เล่มคู่มือนักเรียนนักศึกษา2564 Flipbook PDF

เล่มคู่มือนักเรียนนักศึกษา2564

79 downloads 104 Views

Story Transcript

วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พสิ ัย เป็นสถานศึกษาที่มีนักเรียน/นักศึกษาที่มาจากหลาย โรงเรียน หลายครอบครัว อยู่คนละตาบล อาเภอและจังหวัด มีความแตกต่างโดยธรรมชาติ และประสบการณ์เดิมของแต่ละคน เพื่อปูองกันและแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นและช่วยเหลือวิทยาลัยจัดการเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ วิทยาลัยจึงได้จัดทาคู่มือซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา ๒ ส่วน ส่วนแรกเป็น ระเบียบว่าด้วย การปกครองนักเรียน/นักศึกษา ส่วนที่สองเป็นรายละเอียดของแผนการเรียน ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชัน้ สูง(ปวส.) ครู นักเรียน/นักศึกษาและผู้ปกครอง สามารถใช้เป็นกรอบในการร่วมมือพัฒนา คุ ณ ภาพ นั ก เรี ย น/นั ก ศึ ก ษา ทั้ ง ด้ า นคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมและคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ อนึ่ง เนื้อหาแนวทางปฏิบัติบางส่วนอาจจะไม่สมบูรณ์ไม่เหมาะสมกับเวลากับ โลกยุคปัจจุบัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และรุนแรง ซึ่งเนือ้ หาแนวทางปฏิบัติบางส่วน จะต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขในโอกาสต่อไป ( นายศิตภัทร อุตระนคร ) ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย

การดาเนินงานของสถานศึกษา ทิศทางการดาเนินงานของสถานศึกษา - วิสยั ทัศน์วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสยั - พันธกิจวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย - เอกลักษณ์วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสยั - อัตลักษณ์วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสยั - อัตลักษณ์คุณธรรมวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัยของนักเรียน - อัตลักษณ์คุณธรรมวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัยของครูและบุคลากร - อัตลักษณ์คุณธรรมวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัยของผู้บริหาร - คาขวัญวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย - พุทธสุภาษิตวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย - ปรัชญาวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย - สีสัญลักษณ์วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย - ตราวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย ระเบียบวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย หมวด ก. การปฏิบัติตนโดยทั่วไปของนักเรียน/นักศึกษา หมวด ข. การแก้ไขความประพฤติของนักเรียน/นักศึกษา หมวด ค. การแต่งกายของนักเรียน/นักศึกษา - อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่นๆ - หลักสูตรการเรียนการสอน ภาคผนวก

การดาเนินงานของสถานศึกษา

วิสัยทัศน์วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย จัดการอาชีวศึกษาที่หลากหลายเพื่อสังคม ผลิตกาลังคนสู่ตลาดแรงงาน

พันธกิจวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย พันธกิจที่ ๑ ผลิตผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ ด้านทักษะวิชาชีพ มีจติ อาสา เสียสละเพื่อชุมชนและสังคม พันธกิจที่ ๒ ส่งเสริมศักยภาพบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ ความสามารถ อย่างมืออาชีพ ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ พันธกิจที่ ๓ พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นฐานรองรับ บนพื้นฐานหลักของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจที่ ๔ ส่งเสริมการสร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมของครู และนักเรียน พันธกิจที่ ๕ ส่งเสริมพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน สถานประกอบการ ในการพัฒนาการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ เอกลักษณ์วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย พัฒนาคน ชุมชนพึ่งได้

การดาเนินงานของสถานศึกษา

อัตลักษณ์วทิ ยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย ทักษะดี มีจิตอาสา

อัตลักษณ์คุณธรรมวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัยของนักเรียน ซื่อสัตย์ กตัญญู จิตอาสา รับผิดชอบ

อัตลักษณ์คุณธรรมวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัยของครูและบุคลากร

วินัย เมตตา ความรับผิดชอบ ความเสียสละ

อัตลักษณ์คุณธรรมวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พสิ ัยของผู้บริหาร

ความซื่อสัตย์

โปร่งใส

ความรับผิดชอบ

การดาเนินงานของสถานศึกษา

คาขวัญวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พสิ ัย

มุ่งเน้นคุณธรรม ก้าวล้าทางการศึกษา พัฒนาเทคโนโลยี

ซื่อสัตย์ กตัญญู จิตอาสา รับผิดชอบ พุทธสุภาษิตวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พสิ ัย

ปัญญาโลกัสมิ ปัชโชโต ( ปัญญา คือ แสงสว่างโลก)

วินัย เมตตา ความรับผิดชอบ ความเสียสละ ปรัชญาวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พสิ ัย

พลังความรู้ คุณธรรม นาทางสู่ความสาเร็จ ความซื่อสัตย์

โปร่งใส

ความรับผิดชอบ

พันธกิจวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย ( สีน้าเงิน + สีแสด ) สีน้าเงิน หมายถึง คุณธรรม จริยธรรม สีแสด หมายถึง ความรู้ ความสามารถ

ตราวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย

เครื่ องหมาย / ตราของสถานศึกษาวงกลมสองวง ซ้อ นกั นระหว่ างของ วงกลมนอก วงกลมใน บอกชื่อ วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พสิ ัย อาเภอโซ่พิสัย จังหวัดบึงกาฬ และปรัชญาวิทยาลัย คือพลังความรู้ คุณธรรม นาทางสู่ความสาเร็จ ภายในวงกลมมี เครื่องหมาย ๔ รูป คือ ธงชาติ หมายถึง ความเป็นไท ธรรมจักร หมายถึง คุณธรรม จริยธรรม หนังสือ หมายถึง วิชาความรู้ รูปฟันเฟือง หมายถึง พลังขับเคลื่อน และความพร้อมเพียง สีขาว หมายถึง คุณธรรมความดีงาม สีประจาสถานศึกษา : สีน้าเงิน และสีแสด พลังความรูหมายถึ ้ คุณธรรม นคุาทางสู าเร็จ สีน้าเงิน ง ณธรรม่ความส จริยธรรม ความซื่อสัตหมายถึ ย์ โปร่ ความรั บผิดชอบ สีแสด ง งใสความรู ้ ความสามารถ อักษรย่อของสถานศึกษา : ต้นไม้ประจาสถานศึกษา :

วทท.ซส. อินทนิน

ระเบียบวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย ว่าด้วยการปกครองนักเรียน/นักศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๖ การกาหนดแนวทางในการปูองกัน แก้ไข ควบคุมและส่งเสริมความประพฤติของ นักเรียน/นักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ถูกต้องตามระเบียบและ บังเกิดผลแก่ทางวิทยาลัย ฉะนั้นอาศัยอานาจตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๑๕ และระเบี ย บกระทรวงศึก ษาธิ การว่ าด้ ว ยการลงโทษนัก เรี ยน/นั กศึ ก ษา พ.ศ. ๒๕๔๓ วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัยจึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อที่ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย ว่าด้วยการปกครอง นักเรียน/นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๖” ข้อที่ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้ตั้งแต่วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เป็นต้นไป ข้อที่ ๓ ให้ระเบียบนี้ สถานศึกษา หมายถึง วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย ผู้อานวยการสถานศึกษา หมายถึง ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย ครู หมายถึง ครู บุคลากรทางการศึกษา/เจ้าหน้าที่ของวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย นักเรียน/นักศึกษา หมายถึง นักเรียน/นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย ผู้ปกครอง หมายถึง บุคคลซึ่งได้รับนักเรียน/นักศึกษาไว้ในความปกครองหรืออุปการะเลีย้ งดู หรือบุคคลที่นักเรียน/นักศึกษาอาศัยอยู่ และ นักเรียน/นักศึกษาที่มีชื่ออยู่ พลัางนเดี ความรู ในทะเบียนบ้ ยวกัน้ คุณธรรม นาทางสู่ความสาเร็จ

ความซื่อสัตย์

โปร่งใส

ความรับผิดชอบ

หมวด ก. การปฏิบัติตนโดยทั่วไปของนักเรียน/นักศึกษา ข้อที่ ๔ การปฏิบัตติ นโดยทั่วไปของนักเรียน/นักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย ๑. ต้องสานึกและพึงรู้อยูเ่ สมอว่าตนเป็นนักเรียน/นักศึกษา ต้องปฏิบัติตามระเบียบวิทยาลัย อย่างเคร่งครัดเพราะระเบียบก่อให้เกิดวินัย และวินัยก่อให้เกิดความรอบรู้ ๒. นักเรียน/นักศึกษาต้องมีผปู้ กครองตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๒๒ ๓. ประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นคนดี เคารพเชื่อฟังบิดามารดา ญาติผู้ใหญ่ ผู้ปกครอง ครู รู้จัก พึ่ ง ตนเอง ขยั น หมั่ น เพี ย ร มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ตรงต่ อ เวลา และเว้ น อบายมุ ข ทุกประเภท ๔. มีก ริ ยามารยาทเรีย บร้อ ย สุ ภ าพอ่ อนโยน ต่อ บุ คคลทั่ว ไป ไม่ล้ อ เลี ย น ข่ มขู่ ก้ าวร้ า ว ข่มเหงผู้อื่น

๕. รู้จั ก ใช้ เ วลาว่ างให้ เป็ น ประโยชน์ ช่ ว ยส่ง เสริ ม สนั บ สนุน และเข้ าร่ ว ม กิ จ กรรมต่ า งๆ ของวิทยาลัยอย่างสม่าเสมอ ๖. สร้ า งความรั ก ความสามั ค คี ใ นหมู่ ค ณะ ไม่ ยุ ย งแตกแยก ไม่ ท ะเลาะวิ ว าท กั น ทั้งเพื่อนศึกษาในวิทยาลัยเดียวกันและต่างสถาบัน ๗. รักษาทรัพย์สินทุกประเภท ถ้าทาลายทรัพย์สินของทางวิทยาลัยต้องรับผิดชอบและ ยินยอมชดใช้ค่าเสียหาย ๘. เสียสละบาเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม ช่วยเหลืองานต่างๆของวิทยาลัยด้วยความเต็มใจ ๙. ไม่นาอาวุธหรือวัตถุอื่นที่อาจก่อให้เกิดอันตรายเข้ามาในวิทยาลัย ๑๐. นักเรียน/นักศึกษาจะต้องเข้าออกวิทยาลัยทางประตูวิทยาลัยเท่านั้น ข้อที่ ๕ การมาวิทยาลัย ๑. การเข้ าออกวิท ยาลัย ให้ ใช้ ประตู ด้า นหน้า วิท ยาลัย นั กเรีย น/นัก ศึก ษาทุก คนต้อ งท า ความเคารพครูที่ปฏิบัติหน้าที่เวร หรือผู้ปกครอง ผู้ใหญ่ เดินสวนกัน ด้วยการยกมือไหว้ พร้อมกับ กล่าวคาว่าสวัสดีครับ/ค่ะ และยกมือไหว้ ทั้งภายในและภายนอกวิทยาลัย ๒. ในกรณีที่นักเรียน/นักศึกษาใช้ ยานพาหนะ ก่อนเข้าหรือออกจากประตูหน้า วิทยาลั ย ให้จอดยานพาหนะก่อนแล้วทาความเคารพครูที่ปฏิบัติหน้าที่เวร แล้วจูงยานพาหนะออกไปจนพ้น ประตูวิทยาลัยแล้วจึงขับไปได้ ๓. เพื่ อ เป็ น การปู อ งกั น และรั ก ษายานพาหนะไม่ ใ ห้ สู ญ หายหรื อ ถู ก ท าลาย วิ ท ยาลั ย จึงห้ามนักเรียน/นักศึกษาเข้พลั าไปในบริ เวณจอดยานพาหนะจนกว่ ยาลัยจะเลิ งความรู ้ คุณธรรม นาทางสูาวิ่คทวามส าเร็จก ตย์ โปร่ งใส ความรั ผิดชอบ ๔. ในวันหยุดถ้าวิความซื ทยาลัยมี่อคสัวามประสงค์ จะให้ นักเรียน/นั กศึกบ ษามาวิ ทยาลัยหรือมาปฏิบัติ กิจกรรมใดๆ วิทยาลัยจะมีหนังสือแจ้งผู้ปกครองและขออนุญาตก่อนทุกครั้ง ข้อที่ ๖ การมาสาย ถือเป็นหน้าที่ของนักเรียน/นักศึกษาที่จะต้องมาเรียนให้ทันเข้าแถวร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง เมื่อร้องเพลงชาติจบ นักเรียน/นักศึกษาที่อยู่นอกวิทยาลัยหรือไม่ทันเข้าแถวถือว่ามาสาย ข้อที่ ๗ การร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง ๑. เมื่อได้ยินสัญญาณออดเข้าแถวนักเรียน/นักศึกษาต้องมาเข้าแถวร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง ๒. นักเรียน/นักศึกษา เข้าแถวเป็นห้องเรียนตามที่กาหนดให้ ๓. นักเรียน/นักศึกษา ต้องอยู่ในระเบียบแถว ตั้งใจทากิจกรรมหน้าเสาธง ๔. เมื่อทากิจกรรมหน้าเสาธงเสร็จ ให้เดินเข้าห้องเรียนอย่างเป็นระเบียบ

ข้อที่ ๘ การรักษาความสะอาดหอประชุม โรงอาหาร ห้องโฮมรูม ห้องเรียน อาคารเรียน อาคาร ประกอบ ต่างๆ ในบริเวณวิทยาลัย ห้องน้า ห้องสุขา และห้ามทิ้งขยะไม่เป็นที่ ๑. เป็นหน้าที่ของนักเรียน/นักศึกษาทุกคนต้องทาความสะอาดห้องโฮมรูมตามที่ครูปรึกษา มอบหมายและต้องปฏิบัติหน้าที่ก่อนเข้าแถวหน้าเสาธง ๒. นักเรียน/นักศึกษาที่ใช้ห้องเรียนของแต่ละชั่วโมง ต้องทาความสะอาดห้องเรียนกรณีต้อง ทิ้ง ขยะต้องทิง้ ในถังขยะหลังห้องเรียน ๓. นักเรียน/นักศึกษาต้องรักษาความสะอาดตามอาคารเรียน อาคารประกอบต่างๆ ห้องน้า และบริเวณสนามหญ้า บริเวณสถานที่ทั่วไปภายวิทยาลัย ข้อที่ ๙ การเข้าออก ห้องเรียน ห้องพักครู การเข้าออกห้องเรียนในขณะครู-อาจารย์อยูใ่ นห้อง นักเรียน/นักศึกษาต้องยืนตรงอยู่หน้าประตูยกมือไหว้ และขออนุญาต ให้ยกมือไหว้แล้วกล่าว ขอบคุณการเข้าห้องพักครูให้ปฏิบัติเช่นเดียวกัน ข้อที่ ๑๐ การปฏิบัตติ นเมื่ออยู่บนอาคาร ๑. ไม่นาอาหาร หรือเครื่องดื่มขึ้นไปกินบนอาคาร ๒. ไม่วิ่งหยอกล้อ ไม่เล่นกีฬาทุกประเภทบนอาคารและส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่นทีเรียนหนังสือ ๓. ไม่ปีน ไม่นั่งบนพนังพิง ราวบันได ขอบหน้าต่าง ซึ่งอาจเกิดอุบัตเิ หตุได้ ๔. การเดินบนอาคาร การขึน้ บันไดอาคารเรียนให้ชิดขวาทุกครัง้ ข้อที่ ๑๑ การปฏิบัตติ นในห้องเรียน ๑. ต้องตัง้ ใจเรียน เคารพ ครู เคร่งครัด ๒. มี วินัยในตนเอง ความซื ่อสัผตู้สย์อนไม่อนุโปร่ งใส ความรับผิดชอบ ๓. ไม่นางานอื่นมาท าโดยครู ญาต ๔. เมื่อครูผู้สอนไม่เข้าห้องเรียนเกิน ๕ นาทีไปแล้ว ให้หัวหน้ารีบไปเชิญ ครูผู้สอน ข้อที่ ๑๒ การขอออกนอกบริเวณวิทยาลัย นักเรียน/นักศึกษา ที่เข้ามาวิทยาลัยแล้วต้องอยู่ในการควบคุมของครู จะออกนอกบริเวณ วิทยาลัยโดยพละการไม่ได้จนกว่าจะเลิกเรียน ถ้ามีความจาเป็นจะต้องออกนอกบริเวณวิทยาลัยให้ ปฏิบัติ ดังนี้ ๑. ถ้าเป็นเวลาในระหว่างคาบเรียน ให้ไปรับใบอนุญาตที่ฝุายปกครองแล้วบันทึกการขอ อนุญาตจากผู้อานวยการ จากนั้นให้นาใบอนุญาตติดตัวออกไปด้วยเมื่อกลับเข้าให้นาใบอนุญาตมา ให้ฝุายปกครอง พร้อมลงบันทึกเวลากลับ จะขออนุญาตออกไปไม่เกิน ๒ ชั่วโมง ๒. ถ้าเป็นเวลาช่วงพักกลางวันให้ไปขออนุญาตที่ฝุายปกครองแล้วปฏิบัตเิ ช่นเดียวกับข้อ ๑ ๓. นักเรียน/นักศึกษาที่ออกนอกวิทยาลัยโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นการฝุาฝืนข้อบังคับของ วิทยาลัย มีความผิดถือว่าหลบหนีออกนอกวิทยาลัย

ข้อที่ ๑๓ การขออนุญาตกลับบ้านก่อนเลิกเรียน ต้องมีผู้ปกครองมารับพร้อมแสดงบัตรประชาชน เป็นหลักฐานหรือมีหนังสือจากผู้ปกครอง มาแสดงเป็นหลักฐาน ข้อที่ ๑๔ การลา ของนักเรียน/นักศึกษา ๑. นักเรียน/นักศึกษา ต้องส่งใบลากิจหรือลาปุวยตามความเป็นจริงต่อครูที่ปรึกษาถ้าไม่ส่ง ใบลา ถือว่าขาดเรียน ใบลาของนักเรียน/นักศึกษาต้องมีผู้ปกครองรับรอง โดยเขียนข้อความท้ายใน ใบลาว่า ข้าพเจ้าขอรับรองว่าเป็นความจริงทุกประการ แล้วลงชื่อผู้ปกครองกากับไว้ ๒. ถ้านักเรียน/นักศึกษาขาดเรียนจะดาเนินการดังนี้ ๒.๑ ขาดเรียนติดต่อกัน ๓ วัน ครูที่ปรึกษาแจ้งผู้ปกครองครั้งที่ ๑ ๒.๒ ขาดเรียนติดต่อกัน ๑ สัปดาห์ รายงานครั้งที่ ๑ ไปแล้ว แต่ยังไม่ได้รับการตอบรับ จากผู้ปกครอง ครูที่ปรึกษาจะออกติดตามเยี่ยมบ้าน ข้อที่ ๑๕ การแสดงความพอใจหรือการให้เกียรติ การแสดงความพอใจหรื อ การให้ เ กี ย รติ นั ก เรี ย น/นั ก ศึ ก ษา ครู และบุ ค คลทั่ ว ไป ให้ใช้วิธีปรบมือ ข้อที่ ๑๖ การใช้คาพูดกับครู ให้ นัก เรี ยน/นั กศึ กษาใช้ค าพู ด กับ ครู โดยใช้ ภาษากลางทุก ครั้ง เมื่อ มีเ รื่อ งขอค าปรึก ษา ให้ขนึ้ ต้นด้วยคาว่า ครูครับ/ค่ะ เมื่อเสร็จธุระแล้วยกมือไหว้ แล้ว ขอบคุณครับ/ค่ะ ข้อที่ ๑๗ การแสดงความเคารพ ให้นักเรียน/นักศึกษาแสดงความเคารพ โดยปฏิบัติตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ ว่า ด้วยการเคารพของนักเรียน/นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๓๐ อย่างเคร่งครัด ข้อที่ ๑๘ ห้ามเล่นการพนัน ห้ามดื่มสุรา ห้ามเสพยาเสพติด ห้ามทะเลาะวาทกันภายในวิทยาลัย หรือบุคคลภายนอก ถ้าฝุาฝืนมีโทษร้ายแรง หมวด ข. การแก้ไขความประพฤติของนักเรียน/นักศึกษา คะแนน หมายถึง คะแนนความประพฤติของนักเรียน/นักศึกษาโดยแบ่งดังนี้ ๑. คะแนนประจาตัว นักเรียน/นักศึกษา ๑ คน ๒๐๐ คะแนน ต่อปีการศึกษา ๒. คะแนนประจาตัว นักเรียน/นักศึกษา ๑ คน ๑๐๐ คะแนน ต่อภาคเรียน การทาความผิด หมายถึง การที่นักเรียน/นักศึกษา ประพฤติผิดหรือฝุาฝืนระเบียบข้อบังคับของ สถานศึ ก ษาหรื อ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร หรื อ กฎกระทรวงที่ อ อกตามประกาศของคณะปฏิ วั ติ ฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๑๕ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสั่งสอนให้มีความประพฤติดี หรือ ให้เข็ดหลาบ

การทากิจกรรม หมายถึง การให้นักเรียน/นักศึกษาที่กระทาความผิดและทากิจกรรม หรือบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาตามหลักเกณฑ์หรือวิธีที่กาหนด ๑. ทาความสะอาดเก็บใบไม้ เศษกระดาษ ขยะหน้าวิทยาลัย หรือบริเวณวิทยาลัย ๒. ทาความสะอาด กวาดถนนในวิทยาลัยทุกสาย ๓. ทาความสะอาดในห้องโฮมรูมของตนเอง ๔. ทาความสะอาดในห้องสานักงาน สาขาวิชา ฝุาย ๕. ทาความสะอาดห้องนา ห้องสุขา นักเรียน / นักศึกษา ๖. ทาความสะอาดห้องน้า ห้องสุขา ครู ๗. ทาความสะอาดห้องสมุด ๘. ทาความสะอาดห้องประชุม ๙. ลบรอยขีดเขียนภาพวาดตามโต๊ะ เก้าอี้นักเรียน/นักศึกษา ๑๐. รดน้าต้นไม้ พรวนดินรอบต้นไม้ บริเวณรอบวิทยาลัย ๑๑. คัดลอกคติพจน์และปรัชญาวิทยาลัย ๑ หน้ากระดาษ A๔ การทาทัณฑ์บน หมายถึง การที่ผู้อานวยการพิจารณาลงโทษนักเรียน/นักศึกษาที่มีความ ประพฤติ ไ ม่เ หมาะสมแก่ ส ภาพนั กเรี ย น/นั ก ศึ กษา ตาม กฎกระทรวงศึ ก ษาธิ การออกตาม ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๑๓๒ ลง วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๑๕

การสั่งพักการเรียน หมายถึง ให้ผู้อานวยการพิจารณาการลงโทษให้พักการเรียนในกรณี ดังนี้ ๑.นักเรียน/นักศึกษาที่มีความประพฤติตนไม่สมควรแก่สภาพนักเรียน/นักศึกษา ความซื สัตย์ ยนจะสัโปร่ ดชอบ ๒.การลงโทษการสั ่งพั่อ กการเรี ่งพังกใส การเรียความรั นครัง้ หนึบ่งผิไม่ เกิน ๗ วันหรือจนกว่า ความผิดนั้นจะได้รับการแก้ไขให้ถูกต้องแล้ว การให้ย้ายสถานศึกษา หมายถึง นักเรียน/นักศึกษา ที่มีพฤติกรรมที่ไม่สมควร แก่สภาพ การเป็น นักเรียน/นักศึกษา ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการออกตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับ นี้ ๑๓๒ หรื อ ฝุ า ฝื น ระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ สถานศึ ก ษา หรื อ ประพฤติ ผิ ด ศี ล ธรรมหรื อ ท าให้ สถานศึกษาเสื่อมเสียชื่อเสียงและเกียรติศักดิ์ของ สถานศึกษา หรือทาให้ชื่อเสียงของนักเรียน/ นั ก ศึ ก ษาอื่ น พลอยเสื่ อ มเสี ย ให้ ผู้ อ านวยการเชิ ญ บิ ด า-มารดา นั ก เรี ย น/นั ก ศึ ก ษาย้ า ย สถานศึกษา ในกรณีนที้ างสถานศึกษาจะออกใบ รบ. ให้ ข้อที่ ๑๙ ให้ครูเป็นผู้เสนอตัดคะแนนความประพฤติของนักเรียน/นักศึกษาโดยอนุมัติของ ผู้อานวยการ

ข้อที่ ๒o การลงโทษนักเรียน/นักศึกษา ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ หรือ ครู ที่ผู้อานวยการ มอบหมายให้ดาเนินการตามความเหมาะสม ดังนี้ ๑. ว่ากล่าวตักเตือน ๒. ทากิจกรรม ๓. ทาทัณฑ์บน ๔. พักการเรียน ๕,ย้ายสถานศึกษา ข้อที่ ๒๑ ให้สถานศึกษาพิจารณาลงโทษนักเรียน/นักศึกษา ดังนี้ ๑. ระดับประกาศวิชาชีพสาหรับโทษว่ากล่าวตักเตือน ทากิจกรรม ทัณฑ์บนและย้าย สถานศึกษา ๒. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงสาหรับ โทษว่ากล่าวตักเตือน ทากิจกรรม ทัณฑ์บน และย้ายสถานศึกษา ข้อที่ ๒๒ การลงโทษนักเรียน/นักศึกษา ผู้ลงโทษต้องกาหนดบทลงโทษให้ชัดเจนโดยแจ้งผู้ที่กระทาผิดและควรถูกลงโทษโดยการ อนุมัติของสถานศึกษาหรือผู้อานวยการ ข้อที่ ๒๓ การลงโทษตาม ข้อ ๒๐ (๓)(๔)(๕) ก่อนลงโทษให้ผู้เกี่ยวข้องเสนอความเห็นการพิจารณาเสนอต่อผู้อานวยการเมื่อได้รับ อนุญาตแล้วจึงลงโทษได้ ข้อที่ ๒๔ การว่ากล่าวตักเตือน ใช้สาหรับผู้กระทาความผิดร้ายแรง และในเมื่อผู้อานวยการหรือครูที่ผู้อานวยการมอบหมาย เห็นว่าเหมาะสมและจะได้ผลดีแก่นักเรียน/นักศึกษา โดยครูตักเตือนด้วยการตัดคะแนนไม่เกินครั้งละ ๑๐ คะแนน แบ่งระดับความผิดดังต่อไปนี้ ๑. แต่งกายผิดระเบียบข้อบังคับของวิทยาลัย ดังนี้ ๑.๑ จานวน ๑-๒ ครัง้ ต่อ ๑ สัปดาห์ ตักเตือนด้วยวาจา ๑.๒ จานวน ๓ ครัง้ ต่อ ๑ สัปดาห์ตักเตือนและเสนอตัดคะแนน ๒. มาวิทยาลัยสายโดยไม่มีเหตุจาเป็น ๓. ลักขโมยทั้งในและนอกวิทยาลัย ๔. ทาลายทรัพย์สินวิทยาลัยหรือสาธารณะต่างๆ ๕. สูบบุหรี่ กัญชา ดื่มสุรา หรือของเสพติด หรือมีไว้ครอบครอง ๖. เล่นการพนัน ๗. นาสื่อลามกอนาจารเข้ามาที่วิทยาลัย

๘. เที่ยวเตร่กลางคืนในช่วงเวลา ๒๒.๒๐ น. – ๐๔.๐๐ น. ของวันใหม่ ๙. พกวัตถุระเบิดหรือมีอาวุธติดตัวหรือซ่อนเร้นไว้เพื่อใช้ในการประทุษร้าย ๑๐. เข้าไปในสถานที่ค้าประเวณี สถานบริการ สถานการพนัน ๑๑. ประพฤติตนไม่ควรแก่สภาพนักเรียน/นักศึกษาทาให้เสื่อมเสียชื่อเสียงและเกียรติศักดิ์ ของสถานศึกษา ๑๒. ฝุาฝืนระเบียบข้อบังคับของวิทยาลัยอย่างร้ายแรง ๑๓. เคยรับโทษอย่างอื่นแล้วยังไม่เข็ดหลาบ ๑๔. กระทาตัวเป็นปฏิปักษ์ต่ออานาจบริหารวิทยาลัย หรือบังคับขู่เข็ญ ยุยงส่งเสริมหรือ สนับสนุนให้นักเรียน/นักศึกษากระทาการเช่นว่า ๑๕. เกี่ยวข้องกับยาเสพติด (ยาบ้า) โดยการเสพ จาหน่าย หรือ ผลิต ข้อที่ ๒๕ การสั่งการพักการเรียน ผู้มีอานาจลงโทษ คือ ผู้อานวยการจะสั่งพักการเรียนได้ครั้งหนึ่งไม่เกิน ๗ วัน หรือจนกว่า ความผิดนั้นจะได้รับการแก้ไขให้ถูกต้องแล้วจะแจ้งให้บิดา มารดา หรือผู้ปกครองทราบเป็นลาย ลักษณ์อักษร เมื่อนักเรียน/นักศึกษากระทาความผิดกรณีเดียวกันเกิน ๕ ครัง้ ขึน้ ไป และรวมคะแนน ถูกตัด ถึง ๑๕๐ คะแนนขึน้ ไป ในแต่ละปีการศึกษาหรือกระทาความผิดดังนีถ้ ูกตัดคะแนนไม่เกิน ๑๕๐ คะแนน ๑. โดยลงโทษตามข้อ ๒๔ มาแล้วไม่เข็ดหลาบ ๒. ประพฤติตนไม่เหมาะสมควรแก่สภาพนักเรียน/นักศึกษาทาให้เสื่อมเสียชื่อเสียงและ เกียรติศักดิ์ของสถานศึกษาฝุาฝืนระเบียบข้อบังคับของสถานศึกษาอย่างร้ายแรง ข้อที่ ๒๖ นักเรียน/นักศึกษา ที่ถูกตัดคะแนนความประพฤติ ถึง ๘๐ คะแนน วิทยาลัยจะไม่รับรอง ความซื่อสัตมัตย์ิ เป็นรายๆไป โปร่งใส ความรับผิดชอบ ความประพฤติ เว้นแต่ผู้อานวยการอนุ

ข้อที่ ๒๗ การให้ย้ายสถานศึกษา ผู้มอี านาจ คือ ผู้อานวยการเมื่อนักเรียน/นักศึกษากระทา ความผิดอย่างร้ายแรงเพียงครัง้ เดียว หรือถูกลงโทษตามข้อ ๒๔ หรือ ๒๕ แล้วไม่เข็ดหลาบโดยมี ความผิดชัดเจน ข้อที่ ๒๘ การเพิ่มคะแนนเมื่อนักเรียน/นักศึกษาประกอบคุณงามความดีจะพิจารณาดังนี้ ๑. ให้คะแนนไม่เกิน ๑๐ คะแนน ๑.๑ แจ้งให้ทราบถึงพฤติกรรมของนักเรียน/นักศึกษาที่กระทาความผิดหรือพยายาม กระทาความผิด ๑.๒ เก็บสิ่งของหรือเงินที่มีมูลค่าไม่เกิน ๕๐ บาท ๑.๓ ช่วยรักษาความสะอาดของวิทยาลัย ๑.๔ ช่วยเหลืองานหรือกิจกรรมของวิทยาลัยเป็นพิเศษ ๑.๕ นาชื่อเสียงมาสูว่ ิทยาลัยในระดับวิทยาลัย

๒. ให้คะแนนไม่เกิน ๒๐ คะแนน และให้เกียรติบัตร ๒.๑ แจ้งให้ทราบถึงพฤติกรรมของนักเรียน/นักศึกษาที่กระทาความผิดหรือพยายาม กระทาความผิดกรณีอย่างร้ายแรง ๒.๒ เก็บสิ่งของหรือเงินที่มีมูลค่า ๕๑-๑๐๐ บาท ๒.๓ ช่วยรักษาความสะอาดของวิทยาลัย ๕ ครัง้ ขึน้ ไป ๒.๔ ช่วยเหลืองานหรือกิจกรรมของวิทยาลัยเป็นพิเศษและชุมชน อย่างน้อย ๕ ครัง้ ขึน้ ไปแต่ละภาคเรียน ๒.๕ นาชื่อเสียงมาสูว่ ิทยาลัยในระดับเขต ๓. ให้คะแนนไม่เกิน ๓๐ คะแนน และให้เกียรติบัตร ๓.๑ แจ้งให้ทราบถึงพฤติกรรมของนักเรียน/นักศึกษาที่กระทาความผิดหรือพยายาม กระทาความผิดกรณีอย่างร้ายแรงอย่างน้อย ๒ ครัง้ ๓.๒ เก็บสิ่งของหรือเงินที่มีมูลค่า ๑๐๑-๕๐๐ บาท ๓.๓ ช่วยรักษาความสะอาดของวิทยาลัย ๗ ครัง้ ขึน้ ไป ๓.๔ ช่วยเหลืองานหรือกิจกรรมของวิทยาลัยเป็นพิเศษและชุมชน อย่างน้อย ๗ ครัง้ ขึน้ ไปแต่ละภาคเรียน ๓.๕ นาชื่อเสียงมาสูว่ ิทยาลัยในระดับจังหวัด

๔. ให้คะแนนไม่เกิน ๕๐ คะแนน และให้เกียรติบัตร ๔.๑ เก็บสิ่งของหรือเงินที่มีมูลค่าเกิน ๕๐๐ บาท ๔.๒ นาชื่อเสียงมาสูว่ ิทยาลัยในระดับภาคหรือระดับประเทศ หมวด ค. การแต่งกายนักเรียน/นักศึกษา ข้อที่ ๒๙ การแต่งกายนักเรียนชายระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ๑. ผมตัดผมทรงจอน หรือ รองทรง ห้ามย้อมผมและไว้หนวดเครา ๒. เสื้อเชิต้ คอตั้งแขนสัน้ สีขาว เนือ้ เรียบ ไม่มีลวดลาย ๓. กางเกง ใช้ผ้าสีกรมเข้มหรือสีดาขายาว ๔. เข็มขัดหนังสีดา หัวเข็มขัดตราวิทยาลัยฯ ๕. เนคไท ตามที่วิทยาลัยกาหนดไว้เท่านั้น ๖. รองเท้าหนัง หรือผ้าใบสีดาหุ้มส้นชนิดผูกเชือกไม่มลี วดลาย ๗. ถุงเท้าสีดาไม่มีลวดลาย ๘. ชุดฝึกงาน ปฏิบัตงิ าน แผนกอุตสาหกรรม แผนกพณิชยกรรม ให้ใช้ชุดฝึกงาน หรือปฏิบัติงาน(Lab)ที่วิทยาลัยจัดหาให้เท่านั้น ๙. ชุดพละศึกษา ให้ใช้ชุดที่วิทยาลัยจัดหาให้เท่านั้น

ข้อที่ ๓๐ การแต่งกายนักศึกษาชายระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ๑. ผมตัดผมทรงจอน หรือ รองทรง ห้ามย้อมผมและไว้หนวดเครา ๒. เสื้อเชิต้ คอตั้งแขนยาว สีขาว เนือ้ เรียบ ไม่มีลวดลาย ๓. กางเกง ใช้ผ้าสีกรมเข้มหรือสีดาขายาว ๔. เข็มขัดหนังสีดา หัวเข็มขัดตราวิทยาลัยฯ ๕. เนคไท ตามที่วิทยาลัยกาหนดไว้เท่านั้น ๖. รองเท้าหนัง หรือผ้าใบสีดาหุ้มส้นชนิดผูกเชือกไม่มลี วดลาย ๗. ถุงเท้าสีดาไม่มลี วดลาย ๘. ชุดฝึกงาน ปฏิบัตงิ าน ประเภทวิชาอุตสาหกรรมและประเภทวิชาพาณิชยการ ให้ใช้ชุดฝึกงานหรือปฏิบัติงาน(Lab)ที่วิทยาลัยจัดหาให้เท่านั้น ๙. ชุดพละศึกษา ให้ใช้ชุดที่วิทยาลัยจัดหาให้เท่านั้น ข้อที่ ๓๑ การแต่งกายนักเรียนหญิงระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ๑. ผม หากยาวให้รวบให้เรียบร้อยด้วยโบดาหรือน้าตาล ห้ามใช้ที่คาดผม ห้ามทา ทรงผมแปลกๆ ที่ขัดต่อบุคลิกภาพของนักเรียน/นักศึกษา ๒. เสื้อเชิต้ คอตั้งแขนสัน้ สีขาว เนือ้ เรียบ ไม่บางเกินควร ไม่มีลวดลาย ๓. กระโปรง สีกรมเข้มหรือ สีดาทรงสอบทรงเอหรือจีบรอบ ความยาวคลุมหัวเข่า ๔. เข็มขัด หนังสีดา หัวเข็มขัดตราวิทยาลัย ๕. เนคไท ตามที่วิทยาลัยกาหนดไว้เท่านั้น ๖. รองเท้า คัชชูสดี า ส้นสูงไม่เกิน ๒ นิว้ ไม่สวมถุงเท้าหรือรองเท้าผ้าใบสีขาวหุ้ม ส้นไม่มีลวดลาย สวมถุงเท้าสีขาว ๗. ชุดฝึกงาน ปฏิบัตงิ าน ประเภทวิชาอุตสาหกรรมและประเภทวิชาพาณิชยกรรม ให้ใช้ชุดฝึกงานหรือปฏิบัติงาน(Lab)ที่วิทยาลัยกาหนดให้เท่านั้น ๘ . ชุดพละศึกษา ให้ใช้ชุดที่วิทยาลัยกาหนดให้เท่านั้น ข้อที่ ๓๒ การแต่งกายนักศึกษาหญิงระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ๑. ผม หากยาวให้รวบให้เรียบร้อยด้วยโบดาหรือน้าตาล ห้ามใช้ที่คาดผม ห้ามทาทรงผม แปลกๆ ที่ขัดต่อบุคลิกภาพของนักเรียน/นักศึกษา ๒. เสื้อเชิต้ คอตั้งแขนยาว สีขาว เนือ้ เรียบ ไม่บางเกินควร ไม่มีลวดลาย ๓. กระโปรง สีกรมเข้มหรือ สีดาทรงสอบ ทรงเอ หรือจีบรอบ ความยาวคลุมหัวเข่า ๔. เข็มขัด หนังสีดา หรือสีน้าตาล หัวเข็มขัดตราวิทยาลัย ๕. เนคไท ตามที่วิทยาลัยกาหนดไว้เท่านั้น

๖. รองเท้า คัชชูสดี า ส้นสูงไม่เกิน ๒ นิว้ ไม่สวมถุงเท้า ๗. ชุดฝึกงาน ปฏิบัตงิ าน ประเภทวิชาอุตสาหกรรมและประเภทวิชาบริหารธุรกิจ ให้ใช้ ชุดฝึกงานหรือปฏิบัติงาน(Lab) ที่วิทยาลัยกาหนดให้เท่านั้น ๘ . ชุดพละศึกษา ให้ใช้ชุดที่วิทยาลัยกาหนดให้เท่านั้น

ข้อที่ ๓๓ เครื่องประดับ ๑. สร้อยคอ อนุญาตให้เฉพาะผู้ที่ต้องการมีพระไว้ติดตัว ต้องให้ความยาวพอสมควรที่จะ ซ่อนพระไว้ไม่ให้มองเห็น ห้ามใส่สร้อยทอง ลูกปัด ๒. นาฬิกา รูปและเรือนสุภาพ ๓. แว่นตา ให้ใส่เรือนที่มีกรอบสุภาพ ๔. ต่างหู ให้ใส่เพื่อปูองกันการอุดตันเพียงข้างละ ๑ รู เท่านั้นให้ใส่ต่างหูสที องเป็นรูห่วงเล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๑ ซม. ยกเว้นผู้ชายห้ามใส่ต่างหู ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖

ปณิธาน ตึงตระกูล ( นายปณิธาน ตึงตระกูล ) ผู้รับใบอนุญาต

ประกาศ วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พสิ ัย เรื่อง อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าธรรมเนียมอื่น ประจาการศึกษา ๒๕๖๓ เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติ มาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.๒๕๕๐ แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบั บ ที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๕๔ วิท ยาลั ยเทคโนโลยี โ ซ่พิ สั ย ตั้ง อยู่ ที่ จัง หวั ด บึง กาฬ เป็ น วิ ทยาลั ย เอกชนในระบบ ประเภทอาชี ว ศึ ก ษา และในปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๖๒ เป็ น วิ ท ยาลั ย ที่ นั ก เรี ย นรั บ เงิ น อุ ด หนุ น รายบุ ค คลจาก กระทรวงศึกษาธิการในบางชั้นเรียน โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารของวิทยาลัย ตามมติที่ประชุม ครัง้ ที่ ๒/๒๕๖๓ เมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๓

จึงกาหนดอัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ดังนี้ ๑. อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา ๑.๑ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) (๑). ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ ภาคเรียนละ ๑,๐๐๐ บาท ปีละ ๒,๐๐๐ บาท (๒). ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขางานไฟฟูากาลัง ภาคเรียนละ ๑,๐๐๐ บาท ปีละ ๒,๐๐๐ บาท (๓). ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนละ ๑,๐๐๐ บาท ปีละ ๒,๐๐๐ บาท (๔). ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขางานการบัญชี ภาคเรียนละ ๑,๐๐๐ บาท ปีละ ๒,๐๐๐ บาท ๑.๒ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) (๑). ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนละ ๖,๐๐๐ บาท ปีละ ๑๒,๐๐๐ บาท (๒). ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาบัญชี สาขางานการบัญชี ภาคเรียนละ ๖,๐๐๐ บาท ปีละ ๑๒,๐๐๐ บาท (๓). ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาไฟฟูา สาขางานไฟฟูากาลัง ภาคเรียนละ ๖,๐๐๐ บาท ปีละ ๑๒,๐๐๐ บาท (๔). ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต์ ภาคเรียนละ ๖,๐๐๐ บาท ปีละ ๑๒,๐๐๐ บาท

๒. อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา ๒.๑ ค่าธรรมเนียมการศึกษา วุฒิการศึกษา

ปวช. ปวส.

ประเภทวิชา อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม บริหารธุรกิจ

ภาคเรียนที่ ๑ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๖,๐๐๐ ๖,๐๐๐

ภาคเรียนที่ ๒ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๖,๐๐๐ ๖,๐๐๐

รวม ๒,๐๐๐ ๒,๐๐๐ ๑๒,๐๐๐ ๑๒,๐๐๐

๒.๒ อัตราค่าธรรมเนียมอื่น (บาท/ต่อปี) รายการ ๑. ค่าสมัครและค่าขึ้นทะเบียนเป็น นักเรียน/ นักศึกษา ๒. ค่าทาบัตรประจาตัวนักเรียน/นักศึกษา ๓. ค่าปรับทาบัตรประจาตัวนักเรียน/นักศึกษา

ระดับการศึกษา ปวช. ปวส. ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๕๐

๑๐๐ ๕๐

๔. ค่าคู่มือ นักเรียน/นักศึกษา ๕. ค่าตรวจสุขภาพ นักเรียน/นักศึกษา ๖. ค่าตรวจสารเสพติด ๗. ค่าประกันอุบัติเหตุปีละไม่เกิน ๘. ค่าบารุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ๙. ค่าบารุงห้องสมุด ๑๐. ค่าลงทะเบียนวิชาภาคฤดูร้อน หน่วยกิตละ ไม่เกิน

๑๐๐ ๒๐๐ ๓๐๐ ๓๐๐ ๕๐๐ ๑๐๐ ๒๐๐

๑๐๐ ๒๐๐ ๓๐๐ ๓๐๐ ๕๐๐ ๑๐๐ ๒๐๐

๑๑. ค่าธรรมเนียมออกสาเนา รบ.ใหม่

๒๐๐

๒๐๐

ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนีเ้ ป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๓

ปณิธาน ตึงตระกูล ( นายปณิธาน ตึงตระกูล ) ผู้รับใบอนุญาต

หมายเหตุ เก็บครั้งเดียวเมื่อมาสมัครใหม่ เก็บครั้งเดียวเมื่อมาสมัครใหม่ สาหรับนักเรียนที่ทาบัตรหาย ชารุดต้องการทาบัตรใหม่ เก็บครั้งเดียวเมื่อมาสมัครใหม่ เก็บครั้งเดียวเมื่อมาสมัครใหม่ แบ่งเก็บภาคเรียนละเท่าๆกัน เก็บครั้งเดียวเมื่อมาสมัครใหม่ เก็บครั้งเดียวเมื่อมาสมัครใหม่ สาหรับนักเรียนที่มีผลการเรียน ไม่ถึง๒.๐๐ และแก้ไขผลการ เรียนที่ได้น้อยคิดตามรายวิชา สาหรับนักเรียนที่ รบ.หายและ ต้องการสาเนาใหม่

หลักสูตรการเรียนการสอนของวิทยาลัย ๒ ประเภทวิชา ๔ สาขาวิขา ๑. ระดับประกาศนียบัตรวิชีพ (ปวช.) ๑.๑ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม - สาขางานยานยนต์ - สาขางานไฟฟูากาลัง ๑.๒ ประเภทวิชาพาณิชยกรรม - สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ - สาขางานการบัญชี ๒. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ๒.๑ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม - สาขางานไฟฟูากาลัง - สาขางานเทคนิคยานยนต์ ๒.๒ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ - สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ - สาขางานการบัญชี ระบบการศึกษาของนักเรียน/นักศึกษา การแบ่งภาคเรียนการศึกษาและระยะเวลาการศึกษา ๑. หนึ่งปีการศึกษาและระยะเวลาการศึกษา ๒. หนึ่งภาคเรียนจัดให้มกี ารเรียนการสอน ๓. หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ๔. หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

๒ ภาคเรียน ๑๘ สัปดาห์ ระยะการศึกษา ๓ ปี แบ่งเป็น ๖ ภาคเรียน ระยะการศึกษา ๒ ปี แบ่งเป็น ๔ ภาคเรียน

แผนการเรียน ประจาปีการศึกษา ๒๕๖4

- ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) - ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาการบัญชี

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาการบัญชี

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาการบัญชี

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาการบัญชี

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาการบัญชี

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาการบัญชี

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างไฟฟ้ากาลัง

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างไฟฟ้ากาลัง

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างไฟฟ้ากาลัง

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างไฟฟ้ากาลัง

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างไฟฟ้ากาลัง

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างไฟฟ้ากาลัง

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างยนต์

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างยนต์

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างยนต์

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างยนต์

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างยนต์

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างยนต์

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม. 6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม. 6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม. 6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม. 6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม. 6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาการบัญชี สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาการบัญชี สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาการบัญชี สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาการบัญชี สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาการบัญชี สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาการบัญชี สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาการบัญชี สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาการบัญชี สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาการบัญชี สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานไฟฟ้ากาลัง สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานไฟฟ้ากาลัง สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานไฟฟ้ากาลัง สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานไฟฟ้ากาลัง สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานไฟฟ้ากาลัง สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานไฟฟ้ากาลัง สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานไฟฟ้ากาลัง สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานไฟฟ้ากาลัง สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานไฟฟ้ากาลัง สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคนิคยานยนต์ สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคนิคยานยนต์ สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคนิคยานยนต์ สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคนิคยานยนต์ สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคนิคยานยนต์ สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคนิคยานยนต์ สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคนิคยานยนต์ สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคนิคยานยนต์ สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาเทคนิคยานยนต์ สาหรับผู้สาเร็จการศึกษา ระดับ ม.6 หรือเทียบเท่า

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.