งานแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรในสตวรรษที่21 Flipbook PDF


70 downloads 123 Views

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

ก ,



คำนำ รายงานเล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การพัฒนาหลักสูตร กลุ่มวิชาชีพครู หลักสูตรครุศาสตร์ บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยมีจุดประสงค์ในการจัดทาขึ้น เพื่อเป็นการรวบรวมและ สรุปข้อมูลเกี่ยวกับแนวโน้นในการพัฒนาหลักสูตรของไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ทั้งนีผ้ ู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจและต้องการข้อมูลไปอ้างอิงหรือค้นคว้า เพือ่ พัฒนาต่อยอดต่อไปหากมีข้อผิดพลาดประการใดสามารถแจ้งมาได้และจะดาเนินเป็นการแก้ไขให้ถูกต้อง ต่อไปต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย นางสาวนันทวัน หล้าปุย



สำรบัญ คำนำ สำรบัญ บทที่ 1 สภำพปัจจุบันของหลักสูตรไทย หลักสูตรปฐมวัยพุทธศักรำช 2560 หลักการ จุดหมาย คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ การอบรมเลี้ยงดูและการจัดประสบการณ์ การประเมินพัฒนาการ การใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักรำช 2560) หลักการสาคัญ จุดหมาย คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้ โครงสร้างเวลาเรียน การวัดและประเมินผลการเรียน หลักสูตรประกำศนียบัตรวิชำชีพ (ปวช.) พุทธศักรำช 2562 หลักการ จุดหมาย หลักเกณฑ์การใช้หลักสูตร การประเมินผลการเรียน หลักสูตรประกำศนียบัตรวิชำชีพขั้นสูง (ปวส.) พุทธศักรำช 2563 หลักการ จุดหมาย หลักเกณฑ์การใช้หลักสูตร การประเมินผลการเรียน หลักสูตรปริญญำตรีสำยเทคโนโลยีหรือสำยปฏิบัติกำร พุทธศักรำช 2562 เป้าหมายการอาชีวศึกษา (มาตรา6) การจัดการศึกษา โครงสร้างหลักสูตร การวัดผลและประเมินผลการเรียนและการสาเร็จการศึกษา หลักสูตรอุดมศึกษำ (ภำยใต้กรอบมำตรฐำนคุณวุฒิอุดมศึกษำ) ประกาศ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี บทที่ 2 สภำพปัญหำหลักสูตรในประเทศไทย สภาพปัญหาของหลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช 2560 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)

ก ข 1 1 1 1 1 2 2 3 6 6 7 7 7 8 8 10 10 10 11 12 13 13 13 14 15 16 16 16 17 17 18 18 20 25 25 25

ค หลักสูตรอาชีวศึกษา หลักสูตรอุดมศึกษา (ภายใต้กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา) บทที่ 3 แนวโน้มกำรพัฒนำหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 หลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช 2560 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) หลักสูตรอาชีวศึกษา หลักสูตรอุดมศึกษา (ภายใต้กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา) สรุป สภาพปัจจุบันของหลักสูตรไทย สภาพปัญหาหลักสูตรในประเทศไทย แนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 บรรณำนุกรม

26 26 27 27 27 27 20 30 30 30 31 32

1

บทที่ 1 สภำพปัจจุบันของหลักสูตรไทย หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สาหรับเด็กอายุต่ากว่า ๓ ปี หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สาหรับเด็กอายุต่ากว่า ๓ ปี จัดขึ้นสาหรับพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง กับการอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก เพื่อใช้เป็นแนวทางการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ อย่างเหมาะสมกับเด็กเป็นรายบุคคล  หลักกำร เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริมพัฒนาการ ตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ตลอดจนได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่าง เหมาะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่ เด็กกับ ผู้สอน เด็กกับผู้เลี้ยงดู หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนา และให้การศึกษาแก่เด็กปฐมวัย เพื่อให้ เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลาดับขั้นของพัฒนาการทุกด้านอย่างเป็นองค์รวม มีคุณภาพ และเต็มตาม ศักยภาพ โดยกาหนดหลักการ ดังนี้ ๑. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่ครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกคน ๒. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ โดยคานึงถึง ความแตกต่างระหว่าง บุคคลและวิถีชีวิตของเด็ก ตามบริบทของชุมชน สังคม และวัฒนธรรมไทย ๓.ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมายและมีกิจกรรมที่ หลากหลาย ได้ลงมือกระทาในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัย และมีการพักผ่อนเพียงพอ ๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตน ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และมีความสุข ๕. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก ระหว่างสถานศึกษากับพ่อ แม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา เด็กปฐมวัย  จุดหมำย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สาหรับเด็กอายุต่ากว่า ๓ ปี มุ่งส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความสนใจ และความแตกต่างระหว่าง บุคคล ดังนี้ ๑. ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย แข็งแรง และมีสุขภาพดี ๒. สุขภาพจิตดีและมีความสุข ๓. มีทักษะชีวิตและสร้างปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบตัว และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ๔. มีทักษะการใช้ภาษาสื่อสาร และสนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สาหรับเด็กอายุต่ากว่า ๓ ปี กาหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ดังนี้ ๑. พัฒนำกำรด้ำนร่ำงกำย ๑. ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขภาพดี ๒. ใช้อวัยวะของร่างกายได้ประสานสัมพันธ์กัน

2

๒. พัฒนำกำรด้ำนอำรมณ์ จิตใจ ๓. มีความสุขและแสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับวัย ๓. พัฒนำกำรด้ำนสังคม ๔. รับรู้และสร้างปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสิ่งแวดล้อมรอบตัว ๕. ช่วยเหลือตนเองได้เหมาะสมกับวัย ๔. พัฒนำกำรด้ำนสติปัญญำ ๖. สื่อความหมายและใช้ภาษาได้เหมาะสมกับวัย ๗. สนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว  กำรอบรมเลี้ยงดูและกำรจัดประสบกำรณ์ การอบรมเลี้ยงดูและการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กอายุ ต่ากว่า ๓ ปี เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้จาก ประสบการณ์ตรงได้พัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจสังคมและสติปัญญาสามารถจัดในรูปของกิจกรรม บูรณาการผ่านการเล่น การอบรมเลี้ยงดู และการจัดประสบการณ์ ควรคานึงถึงสิ่งสาคัญต่อไปนี้ ๑. อบรมเลี้ยงดูเด็กและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นเด็กเป็นสาคัญ ๒. ตระหนักและสนับสนุนสิทธิขั้นพื้นฐานที่เด็กพึงได้รับ ๓. ปฏิบัติตนต่อเด็กด้วยความรักความเข้าใจและใช้เหตุผล ๔. ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กอย่างสมดุลครบถ้วนทุกด้าน ๕. ปลูกฝังระเบียบวินัยคุณธรรมและวัฒนธรรม ๖. ชาติภาษาที่เหมาะสมกับความสามารถและการเรียนรู้ของเด็ก ๗. สนับสนุนการเล่นตามธรรมชาติของเด็ก ๘. จัดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและเอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก ๙. ประเมินการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ ๑๐. ประสานความร่วมมือระหว่างพ่อแม่ผู้ปกครองผู้เลี้ยงดูสถานพัฒนาเด็กประถมวัยและชุมชน  กำรประเมินพัฒนำกำร การประเมินพัฒนาการเด็กอายุต่ากว่า ๓ ปีควรประเมินให้ครอบคลุมครบทุกช่วงอายุเพราะช่วงวัยนี้มี การเปลี่ยนแปลงรวดเร็วอีกทั้งมีความเสี่ยงต่อสภาพความผิดปกติต่าง ๆ จึงจาเป็นต้องเฝ้าระวังและติดตาม ดูแลอย่าง ใกล้ชิด พ่อแม่ผู้เลี้ยงดูหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูควรสังเกตพัฒนาการเด็ก โดยคานึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคลหากพบความผิดปกติต้องรีบพาไปพบแพทย์หรือผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ เกี่ยวกับการพัฒนา เพื่อหาทางแก้ไขหรือบาบัดฟื้นฟูโดยเร็ว สาหรับหลักในการประเมินพัฒนาการมีดังนี้ ๑. ประเมินพัฒนาการของเด็กครบทุกด้าน ๒. ประเมินเป็นรายบุคคลอย่างสม่าเสมอต่อเนื่อง ๓. ประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลายซึ่งวิธีการประเมินที่เหมาะสมกับเด็กอายุต่ากว่า ๓ ปี มีการสังเกต พฤติกรรมของเด็กในกิจกรรมต่างๆ และกิจวัตรประจาวันการบันทึกพฤติกรรมการสนทนาการสัมภาษณ์เด็ก และผู้ใกล้ชิด การวิเคราะห์ข้อมูลจากผลงานเด็ก ๔. บันทึกพัฒนาการลงในสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก และใช้คู่มือการเฝ้าระวังและส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขหรือของหน่วยงานอื่น นาผลที่ได้จากการ ประเมินพัฒนาการไปพิจารณาจัดกิจกรรม เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย  กำรใช้หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดู และสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย จะนาหลักสูตร

3

การศึกษาปฐมวัย สาหรับเด็กอายุต่ากว่า ๓ ปี ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามเจตนารมณ์ของหลักสูตร ที่ มุ่งเน้นการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ ควรดาเนินการ ดังนี้ ๑.การใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูมีความเชื่อและ วิธีการในการอบรมเลี้ยงดูเด็กแตกต่างกันไปตามแนวความคิด และสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นที่ตนเองอยู่อาศัย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สาหรับเด็กอายุต่ากว่า ๓ ปี ฉบับนี้ จะเป็นแนวทางให้พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูใช้ในการ อบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านของเด็ก ซึ่งมีข้อแนะนา ดังนี้ ๑.๑ ศึกษาปรัชญาการศึกษา หลักการ จุดหมาย เพื่อทาความเข้าใจกับแนวทางการพัฒนาเด็ก อย่างมี คุณภาพ ๑.๒ ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อใช้เป็นแนวทางการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัยอย่างเหมาะสมกับวัย ในกรณีการอบรมเลี้ยงดูเด็กช่วงอายุแรกเกิด - ๖ ปี ให้ใช้แนวปฏิบัติการอบรม เลี้ยงดูตามวิถีชีวิตประจาวันเป็นกรอบการพัฒนาเด็ก และหากมีการอบรมเลี้ยงดูเด็กช่วงอายุ ๒ - ๓ ปี ให้ใช้ แนวปฏิบัติการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ ๑.๓ ติดตามประเมินพัฒนาการทุกด้านของเด็ก โดยการสังเกตและบันทึกการเจริญเติบโต และ พัฒนาการตามช่วงอายุที่กาหนด รวมถึงการเฝ้าระวังปัญหาพัฒนาการที่ล่าช้าหรือความผิดปกติ ที่อาจเกิด ขึ้นกับเด็ก หากพบว่าเด็กมีพัฒนาการช้ากว่าปกติ ควรปรึกษาแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อช่วยเหลือ เด็กต่อไป ๑.๔ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก เด็กแต่ละคนมีพัฒนาการเร็วช้าต่างกัน พ่อแม่หรือผู้ เลี้ยงดูหลีกเลี่ยงการเปรียบเทียบเด็ก หรือเลือกปฏิบัติต่อเด็กเฉพาะคน แต่ควรจัดกิจกรรม เพื่อส่งเสริม พัฒนาการด้านที่บกพร่องหรือด้านที่เด็กขาดโอกาสในการพัฒนา ๒. การใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สาหรับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เด็กอายุต่ากว่า ๓ ปี ควรได้รับ การอบรมเลี้ยงดูจากพ่อแม่หรือบุคคลในครอบครัว แต่เนื่องจาก สภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทาให้ต้องออกไปทางานนอกบ้าน ประกอบกับครอบครัวส่วนใหญ่ มักจะเป็นครอบครัวเดี่ยว พ่อแม่จึงนาเด็ก ไปรับการเลี้ยงดูในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ดังนั้น สถานพัฒนา เด็กปฐมวัยแต่ละแห่งควรดาเนินการจัดทา หลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยวางแผนหรือกาหนด แนวทางการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการ และการเรียนรู้ เพื่อให้เด็กได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ตรงตามปรัชญาการศึกษาและหลักการของ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยควรดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยร่วมกับพ่อแม่ ครอบครัว บุคลากรทางสาธารณสุข ผู้เลี้ยงดูหรือผู้สอน คณะกรรมการที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และชุมชน เพื่อพัฒนา เด็กให้บรรลุคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ๒.๑ การจัดทาหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย หลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยควรออกแบบและ จัดทาบนพื้นฐานของหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย โดยสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยกาหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย ทั้งนี้ กระบวนการจัดทาหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย มีดังนี้ ๒.๑.๑ ศึกษา ทาความเข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สาหรับ เด็กอายุํากว่ ต่ า ๓ ปี รวมทั้งรวบรวมข้อมูลด้านต่างๆ เช่น วิธีการอบรมเลี้ยงดู ความต้องการของ พ่อแม่ ผู้ปกครอง วัฒนธรรมความเชื่อของท้องถิ่น และความพร้อมของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ๒.๑.๒ จัดทาหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยการกาหนดปรัชญาการศึกษา วิสัยทัศน์ ภารกิจ หรือพันธกิจ เป้าหมาย คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และกาหนดสาระการเรียนรู้ในแต่ละช่วงอายุ อย่าง กว้างๆ

4

ให้ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน ผ่านประสบการณ์สาคัญที่เด็กใช้ในการเรียนรู้ตามหลักสูตรการ ศึกษา ปฐมวัยและสาระที่ควรเรียนรู้ ซึ่งอาจต่างกันตามบริบทหรือสภาพแวดล้อมของเด็ก การจัดประสบการณ์ การ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ และการประเมินพัฒนาการ โดยสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัย อาจกาหนดหัวข้ออื่นๆ ได้ตามความเหมาะสมและความจาเป็นของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแต่ละแห่ง ๒.๑.๓ ประเมินหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เป็นขั้นตอนของการตรวจสอบหลักสูตร สถาน พัฒนาเด็กปฐมวัย แบ่งออกเป็น การประเมินก่อนนาหลักสูตรไปใช้ เป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบ คุณภาพ ของหลักสูตรหลังจากที่ได้จัดทาแล้ว โดยอาศัยความคิดเห็นจากผู้ใช้หลักสูตร ผู้มีส่วนร่วมในการ ทา หลักสูตร ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านต่างๆ การประเมินระหว่างการดาเนินการใช้หลักสูตร เป็นการ ประเมินเพื่อ ตรวจสอบว่าหลักสูตรสามารถนาไปใช้ได้ดีเพียงใด ควรมีการปรับปรุงแก้ไขในเรื่องใด และ การ ประเมินหลัง การใช้หลักสูตรเป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบหลักสูตรทั้งระบบ หลังจากที่ใช้หลักสูตรครบ แต่ละ ช่วงอายุ เพื่อสรุปผลว่าหลักสูตรที่จัดทาควรมีการปรับปรุงหรือพัฒนาให้ดีขึ้นอย่างไรหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สาหรับ เด็กอายุ ๓-๖ ปี  หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยสำหรับเด็กอำยุ ๓-๖ ปี เป็นการจัดการศึกษาในลักษณะการอบรมเลี้ยงดู และให้การศึกษา เด็กจะได้รับการพัฒนาทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาตามวัยและ ความสามารถของแต่ละบุคคล  จุดมุ่งหมำย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สาหรับเด็กอายุ ๓-๖ ปี มุ่งให้เด็กพฒั นาการตามวัยเต็มตามศักยภาพและ มี ความพร้อมในการเรียนรู้ต่อไปจึงกาหนดจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดกับเด็กเมื่อจบการศึกษาระดับ ปฐมวัย ดังนี้ ๑. ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย แข็งแรง และมีสุขนิสัยที่ดี ๒. สุขภาพจิตดี มีสุนทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตใจที่ดีงาม ๓. มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข ๔. มีทักษะการคิด การใช้ภาษาสื่อสาร และแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย  กำรจัดประสบกำรณ์ การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กอายุ ๓-๖ ปี เปผ้รการจัดกิจกรรมในลักษณะการบูรณาการผ่านการ เล่น การลงมือกระทาจากประสบการณ์ตรงอย่างหลากหลาย เกิดความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม ร่วมทั้ง เกิด การพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ไม่จัดเป็นรายวิชา โดยมีหลักการจัด ประสบการณ์ แนวทางการจัดประสบการณ์ และการจัดกิจกรรมประจาวัน ดังนี้ ๑.หลักกำรจัดประสบกำรณ์ ๑.๑ จัดประสบการณ์การเล่นและการเรียนรู้อย่างหลากหลายเพื่อพัฒนาโดนองค์รวมอย่างสมดุลและ ต่อเนื่อง ๑.๒ เน้นเด็กเป็นสาคัญสนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและบริบทของ สังคมของเด็กอาศัยอยู่ ๑.๓ จัดให้เด็กได้รับการพัฒนาโดยให้ความสาคัญกับกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็ก ๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่องและเป็นส่วนหนึ่งของการจัด ประสบการณ์ พร้อมทั้งนาผลการประเมินมาพัฒนาเด็กอย่างต่อเนื่อง ๑.๕ ให้พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก

5

๒.แนวทำงกำรจัดประสบกำรณ์ ๒.๑ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการทางานของสมองให้เหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ และระดับพัฒนาการ ๒.๒ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับแบบการเรียนรู้ของเด็ก เด็กได้ลงมือทาและเรียนรู้ผ่านประสาท สัมผัสทั้งห้า เคลื่อนไหว สารวจ เล่น สังเกต ค้นหา ทดลอง และแก้ปัญหาด้วยตนเอง ๒.๓ จัดประสบการณ์บูรณาการ โดยบูรณาการทั้งกิจกรรม ทักษะ และสาระการเรียนรู้ ๒.๔ จัดประสบการณ์ให้เด็กได้คิดริเริ่ม วางแผน ตัดสินใจลงมือทาและนาเสนอความคิดโดยผู้สอน หรือ ผู้จัดประสบการณ์เป็นผู้อานวยความสะดวก และเรียนรู้ร่วมกับเด็ก ๒.๕ จัดประสบการณ์ให้เด็กได้มีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอื่นและผู้ใหญ่ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ในบรรยากาศที่อบอุ่น มีความสุข และเรียนรู้การทากิจกรรมแบบร่วมมือในลักษณะต่างๆกัน ๒.๖ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและอยู่ในวิถีชีวิตของ เด็กสอดคล้องกับบริบท สังคม และวัฒนธรรมที่แวดล้อมเด็ก ๒.๗ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมนิสัยที่ดีและทักษะการใช้ชีวิตประจาวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง พร้อมทั้งสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และระเบียบวินัยเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๒.๘ จัดประสบการณ์ทั้งในลักษณะที่มีการวางแผนไว้ล่วงหน้าและแผนที่เกิดขึ้นในสภาพจริงโดยไม่ได้ คาดการณ์ไว้ ๒.๙ จัดทาสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก เป็นรายบุคคล นามาไตร่ตรองและใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็กและวิจัยในชั้นเรียน ๒.๑๐ จัดประสบการณ์โดยให้พ่อแม่ ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมทั้งการวางแผน การสนับสนุนสื่อ  กำรประเมินพัฒนำกำร การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี เป็นการประเมินพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญาของเด็ก โดยถือเป็นกระบวนการต่อเนื่อง และเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมปกติทจี่ ัดให้ เด็ก ในแต่ละวัน ผลที่ได้จากการสังเกตพัฒนาการเด็ก ต้องนามาจัดทาสารนิทัศน์ หรือจัดทาข้อมูลหลักฐาน หรือ เอกสารอย่างเป็นระบบด้วยการรวบรวมผลงานสาหรับเด็กเป็นรายบุคคลที่สามารถบอกเรื่องราวหรือ ประสบการณ์ที่เด็ก ได้รับว่าเด็กเกิดการเรียนรู้และมีความก้าวหน้าเพียงใด ทั้งนี้ ให้นาข้อมูลผลการประเมิน พัฒนาการเด็กมาพิจารณาปรับปรุงวางแผนการจัดกิจกรรม และส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนได้รับการพัฒนาตาม จุดหมายของ หลักสูตรอย่างต่อเนื่อง การประเมินพัฒนาการควรยึดหลัก ดังนี้ การประเมินพัฒนาการ ๑. วางแผนการประเมินพัฒนาการอย่างเป็นระบบ ๒. ประเมินพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ๓. ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคลอย่างสม่าเสมอ ต่อเนื่องตลอดปี ๔. ประเมินพัฒนาการตามสภาพจริงจากกิจกรรมประจาวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย ไม่ควรใช้แบบทดสอบ ๕. สรุปผลการประเมิน จัดทาข้อมูลและนาผลการประเมินไปใช้พัฒนาเด็ก สาหรับวิธีการประเมินที่ เหมาะสม และควรใช้กับเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี ได้แก่ การสังเกต การบันทึกพฤติกรรม การสนทนากับเด็ก การ สัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลจากผลงานเด็กที่เก็บอย่างมีระบบ

6

หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักรำช ๒๕๖๐) จากปัญหาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้ทบทวนและปรับปรุงเป็นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551  หลักกำรสำคัญ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้สมรรถนะสาคัญและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนไว้เป็นเป้าหมายของการจัดกระบวนการเรียนรู้ทกุกลุ่มสาระการ เรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมาย โดยส่งเสริมให้เรียนรู้จากการเผชิญหน้ากับสถานการณ์ การได้ สัมผัส สัมพันธ์ กับสิ่งแวดล้อม มนุษย์และธรรมชาติ ลงมือปฏิบัติจริง ฝึกให้คิดเป็น ทาเป็นแก้ปัญหาเป็น รักการอ่าน และใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง 2. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีของ แต่ละ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อให้ครูผู้สอนมองเห็นผลคาดหวังที่ต้องพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มี ความรู้ ความสามารถ และทักษะที่สาคัญของแต่ละชั้นปี และต่อเนื่องจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนั้น การจัดทา สาระการเรียนรู้ การกาาหนดเนื้อหา การจัดทาหน่วยการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนและการวัด ประเมินผลการเรียนรู้ จะต้องสะท้อนคุณภาพของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด ที่กาหนดไว้ใน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อใช้ตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนและเทียบโอนผลการเรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3. การจัดการเรียนรู้เพอื่ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้เอง มีส่วนร่วมในการสร้างผลการเรียนรทู้ ี่มี ความหมายแก่ตนเองผู้สอนต้องออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์การเรียนรอู้ ย่างเป็นระบบ เน้นประโยชน์สูงสุดที่จะเกิดแก่ผู้เรียนและคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลพัฒนาผู้เรียนจนเต็มศักยภาพ ตามความถนัดและความสนใจเป็นรายบุคคล 4. การจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปีจะต้องใช้ กระบวนการการเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการคิด กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการทางสังคม กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการพัฒนาค่านิยม กระบวนการบูรณาการ ฯลฯ กระบวนการที่ผู้สอนต้องฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้และพัฒนาตนเองจนบรรลุมาตรฐาน การเรียนรู้ของหลกั สูตรอย่างมีประสิทธิภาพ 5. ผู้สอนต้องออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะ สาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวัยผู้เรียน แล้วจึงเลือกใช้วิธี สอนและเทคนิคการสอน สื่อ แหล่งเรียนรู้ เครื่องมือ และวิธีการวัดและประเมินผลที่มีคุณภาพเพื่อพัฒนา ผู้เรียนไปสู่เป้าหมายการเรียนรู้ที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและเต็มตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน กระทรวงศึกษาธิการ (2551: 4-30) จึงได้กาหนดส่วนประกอบสาคัญของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้แก่ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการวัดประเมินผล ซึ่งมีความสัมพันธ์ กันเป็น ระบบ ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการเรียนรู้ ตลอดชีวิต

7

 จุดหมำย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข และ ประกอบ อาชีพ จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มีศักยภาพในการศึกษาต่อ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้ เกิดกับ ผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ มีคุณธรรม 1. เห็นคุณค่าของตนเองมีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นับถือยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย 3. มีความรักชาติ 4. มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์รงเป็น ประมุข มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิ ปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามใน สังคม และอยู่ ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข  คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 8.มีจิตสาธารณะนอกจากนี้สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพงึประสงค์เพิ่มเติมให้ สอดคล้องตามบริบทและจุดเน้นของตนเอง  มำตรฐำนกำรเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วิทยาศาสตร์ ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘. ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาคัญของการพัฒนา

8

คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึง ประสงค์ที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไก สาคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการ อะไร ต้องสอนอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการ ประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึง การทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพ ดังกล่าวเป็นสิ่งสาคัญ ที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่มาตรฐาน การเรียนรู้กาหนดเพียงใด  โครงสร้ำงเวลำเรียน การกาหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานและเพิ่มเติมสถานศึกษาสามารถดาเนินการดังนี้ ระดับ ประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ต้องมี เวลาเรียนรวมตามที่กาหนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และผู้เรียนต้องมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการ เรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนด ระดับมัธยมศึกษา ต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้เป็นไป ตามที่กาหนดและ สอดคล้องกับเกณฑ์การจบหลักสูตร สาหรับเวลาเรียนเพิ่มเติมทั้งในระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษาให้ จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติมหรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับความพร้อม จุดเน้นของ สถานศึกษาและเกณฑ์การจบหลักสูตร เฉพาะระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ สถานศึกษา อาจ จัดให้เป็น เวลาสาหรับสาระการเรียนรู้พื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่กาหนดไว้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีละ ๑๒๐ ชั่วโมง และชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ จานวน ๓๖๐ ชั่วโมงนั้น เป็นเวลาสาหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในส่วนกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ให้สถานศึกษา จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ ระดับประถมศีกษา(ป.ด-๖) รวม๖ปี จานวน๖๐ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ - ๓) รวม ๓ ปี จานวน ๔๕ ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔ - ๖) รวม ๓ ปี จานวน ๖๐ ชั่วโมง  กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมิน เพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียนในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบผลสาเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้ บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะ สาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนร้ํน ใ ทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศ ที่แสดง พัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับ สถานศึกษา ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอียดดังนี้ ๑. กำรประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนดาเนินการ เป็นปกติและ สม่าเสมอในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การ

9

ตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วม ประเมิน การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้า ในการเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนา ปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งนี้ โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ๒. กำรประเมินระดับสถำนศึกษำ เป็นการตรวจสอบผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี รายภาค ผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและเป็นการประเมินเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีสิ่งที่ต้องการ พัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนาผลการเรียน ของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ และระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศ เพื่อการปรับปรุง นโยบาย หลักสูตร โครงการหรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และการรายงานผล การจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและชุมชน ๓. กำรประเมินระดับเขตพื้นที่กำรศีกษำ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษาตามมาตรฐาน การเรียนรู้ตาม หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่ การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการ โดยประเมินคุณภาพผู้เรียนด้วยวิธีการและเครื่องมือ ที่เป็นมาตรฐานที่จัดทาและดาเนินการ โดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด และหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมินระดับ สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศีกษา ๔. กำรประเมินระดับชำติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร แกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการ เทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่างๆ เพื่อนาไปใช้ใน การวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจในระดับ นโยบายของประเทศ ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวน พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบ ดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน ความแตกต่างระหว่าง บุคคลที่ จาแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถ พิเศษ กลุ่ม ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา กลุ่มผู้เรียน ที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรมกลุ่มผู้เรียนที่ ปฏิเสธ โรงเรียน กลุ่มผู้เรียนทีม่ ีปัญหาทางเศรษฐกิจ และสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูล จากการประเมินจึงเป็นหัวใจ ของสถานศึกษาในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที เปิดโอกาส ให้ ผู้เรียนได้รับ การพัฒนาและประสบความสาเร็จในการเรียน

10

สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษาจะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้อง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ที่เป็นข้อกาหนดของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ถือปฏิบัติร่วมกัน

หลักสูตรประกำศนียบัตรวิชำชีพ (พุทธศักรำช ๒๕๖๒)

 หลักกำรของหลักสูตร 1. เป็นหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหลังมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่าด้านวิชาชีพที่ สอดคล้อง กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นไปตามกรอบคุณวุฒิ แห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ และกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ เพื่อผลิตและพัฒนากาลังคน ระดับฝีมือ ให้มีสมรรถนะ มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถประกอบอาชีพได้ตรงตาม ความต้องการ ของสถานประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระ 2. เป็นหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้อย่างกว้างขวางเน้นสมรรถนะเฉพาะด้านด้วยการ ปฏิบัติ จริง สามารถเลือกวิธีการเรียนตามศักยภาพและโอกาสของผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเทียบ โอนผล การเรียน สะสมผลการเรียน เทียบโอนความรู้และประสบการณ์จากแหล่งวิทยาการ สถานประกอบการ และ สถานประกอบอาชีพอิสระ 3. เป็นหลักสูตรที่สนับสนุนการประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่างหน่วยงาน และองค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน 4. เป็นหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้สถานศึกษาสถานประกอบการชุมชนและท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการ พัฒนาหลักสูตร ให้ตรงตามความต้องการ โดยยึดโยงกับมาตรฐานอาชีพและสอดคล้องกับสภาพยุทธศาสตร์ ของภูมิภาค เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

 จุดหมำยของหลักสูตร 1. เพื่อให้มีความรู้ทักษะและประสบการณ์ในงานอาชีพสอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพสามารถ นาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพเลือกวิถีการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ได้อย่างเหมาะสมกับตน สร้างสรรค์ความเจริญต่อชุมชน ท้องถิ่นและประเทศชาติ 2. เพื่อให้เป็นผู้มีปัญญา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและการ ประกอบอาชีพ มีทักษะการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะการคิด วิเคราะห์และ การแก้ปัญหา ทักษะด้านสุขภาวะและความปลอดภัย ตลอดจนทักษะการจัดการ สามารถสร้าง อาชีพ และพัฒนาอาชีพให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ 3. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพมีความมั่นใจและภาคภูมิใจในวิชาชีพที่เรียนรักงานรักหน่วยงาน สามารถทางาน เป็นหมู่คณะได้ดี โดยมีความเคารพในสิทธิและหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น 4. เพื่อให้เป็นผู้มีพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงามทั้งในการทางานการอยู่ร่วมกันการต่อต้านความ รุนแรง และ สารเสพติด มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว หน่วยงาน ท้องถิ่นและประเทศชาติ ดารงตนตามหลัก ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง เข้าใจและเห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น มี จิตสาธารณะและจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี 5. เพื่อให้มีบุคลิกภาพที่ดีมีมนุษยสัมพันธ์มีคุณธรรมจริยธรรมและวินัยในตนเองมีสุขภาพอนามัย ที่ สมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ เหมาะสมกับงานอาชีพ

11

6. เพื่อให้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศและโลก ความรักชาติ สานึกในความเป็นไทย เสียสละเพื่อส่วนรวม ดารงรักษาไว้ซึ่งความมั่นคงของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

หลักเกณฑ์กำรใช้หลักสูตรประกำศนียบัตรวิชำชีพ พุทธศักรำช 2562 1. กำรเรียนกำรสอน 1.1 การเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้ ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนเรียนได้ทุกวิธีเรียนที่กาหนด และ นา ผลการเรียนแต่ละวิธีมาประเมินผลร่วมกันได้สามารถขอเทียบโอนผลการเรียนและขอเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ได้ 1.2 การจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติจริง สามารถจัดการเรียนการสอนได้หลากหลายรูปแบบ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ วิธีการและการดาเนินงาน มีทักษะการปฏิบัติงานตาม แบบแผน ในขอบเขตสาคัญและบริบทต่างๆ ที่สัมพันธ์กันซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานประจา ให้คาแนะนาพื้นฐานที่ต้องใช้ในการ ตัดสินใจ วางแผนและแก้ไขปัญหาโดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมในบางเรื่อง สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะ ทางวิชาชีพ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการแก้ปัญหาและการปฏิบัติงานในบริบท ใหม่รวมทั้ง รับผิดชอบต่อตนเอง และผู้อื่น ตลอดจนมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ เหมาะสมในการทางาน 2. กำรจัดกำรศึกษำและเวลำเรียน การจัดการศึกษาในระบบปกติ ใช้ระยะเวลา 3 ปีการศึกษา การจัดเวลาเรียนให้ดาเนินการ ดังนี้ 2.1 ในปีการศึกษาหนึ่งๆ ให้แบ่งภาคเรียนออกเป็น 2 ภาคเรียนปกติหรือระบบทวิภาค ภาคเรียน ละ 18 สัปดาห์ รวมเวลาการวัดผล โดยมีเวลาเรียนและจานวนหน่วยกิตตามที่กาหนด และสถานศึกษาอา ชีวศีกษาหรือสถาบัน อาจเปิดสอนภาคเรียนฤดูร้อน ได้อีกตามที่เห็นสมควร 2.2 การเรียนในระบบชั้นเรียน ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันเปิดทาการสอนไม่น้อยกว่า สัปดาห์ละ 5 วัน ๆ ละ ไม่เกิน 7 ชั่วโมง โดยกาหนดให้จัดการเรียนการสอนคาบละ 60 นาที 3. กำรคิดหน่วยกิต ให้มีจานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 103 - 110 หน่วยกิต การคิดหน่วยกิตถือเกณฑ์ ดังนี้ 3.1 รายวิชาทฤษฎีที่ใช้เวลาในการบรรยายหรืออภิปราย 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือ 18 ชั่วโมงต่อ ภาค เรียน รวมเวลาการวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.2 รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือ 36 ชั่วโมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.3 รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการฝึก ปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนาม 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือ 54 ชั่วโมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มีค่า เท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.4 การฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมงต่อภาคเรียน รวมเวลา การวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.5 การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 4 ชั่วโมงต่อ ภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.6 การทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมงต่อภาคเรียน รวมเวลา การวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต

12

4. โครงสร้ำงหลักสูตร โครงสร้างของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 แบ่งเป็น 3 หมวดวิชา และ กิจกรรม เสริมหลักสูตร ดังนี้ ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต 4.1 หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 4.1.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย 4.1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 4.1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ 4.1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ 4.1.5 กลุ่มวิชาสังคมศึกษา 4.1.6 กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ไม่น้อยกว่า 71 หน่วยกิต 4.2 หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ 4.2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 4.2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4.2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 4.2.4 ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ 4.2.5 โครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ 4.3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต หน่วยกิต 4.4 กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชัว่ โมง/สัปดาห์) หมำยเหตุ 1) จานวนหน่วยกิตของแต่ละหมวดวิชาและกลุ่มวิชาในหลักสูตรให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ใน โครงสร้างของแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา 2) การพัฒนารายวิชาในกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐานและกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะจะเป็น รายวิชาบังคับ ที่สะท้อนความเป็นสาขาวิชาตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพด้านสมรรถนะวิชาชีพของสาขาวิชา ซึ่งยึดโยง กับมาตรฐานอาชีพ จึงต้องพัฒนากลุ่มรายวิชาให้ครบจานวนหน่วยกิตที่กาหนด และผู้เรียนต้องเรียน ทุกรายวิชา 3) สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันสามารถจัดรายวิชาเลือกตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรและ หรือ พัฒนาเพิ่มตามความต้องการเฉพาะด้านของสถานประกอบการหรือตามยุทธศาสตร์ภูมิภาค เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขและมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ ที่ ประเภทวิชา สาขาวิชาและสาขางานกาหนด  กำรประเมินผลกำรเรียน เน้นการประเมินสภาพจริง ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษา และการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ  กำรสำเร็จกำรศึกษำตำมหลักสูตร 1. ได้รายวิชาและจานวนหน่วยกิตสะสมในทุกหมวดวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแต่ละ ประเภทวิชาและสาขาวิชา และตามแผนการเรียนที่สถานศึกษากาหนด 2. ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ํากว่ ต่ า 2.00 3. ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

13

4. ได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามแผนการเรียนที่สถานศึกษากาหนด และ “ผ่าน” ทุก ภาคเรียน

หลักสูตรประกำศนียบัตรวิชำชีพชั้นสูง พุทธศักรำช 2563

 หลักกำรของหลักสูตร 1.เป็นหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงเพื่อพัฒนากาลังคนระดับเทคนิคให้มีสมรรถนะมี คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถประกอบอาชีพได้ตรงตามความต้องการของ ตลาดแรงงานและการประกอบอาชีพอิสระ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ แผนการ ศึกษาแห่งชาติ เป็นไปตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ และกรอบคุณวุฒิ อาชีว กษา แห่งชาติ 2. เป็นหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้อย่างกว้างขวางเน้นสมรรถนะเฉพาะด้านด้วยการปฏิบัติ จริง สามารถเลือกวิธีการเรียนตามศักยภาพและโอกาสของผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเทียบ โอนผล การเรียน สะสมผลการเรียน เทียบโอนความรู้และประสบการณ์จากแหล่งวิทยาการ สถานประกอบการ และ สถานประกอบอาชีพอิสระ 3. เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นให้ผู้สาเร็จการศึกษามีสมรรถนะในการประกอบอาชีพมีความรู้เต็มภูมิปฏิบัติ ได้จริงมีความเป็นผู้นาและสามารถทางานเป็นหมู่คณะได้ดี 4. เป็นหลักสูตรที่สนับสนุนการประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่างหน่วยงาน และองค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน 5. เป็นหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้สถานศึกษาสถานประกอบการชุมชนและท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการ พัฒนาหลักสูตร ให้ตรงตามความต้องการและสอดคล้องกับสภาพยุทธศาสตร์ของภูมิภาค เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ  จุดหมำยของหลักสูตร 1. เพื่อให้มีความรู้ทางทฤษฎีและเทคนิคเชิงลึกภายใต้ขอบเขตของงานอาชีพมีทักษะด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อใช้ในการดารงชีวิตและงานอาชีพสามารถศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมหรือศึกษาต่อใน ระดับทีส่ ูงขึ้น 2. เพื่อให้มีทักษะและสมรรถนะในงานอาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพสามารถบูรณาการความรู้ทักษะ จาก ศาสตร์ต่าง ๆ ประยุกต์ใช้ในงานอาชีพ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี 3. เพื่อให้มีปัญญามีความคิดสร้างสรรค์มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์วางแผนบริหารจัดการ ตัดสินใจ แก้ปัญหา ประสานงานและประเมินผลการปฏิบัติงานอาชีพ มีทักษะการเรียนรู้ แสวงหา ความรู้และ แนวทางใหม่ ๆ มาพัฒนาตนเองและประยุกต์ใช้ในการสร้างงานให้สอดคล้องกับวิชาชีพและ การพัฒนางาน อาชีพอย่างต่อเนื่อง 4. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพมีความมั่นใจและภาคภูมิใจในงานอาชีพรักงานรักหน่วยงาน สามารถ ทางาน เป็นหมู่คณะ ได้ดี มีความภาคภูมิใจในตนเองต่อการเรียนวิชาชีพ 5. เพื่อให้มีบุคลิกภาพที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์ มีวินัย มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกาย และจิตใจ เหมาะสมกับการปฏิบัติงานในอาชีพนั้น ๆ 6. เพื่อให้เป็นผู้มีพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงามต่อต้านความรุนแรงและสารเสพติดทั้งในการทางาน การ อยู่ร่วมกัน มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว องค์กร ท้องถิ่นและประเทศชาติ อุทิศตนเพื่อสังคม เข้าใจและ เห็น คุณค่า ของศิลปวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตระหนักในปัญหาและความสาคัญของสิ่งแวดล้อม

14

7. เพื่อให้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศโดยเป็นกาลัง สาคัญ ในด้านการผลิตและให้บริการ 8. เพื่อให้เห็นคุณค่าและดารงไว้ซึ่งสถาบันชาติศาสนาและพระมหากษัตริย์ปฏิบัติตนในฐานะ พลเมือง ดี ตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

หลักเกณฑ์กำรใช้หลักสูตรประกำศนียบัตรวิชำชีพชั้นสูง พุทธศักรำช 2563 1. กำรเรียนกำรสอน 1.1 การเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้ ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนเรียนได้ทุกวิธีเรียนที่กาหนดและ นา ผลการเรียนแต่ละวิธีมาประเมินผลร่วมกันได้ สามารถขอเทียบโอนผลการเรียน และขอเทียบโอนความรู้ และ ประสบการณ์ได้ 1.2 การจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติจริง สามารถจัดการเรียนการสอนได้หลากหลาย รูปแบบ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ วิธีการและการดาเนินงาน มีทักษะการปฏิบัติงานตาม แบบแผน และปรับตัวได้ภายใต้ความเปลี่ยนแปลง สามารถบูรณาการและประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะทาง วิชาการ ที สัมพันธ์กับวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการตัดสินใจ วางแผน แก้ปัญหาบริหาร จัดการ ประสานงานและประเมินผลการดาเนินงานได้อย่างเหมาะสม มีส่วนร่วมในการวางแผนและพัฒนา ริเริ่มสิ่ง ใหม่ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและหมู่คณะ รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติ และกิจนิสัยที่เหมาะสมในการทางาน 2. กำรจัดกำรศึกษำและเวลำเรียน 2.1 การจัดการศึกษาในระบบปกติสาหรับผู้เข้าเรียนที่สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าในประเภทวิชาและสาขาวิชาตามที่หลักสูตรกาหนด ใช้ระยะเวลา 2 ปี การศึกษา ส่วนผู้เข้าเรียนที่สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และผู้เข้าเรียนที่ สาเร็จการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าต่างประเภทวิชาและสาขาวิชาที่ กาหนด ใช้ระยะเวลาไม่ น้อยกว่า 2 ปีการศึกษา และเป็นไปตามเงื่อนไขที่หลักสูตรกาหนด 2.2 การจัดเวลาเรียนให้ดิวเนินการ ดังนี้ 2.2.1 ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ ให้แบ่งภาคเรียนออกเป็น 2 ภาคเรียนปกติหรือระบบทวิภาค ภาคเรียนละ 18 สัปดาห์ รวมเวลาการวัดผล โดยมีเวลาเรียนและจานวนหน่วยกิตตามที่กาหนด และ สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันอาจเปิดสอนภาคเรียนฤดูร้อนได้อีกตามที่เห็นสมควร 2.2.2 การเรียนในระบบชั้นเรียน ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันเปิดทาการสอนไม่ น้อยกว่า สัปดาห์ละ 5 วัน ๆ ละไม่เกิน 7 ชั่วโมง โดยกาหนดให้จัดการเรียนการสอนคาบละ 60 นาที การคิดหน่วยกิต ให้มีจานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 83 - 90 หน่วยกิต การคิด หน่วยกิต ถือเกณฑ์ดังนี้ 3.1 รายวิชาทฤษฎีที่ใช้เวลาในการบรรยายหรืออภิปราย 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือ 18 ชั่วโมงต่อ ภาค เรียน รวมเวลาการวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.2 รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือ 36 ชั่วโมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.3 รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนาม 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือ 54 ชั่วโมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต

15

3.4 การฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมงต่อภาคเรียน รวม เวลา การวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.5 การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 4 ชั่วโมง ต่อภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 3.6 การทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 4 ชั่วโมงต่อภาคเรียน รวมเวลา การวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต 4. โครงสร้ำงหลักสูตร โครงสร้างของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 แบ่งเป็น 3 หมวดวิชา และ กิจกรรมเสริมหลักสูตร ดังนี้ ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต 4.1 หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 4.1.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย 4.1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 4.1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ 4.1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ 4.1.5 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 4.1.6 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต 4.2 หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ 4.2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 4.2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4.2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 4.2.4 ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ 4.2.5 โครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 4.3 หมวดวิชาเลือกเสรี 4.4 กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมง/สัปดาห์) หมำยเหตุ 1) จานวนหน่วยกิตของแต่ละหมวดวิชาและกลุ่มวิชาในหลักสูตรให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ใน โครงสร้างของแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา 2) การพัฒนารายวิชาในกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐานและกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะจะเป็น รายวิชาบังคับ ที่สะท้อนความเป็นสาขาวิชาตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ ด้านสมรรถนะวิชาชีพของ สาขาวิชา ซึ่งยึดโยง กับมาตรฐานอาชีพ จึงต้องพัฒนากลุ่มรายวิชาให้ครบจานวนหน่วยกิตที่กาหนด และ ผู้เรียนต้องเรียนทุกรายวิชา 3) สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันสามารถจัดรายวิชาเลือกตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรและ หรือพัฒนาเพิ่มตามความต้องการเฉพาะด้านของสถานประกอบการหรือตามยุทธศาสตร์ภูมิภาค เพื่อเพิ่ม ขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขและมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ ที่ ประเภทวิชา สาขาวิชาและสาขางานกาาหนด  กำรประเมินผลกำรเรียน เน้นการประเมินสภาพจริง ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัด การศึกษา และการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

16

 กำรสำเร็จกำรศึกษำตำมหลักสูตร 1. ได้รายวิชาและจานวนหน่วยกิตสะสมในทุกหมวดวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแต่ ละประเภทวิชาและสาขาวิชา และตามแผนการเรียนที่สถานศึกษากาาหนด 2. ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ํากว่ ต่ า 2.00 13.3 ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ 3. ได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามแผนการเรียนที่สถานศึกษากาหนด และ “ผ่าน” ทุกภาคเรียน

หลักสูตรปริญญำตรีสำยเทคโนโลยีหรือสำยปฏิบัตกิ ำร พุทธศักรำช 2562  เป้ำหมำยกำรอำชีวศึกษำ(มำตรำ6) เพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพระดับ ฝีมือ ระดับเทคนิคและระดับเทคโนโลยี รวมทั้ง เป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงขึ้นเพื่อให้สอดคล้อง กับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยนา ความรู้ ในทางทฤษฎีอันเป็นสากลและภูมิปัญญาไทยมาพัฒนา ผู้รับการศีกษาให้มีความรู้ความสามารถ ในทางปฏิบัติ และมีสมรรถนะ จนสามารถนาไปประกอบอาชีพใน ลักษณะผู้ปฏิบัติหรือผู้ประกอบอาชีพ โดยอิสระได้ การจัดอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ (มาตรา 9) ให้จัดตามหลักสูตรที่คณะกรรมการ การอาชีวศึกษากาหนด ดังต่อไปนี้ 1. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 3. หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยี/ปฏิบัติการ 4. หลักสูตรเพื่ออาชีพ/ศึกษาต่อ/กลุ่มเฉพาะ  กำรจัดกำรศึกษำ การจัดการศึกษาในระบบและระบบทวิภาคีใช้ระยะเวลา ๒ ปีการศึกษา การจัดภาคเรียน ให้ใช้ ระบบทวิภาค โดยกาหนดให้ ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ๒ ภาคเรียน และใน ๑ ภาคเรียนปกติ มี ระยะเวลาศึกษา ไม่น้อยกว่า ๑๘ สัปดาห์ สาหรับภาคเรียนฤดูร้อน ให้กาหนดระยะเวลาและจานวน หน่วยกิตให้มีสัดส่วน เทียบเคียงกันได้กับภาคเรียนปกติ การจัดภาคเรียนระบบอื่น ให้แสดงรายละเอียด เกี่ยวกับระบบการศึกษานั้น รวมทั้งการเทียบเคียงหน่วยกิตกับระบบทวิภาคไว้ในหลักสูตรให้ชัดเจน  กำรคิดหน่วยกิตต่อภำคเรียน 1. รายวิชาทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปราย ไม่น้อยกว่า 18 ชั่วโมง เท่ากับ 1 หน่วยกิต 2. รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการไม่น้อยกว่า 36ชั่วโมง เท่ากับ 1 หน่วยกิต 3. รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนามไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมง เท่ากับ 1 หน่วยกิต 4. การฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี ไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมง เท่ากับ 1 หน่วยกิต 5. การฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพในสถานประกอบการ ไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมง เท่ากับ 1 หน่วยกิต 6. การทาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมง เท่ากับ 2 หน่วยกิต จานวน หน่วยกิต มีจานวนหน่วยกิตรวมระหว่าง 72 - 87 หน่วยกิต

17

 โครงสร้ำงหลักสูตร 1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ประกอบด้วยกลุ่มวิชาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการปรับตัวและดาเนินชีวิตในสังคมสมัยใหม่ เห็น คุณค่าของตนและการพัฒนาตน มีความใฝ่รู้ แสวงหาและพัฒนาความรู้ใหม่ มีความสามารถในการใช้เหตุผล การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและการจัดการ มีทักษะในการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ทางานร่วมกับผู้อื่น มีคุณธรรม จริยธรรม มนุษยสัมพันธ์ รวมถึงความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม รวมไม่ น้อยกว่า ๑๕ หน่วยกิต การจัดวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิต สามารถทาได้ในลักษณะเป็นรายวิชา หรือลักษณะบูรณาการให้ ครอบคลมกลุ่มวิชาภาษาไทย กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ กลุ่มวิชา สังคมศาสตร์ กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ในสัดส่วนที่เหมาะสมเพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ของหมวดวิชาทักษะชีวิต 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ประกอบด้วยกลุ่มวิชาที่พัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะวิชาชีพ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ วางแผน จัดการ ประเมินผล แก้ปัญหา ควบคุมงานสอนงาน และพัฒนางาน โดยบูรณาการ ความรู้และทักษะ ในการปฏิบัติงาน รวมทั้งประยุกต์สู่อาชีพ รวมไม่น้อยกว่า ๕๑ หน่วยกิต ประกอบด้วย ๔ กลุ่ม ดังนี้ 2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก 2.3 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ 2.4 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ในการกาหนดให้เป็นสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ต้องศึกษากลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะในสาขาวิชา นั้น ๆ รวมไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต นอกจากนี้กาหนดให้มีโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ จานวน ๖ หน่วยกิต ใน กรณีที่จัดการศึกษาระบบทวิภาคีอาจยกเว้นการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพได้ 3.หมวดวิชาเลือกเสรี ประกอบด้วยวิชาที่เกี่ยวกับทักษะชีวิตหรือทักษะวิชาชีพ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนตาม ความถนัดและความสนใจเพื่อการประกอบอาชีพ หรือการศึกษาต่อรวมไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต การยกเว้นการเรียนรายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิต หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรี สามารถทาได้โดยการเทียบโอนผลการเรียน หรือโดยการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หน่วยกิตตาม หลักสูตร ตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด  กำรวัดผลและประเมินผลกำรเรียนและกำรสำเร็จกำรศึกษำ 1. การวัดผลและประเมินผลการเรียน ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัด การศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ 2. การสาเร็จการศึกษา ต้องได้จานวนหน่วยกิตสะสมครบถ้วนตามโครงสร้างที่กาหนดไว้ใน หลักสูตร และได้คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ํากว่ ต่ า ๒.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนน และผ่านการประเมิน มาตรฐานวิชาชีพ การให้ปริญญาตรีเกียรตินิยมให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด

18

หลักสูตรอุดมศึกษำ (ภำยใต้กรอบมำตรฐำนคุณวุฒิอุดมศึกษำ) ตามที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๔ กาหนดให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดทามาตรฐานการอุดมศึกษา ที่สอดคล้องกับความต้องการตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยคานึงถึงความ เป็น อิสระและความเป็นเลิศทางวิชาการ ของสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้ดาเนินการจัดทามาตรฐานการอุดมศึกษา เพื่อใช้เป็นกลไกระดับ กระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหน่วยงาน เพื่อนาไปสู่การกาหนดนโยบายของ สถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนาการอุดมศึกษาต่อไป อาศัยอานาจตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยคาแนะนา ของคณะกรรมการการอุดมศึกษา ในคราว ประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ๒๕๔๙ จึงประกาศมาตรฐานการอุดมศึกษาไว้ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการอุดมศึกษา ประกอบด้วย มาตรฐาน ๓ ด้าน ๑๒ ตัวบ่งชี้ ดังนี้ ๑. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต บัณฑิตระดับอุดมศึกษาเป็นผู้มีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสามารถ ในการเรียนรู้ และ พัฒนาตนเอง สามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการดารงชีวิตในสังคม ได้อย่างมีความสุขทั้งทางร่างกายและ จิตใจ มีความสานึกและความรับผิดชอบในฐานะ พลเมืองและพลโลก ตัวบ่งชี้ ๑.๑ บัณฑิตมีความรู้ ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ของตน สามารถเรียนรู้ สร้าง และประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อพัฒนาตนเอง สามารถปฏิบัติงานและสร้างงานเพื่อพัฒนาสังคม ให้สามารถแข่งขันได้ใน ระดับสากล ๑.๒ บัณฑิตมีจิตสานึก ดารงชีวิต และปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบ โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม ๑.๓ บัณฑิตมีสุขภาพดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ มีการดูแล เอาใจใส่ รักษา สุขภาพของตนเอง อย่าง ถูกต้อง เหมาะสม ๒. มาตรฐานด้านการบริหารจัดการการอุดมศึกษา มีการบริหารจัดการการอุดมศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล และพันธกิจของ การอุดมศึกษาอย่างมีดุลย ภาพ ก. มาตรฐานด้านธรรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษา มีการบริหารจัดการการอุดมศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล โดยคานึงถึง ความหลากหลายและความเป็น อิสระทางวิชาการ ตัวบ่งชี้ (๑) มีการบริหารจัดการบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความยืดหยุ่น สอดคล้อง กับ ความต้องการที่หลากหลายของประเภทสถาบันและสังคม เพื่อเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานอย่างมีอิสระ ทางวิชาการ (๒) มีการบริหารจัดการทรัพยากรและเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล คล่องตัว โปร่งใสและตรวจสอบได้ มีการจัด การศึกษาผ่านระบบและวิธีการต่าง ๆ อย่าง เหมาะสมและคุ้มค่าคุ้มทุน

19

(๓) มีระบบการประกันคุณภาพเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การอุดมศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง ข. มาตรฐานด้านพันธกิจของการบริหารการอุดมศึกษาการดาเนินงานตามพันธกิจของการ อุดมศึกษา ทั้ง ๔ ด้าน อย่างมีดุลยภาพ โดยมีการประสานความร่วมมือรวมพลังจากทุกภาคส่วนของชุมชน และ สังคมใน การ จัดการความรู้ ตัวบ่งชี้ (๑) มีหลักสูตรและการเรียน การสอนที่ทันสมัย ยืดหยุ่น สอดคล้องกับ ความต้องการที่หลากหลาย ของประเภทสถาบันและสังคม โดยให้ความสาคัญกับการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนแบบผู้เรียนเป็น สาคัญ เน้น การเรียนรู้และการสร้างงานด้วยตนเอง ตามสภาพจริง ใช้การวิจัยเป็นฐาน มีการประเมินและใช้ผล การ ประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน และการบริหารจัดการหลักสูตร ตลอดจนมีการบริหารกิจการนิสิตนักศึกษาที่ เหมาะสม สอดคล้องกับหลักสูตรและการเรียน การสอน (๒) มีการวิจัยเพื่อสร้างและประยุกต์ใช้องค์ความรู้ใหม่ที่เป็นการขยาย พรมแดนความรู้และ ทรัพย์สิน ทางปัญญาที่เชื่อมโยงกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมตามศักยภาพของ ประเภทสถาบัน มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง ประกาศตามที่มาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้ คณะกรรมการการอุดมศึกษาเสนอ มาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษาแห่งชาติ โดยคานึงถึง ความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา ระดับปริญญา ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึกษาแต่ละแห่งและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการ การอุดมศึกษา จึงได้ดาเนินการจัดทามาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา เพื่อนาไปสู่การ พัฒนาสถาบันอุดมศึกษาตาม กลุ่มสถาบันที่มีปรัชญา วัตถุประสงค์ และ พันธกิจในการจัดตั้งที่แตกต่างกัน เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถ จัดการศึกษาได้อย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อาศัยอานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 16 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการ สถาบันอุดมศึกษาทั้งในและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขันได้ในระดับ นานาชาติของ สังคมและประเทศชาติ (๓) มีการให้บริการวิชาการที่ทันสมัย เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ ของสังคมตาม ระดับ ความเชี่ยวชาญของประเภทสถาบัน มีการประสาน ความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและความยั่งยืนของสังคมและประเทศชาติ (๔) มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสาน พัฒนา เผยแพร่ วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น เพื่อ เสริมสร้าง ความรู้ ความเข้าใจและความภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีการปรับใช้ศิลปะ วัฒนธรรมต่างประเทศ อย่าง เหมาะสม เพื่อประโยชน์ในการพัฒนา สังคมและประเทศชาติ ๓. มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้ และสังคมแห่ง การเรียนรู้ การแสวงหา การ สร้างและจัดการความรู้ตามแนวทาง/หลักการอันนา ไปสู่สังคมฐานความรู้ และสังคมแห่งการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ ๓.๑ มีการแสวงหา การสร้าง และการใช้ประโยชน์ความรู้ ทั้งส่วนที่เป็น ภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทศ เพื่อเสริมสร้างสังคมฐานความรู้

20

๓.๒ มีการบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ โดยใช้หลักการวิจัย แบบบูรณาการหลักการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลักการสร้างเครือข่าย และหลักการ ประสานความร่วมมือรวมพลังอันนาไปสู่ สังคมแห่ง การเรียนรู้  เกณฑ์มำตรฐำนหลักสูตรระดับปริญญำตรี โดยที่เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้ประกาศใช้ มาเป็นระยะเวลาหนึ่ง แล้ว จึงมีความจาเป็นต้องมีการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานดังกล่าว สาหรับการผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษาที่ เหมาะสมกับพลวัตของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป อย่างรวดเร็ว โดยมีเจตนารมณ์ให้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘ รองรับการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีลักษณะที่แตกต่างตามจุดเน้นของสาขาวิชาการ และวิชาชีพต่าง ๆ ตอบสนองการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพสอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตลาดแรงงาน ความก้าวหน้าของศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งบริบททางสังคมที่ เปลี่ยนแปลงไป ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา ๑๖ แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ โดยคาแนะนาของ คณะกรรมการการอุดมศึกษา ในคราวประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ จึงออก ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง “เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘” ดังต่อไปนี้ ๑. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำรนี้เรียกว่า“เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีพ.ศ. ๒๕๕๘” ๒. ให้ใช้ประกำศกระทรวงนี้สำหรับหลักสูตรระดับปริญญำตรีทุกสำขำวิชำ ที่จะเปิดใหม่และ หลักสูตรเก่าที่จะปรับปรุงใหม่ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและ เอกชน และให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ๓. ให้ยกเลิก ๓.๑ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง “เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๘ ลงวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘ ๓.๒ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง “การจัดการศึกษา หลักสูตรระดับ ปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ของสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ๔. ในประกำศกระทรวงนี้ “อาจารย์ประจา” หมายถึง บุคคลที่ดารงตาแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรนั้น ที่มีหน้าที่ รับผิดชอบตามพันธกิจของการ อุดมศึกษา และปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา สาหรับอาจารย์ประจาที่สถาบันอุดมศึกษารับเข้าใหม่ตั้งแต่เกณฑ์มาตรฐานนี้ เริ่มบังคับใช้ต้องมี คะแนนทดสอบความสามารถภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในประกาศ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง มาตรฐานความสามารถภาษาอังกฤษของอาจารย์ประจา “อาจารย์ประจาหลักสูตร” หมายถึง อาจารย์ ประจาที่มีคุณวุฒิตรงหรือ สัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตรที่เปิดสอน ซึ่งมีหน้าที่สอนและค้นคว้าวิจัยในสาขา วิชาดังกล่าว ทั้งนี้ สามารถเป็นอาจารย์ประจาหลักสูตรหลายหลักสูตรได้ในเวลาเดียวกัน แต่ต้องเป็นหลักสูตร ที่อาจารย์ผู้นั้นมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตร “อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร” หมายถึง อาจารย์ประจาหลักสูตรที่มี ภาระหน้าที่ในการบริหารและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแต่การ วางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผลและการพัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร ต้องอยู่ประจาหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา โดยจะเป็นอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า ๑ หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ยกเว้น พหุวิทยาการ หรือสหวิทยาการ ให้เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้ อีกหนึ่งหลักสูตร และอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสามารถซ้ําได้ไม่เกิน ๒ คน

21

“อาจารย์พิเศษ” หมายถึง ผู้สอนที่ไม่ใช่อาจารย์ประจา ๕. ปรัชญำ และวัตถุประสงค์ มุ่งให้การผลิตบัณฑิตมีความสัมพันธ์สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับ อุดมศึกษาของชาติ ปรัชญาของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบันอุดมศึกษา และมาตรฐาน วิชาการและวิชาชีพที่เป็นสากล ให้ การผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษาอยู่บนฐานความเชื่อว่า กาลังคนที่มีคุณภาพต้องเป็นบุคคลที่มีจิตสานึกของ ความเป็นพลเมืองดีที่สร้างสรรค์ ประโยชน์ต่อสังคม และมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองบนฐานภูมิปัญญาไทย ภายใต้กรอบ ศีลธรรมจรรยาอันดีงาม เพื่อนาพาประเทศสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนและทัดเทียมมาตรฐานสากล ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อกากับส่งเสริมกระบวนการผลิตบัณฑิตที่เน้นการพัฒนา ผู้เรียนให้มี ลักษณะของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ สามารถดารงตนอยู่ในสังคมพหุวัฒนธรรม ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ที่ มีการสื่อสารแบบไร้พรมแดน มีศักยภาพในการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความสามารถในการปฏิบัติงานได้ตามกรอบ มาตรฐานและจรรยาบรรณที่กาหนด สามารถ สร้างสรรค์งานที่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ทั้งในระดับ ท้องถิ่นและสากล โดยแบ่ง หลักสูตรเป็น ๒ กลุ่ม ดังนี้ ๕.๑ หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ แบ่งเป็น ๒ แบบ ได้แก่ ๕.๑.๑ หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ ที่มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรอบรู้ ทั้งภาคทฤษฎี และ ภาคปฏิบัติ เน้นความรู้และทักษะด้านวิชาการ สามารถนาความรู้ ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงได้ อย่างสร้างสรรค์ ๕.๑.๒ หลักสูตรปริญญาตรีแบบก้าวหน้าทางวิชาการ ซึ่งเป็นหลักสูตร ปริญญาตรีสาหรับ ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถ ระดับสูง โดยใช้หลักสูตร ปกติที่เปิด สอนอยู่แล้ว ให้รองรับศักยภาพของผู้เรียน โดยกาหนดให้ ผู้เรียนได้ศึกษาบางรายวิชาใน ระดับบัณฑิตศึกษาที่ เปิดสอนอยู่แล้ว และสนับสนุนให้ผู้เรียน ได้ทาวิจัยที่ลุ่มลึกทางวิชาการ ๕.๒ หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ แบ่งเป็น ๒ แบบ ได้แก่ ๕.๒.๑ หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ ที่มุ่งผลิตบัณฑิต ให้มีความรอบรู้ ทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เน้นความรู้ สมรรถนะและทักษะด้านวิชาชีพ ตามข้อกาหนดของมาตรฐาน วิชาชีพ หรือมีสมรรถนะและทักษะด้านการปฏิบัติเชิงเทคนิค ในศาสตร์สาขาวิชานั้น ๆ โดยผ่านการ ฝึกงานในสถาน ประกอบการ หรือสหกิจศึกษา ๆ หลักสูตรแบบนี้เท่านั้นที่จัดหลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ได้ เพราะมุ่งผลิตบัณฑิต ที่มี ทักษะการปฏิบัติการอยู่แล้ว ให้มีความรู้ด้านวิชาการมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้รับการฝึกปฏิบัติขั้นสูง เพิ่มเติม หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ถือเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร ปริญญาตรี และ จะต้อง สะท้อนปรัชญาและเนื้อหาสาระของหลักสูตรปริญญาตรีนั้น ๆ โดยครบถ้วน และให้ระบุคาว่า “ต่อเนื่อง” ในวงเล็บต่อท้ายชื่อหลักสูตร ๕.๒.๒ หลักสูตรปริญญาตรีแบบก้าวหน้าทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ ซึ่งเป็นหลักสูตรสาหรับ ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ สมรรถนะทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการขั้น สูง โดยใช้ หลักสูตรปกติที่เปิดสอนอยู่แล้ว ให้รองรับ ศักยภาพของผู้เรียน โดยกาหนดให้ผู้เรียนได้ ศึกษาบางรายวิชาใน ระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดสอน อยู่แล้ว และทาวิจัยที่ลุ่มลึกหรือได้รับการฝึก ปฏิบัติขั้นสูงในหน่วยงาน องค์กร หรือสถาน ประกอบการ หลักสูตรปริญญาตรีแบบก้าวหน้าทางวิชาการหรือทางวิชาชีพ หรือปฏิบัติการ ต้องมีการ เรียนรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต

22

๖. ระบบกำรจัดกำรศึกษำ ใช้ระบบทวิภาค โดย ๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ภาค การศึกษาปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ สถาบันอุดมศึกษาที่เปิดการศึกษาภาคฤดูร้อน ให้กาหนดระยะเวลาและจานวนหน่วยกิตโดยมี สัดส่วนเทียบเคียงกันได้กับการศึกษาภาคปกติ สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาในระบบไตรภาค หรือ ระบบ จตุรภาค ให้ถือ แนวทางดังนี้ ระบบไตรภาค ๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๓ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลา ศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๒ สัปดาห์ โดย ๑ หน่วยกิตระบบไตรภาค เทียบได้กับ ๑๒/๑๕ หน่วยกิตระบบ ทวิภาค หรือ ๔ หน่วยกิตระบบทวิภาค เทียบได้กับ ๕ หน่วยกิตระบบไตรภาค ระบบจตุรภาค ๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๔ ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลา ศึกษาไม่ น้อยกว่า ๑๐ สัปดาห์ โดย ๑ หน่วยกิตระบบจตุรภาค เทียบได้กับ ๑๐/๑๕ หน่วยกิต ระบบทวิภาค หรือ ๒ หน่วยกิ ตระบบทวิภาค เทียบได้กับ ๓ หน่วยกิตระบบจตุรภาค สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาระบบอื่น ให้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ ระบบการศึกษานั้น รวมทั้ง รายละเอียดการเทียบเคียงหน่วยกิตกับระบบทวิภาคไว้ใน หลักสูตรให้ชัดเจนด้วย ๗. กำรคิดหน่วยกิต ๗.๑ รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า ๑๕ ชั่วโมงต่อภาค การศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 9 หน่วยกิตระบบทวิภาค ๗.๒ รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า ๓๐ ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษา ปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 9 หน่วยกิตระบบทวิภาค ๗.๓ การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษา ปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 9 หน่วยกิตระบบทวิภาค ๗.๔ การทาโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย ที่ใช้เวลาทาโครงงาน หรือกิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิตระบบท วิภาค ๘. จำนวนหน่วยกิตรวมและระยะเวลำกำรศึกษำ ๘.๑ หลักสูตรปริญญาตรี (๔ ปี) ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๑๒๐ หน่วยกิต ใช้เวลา ศึกษาไม่เกิน 4 ปีการศึกษา สาหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลาและไม่เกิน ๑๒ ปีการศึกษา สาหรับ การ ลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา ๘.๒ หลักสูตรปริญญาตรี (๕ ปี) ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๑๕๐ หน่วยกิต ใช้เวลา ศึกษาไม่เกิน ๑๐ ปีการศึกษา สาหรับการลงทะเบียนเรียนเต็ม เวลา และไม่เกิน ๑๕ ปีการศึกษา สาหรับการ ลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา ๘.๓ หลักสูตรปริญญาตรี (ไม่น้อยกว่า 5 ปี) ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๑๘๐ หน่วยกิต ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน ๑๒ ปีการศึกษา สาหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไม่เกิน ๑๘ ปี การศึกษา สาหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา

23

๘.๔ หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๗๒ หน่วยกิต ใช้ เวลาศึกษาไม่เกิน ๔ ปีการศึกษา สาหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไม่เกิน 5 ปีการศึกษา สาหรับการ ลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลาทั้งนี้ให้นับเวลาศึกษาจากวันที่เปิดภาคการศึกษาแรกที่รับเข้า ศึกษาในหลักสตูร นั้น ๙. โครงสร้ำงหลักสูตร ประกอบด้วยหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ และหมวดวิชา เลือกเสรี โดยมีสัดส่วนจานวนหน่วยกิตของแต่ละหมวดวิชา ดังนี้ ๙.๑ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมายถึง หมวดวิชาที่เสริมสร้างความเป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ ให้มี ความรอบรู้อย่างกว้างขวาง เข้าใจ และเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรม และ ธรรมชาติ ใส่ใจ ต่อความเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง พัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่อง ดาเนินชีวิตอย่างมี คุณธรรม พร้อมให้ความ ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ และเป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของสังคมไทยและสังคม โลก สถาบันอุดมศึกษาอาจจัดวิชาศึกษาทั่วไปในลักษณะจาแนกเป็นรายวิชา หรือลักษณะบูรณา การใด ๆ ก็ได้ โดยผสมผสานเนื้อหาวิชาที่ครอบคลุมสาระของกลุ่มวิชา สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ภาษาและกลุ่มวิชา วิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ในสัดส่วน ที่เหมาะสมเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป โดยให้ มีจานวน หน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต อนึ่ง การจัดวิชาศึกษาทั่วไปสาหรับหลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) อาจได้รับการยกเว้น รายวิชาที่ได้ ศึกษามาแล้วในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือ ระดับอนุปริญญา ทั้งนี้ จานวน หน่วยกิตของรายวิชาที่ ได้รับการยกเว้นดังกล่าว เมื่อนับ รวมกับรายวิชาที่จะศึกษาเพิ่มเติมใน หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ต้องไม่ น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต ๙.๒ หมวดวิชาเฉพาะ หมายถึง วิชาแกน วิชาเฉพาะด้านวิชาพื้นฐานวิชาชีพ และวิชาชีพ ที่ มุ่ง หมายให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติงานได้ โดยให้มีจานวน หน่วยกิตรวม ดังนี้ ๙.๒.๑ หลักสูตรปริญญาตรี (๔ ปี) ทางวิชาการ ให้มีจานวนหน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ รวม ไม่น้อยกว่า ๗๒ หน่วยกิต ๙.๒.๒ หลักสูตรปริญญาตรี (๔ ปี) ทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ ให้มี จานวนหน่วยกิต หมวด วิชาเฉพาะรวมไม่น้อยกว่า ๗๒ หน่วยกิต โดยต้องเรียนวิชา ทางปฏิบัติการตามที่มาตรฐานวิชาชีพ กาหนด หากไม่มีมาตรฐานวิชาชีพกาหนดต้องเรียน วิชาทางปฏิบัติการไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต และ ทาง ทฤษฎีไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต หลักสูตร (ต่อเนื่อง) ให้มีจานวนหน่วยกิตหมวดวิชาเฉพาะ รวม ไม่น้อยกว่า ๔๒ หน่วยกิต ในจานวนนั้นต้องเป็นวิชาทางทฤษฎีไม่น้อยกว่า ๑๔ หน่วยกิต กว่า ๔๐ หน่วยกิต ๙.๒.๓ หลักสูตรปริญญาตรี (๕ ปี) ให้มีจานวนหน่วยกิตหมวดวิชา เฉพาะรวมไม่น้อย ๙.๒.๔ หลักสูตรปริญญาตรี (ไม่น้อยกว่า 5 ปี) ให้มีจานวนหน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ รวมไม่น้อยกว่า ๑๐๘ หน่วยกิต สถาบันอุดมศึกษาอาจจัดหมวดวิชาเฉพาะในลักษณะ วิชาเอกเดี่ยว วิชาเอกคู่ หรือวิชาเอกและวิชาโทก็ได้ โดยวิชาเอกต้องมีจานวนหน่วยกิต ไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต และวิชาโทต้องมี จานวหน่วยกิตไม่น้อยกว่า ๑๕ หน่วยกิต ในกรณี ที่จัดหลักสูตรแบบ วิชาเอกคู่ต้องเพิ่มจานวนหน่วยกิตของ วิชาเอกอีกไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต และให้มีจานวนหน่วย กิตรวมไม่น้อยกว่า ๑๕๐ หน่วยกิต สาหรับ หลักสูตรปริญญาตรีแบบก้าวหน้า ผู้เรียนต้องเรียน วิชา ระดับบัณฑิตศึกษาในหมวดวิชาเฉพาะไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต

24

๙.๓ หมวดวิชาเลือกเสรี หมายถึง วิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามที่ตนเองถนัด หรือสนใจ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตร ระดับปริญญาตรีโดยให้มีจานวน หน่วย กิตรวมไม่น้อยกว่า 5 หน่วยกิต สถาบันอุดมศึกษาอาจยกเว้นหรือเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชาในหมวด วิชาศึกษาทั่วไป หมวด วิชา เฉพาะ และหมวดวิชาเลือกเสรี ให้กับนักศึกษาที่มีความรู้ ความสามารถ ที่สามารถวัดมาตรฐานได้ ทั้งนี้ นักศึกษาต้องศึกษาให้ครบตามจานวนหน่วยกิต ที่กาหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร และเป็นไป ตาม หลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาเข้าสู่การศึกษาในระบบ และแนวปฏิบัติที่ดี เกี่ยวกับการ เทียบโอน ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ๑๐.เกณฑ์กำรวัดผลและกำรสำเร็จกำรศึกษำ ให้สถาบันอุดมศึกษากาหนด เกณฑ์การวัดผล เกณฑ์ขั้นําของแต่ ต่ ละรายวิชา และเกณฑ์การ สาเร็จ การศึกษา ตามหลักสูตร โดยต้องเรียนครบตามจานวนหน่วยกิตที่กาหนดไว้ในหลักสูตร และต้อง ได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ํากว่ ต่ า ๒,๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า จึงถือว่า เรียนจบ หลักสูตรปริญญาตรี สถาบันอุดมศึกษาที่ใช้ระบบการวัดผลและการสาเร็จการศึกษาที่แตกต่าง จากนี้ จะต้อง กาหนดให้มี ค่าเทียบเคียงกันได

25

บทที่ 2 สภำพปัญหำหลักสูตรในประเทศไทย สภำพปัญหำของหลักสูตรปฐมวัย พุทธศักรำช 2560 1. การขาดความรู้ความเข้าใจของผู้ปกครองในการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเนืองจาก ผู้ปกครองส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการที่สาคัญตามช่วงวัยของ เด็ก จึงมีความคาดหวังที่ต้องการให้เด็กอ่านออกเขียนได้ จึงส่งลูกเข้าเรียนในโรงเรียนที่มีระบบการสอนแบบ “เร่งเรียนเขียนอ่าน” นอกจากนี้การใช้สื่อเทคโนโลยีในการเลี้ยงดูเด็ก เช่น ไอแพต โทรศัพท์มือถือ หรือ โทรทัศน์ ก็มีส่วนสาคัญที่ทาให้เด็กมีความบกพร่องในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น 2. การมีขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการจัดการศึกษาปฐมวัยของครูผู้บริหารและ สถานศึกษา การขาดแคลนความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาที่ เหมาะสมกับวัย จึงทาให้ครูเน้นให้เด็กอ่านเขียนมากกว่าวัย และเน้นการสอนที่มีลักษณะให้เด็กท่องจา มากกว่าทักษะด้านการ คิด การตัดสินใจ ในขณะที่ผู้บริหารสถานศึกษาบางส่วนบริหารงานเพื่อชื่อเสียงของ โรงเรียนจึงเตรียมความ พร้อมของเด็ก เพื่อการสอบแข่งขันมากกว่าการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพของ เด็ก รวมถึงปัญหาสถานศึกษา ไม่สามารถจัดการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง จึงทาให้เกิดการ เรียน เพื่อสอบเข้าโรงเรียนที่มี ชื่อเสียงตั้งแต่ระดับอนุบาล 3. ระบบการผลิตครูปฐมวัยจากค่านิยมของการเข้ารับราชการที่มีสวัสดิการที่ดีและมีความมั่นคงใน ชีวิต จึงเกิดความต้องการเพิ่มคุณวุฒิด้านการศึกษาของครูให้สูงขึ้น แต่ระบบการผลิตครูในปัจจุบันยังขาดกลไก ในการติดตามและประเมินคุณภาพ เช่น การเปิดรับครูปฐมวัยจานวนมาก ทาให้อัตราส่วนระหว่างอาจารย์กับ จานวนนักศึกษาไม่สอดคล้องกันส่งผลต่อประสิทธิภาพในด้านการเรียนการสอน เนื่องจากกระบวนการพัฒนา ครูปฐมวัย ไม่สามารถทาได้ด้วยการบรรยายเท่านั้น แต่จาเป็นต้องมีการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ โดยมีอาจารย์ ที่เชี่ยวชาญด้านการศึกษาปฐมวัย มาดูแลอย่างใกล้ชิด 4. การให้ความสาคัญด้านเนื้อหาและการวัดผลมากกว่าการประเมินผลเพื่อพัฒนาหลักสูตรและการ วัดผลระดับประถมศึกษาตอนต้น มุ่งเน้นให้เด็กท่องจา ความรู้จานวนมากไม่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับ หลักสูตรของการศึกษาปฐมวัยที่เน้นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยคานึงถึงการพัฒนาการในทุกด้านอย่าง สมดุล ได้แก่ ด้านร่างกาย สติปัญญา สังคม อารมณ์และจิตใจ นอกจากนี้ครูในโรงเรียนอนุบาล และศูนย์เด็ก เล็ก ส่วนใหญ่ เน้นการวัดผลด้านความจา โดยขาดการประเมินตามสภาพความเป็นจริง รวมถึงหน่วยงานที รับผิดชอบทางด้านการศีกษาของรัฐ ใช้หลักเกณฑ์ตัดสินมากกว่าการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน ทาให้ขาด แนวทางในการปรับปรุงผู้เรียนให้ดีขึ้น สภำพปัญหำของหลักสูตรแกนกลำง พุทธศักรำช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักรำช 2560) 1. ปัญหำกำรใช้หลักสูตรสำหรับผู้บริหำร ในด้านการวางแผนงานด้านวิชาการ การจัด ครูเข้าสอน การจัดทาจัดหาสื่อการเรียนการสอน และเอกสารหลักสูตร การบริการหลักสูตรภายใน โรงเรียน การวางแผนให้ครูจัดทาแผนการสอน การนิเทศและ ติดตามการใช้หลักสูตร 2. ปัญหำกำรใช้หลักสูตรสำหรับครูผู้สอน ในด้านการเตรียมการสอนการจัดกิจกรรม การเรียนการ สอน การใช้สื่อการเรียนการสอน ประเภทวัสดุอุปกรณ์ การวัดและประเมินผล

26

สภำพปัญหำของหลักสูตรอำชีวศึกษำ ผู้เข้าเรียนในการอาชีวศึกษาไม่มีคุณภาพเท่าที่ควรหลักสูตรก่อนถึงระดับ ปวช. คือระดับมัธยมต้น หรือการศึกษาผู้ใหญ่เป็นการปูพื้นฐานความรู้ระดับําเช่ ต่ น อ่าน สะกดคาไม่ได้ ขาดความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษ เมื่อมาเรียนต่อในระดับอาชีวศึกษาจึงเกิดปัญหา แม้ครูจะเตรียมการสอนดีอย่างไร ผู้เรียนไม่ สามารถต่อยอดความรู้ได้ เพราะพื้นฐานความรู้ไม่ดีเพียงพอ สภำพปัญหำของหลักสูตรอุดมศึกษำ (ภำยใต้กรอบมำตรฐำนคุณวุฒิอุดมศึกษำ) 1. ขาดแคลนอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิและประสบการณ์โดยเฉพาะสาขาวิชาที่มีความต้องการมาก ทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเกษตรกรรม 2. อุดมศึกษามุ่งความเป็นเลิศทางวิชาการละเลยคุณธรรมจริยธรรมการบริการวิชาการแก่สังคม 3. มหาวิทยาลัยมักเลียนแบบต่างประเทศโดยไม่เข้าใจหลักการและเป้าหมายที่แท้จริงของหลักการที่ เลียนแบบ 4. การเรียนการสอนยังเน้นทฤษฎีมากกว่าปฏิบัติเน้นความรู้มากกว่าการนาไปใช้ 5. การตื่นตัวทางการวิจัยมุ่งการกาหนดให้เลื่อนตาแหน่งทางวิชาการซึ่งเน้นการวิจัยมากเกินไปจนทา ให้ ลดความสาคัญด้านการสอน 6. กลุ่มผู้บริหารอุดมศึกษามีลักษณะอนุรักษ์นิยมสูง 7. งบประมาณในการพัฒนาการศึกษาระดับนี้ก็ยังมีไม่เพียงพอ

27

บทที่ 3 แนวโน้มกำรพัฒนำหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 หลักสูตรปฐมวัย พุทธศักรำช 2560 1. การจัดการศึกษาปฐมวัยในอนาคตควรมีการขยายการจัดบริการเพื่อให้เด็กทุกคนมีโอกาส ได้รับ บริการ อย่างทั่วถึง 2. พัฒนาสุขภาพและสมองของเด็กซึ่งการจะเพิ่มประสิทธิภาพทางการศึกษาจาเป็นต้องมีการ ปฏิรูป การศึกษาตั้งแต่เด็กอยู่ในครรภ์ โดยการให้ความรู้แก่ผู้ใหญ่โดยเฉพาะคู่สมรสและคนหนุ่มสาวใน เรื่อง การ วางแผนครอบครัว 3. ให้ความสาคัญกับคุณภาพของครูและพี่เลี้ยงเด็กที่มีความรู้ความเข้าใจและความตั้งใจในการ ปฏิบัติหน้าที่เพื่อฝึกฝนให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ 4. ส่งเสริมให้มีการทาวิจัยในชั้นเรียนอย่างต่อเนื่องและสม่ําเสมอเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร การ เรียนการสอน และวิธีการสอนที่เหมาะสมสาหรับเด็ก 5. ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาในรูปของการจัดตั้งคณะกรรมการโรงเรียนที่มี ผู้ปกครองและสมาชิกชุมชนร่วมเป็นกรรมการด้วย 6. รัฐควรมีมาตรการในการให้ความช่วยเหลือแก่แม่ที่มีปัญหาพิเศษบางกลุ่ม 7. รัฐควรมีมาตรการคุ้มครองเด็กที่มีปัญหา อาทิ เด็กถูกทารุณกรรม โดยจัดหา องค์กรกลุ่ม บุคคล หรือ ครอบครัวที่มีความพร้อมในการให้ความอนุเคราะห์ 8. ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้จากระบบสื่อสารให้มากขึ้น 9. พ่อแม่ควรจะได้เรียนรู้วิธีการใช้เวลาอยู่กับลูกอย่างมีคุณภาพรวมถึงการให้การศึกษาแก่ ผู้สูงอายุใน การเลี้ยงดูเด็ก หลักสูตรแกนกลำง พุทธศักรำช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักรำช 2560) 1. ด้านหลักสูตรและการนาหลักสูตรไปใช้ 1.1 ส่งครูไปอบรมหลักสูตรให้ครบทุกคน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่สมบูรณ์ 2. ด้านการจัดการเรียนการสอน 2.1 ปรับปรุง และพัฒนาครูผู้สอนที่มีอยู่ให้เกิดความชานาญในแต่ละสาขาวิชานั้นๆ 2.2 ครูต้องศึกษา เอกสารหลักสูตร วิธีสอน เตรียมสื่อ และแผนการสอนเป็นตัวช่วยให้มาก ขึ้น 20 3. ด้านสื่อการเรียนการสอน 3.1 ควรจัดสรรงบประมาณในการซื้อสื่อเพิ่มให้มากขึ้น จัดให้มีการอบรมการผลิตสื่อ และ การใช้สื่อการสอน หลักสูตรอำชีวศึกษำ การจัดการอาชีวศึกษามุ่งเน้นการพัฒนากาลังคนด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับ เทคนิค และ ระดับเทคโนโลยี รวมทั้งเพื่อยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงขึ้นและสอดคล้องกับความ ต้องการของ ตลาดแรงงาน การพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาจึงต้องยึดโยงกับมาตรฐานอาชีพและควาต้องการของงาน อา ชีพตามระดับ คุณวุฒิวิชาชีพด้วย ดังนั้นสิ่งสาคัญที่ต้องพิจารณาในการพัฒนาคนเข้าสู่อาชีพ คือ

28

1) อาชีพนั้นมีข้อมูลความต้องการที่ชัดเจนว่านักเรียนนักศึกษาที่จะผลิตหรือพัฒนานี้จะเข้า ไป ทางาน ในส่วนใดและระดับใดของกลุ่มอาชีพหรืออาชีพที่กาหนด ตาแหน่งงานนั้นต้องการคนมี คุณลักษณะ และมี สมรรถนะอย่างไร 2) จะต้องพัฒนาหรือใช้หลักสูตรชนิดใดและระดับใดในการพัฒนาคนเหล่านี้ 3) หลักสูตรที่จะพัฒนาหรือนามาใช้นั้น มีข้อกาหนดอย่างไรในเรื่องของจุดหมาย หลักการ โครงสร้าง หน่วยกิตและเงื่อนไขอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง กระบวนการในการพัฒนาหลักสูตรหรือนาหลักสูตรมา ใช้นั้น จะต้องดาเนินการอย่างไร 4) และ เกี่ยวข้อง กับผู้ใดหรือหน่วยงานใดบ้าง อย่างไรก็ตาม แม้ว่ากระบวนการพัฒนา หลักสูตรอาชีวศึกษาจะเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ โดยความร่วมมือของผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและ ผู้เชี่ยวชาญด้านอาชีพ จนได้หลักสูตรที่ ผ่านการอนุมัติ การประกาศใช้ และการรับรองคุณวุฒิผู้สาเร็จ การศึกษา แต่หากสถาบันการอาชีวศึกษาและ สถานศึกษา ที่นาหลักสูตรไปใช้ไม่ เข้าใจในการบริหารจัด การศึกษาตามหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน ผู้สาเร็จ การศึกษาก็อาจไม่มีคุณภาพ มาตรฐานตามที่ กาหนด หลักสูตรอุดมศึกษำ (ภำยใต้กรอบมำตรฐำนคุณวุฒิอุดมศึกษำ) 1. หลักสูตรใหม่แบบบูรณำกำร 2 ศำสตร์ขึ้นไป จากการเปลี่ยนแปลงของสังคม และการแข่งขันใน ด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมทาให้คนในสังคมต้องการเพิ่มความรู้ความสามารถในหลายสาขา เพื่อให้ ตนเอง รู้เท่าทันและอยู่รอดท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคมในทุกด้านจึงหันมาสนใจหลักสูตรการศึกษาที่ให้ ความรู้ตั้งแต่สองศาสตร์ขึ้นไป เช่น บัญชีควบคู่กับ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ควบคู่กับเศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ควบคู่กับสังคมสงเคราะห์ เป็นต้น ( เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2550) 21 2. หลักสูตรนำนำชำติมีแนวโน้มมำกขึ้น เนื่องจากสภาพโลกาภิวัตน์มีการเชื่อมโยงด้านการค้าและ การลงทุน ทาให้ตลาดแรงงานในอนาคต ต้องการคนที่มีความสามารถด้านภาษาต่างประเทศ ส่งผลให้ความ ต้องการหลักสูตรนานาชาติมีมากขึ้น และ จากการเปิดเสรีทางการศึกษา ยังเป็นโอกาสให้สถาบันอุดมศึกษา จากต่างประเทศเข้าในไทย และเปิดหลักสูตร ภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ฯลฯ ยิ่งกระตุ้นให้หลักสูตรการศึกษานานาชาติ ได้รับความนิยมมากขึ้น แต่เนื่องจากหลักสูตรนานาชาติมีค่าใช้จ่าย สูง ดังนั้น การเรียนในหลักสูตรนี้ยังคงจากัด ในกลุ่มผู้เรียนฐานะดี 3. หลักสูตรสำหรับกลุ่มคนทำงำน หลักสูตรสาหรับกลุ่มคนทางานจะมีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับฝีมือแรงงานของ บุคลากรในองค์กรสถาบันอุดมศึกษาอาจเปิดหลักสูตรระยะสั้น หลักสูตรภาคค่ํา นอกเวลาทางาน หลักสูตร ทางไกลที่ เรียน ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยเนื้อหาหลักสูตรควรมีความหลากหลาย มีความ น่าสนใจ และตอบสนอง ความ ต้องการของ ผู้เรียนในวัยทางาน อาทิ หลักสูตรเฉพาะที่มีความจาเป็นต่อการ พัฒนาคนในวัยแรงงาน เป็นได้ ทั้งหลักสูตร ระยะสั้นหรือหลักสูตรหลักในสถาบันการศึกษาก็ได้ เช่น หลักสูตรที่ เกี่ยวกับ Global literacy ได้แก่ ภาษา คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสารสนเทศ กฎหมายระหว่างประเทศ สังคมและ วัฒนธรรมในโลก หลักสูตรการ คิด ได้แก่ การคิดเชิงสร้างสรรค์ การคิดเชิงกลยุทธ์ การคิดเชิงอนาคต การคิด เชิงวิพากษ์ การคิด เชิงสังเคราะห์ ฯลฯ หลักสูตรเพิ่มความสามารถสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงไปทั่วโลก ได้แก่

29

หลักสูตรในการสร้างหุ้นส่วน การเจรจาต่อรอง การประสานประโยชน์ เป็นต้น หลักสูตรปริญญา 2 ใบ ควบกัน เหมาะสาหรับคน วัยทางานที่ ต้องการลงทุนด้านการศึกษาครั้งเดียวแต่ได้คุ้มค่า

30

สรุป สภำพปัจจุบันของหลักสูตรไทย ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันยังจัดเป็นระบบการศึกษาในระบบโรงเรียนการศึกษานอกระบบโรงเรียน และ การศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดระบบการศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติฉบับนี้ จะไม่พิจารณาแบ่งแยก การศึกษาในระบบโรงเรียนออกจากการศึกษานอกระบบโรงเรียน แต่จะถือว่าการศึกษาในระบบ การศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียงวิธีการเรียนการสอน หรือรูปแบบของการเรียนการสอนที่ ภาษาอังกฤษใช้คาว่า "Modes of learning" ฉะนั้น แนวทางใหม่คือสถานศึกษาสามารถจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ และให้มีระบบเทียบโอนการเรียนรู้ทั้ง 3 รูปแบบ โดยพระราชบัญญัติการศึกษาฯ มาตรา 15 กล่าว ว่า การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย คือ (1) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของ การศึกษา การวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน (2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีการจัด การศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการสาเร็จ การศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของ บุคคลแต่ละกลุ่ม (3) การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม หรือแหล่งความรู้อื่นๆ สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนที่ ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกัน หรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรือจากประสบการณ์การทางาน การสอน และจะส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ สภำพปัญหำหลักสูตร

เนื่องจากหลักสูตรในไทยยังเป็นหลักสูตรที่เปลี่ยนแปลงและพัฒนามายังไม่สามารถตอบโจทย์ได้อย่าง แท้จริงทั้งในเรื่องของผู้เรียน ซึ่งต้องแบกรับความรู้ในปริมาณ ที่มากจนเกินความจาเป็นหรือเกินกว่าที่ช่วงวัย หนึ่งๆจะสามารถรับได้ และในส่วนของเวลาเรียนซึ่งเกินค่ามาตรฐานที่เยาวชนจะยังคงมีสมาธิ และสนใจ เนื้อหา ที่ต้องศึกษาได้ ซึ่งในสภาพปัจจุบัน เป้าหมายและศูนย์กลางของการพัฒนาที่แท้จริง ไม่ได้ เฉพาะเจาะจง มาที่ ผู้เรียน แต่ยังคงมีเป้าหมายอยู่ที่ครูหรือผู้สอน ทาให้หลักสูตรในปัจจุบัน ไม่ตอบสนองต่อ ผู้เรียน รวมทั้ง ความ ต้องการของสังคมไทย และสังคมโลก ซึ่งมีความเปลี่ยนแปลงไปโดยที่เป็นยุคที่เทคโนโลยี และนวัตกรรม ต่างๆ ได้รับความนิยมและมีความรุ่งเรืองมาก ทาให้หลักสูตรต้องได้รับการพัฒนาต่อไป แนวโน้มกำรพัฒนำหลักสูตร

- เป็นหลักสูตรที่เน้นให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น วิเคราะห์เป็น ไม่เน้นท่องจาเหมือนในอดีต เช่น จัดการ เรียนรู้แบบโครงการ ให้ครูและนักเรียนช่วยกันพัฒนาโจทย์ขึ้นด้วยกัน การเสาะแสวงหาข้อมูล การลง ภาคสนาม การทดลองปฏิบัติ การจดบันทึกข้อมูล การสรุปบทเรียนด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นวิทยากร กระบวนการ ผู้ให้คาแนะนาปรึกษาต่อนักเรียน - สื่อและเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามามีบทบาทในการเรียนเพิ่มมากขึ้น เช่น มีการค้นคว้าหาข้อมูลผ่าน อินเตอร์เน็ตด้วยตนเองซึ่งผู้เรียนจะสามารถค้นคว้า มีทักษะเข้าสู่ระบบข้อมูลข่าวสาร องค์ความรู้ต่างๆ ที่มีอยู่

31

มากมายได้ตลอดเวลา จัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนการสอนแบบทางไกล ซึ่งจะทาให้ ไม่มีข้อจากัดในเรื่องของเวลา สถานที่ - เน้นการบูรณาการ แต่ยังคงเนื้อหาสาระของแต่ละรายวิชาอยู่ทั้งด้านภาษา การคิดคานวณและด้าน เหตุผลหรือวิทยาศาสตร์ - เน้นการมีส่วนร่วมและการกระจายอานาจให้แก่ท้องถิ่นและสถานศึกษาเข้ามามีบทบาทในการจัด การศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียน แต่ส่วนกลางยังคงเป็นผู้กาหนดมาตรฐานการ เรียนรู้เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละแห่ง - ให้ครูและผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร อย่างแท้จริง เช่น การจัดอบรมสัมมนา.เรื่องการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร มาให้คาแนะนาช่วยเหลือในการพัฒนาหลักสูตร - เน้นหลักสูตรท้องถิ่นที่มีความหลากหลายและให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร ท้องถิ่น - เนื่องจากในยุคปัจจุบันภาษาต่างประเทศมีความจาเป็นในดารงชีวิตของผู้คนเพิ่มมากขึ้นประกอบ กับประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมีการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาเวียดนาม ลาว มลายู อังกฤษ รวมไปถึงมีการเปิดหลักสูตรนานาชาติเพิ่มขึ้นด้ว

32

บรรณำนุกรม 1. กระทรวงศึกษาธิการ. (2560), หลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช 2560. สืบค้นวันที่ 17 พ.ค. 2566. จาก http://academic.obec.go.th/images/document/1590998426_d_1.pdf 2. กระทรวงศึกษาธิการ. (2560), หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560). สืบค้นวันที่ 17 พ.ค. 2566. จาก http://academic.obec.go.th/images/ document/1559878925_d_1.pdf 3. กระทรวงศึกษาธิการ. (2562), หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562. สืบค้นวันที่ 17 พ.ค. 2566. จาก https://bsq.vec.go.th/Portals/9/Course/20/2562/newv1.pdf 4. กระทรวงศึกษาธิการ. (2563), หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563. สืบค้นวันที่ 17 พ.ค. 2566. จากhttps://bsq.vec.go.th/Portals/9/Course/30/2563/newv3.pdf 5. กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พุทธศักราช 2562 สืบค้นวันที่ 19 พ.ค. 2566. จาก https://th.wikisource.org/wiki/ 6. สานักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา. (2560), หลักสูตรอุดมศึกษา (เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร อุดมศึกษา), สืบค้นวันที่ 19 พ.ค.2566. จาก http://cid.buu.ac.th/standard/Standard%20Curr-2558Book.pdf

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.