ระเบียบวาระการประชุม และรับรองบันทึกการประชุม ครั้งที่ 2 Flipbook PDF

ระเบียบวาระการประชุม และรับรองบันทึกการประชุม ครั้งที่ 2

42 downloads 104 Views 4MB Size

Story Transcript

ระเบียบวาระการประชุม คณะอนุกรรมาธิการกิจการเด็กเยาวชน และผู้ด้อยโอกาส ในคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา ครั้งที่ 3/๒๕๖6 วันจันทร์ที่ 16 มกราคม ๒๕๖6 เวลา 09.0๐ นาฬิกา ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ................................... ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งต่อที่ประชุม ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองบันทึกการประชุม - รับรองบันทึกการประชุม ครั้งที่ 2/๒๕๖6 วันอังคารที่ 10 มกราคม ๒๕๖6 ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา 3.1 พิจารณาตารางเปรียบเทียบข้อเสนอแนะ (ร่าง) รายงานพิจารณาศึกษา เรื่อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กับ กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) (เป็นเรื่องสืบเนื่อง จากการประชุมครั้งที่ 2/2566 วันอังคารที่ 10 มกราคม 2566) 3.2 โครงการของคณะกรรมาธิการฯ ได้แก่ (1) โครงการ "วุฒิสภา ศรัทธาความดี" (2) โครงการ “เด็กและเยาวชนต้นกล้าคนดีของสังคม” ประจำปี 2565 ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องอื่น ๆ ...................................


บันทึกการประชุม คณะอนุกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน และผู้ด้อยโอกาส ในคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา ครั้งที่ 2/๒๕๖๖ วันอังคารที่ 10 มกราคม 256๖ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) ------------------------------- อนุกรรมาธิการผู้มาประชุม ๑. นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ ประธานคณะอนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 2. พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 3. นางจิราภรณ์ เล้าเจริญ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่สอง (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 4. นายศุภชัย สถีรศิลปิน อนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 5. นางงามจิต แต้สุวรรณ อนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 6. นายอัครเดช สุพรรณฝ่าย อนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 7. นายส าราญ อรุณธาดา อนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 8. นายธนะรัตน์ ธาราภรณ์ อนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 9. นายศุภากร ปทุมรัตนาธาร อนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) ๑0. นางณัฐนันท์ สว่างวงศ์ อนุกรรมาธิการและเลขานุการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 11. นางเพชรรัตน์ มหาสิงห์ อนุกรรมาธิการและผู้ช่วยเลขานุการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการผู้ลาประชุม - นางทัศนา ยุวานนท์ ประธานที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ คณะอนุกรรมาธิการผู้ลาประชุม - นางวรภัทร แสงแก้ว อนุกรรมาธิการ เริ่มประชุมเวลา 10.00 นาฬิกา เมื่ออนุกรรมาธิการมาครบองค์ประชุมแล้ว นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ ประธาน คณะอนุกรรมาธิการ ได้กล่าวเปิดประชุม และด าเนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุม สรุปได้ดังนี้ ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งต่อที่ประชุม - ด้วยในคราวประชุมคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมฯ เมื่อช่วงเช้าที่ผ่านมา คณะท างานพิจารณาศึกษาแนวทางการพัฒนาและการส่งเสริมการด าเนินงานด้านหม่อนไหม น าโดยน างเพ็ญพักตร์ ศรีทอง ประธานคณ ะท างาน และคณ ะท างาน ได้น าเสนอรายงาน


๒ การพิจารณาศึกษา เรื่อง “แนวทางการพัฒนาและการส่งเสริมการด าเนินงานด้านหม่อนไหม” เพื่อน าเข้าสู่ที่ประชุมวุฒิสภาในช่วงปลายเดือนมกราคม 2566 ที่ประชุมรับทราบ : ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองบันทึกการประชุม ที่ประชุมมีมติรับรองบันทึกการประชุมครั้งที่ 1/๒๕๖6 วันอังคารที่ 3 มกราคม ๒๕๖6 โดยไม่มีการแก้ไข ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา ๓.1 พิจารณาบทที่ 4 บทสรุปและข้อเสนอแนะ ของรายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) ล ำดับแรก นางเพชรรัตน์ มหาสิงห์ อนุกรรมาธิการและผู้ช่วยเลขานุการ ได้น าเสนอบทที่ 4 บทสรุปและข้อเสนอแนะ ของรายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) สรุปสาระส าคัญได้ดังนี้ กำรพิจำรณำศึกษำเรื่อง “การพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง)” ของคณะกรรมำธิกำรกำรพัฒนำสังคม และกิจกำรเด็ก เยำวชน สตรี ผู้สูงอำยุ คนพิกำร และผู้ด้อยโอกำส วุฒิสภำ เป็นกำรศึกษำข้อมูลจำกกำรรับฟังข้อเท็จจริง เกี่ยวกับวิถีชีวิต และควำมเป็นอยู่ของกลุ่มชำติพันธุ์มละบริที่อำศัยอยู่ในประเทศไทย รวมถึงปัญหำและอุปสรรค ในกำรด ำเนินชีวิตจำกหน่วยงำนต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ศูนย์มำนุษยวิทยำสิรินธร (องค์กำรมหำชน) ส ำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์จังหวัดน่ำน ศูนย์พัฒนำรำษฎรบนพื้นที่สูงจังหวัดน่ำน ส ำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์จังหวัดแพร่ ศูนย์พัฒนำรำษฎรบนพื้นที่สูงจังหวัดแพร่ ส ำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวัดแพร่ และส ำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ตลอดจน ลงพื้นที่ศึกษำและติดตำมวิถีชีวิตและควำมเป็นอยู่ สภำพปัญหำและอุปสรรคในกำรด ำเนินชีวิต ของกลุ่มชำติพันธุ์มละบริ ณ บ้ำนผำสุก หมู่ที่ ๓ ต ำบลภูฟ้ำ อ ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่ ำน เพื่อแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น รับทรำบข้อเท็จจริง น ำไปก ำหนดเป็นแนวทำงในกำรช่วยเหลือ และพัฒนำคุณภำพชีวิตกลุ่มชำติพันธุ์มละบริ โดยสรุปสำระส ำคัญได้ ดังนี้ กำรด ำเนินวิถีชีวิตของกลุ่มชำติพันธุ์มละบริที่ผ่ำนมำ ด ำรงชีพด้วยกำรหำของป่ำ ยังชีพ และมีบำงคนรับจ้ำงชนเผ่ำม้งในพื้นที่ใกล้เคียงท ำไร่ ท ำสวน เพื่อแลกกับค่ำตอบแทน เป็นอำหำรและเลี้ยงสัตว์ ต่อมำชนเผ่ำมละบริได้รับกำรพัฒนำวิถีกำรด ำรงชีวิตโดยท ำกำรเกษตร เลี้ยงสัตว์เป็นอำชีพหลัก และอำชีพเสริม คือ กำรถักเปลญวน บำงคนถักวันละเล็กละน้อยก็มีรำยได้ ไม่ต้องมีควำมเสี่ยงผูกติดอยู่กับกำรเกษตรเพียงอย่ำงเดียว โดยกลุ่มชำติพันธุ์มละบริอำศัยอยู่ร่วมกัน เป็นชุมชนในพื้นที่ ๒ จังหวัด คือ จังหวัดน่ำน และจังหวัดแพร่ ปัจจุบันวิถีชีวิตควำมเป็นอยู่ ของกลุ่มชำติพันธุ์มละบริมีควำมเปลี่ยนแปลงมำกขึ้น และอำจเปลี่ยนแปลงมำกขึ้นเรื่อย ๆ หำกเปรียบเทียบกับกลุ่มชำติพันธุ์มำนิ (ซำไก) ที่ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตควำมเป็นอยู่ กำรพัฒนำ “กลุ่มชำติพันธุ์” ซึ่งเป็นทรัพยำกรมนุษย์ของประเทศที่เป็นกลุ่มเสี่ยง และประสบภำวะวิกฤตหลำยด้ำนท่ำมกลำงสถำนกำรณ์ที่ก ำลังเปลี่ยนแปลงอย่ำงรวดเร็ว จึงสอดคล้อง กับยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์ซึ่งมีเป้ำหมำยกำรพัฒนำ ที่ส ำคัญเพื่อพัฒนำคน ในทุกมิติและทุกช่วงวัยให้เป็นคนดีคนเก่ง และมีคุณภำพ มีทักษะที่จ ำเป็น


๓ ในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะสื่อสำรภำษำอังกฤษและภำษำที่ ๓ และอนุรักษ์ภำษำท้องถิ่น รวมถึง สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสร้ำงโอกำส และควำมเสมอภำคทำงสังคม ซึ่งมีเป้ำหมำย กำรพัฒนำที่ส ำคัญโดยให้ควำมส ำคัญกับกำรดึงพลังของภำคส่วนต่ำง ๆ อันรวมถึงชุมชนท้องถิ่น มำร่วมขับเคลื่อน เสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งของชุมชนในกำรจัดกำรตนเอง สำมำรถพึ่งพำตนเอง และท ำประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นำนที่สุด ขณะที่กำรลดควำมเหลื่อมล้ ำ ต้องสร้ำง ควำมเป็นธรรมในทุกมิติโดยมีประเด็นส ำคัญที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชำติพันธุ์ ได้แก่ กำรกระจำย กำรถือครองที่ดินและกำรเข้ำถึงทรัพยำกร มีกำรลงทุนทำงสังคมแบบมุ่งเป้ำเพื่อช่วยเหลือ กลุ่มคนยำกจน และกลุ่มผู้ด้อยโอกำสโดยตรง กำรสร้ำงควำมเป็นธรรมในกำรเข้ำถึงบริกำรสำธำรณสุข และกำรศึกษำ โดยเฉพำะส ำหรับผู้มีรำยได้น้อยและกลุ่มผู้ด้อยโอกำส และสร้ำงควำมเป็นธรรม ในกำรเข้ำถึงกระบวนกำรยุติธรรมอย่ำงทั่วถึง นอกจำกนี้ยังมีกำรเพิ่มขีดควำมสำมำรถของชุมชน ท้องถิ่นในกำรพัฒนำ กำรพึ่งพำตนเองและกำรจัดกำรตนเอง โดยสร้ำงภูมิคุ้มกันทำงปัญญำให้กับชุมชน จำกข้อมูลที่กล่ำวมำแล้วข้ำงต้น ท ำให้สำมำรถสรุปภำพรวมปัญหำที่ส่งผลกระทบ ต่อกำรด ำรงชีวิตของกลุ่มชำติพันธุ์มละบริได้ดังนี้ 1.ปัญหาด้านการจัดท าฐานข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ ชำวมละบริมีกำรเคลื่อนย้ำยกำรตั้งถิ่นฐำนของชำวมละบริอยู่ตลอดเวลำ จึงท ำให้ไม่สำมำรถติดตำมสถำนะบุคคลได้ ข้อเสนอแนะ ๑.๑ เพื่อที่จะได้มีข้อมูลพื้นฐำนในกำรก ำหนดนโยบำยในกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของกลุ่มชำติพันธุ์มละบริ ๑.๒ เพื่อประโยชน์ในกำรสืบค้นเกี่ยวกับวิถีชีวิตด้ำนวัฒนธรรม ซึ่งจะมีผล ต่อกำรท ำควำมเข้ำใจในมรดกทำงภูมิปัญญำของกลุ่มชำติพันธุ์มละบริ ๑.๓ เพื่อใช้เป็นแหล่งอ้ำงอิงข้อมูลเพื่อให้กลุ่มชำติพันธุ์มีตัวตนในสังคม 2. ปัญหาด้านที่อยู่อาศัยและที่ดินท ากิน แบ่งออกดังนี้ 2.1 จังหวัดแพร่ ชำวมละบริที่อำศัยอยู่ ณ บ้ำนท่ำวะ ต ำบลสะเอียบ อ ำเภอสอง จังหวัดแพร่ ไม่มีที่อยู่อำศัยและที่ดินท ำกินเป็นของตนเอง ปัจจุบันอำศัยอยู่ในพื้นที่ของคนอื่นในชุมชนบ้ำนท่ำวะ และขำดแคลนสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกในกำรด ำเนินชีวิต ส่วนชำวมละบริบ้ำนบุญยืน ต ำบลบ้ำนเวียง อ ำเภอร้องกวำง จังหวัดแพร่ แม้ว่ำจะมีที่อยู่อำศัยเป็นของตนเอง แต่ไม่มีที่ดินท ำกินเป็นของตนเอง จ ำเป็นต้องเช่ำที่ดินของชำวม้งในหมู่บ้ำนใกล้เคียงเพื่อท ำเกษตรกรรม และบำงคนต้องประกอบอำชีพ รับจ้ำงเป็นแรงงำนให้กับนำยจ้ำงที่เป็นคนพื้นรำบ จึงถูกเอำรัดเอำเปรียบ ส ำหรับค่ำจ้ำง พบว่ำ ค่ำแรงของชำวมละบ ริบำงคนถูกจ้ำงเหมำเป็น รำยปี โดยจะจ่ำยค่ำจ้ำงเป็น รำยปี หรือบำงคนท ำงำนเพื่อแลกกับรถจักรยำนยนต์ไว้ใช้งำน และค่ำแรงขั้นต่ ำยังไม่ถึง ๓๐๐ บำท ต่อวัน 2.2 จังหวัดน่าน ชำวมละบริที่อำศัยอยู่ในจังหวัดน่ำน ส่วนใหญ่จะอำศัยอยู่ในพื้นที่ป่ำสงวน และภำยในเขตอุทยำนแห่งชำติ เช่น ๑) ศูนย์ภูฟ้ำพัฒนำ หมู่ที่ ๓ ต ำบลภูฟ้ำ อ ำเภอบ่อเกลือ จังห วัดน่ ำน อยู่ในพื้นที่ของโค รงก ำรฟื้นฟู และพัฒ น ำป่ ำไม้บ้ ำนท่ ำวะต ำมพ ระรำชด ำริ สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ๒) บ้ำนห้วยลู่


๔ หมู่ที่ ๕ ต ำบลสะเนียน อ ำเภอเมือง จังหวัดน่ำน อยู่ในพื้นที่ของโครงกำรฟื้นฟู และพัฒนำป่ำไม้ บ้ำนท่ำวะตำมพระรำชด ำริสมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรม รำชกุมำรี และ ๓) บ้ำนห้วยหยวก หมู่ที่ ๖ ต ำบลแม่ขะนิง อ ำเภอเวียงสำ จังหวัดน่ำน อยู่ในเขตพื้นที่ ป่ำสงวนแห่งชำติ และอำศัยอยู่ร่วมกับชำวม้ง แต่ก็จะมีปัญหำเรื่องสิทธิในที่ดินท ำกิน เนื่องจำก มีชำวมละบริอำศัยอยู่เป็นจ ำนวนมำก ข้อเสนอแนะ กำรถือครองที่ดินท ำกินให้กับกลุ่มชำติพันธุ์มละบริที่กระจำยอยู่ในพื้นที่ต่ำง ๆ เพื่อให้ชำวมละบริได้รับกรรมสิทธิ์ในกำรครอบครองที่ดินท ำกินอย่ำงถูกต้อง เพื่อแก้ไขปัญหำ ของชำวมละบริที่ประสบปัญหำด้ำนพื้นที่ท ำกินที่ไม่เพียงพอกับจ ำนวนประชำกรที่มีอัตรำกำรขยำยตัว เพิ่มขึ้น ควรค ำนึงถึงสิทธิในกำรเลือกปรับตัวเข้ำกับสภำพแวดล้อมภำยใต้บริบทกำรเปลี่ยนแปลง ด้วยควำมสมัครใจ เพื่อมิให้เกิดควำมขัดแย้งตำมมำ 3. ปัญหาด้านการคมนาคม เนื่องจำกชุมชนชำวมละบริ เป็นชุมชนที่อำศัยและท ำกินอยู่ในพื้นที่ป่ำสงวน แห่งชำติและในเขตอุทยำนแห่งชำติเป็นส่วนใหญ่ ป ระกอบกับพื้นที่ดังกล่ำวมีข้อจ ำกัด ด้ำนกำรคมนำคมที่ยำกล ำบำกและเป็นอุปสรรคในกำรเดินทำงไปยังโรงพยำบำล โรงเรียน และค้ำขำย รวมทั้งเรื่องระบบสำธำรณูปโภค ไฟฟ้ำ ประปำ ท ำให้ชำวมละบริบำงส่วนโดยเฉพำะเด็กไม่ได้ไป โรงเรียน เช่นกรณี เด็กชำวมละบริที่อำศัยอยู่ในชุมชนหมู่บ้ำนผำสุก ต ำบลภูฟ้ำ อ ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่ำน ต้องเดินทำงจำกชุมชนไปยังโรงเรียนซึ่งมีระยะทำงเดินทำงทั้งไปและกลับ ๖ กิโลเมตร ข้อเสนอแนะ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องควรปรับปรุงเส้นทำงคมนำคม เพื่อสะดวกต่อกำรสัญจรไปมำ ของคนในชุมชน หรือปรับปรุงเส้นทำงตรงจุดที่เดินทำงล ำบำก รถติดโคลน สิ่งเหล่ำนี้จะช่วยให้คนที่อยู่ ในชุมชนเดินทำงได้สะดวกมำกขึ้น ๔. ปัญหาด้านการคุมก าเนิด ชำวมละบริไม่ให้ควำมส ำคัญกับกำรวำงแผนครอบครัว บำงครอบครัวมีอัตรำเด็ก ที่คลอดใหม่เฉลี่ยครอบครัวละ ๔ - ๕ คน ซึ่งเป็นจ ำนวนที่มำกเกินไปเมื่อเทียบกับจ ำนวนบุตร ของคนพื้นรำบ แต่ลักษณะกำรด ำรงชีวิตของชำวมละบริมีควำมเห็นว่ำ กำรที่มีบุตรมำกเมื่อโตขึ้น ก็จะน ำบุตรไปเป็นแรงงำนในกำรประกอบอำชีพ ข้อเสนอแนะ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องโดยตรงควรท ำควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรวำงแผนครอบครัว ร่วมกับโรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพต ำบล ในกำรสร้ำงองค์ควำมรู้เกี่ยวกับกำรดูแลสุขภำพของแม่ และกำรตั้งครรภ์ตลอดจนกำรเลี้ยงดูบุตรเพื่อให้เติบโตอย่ำงมีคุณภำพในสังคมได้


๕ ๕. ปัญหาด้านโภชนาการ สืบเนื่องมำจำกสุขภำวะด้ำนโภชนำกำรที่ด้อยคุณค่ำจึงท ำให้ส่งผลกระทบ ต่อสุขภำพของเด็กที่อยู่ในช่วงก ำลังเจริญเติบโตมีผลต่อกำรพัฒนำกำรแต่ละด้ำนของเด็ก ไม่เป็นไปต ำม วัย เช่น โรงเรียนภูเค็งพัฒ น ำ ต ำบลแม่ขะนิง อ ำเภอเวียงสำ จังห วัดน่ ำน มีนักเรียน ๓ ชนเผ่ำเรียนร่วมกัน ได้แก่ ๑) ชำวม้ง ๒) ชำวมละบริ และ ๓) ชำวเมี่ยน เมื่อเปรียบเทียบ กันแล้ว พบว่ำเด็กชำวมละบริจะมีพัฒนำกำรด้ำนกำรเรียนรู้ที่ช้ำกว่ำเด็กอื่น ๆ ข้อเสนอแนะ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องควรลงพื้นที่ให้ควำมรู้เกี่ยวกับโภชนำกำรกับพ่อแม่ และผู้ปกครอง เพื่อให้เด็กได้รับประทำนอำหำรที่มีประโยชน์ต่อสุขภำพร่ำงกำยรวมถึงยังส่งผล ต่อกำรเรียน ๖. ปัญหาด้านสัญชาติ ชำวมละบ ริบ ำงส่วนยังไม่ได้ รับสัญ ชำติไทย ซึ่งเป็นผลก ระทบม ำจำก สังคมไม่ยอมรับในวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชำวมละบริ เนื่องจำกสังคม มองว่ำชำวมละบริไม่ใช่คนไทย และเมื่อคนไทยส่วนหนึ่งได้พบเห็นกำรเคลื่อนย้ำยกำรตั้งถิ่นฐำน ของชำวมละบริอยู่บ่อยครั้ง จึงท ำให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องไม่สำมำรถติดตำมสถำนะบุคคล ได้และข้อมูลในปัจจุบัน พบว่ำมีชำวมละบริที่ยังไม่ได้รับสัญชำติไทยประมำณหลักร้อยคน (ข้อมูลจากศูนย์มานุษยวิทยา) ข้อเสนอแนะ ช ำวมละบ ริค วรได้ รับ สิท ธิในก ำรได้ รับสัญ ช ำติเช่นพลเมืองไทยทั่ วไป เพื่อเข้ำถึงสวัสดิกำรแห่งรัฐต่ำง ๆ อย่ำงเท่ำเทียมกันเพื่อให้ได้รับกำรคุ้มครองทำงสังคมที่มีคุณภำพ อย่ำงทั่วถึงและเท่ำเทียมมีโอกำสเข้ำถึงทรัพยำกร เข้ำถึงสำธำรณสุข และกำรศึกษำได้อย่ำงเสมอภำค ๗. ปัญหาด้านการส่งเสริมภูมิปัญญาและการรักษาอัตลักษณ์ดั้งเดิมของชุมชน ในอดีตที่ผ่ำนมำชำวมละบริอำศัยและด ำรงชีพอยู่ในป่ำ แต่ปัจจุบันวิถีชีวิต ของชำวมละบริได้เคลื่อนย้ำยจำกที่อยู่เดิม และมำอำศัยอยู่ในพื้นที่ชุมชน ซึ่งมีลักษณะเป็นที่ตั้งถำวร ได้แก่ ๑) ชุมชนห้วยหยวก อ ำเภอเวียงสำ จังหวัดน่ำน ๒) ชุมชนห้วยลู่ อ ำเภอเมือง จังหวัดน่ำน ๓) ศูนย์ภูฟ้ำพัฒนำ จังหวัดน่ำน ๔) ชุมชนท่ำวะ หย่อมบ้ำนท่ำวะ อ ำเภอสอง จังหวัดแพร่ จึงท ำให้วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป กำรด ำเนินชีวิตเด็กและเยำวชนส่วนหนึ่งถูกกลืนด้วยวัฒนธรรม สมัยใหม่ และหลงลืมวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ดั้งเดิมของตนเอง ข้อเสนอแนะ ควรร่วมกันอนุ รักษ์และฟื้นฟูภ ำษ ำและวิถีวัฒ น ธรรมอันเป็นอัตลักษณ์ ของกลุ่มชำติพันธุ์แต่ละพื้นที่โดยเฉพำะภำษำที่ประสบภำวะวิกฤตใกล้สูญหำย เพื่อสร้ำงควำมเข้มแข็ง ทำงวัฒนธรรมและถ่ำยทอดสู่เยำวชนรุ่นใหม่ให้สืบทอดมรดกทำงวัฒนธรรมที่มีควำมแตกต่ำงกัน ในแต่ละพื้นที่ให้คงอยู่สืบไปมิให้สูญหำยไป


๖ จำกนั้นที่ประชุมได้แสดงควำมคิดเห็นอย่ำงกว้ำงขวำง สรุปได้ดังนี้ ล าดับแรก นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ประธานคณะอนุกรรมาธิการ ได้ให้ความเห็นว่า รายงานฉบับนี้มีความสอดคล้องกับรายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) ซึ่งมีลักษณะการด ารงชีวิตที่คล้ายกัน และอาจจะมีปัญหาไม่แตกต่างกัน มากนัก ดังนั้น จึงเห็นควรมอบหมายฝ่ายเลขานุการจัดท าตารางเปรียบเทียบสภาพปัญหา และข้อเสนอแนะของรายงานทั้ง 2 ฉบับ มาเปรียบเทียบเพื่อให้แสดงให้เห็นถึงสภาพปัญหา และข้อเสนอบางประการที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถัด ม า น ายอัค รเดช สุพ รรณ ฝ่ าย อนุ ก รรม าธิก าร ได้ให้ ค ว ามเห็ น ว่ า ส าหรับข้อเสนอแนะในแต่ละด้านอาจจะต้องมีการปรับแก้ถ้อยค าเพื่อให้มีความสอดคล้องและเป็นไป ตามแนวทางเดียวกัน เช่น ข้อเสนอแนะบางข้อควรเขียนว่า “หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจะด าเนินการ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง” ต่อมำ นายศุภชัย สถีรศิลปิน อนุกรรมาธิการ ได้แสดงควำมคิดเห็นว่ำ ปัญหำด้ำน กำรจัดท ำฐำนข้อมูลกลุ่มชำติพันธุ์ควรมีกำรเพิ่มถ้อยค ำ ดังนี้ “ควรมีกำรเก็บรวบรวมข้อมูล ให้เป็นมำตรฐำนและต่อเนื่อง” เพื่อให้มีควำมสอดคล้องกับข้อเสนอแนะข้ำงต้น จากนั้น นางจิราภรณ์ เล้าเจริญ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่สอง ได้ให้ความเห็นดังนี้ 1. เห็นด้วยกับประธานคณะอนุกรรมาธิการ ในการน าสภาพปัญหาและข้อเสนอแนะ ของรายงานทั้ง 2 ฉบับ เพื่อน ามาเปรียบเทียบกัน แต่ในส่วนของปัญหาด้านสัญชาติของชาวมละบริ บางส่วนยังไม่ได้รับสัญชาติไทย ซึ่งเป็นผลกระทบมาจากสังคมไม่ยอมรับ ในประเด็นนี้ มีความเห็นว่า เรื่องการได้รับสัญชาติเป็นนโยบายของภาครัฐที่จะให้กับบุคลใดบุคคลหนึ่งเพื่อให้เข้าถึงสิทธิ และสวัสดิการจากภาครัฐ อาจจะไม่สอดคล้องกับสภาพปัญหาดังกล่าว ดังนั้น จึงเห็นควรแก้ไขถ้อยค า เพื่อให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น 2. จากการประชุมครั้งที่ผ่านมา ที่ประชุมได้พิจารณ าติดตามโครงการเด็ก และเยาวชนกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยมอบหมายฝ่ายเลขานุการติดตามข้อมูล จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีความคืบหน้าอย่างไรบ้าง จากนั้น นางเพชรรัตน์ มหาสิงห์อนุกรรมาธิการและผู้ช่วยเลขานุการ ได้ให้ข้อมูลว่า การติดตามข้อมูลโครงการเด็กและเยาวชนกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขณะนี้อยู่ระหว่างการประสานข้อมูล ล าดับสุดท้าย นายศุภากร ปทุมรัตนาธาร อนุกรรมาธิการ ได้ให้ข้อมูลว่า ขณ ะนี้ได้ติดตามหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดโครงการเด็กและเยาวชนกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งมีทั้งหมด 23 หน่วยงาน หากได้ความคืบหน้าจะน ามาเสนอต่อที่ประชุมต่อไป มติที่ประชุม : ที่ประชุมรับทราบข้อมูลข้างต้น และมอบหมายฝ่ายเลขานุการด าเนินการ จัดท าตารางเปรียบเทียบสภาพปัญหาและข้อเสนอแนะของรายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การพัฒนา คุณภาพชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) และรายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) เพื่อน ามาเสนอต่อที่ประชุมครั้งต่อไป


๗ 3.2 การติดตามความคืบหน้าเพื่อค้นหาบุคคลผู้ท าคุณประโยชน์ต่อสังคม และส่วนรวม ภายใต้โครงการ “เด็กและเยาวชน ต้นกล้าคนดีของสังคม” ล าดับแรก นางจิตตินันท์ ศิริอังกานนท์ ฝ่ายเลขานุการ ได้น าเสนอความคืบหน้า ของโครงการ “เด็กและเยาวชนต้นกล้าคนดีของสังคม”สรุปสาระส าคัญ ได้ดังนี้ ที่ประชุมได้พิจารณาตัวอย่างบอร์ดจัดแสดงนิทรรศการเพื่อมอบรางวัลเชิดชูให้กับเด็ก และเยาวชนที่ท าคุณประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม จ านวน 1 รายชื่อ คือ นายธานี กกกลาง จากนั้นที่ประชุมได้ให้ความเห็นว่า เห็นควรมอบหมายฝ่ายเลขานุการจัดท ารายละเอียด รวมถึงประวัติ และผลงานส าคัญที่ผ่านมาของเด็กและเยาวชนที่ได้รับรางวัล และน ามาเสนอที่ประชุม ในครั้งต่อไป มติที่ประชุม : ที่ประชุมรับทราบ ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องอื่น ๆ ที่ป ระชุมมีมติให้นัดป ระชุมคณ ะอนุกรรมาธิการครั้งต่อไป ในวันจันท ร์ที่ ๑6 มกราคม ๒๕๖6 เวลา 09.๐๐ นาฬิกา (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) เมื่อได้เวลาอันพอสมควรแล้ว น ายวัลลภ ตั งคณ านุ รักษ์ ป ระธานคณ ะ อนุกรรมาธิการ ได้กล่าวขอบคุณอนุกรรมาธิการและผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน และปิดการประชุม เลิกประชุมเวลา 12.00 นาฬิกา นายปิยะพงษ์ น้อยเจริญ นักวิชาการสนับสนุนงานวิชาการ ผู้จดบันทึกการประชุม นางสาวภิรมย์ นิลทัพ นิติกรเชี่ยวชาญ ปฏิบัติหน้าที่ก ากับดูแลการปฏิบัติราชการ ของกลุ่มงานคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมฯ/ทาน วันพุธที่ 11 มกราคม ๒๕๖๖


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.