปฏิบัติตนที่ดี ที่แสดงถึงความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ภำพกำรเข้ำร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมควำมภูมิใจในท้องถิ่นและควำมเป็นไทย

กิจกรรมทาบุญตักบาตร สวดมนต์ไหว้พระ เข้าวัดทาบุญ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

124 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน (35 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 3.2.4 กำรยอมรับเหตุผล ควำมคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1 จานวนผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 มีการปฏิบัติตนที่ดีที่ แสดงถึงการยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ระดับ 2 จานวนผู้เรียนร้อยละ50.00 59.99 มีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดง ถึงการยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ระดับ 3 จานวนผู้เรียนร้อยละ60.00 69.99 มีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดง ถึงการยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ระดับ 4 จานวนผู้เรียนร้อยละ70.00 79.99 มีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดง ถึงการยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ระดับ 5  จานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไปมีการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดง ถึงการยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี

ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.2.4 กำรยอมรับเหตุผลควำมคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

นักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีแสดงถึงยอมรับ เหตุผลความคิดเห็นของผู้อื่นและมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี

1. แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน (SDQ) 2. ภาพกิจกรรมที่เป็นผลเกิดกับนักเรียนในด้าน การปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงการยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี โดยการสื่อสาร เสนอแนะ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ ดีต่อเพื่อนต่างชาติ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

125

เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน (SDQ)

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

126

ภำพกำรทำกิจกรรมกลุม่

กิจกรรมที่เป็นผลเกิดกับนักเรียนในด้านการปฏิบัติตนที่ดีที่แสดงถึงการยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผู้อื่น . และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี โดยการสื่อสาร เสนอแนะ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนต่างชาติ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

127 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน (35 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 3.2.5 กำรมีวิธีรักษำ สุขภำพของตนเองให้ แข็งแรง รักษำอำรมณ์ และสุขภำพจิตให้ดีอยู่ เสมอ (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1 จานวนผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 มีวิธีการปฏิบัติตนที่ดีใน การรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษาอารมณ์และสุขภาพจิตให้ดีอยู่ เสมอ ระดับ 2 จานวนผู้เรียนร้อยละ 50.00 59.99 มีวิธีการปฏิบัติตนที่ดีใน การรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษาอารมณ์และสุขภาพจิตให้ดีอยู่ เสมอ ระดับ 3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60.00 69.99 มีวิธีการปฏิบัติตนที่ดีใน การรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษาอารมณ์และสุขภาพจิตให้ดีอยู่ เสมอ ระดับ 4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70.00 79.99 มีวิธีการปฏิบัติตนที่ดีใน การรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษาอารมณ์และสุขภาพจิตให้ดีอยู่ เสมอ ระดับ 5  จานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไป มีวิธีการปฏิบัติตนที่ดีใน การรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษาอารมณ์และสุขภาพจิตให้ดีอยู่ เสมอ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

128

ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.2.5 กำรมีวิธีรักษำสุขภำพของตนเองให้แข็งแรง รักษำอำรมณ์ และสุขภำพจิตให้ดีอยู่เสมอ (5 คะแนน)

รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน นักเรียนมีการปฏิบัติตนที่ดีในการรักษา สุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษาอารมณ์ และ สุขภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย 1. แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน (SDQ) 2. แบบบันทึกภาวะโภชนาการของนักเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

129

เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน (SDQ)

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

130 แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน (SDQ)

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

131 แบบบันทึกภำวะโภชนำกำรของนักเรียน

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

132

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

133

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

134 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน (35 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 3.2.6 กำรไม่เพิกเฉยต่อ กำรกระทำสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่ร่วมกันด้วยดีใน ครอบครัว ชุมชนและ สังคม(5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1 จานวนผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 มีการปฏิบัติตนที่ไม่ เพิกเฉยต่อการกระทาสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชนและสังคม ระดับ 2 จานวนผู้เรียนร้อยละ50.00 59.99 มีการปฏิบัติตนที่ไม่เพิกเฉย ต่อการกระทาสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชนและ สังคม ระดับ 3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60.00 69.99มีการปฏิบัติตนที่ไม่เพิกเฉย ต่อการกระทาสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชนและ สังคม ระดับ 4 จานวนผู้เรียนร้อยละ 70.00 79.99มีการปฏิบัติตนที่ไม่เพิกเฉย ต่อการกระทาสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชนและ สังคม ระดับ 5  จานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไปมีการปฏิบัติตนที่ไม่เพิกเฉย ต่อการกระทาสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชนและ สังคม

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

135

ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.2.6 กำรไม่เพิกเฉยต่อกำรกระทำสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่ร่วมกันด้วยดีใน ครอบครัว ชุมชนและสังคม (5 คะแนน)

รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

นักเรียนมีการรู้และมีวิธีป้องกันตนเองจาก การล่อลวง ข่มเหง รังแก นักเรียนชั้นประถมศึกษา 1. การรู้และมีวิธีการป้องกันตนเองจากการ ปีที่ 4/5 จานวน 40คน ในปีการศึกษา 2565 ล่อลวง ข่มเหง รังแก กิจกรรมรณรงค์การ มีผลการประเมิน จานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไป เลือกตั้ง มีการปฏิบัติตนที่ไม่เพิกเฉยต่อการกระทาสิ่งที่ไม่ ถูกต้อง และอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชนและ สังคม เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ กำรรู้และมีวิธีกำรป้องกันตนเองจำกกำรล่อลวง ข่มเหง รังแก

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

136 ด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน (85 คะแนน) 3.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน (35 คะแนน) ประเด็น กำรพิจำรณำ 3.2.7 กำรมีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตำม หลักสูตรแกนกลำง กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551ซึ่งระบุ ไว้ 8 ประกำร ได้แก่ รัก ชำติ ศำสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่ำงพอเพียง มุ่งมั่นใน กำรทำงำน รักควำมเป็น ไทย และมีจิตสำธำรณะ (5 คะแนน)

รำยกำรพิจำรณำให้คะแนน กำรพิจำรณำและระดับคะแนน ระดับ 1 จานวนผู้เรียนน้อยกว่าร้อยละ 50.00 มีการปฏิบัติตนที่แสดง ถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครบ 8 ประการ ระดับ 2 จานวนผู้เรียนร้อยละ50.00 59.99 มีการปฏิบัติตนที่แสดงถึง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครบ 8 ประการ ระดับ 3 จานวนผู้เรียนร้อยละ 60.00 69.99มีการปฏิบัติตนที่แสดงถึง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครบ 8 ประการ ระดับ 4 จานวนผู้เรียนประการ ร้อยละ 70.00 79.99 มีการปฏิบัติตนที่แสดงถึงคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครบ 8 ประการ ระดับ 5  จานวนผู้เรียนร้อยละ 80.00 ขึ้นไปมีการปฏิบัติตนที่แสดงถึง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครบ 8 ประการ

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

137

ประเด็นกำรพิจำรณำ 3.2.7 กำรมีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้น พื้นฐำน พุทธศักรำช 2551ซึ่งระบุไว้ 8 ประกำร ได้แก่ รักชำติ ศำสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้อยู่อย่ำงพอเพียง มุ่งมั่นในกำรทำงำน รักควำมเป็นไทย และมีจิตสำธำรณะ (5 คะแนน) (5 คะแนน) รำยกำรปฏิบัติงำน/ผลงำน

เอกสำรหลักฐำน/ร่องรอย

นักเรียนมีการปฏิบัติตนที่มีคุณลักษณะ อันพึง 1.สรุปรายงานผลการประเมินคุณลักษณะ อันพึง ประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พุทธศักราช 2551ซึ่งระบุไว้ 8 ประการ ได้แก่ รักชาติ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่เรียนรู้อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมี จิตสาธารณะ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 จานวน 40 คน ในปีการศึกษา 2565 มีผลการประเมิน ดังนี้ จานวนนักเรียนทีม่ ีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ซึ่งระบุไว้ 8 ประการ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่เรียนรู้อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมี จิตสาธารณะคิดเป็นร้อยละ 100 อยู่ในระดับ 5 ร้อยละ 80.00

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

138

เอกสำรหลักฐำนร่องรอยประกอบประเด็นพิจำรณำ แบบสรุปกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

139 ข้อเสนอแนะจำกกำรประเมินห้องเรียนคุณภำพด้ำนที่ 3 ด้ำนคุณภำพนักเรียน 1. จุดเด่น .............................................................................................................................................................................. .…………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จุดที่ควรพัฒนำ .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................. ........................................... 3. ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .…………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

140 สรุปคะแนนกำรประเมินห้องเรียนคุณภำพระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน เครือข่ำยพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำอำเภอเมืองลำพูน โรงเรียนอนุบำลลำพูน ชั้นประถมศึกษำปีที่ 4/5 ห้องเรียนคุณภำพ

คะแนนเต็ม (คะแนน)

ด้านที่ 1 ด้านการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อ และส่งเสริมการเรียนรู้

15

ด้านที่ 2 ด้านคุณภาพของครู

45

ด้านที่ 3 ด้านคุณภาพนักเรียน

90

คะแนนรวม

คะแนนที่ได้ (คะแนน)

ระดับ คุณภำพ

150

*ตามที่คุณครูได้ทาการประเมินตนเอง**

ลงชื่อ............................................................ประธานกรรมการ (.........................................................) ลงชื่อ....................................................กรรมการ (...................................................)

ลงชื่อ............................................................................กรรมการ (.....................................................)

ลงชื่อ.......................................................กรรมการ (.....................................................)

ลงชื่อ.................................................................กรรมการ/เลขานุการ (.......................................................)

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

141

งานห้องเรี ยนคุณภาพ สู่คุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลลาพูน

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.