แผนปฏิบัติงานห้องสมุดประชาชนอำเภอหัวหิน ประจำปีงบประมาณ 2564 Flipbook PDF

แผนปฏิบัติงานห้องสมุดประชาชนอำเภอหัวหิน ประจำปีงบประมาณ 2564

45 downloads 101 Views 2MB Size

Story Transcript

แผนปฏิบัติการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน สํานักสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดประจวบคีรีขันธ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ



หองสมุดประชา ชนอําเภอหัวหิน *************************** เพื่อใหการสงเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยบรรลุเปาประสงคตามยุทธศาสตรและจุดเนนการ ดําเนินงานสํานักงาน กศน. และของศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหินจึงได จัดทําแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ซึ่งประกอบดวย ขอมูลพื้นฐานของหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ขอมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผน ทิศทางการดําเนินงาน รายละเอียดแผนงาน/โครงการ ของหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ซึ่ง ศูนยการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน ไดพิจารณาเห็นชอบแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในแผนปฏิบัติการ ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 หองสมุดประชาชนอํ า เภอหัวหิน และใหนํา แผนปฏิ บัติ การประจํ า ป งบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังกลาว ใชเปนกรอบในการดําเนินงานของหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินตอไป ทั้งนี้ ตั้งแต ตุลาคม 2563 ถึง กันยายน 2564 ลงชื่อ....................................................ผูเสนอ (นางสาวสิริลักษณ มีเชื้อ) บรรณารักษปฏิบัติการ ลงชื่อ....................................................ผูเห็นชอบ (นางสาวปยภรณ พูลนอย) บรรณารักษปฏิบัติการ ลงชื่อ....................................................ผูอนุมัติ (นางสาวสุธิกานต แยมนิล) ผูอํานวยการ กศน.อําเภอหัวหิน

ข คํานํา แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน จัดทําขึ้น เพื่อเปนแนวทางในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยยึดแนวทางตาม นโยบายและจุดเนนการดําเนินงานของสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 สอดคลองกับยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ และยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน ตลอดจนบริบทความตองการของกลุมเปาหมายในพื้นที่ เพื่อกําหนดเปนแนวปฏิบัติและแนวทางในการดําเนินงาน หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ใหเปนไปตาม เปาหมายที่ตั้งไวอยางมีประสิทธิภาพ การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 เลมนี้ สําเร็จลุลวงดวยดี ดวยความรวมมือของภาคีเครือข าย และ ผูเกี่ยวของรวมกัน ระดมความคิดเห็น โดยนําสภาพปญ หาและผลการดําเนินงานมาปรับ ปรุง เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน เพื่อสนองตอบความ ตองการของประชาชนในพื้นที่อยางแทจริง คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 หองสมุด ประชาชนอําเภอหัวหิน เลมนี้ จะเปนแนวทางในการดําเนินงานของบุคลากรและผูเกี่ยวของ เพื่อใหการจัด การศึกษาตามอัธยาศัยใหบรรลุตามวัตถุประสงค และมีคุณภาพตามเปาหมาย ตลอดจนเปนประโยชนตอผู มีสวนเกี่ยวของ ประชาชน ชุมชน สังคม และประเทศชาติตอไป หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน มกราคม 2564

ค สารบัญ หนา การอนุมัติแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564



คํานํา



สารบัญ



สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผน

1

ขอมูลพื้นฐานอําเภอหัวหิน

1

สภาพทั่วไปของอําเภอหัวหิน

1

ขอมูลดานประชากร

2

ขอมูลดานสังคม

3

ขอมูลดานเศรษฐกิจ

4

ขอมูลดานการศึกษา

6

ขอมูลพื้นฐานหองสมุด

7

จํานวนสมาชิกหองสมุด

7

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับหองสมุด

8

ความหมายของหองสมุดประชาชน

9

ความสําคัญของหองสมุดประชาชน

9

วัตถุประสงคของหองสมุดประชาชน

9

ระเบียบการใชหองสมุดประชาชน

10

บริการหองสมุดประชาชน

10

มารยาทและขอควรปฏิบัติเมื่อเขามาใชหองสมุด

11

ขอบเขตการใหบริการของหองสมุดประชาชน

11

ทรัพยากรในหองสมุดประชาชน

12

การจัดหมวดหมูหนังสือในหองสมุดประชาชน

12

การสืบคนขอมูลในหองสมุดประชาชน

12

การสืบคนและวิธีสืบคนขอมูลจากเครือขายคอมพิวเตอร

12

ง สารบัญ (ตอ) หนา สวนที่ 2 ทิศทางการดําเนินงาน

13

นโยบายและจุดเนนการดําเนินงานสํานักงาน กศน.ประจําปงบประมาณ 2564

13

ทิศทางการดําเนินงานของสํานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ

22

ทิศทางการดําเนินงานของ กศน.อําเภอหัวหิน

27

สวนที่ 3 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564

30

บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

31

แผนการใชจายงบประมาณตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564

35

สวนที่ 4 รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 โครงการ ตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564

36 37

บรรณานุกรม

86

คณะผูจัดทํา

87

1 สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานเพือ่ การวางแผน ขอมูลพื้นอําเภอหัวหิน 1.1 สภาพทั่วไปของอําเภอหัวหิน สภาพภูมิศาสตร ที่ตั้ง อําเภอหัวหินตั้งอยูทางตอนเหนือสุดของจังหวัดประจวบคีรีขันธ อยูหางจากตัวจังหวัด ประจวบคีรีขันธ ประมาณ 92 กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดตอ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดตอกับ อําเภอชะอํา อําเภอทายาง และอําเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวนออก ติดตอกับ อาวไทย ทิศใต ติดตอกับ อําเภอปราณบุรี จังหวดประจวบคีรีขันธ ทิศตะวนตก ติดตอกับ ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเมียนมาร สภาพภูมิประเทศ อําเภอหัวหินมีเนื้อที่ทั้งสิ้น 937 กิโลเมตร พื้นที่ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลอาวไทย เปนเขตธุรกิจการทองเที่ยว สวนทางดานทิศตะวันตกติดกับเทือกเขาตะนาวศรี เปนพื้นที่ราบเชิงเขาเหมาะ แกการทําเกษตรกรรม แผนที่ กศน.อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ

2 1.2 ขอมูลดานประชากร จํานวนประชากรจําแนกตามเพศและเขตพื้นที่อําเภอหัวหิน จํานวนครัวเรือนใน พื้นที่ จํานวน ที่ ตําบล ครัวเรือน ชาย หญิง รวม เขต อบต. เขต เทศบาล 1 ตําบลหัวหิน 33,602 21,956 25,186 47,142 33,602 2 ตําบลหนองแก 19,660 8,793 8,267 17,060 19,660 3 ตําบลทับใต 8,109 7,016 7,668 14,684 8,109 4 ตําบลหินเหล็กไฟ 9,901 7,123 8,353 15,476 9,901 5 ตําบลหนองพลับ 2,319 3,341 3,206 6,547 2,319 6 เทศบาลหนองพลับ 2,682 2,257 2,411 4,668 2,682 7 ตําบลหวยสัตวใหญ 2,608 3,630 3,627 7,257 2,608 8 ตําบลบึงนคร 2,310 2,585 2,369 4,954 2,310 รวม 81,191 56,701 61,087 117,788 25,247 55,944 จํานวนประชากร(คน)

อําเภอหัวหิน มีครัวเรือนอาศัยอยู จํานวน 81,191 ครัวเรือน อยูในเขตพื้นที่การปกครองเทศบาล ตําบลทั้งหมด มีประชากรทั้งสิ้น 117,788 คน แยกเปนประชากรชาย จํานวน 56,701 คน คิดเปนรอยละ 48.14 และประชากรหญิง จํานวน 61,087 คน คิดเปนรอยละ 51.86 ความหนาแนนเฉลี่ย 140 คน : ตารางกิโลเมตร (อําเภอหัวหินมีพื้นที่ 839.9 ตารางกิโลเมตร) จํานวนประชากรจําแนกตามชวงอายุ ชวงอายุ (ป) จํานวน (คน) รอยละของประชากรทั้งหมด (คน) 0 - 5 1,286 10.69 6 - 14 1,522 12.67 15 - 39 4,861 40.43 40 - 59 3,044 25.31 60 - 69 799 6.65 70 - 79 312 2.59 80 - 89 176 1.46 90 ปขึ้นไป 25 0.20 รวม 12,025 100

3 จากตารางจํานวนประชากรจําแนกตามชวงอายุ พบวา ประชากรสวนใหญเปนประชากรวัย แรงงาน คือชวงอายุระหวาง 15-39 ป จํานวน 4,861 คน คิดเปนรอยละ 40.43 และ ชวงอายุระหวาง 4059 ป จํานวน 3,044 คน คิดเปนรอยละ 25.31 และประชากรที่มีนอยที่สุดคือประชากรวัยผูสูงอายุ คือ ชวง อายุระหวาง 70-79 ป จํานวน 312 คน คิดเปนรอยละ 2.59 ชวงอายุระหวาง 80-89 ป จํานวน 176 คน คิดเปนรอยละ 1.46 และชวงอายุตั้งแต 90 ปขึ้นไป จํานวน 25 คน คิดเปนรอยละ 0.20

ขอมูลดานสังคม การปกครอง อําเภอหัวหินแบง การปกครองตาม พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองที่ พ.ศ. 2457 ออกเปน 7 ตําบล 63 หมูบาน 42 ชุมชนประกอบดวย 1. ตําบลหัวหิน เทศบาลเมืองหัวหิน 28 ชุมชน 2. ตําบลหนองแก เทศบาลเมืองหัวหิน 7 ชุมชน 3. ตําบลทับใต 14 หมูบาน 4. ตําบลหินเหล็กไฟ 16 หมูบาน 5. ตําบลหนองพลับ 10 หมูบาน (อยูในเขตเทศบาลตําบลหนองพลับ 7 ชุมชน) 6. ตําบลหวยสัตวใหญ 11 หมูบาน 7. ตําบลบึงนคร 12 หมูบาน องคกรปกครองสวนทองถิ่น 7 แหง ประกอบดวย 1. เทศบาลเมืองหัวหิน 2. เทศบาลตําบลหนองพลับ 3. องคการบริหารสวนตําบลทับใต 4. องคการบริหารสวนตําบลหินเหล็กไฟ 5. องคการบริหารสวนตําบลหนองพลับ 6. องคการบริหารสวนตําบลหวยสัตวใหญ 7. องคการบริหารสวนตําบลบึงนคร ประชากร มีประชากรทั้งสิ้น 117,788 คน (ขอมูลจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561) ประกอบดวย 1. ประชากรในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน จํานวน 64,202 คน 2. ประชากรในเขตเทศบาลตําบลหนองพลับ จํานวน 4,668 คน 3. ประชากรนอกเขตเทศบาล จํานวน 48,918 คน 4. ประชากรแฝง/แรงงานตางดาว จํานวนกวา 50,000 คน ลักษณะของประชากร สวนใหญจะเปนประชากรแฝง คือ 1. อพยพมาจากพื้นที่อื่นเพื่อมาประกอบอาชีพในสถานประกอบการตาง ๆ

4 2. ชาวตางชาติที่เขามาอยูอาศัย และประกอบอาชีพ 3. ชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยงที่อาศัยอยูตามแนวเทือกเขาตะนาวศรีที่อพยพเขามาอยูอาศัย ประกอบอาชีพรับจาง และทําไร ดานศาสนา ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ และนับถือศาสนาอื่น ๆ ไดแก ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม ศาสนาซิกข ศาสนาฮินดู ประกอบดวย 1. วัด จํานวน 38 แหง 2. สํานักสงฆ จํานวน 38 แหง 3. โบสถคริสต จํานวน 3 แหง 4. ศาลเจา จํานวน 4 แหง

ขอมูลดานเศรษฐกิจ สภาพทางเศรษฐกิจ (1) ประชากรที่อาศัยอยูในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน สวนใหญประกอบอาชีพ ธุรกิจพาณิชยการทองเที่ยว เชน ธุรกิจการโรงแรมและการทองเที่ยว ธุรกิจเอกชน การใหบริการนักทองเที่ยว และอาชีพรับจางทั่วไป  การคาขาย / การประมง  สภาพโดยทั่วไปมีฐานะทางเศรษฐกิจและคาครองชีพอยูในเกณฑที่สงู (2) นอกเขตเทศบาลประชากรสวนใหญมอี าชีพทางดานเกษตรกรรม  การเพาะปลูก พื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่ทางการเกษตร พืช เศรษฐกิจ ที่สํา คัญไดแก สับปะรด ออย มะนาว และผลไมชนิดตางๆ  อาชีพรับจางทั่วไป  การเลี้ยงสัตว  สภาพโดยทั่วไปมีฐานะทางเศรษฐกิจอยูในเกณฑปานกลาง

การเดินทาง สามารถเดินทางไดหลายเสนทาง ทางรถยนต เดินทางโดยทางหลวงแผนดินหมายเลข 4 ทางรถไฟ มีรถไฟมายังสถานีรถไฟอําเภอหัวหิน ซึ่งอยูในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน เครื่องบิน มีทาอากาศยานหัวหิน

5 ตารางวิเคราะหขอมูลสภาพปญหาสาเหตุและแนวทางแกไข สภาพปญหา/ความตองการ สาเหตุของปญหา 1. ดานเศรษฐกิจ 1) ปญหาหนี้สินในระบบและ -ใชจายไมประหยัด -มีคานิยมที่ผิด (วัตถุนิยม) นอกระบบ

2) การวางงานของประชากร วัยแรงงาน

3) ผลผลิตการเกษตรตกต่ํา

4) กลุมอาชีพ/กลุมวิสาหกิจ ชุมชนมีปญหาในการบริหาร จัดการ

2. ดานสังคม 1) ผูสูงอายุตองการพัฒนา อาชีพ และการสงเสริมการดูแล สุขภาพกาย และสุขภาพจิต 2) เยาวชน มีปญหาออก กลางคัน ปญหายาเสพติด

แนวทางแกไข

-สรางความรูความเขาใจแก ชุมชน โดยการสงเสริม กระบวนการเรียนรูตามแนว ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยชุมชนมีสวนรวมคิด รวมทํา รวมแกปญหา -สภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา การจาง -สงเสริมประกอบอาชีพเพื่อการ มีงานทํา เพิ่มรายได เชน การ งานลดลง -ขาดการสงเสริมทางดานฝมือ ฝกอบรมระยะสั้น การรวมกลุม เพื่อการพัฒนาอาชีพ แรงงาน การสงเสริมเรียนรูให เกิดอาชีพเพื่อการมีงานทํา และ สรางรายได

-มีโรคและแมลงรบกวนในพืชไร -สงเสริมการรูการทําการเกษตร -มีคาใชจายจากการใชปุยและยา พอเพียงตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ฆาแมลง -สงเสริมการจัดทําบัญชีครัวเรือน -รายไดจากอาชีพทําการเกษตรมี นอย -คณะกรรมการขาดความรูความ เขาใจการจัดการบริหารจัดการ

-การอบรมใหความรูการบริหาร จัดการแกคณะกรรมการกลุม อาชีพ/กลุมวิสาหกิจชุมชน -การสงเสริมสนับสนุนการ ประกอบอาชีพเสริมเพิ่มรายได

-ขาดความรูทางดานการพัฒนา อาชีพ

-สรางความรู ความเขาใจแก ชุมชน ครอบครัว โดยการจัด กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต พัฒนาสังคมและชุมชน ไดแก การใหความรูแกการดูแลสุขภาพ

6 สภาพปญหา/ความตองการ

สาเหตุของปญหา -ขาดความรูความเขาใจในการ ดูแลสุขภาพกายและใจของ ผูสูงอายุ -ครอบครัวแตกแยก/ขาดความ อบอุน -การมีความรักในวัยเรียน

3.ดานการศึกษา -จํานวนประชากรผูไมรูหนังสือ -สภาพทางเศรษฐกิจของ และลืมหนังสือ ครอบครัวทําใหไมมโี อกาสเรียน และบางรายเคยเรียนมานาน และไมมีโอกาสไดอานบอย ทํา ใหลืมหนังสือ

แนวทางแกไข กายและสุขภาพใจ การสงเสริม การพัฒนาอาชีพใหแกผูสูงอายุ -สรางความรู ความเขาใจแก ชุมชน ครอบครัว กลุมเปาหมาย โดยการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะ ชีวิต หรือพัฒนาสังคมและชุมชน -สนับสนุนเด็กและเยาวชนที่ไม จบการศึกษาภาคบังคับหรือออก กลางคันใหเขาเรียนตอการศึกษา นอกระบบ ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 -กระตุน สงเสริมสนับสนุนและ จัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ และกิจกรรมสงเสริมตามความ ตองการในพื้นที่

ขอมูลดานการศึกษา อําเภอหัวหินมีการใหบริการดานการศึกษาอยางกวางขวางในทุกระดับ โดยมีสถานศึกษา จํานวนทั้งสิ้น 45 แหง 1. มหาวิทยาลัย จํานวน 2 แหง 2. สถานศึกษาอาชีวศึกษา/พณิชยการ จํานวน 2 แหง 3. สถานศึกษาระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา จํานวน 40 แหง 4. ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน จํานวน 1 แห

7

ขอมูลพื้นฐานหองสมุด ประวัติความเปนมา พระเจาวรวงศเธอพระองคเจาจุลจักรพงษ ซึ่ง มีพระตําหนักประทับแรมอยูที่อําเภอหัวหิน ไดเสด็จมาประทับแรม ณ พระตําหนักนี้เปนประจํา ไดทรงเห็นวา เขตอําเภอหัวหินไมมีหองสมุด สวนรวมที่จะใหประชาชนไดอานหนังสือและรวบรวมเอกสารตลอดจนหนังสือตาง ๆ ไวใหคนควาหา ความรู จึง ไดมีรับสั่ง ใหน ายอํา เภอหัว หิน และนายกเทศมนตรีเ ทศบาลตํ าบลหัวหิน จัดหาที่ ดิ น กอสรางหองสมุดประชาชน โดยพระราชทานเงินสวนพระองคจํานวน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท ถวน) มอบให นายฟน กระแสสินธุ นายกเทศมนตรีเทศบาลตําบลหัวหิน กอสรางหองสมุดประชาชน ณ ที่ดินสาธารณะริมถนนแนบเคหาสน ตําบลหัวหิน อําเภอหัวหิน โดยนายกเทศมนตรีเทศบาล ตําบลหัวหินรับไปดําเนินการปลูกสรางเปนอาคารไมชั้นเดียว ยาว 20.20 เมตร กวาง 6 เมตร มีมุขดานหนายาว 5 เมตร ภายในเปนหองโถง สําหรับเปนที่อานหนังสือและจัดวางตูหนังสือตาง ๆ มีหองสําหรับเก็บพัสดุ 1 หอง แลมีหองน้ําภายในอาคาร ติดตั้งไฟฟา พื้นเทคอนกรีต อาคารทาสี ตลอดทั้งถมดิน และทํารั้วเสร็จเรียบรอย ครั้นเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2498 จึงไดกระทําพิธีเปดโดยพระเจาวรวงศเธอพระองคเ จา จุ ล จักรพงษ ทรงเปนองคประธานและใหชื่อวา “หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน” (จุลจักรพงษบุญนิธิ) เมื่อไดเปดใหบริการแกประชาชนแลว พระองคทรงพระราชทานหนังสือตางๆ ที่พระองคทานไดพระ ราชนิพนธจํานวนมากใหกับ หองสมุด และใหอยูในความอุปถัมภของมูลนิธิ “จุลจักรพงษบุญนิธ”ิ สําหรับเจาหนาที่ผูดําเนินงานหองสมุด กองการศึกษาผูใหญ กระทรวงศึกษาธิการไดจัดจางบรรณา รักษ นักการภารโรงและงบประมาณในการบริหารจัดการหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ตอมาใน ป พ.ศ 2522 ไดโอนมาอยูในความรับผิดชอบของกรมการศึกษานอกโรงเรียน และไดรับงบประมาณ เพื่อสรางอาคารหองสมุดหลังใหม ซึ่งไดเปดบริการ มาจนถึงปจจุบันและไดรับการพัฒนาปรับปรุง มาอยางตอเนื่อง ที่ตั้ง ถนนแนบเคหาสน ตําบลหัวหิน อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ 77110 หมายเลขโทรศัพท : 032-514250,032-511591 หมายเลขโทรสาร : 032-51425 E-Mail จํานวนสมาชิกของหองสมุด หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินมีจํานวนสมาชิกที่อยูในระบบ ฐานขอมูล จํานวน 1,233 คน

8

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับหองสมุด ความหมายของหองสมุด คําวา “หองสมุด” บัญญัติมาจากคา วา Library มาจากภาษา ละติน วา Liberia หมายถึง ที่เก็บหนัง สือโดยมีรากศัพทเดิมวา“Liber” ซึ่ง หมายความวา หนัง สือ (ฉันทนา ชาญพานิชย, 2532: 1) หองสมุด หมายถึง สถานที่เก็บรักษาผลงานทางสติปญญาของมนุษย เปน สถานที่ประกอบดวย หนัง สือเอกสาร สิ่ง พิมพางๆ ต โสตทัศนวัสดุทุก ชนิดรวมทั้ง เทคโนโลยี สารสนเทศ ซึ่งเสนอเรื่องราว อันใหสาระความรู ความบันเทิงและความจรรโลงใจ (นันทาวทิวุฒิศัก, ด 2536 : 13) หองสมุด ( Library)คือสถานที่รวบรวม และใหบริการความรูความบันเทิงและขาวสารใน รูปของสิ่งพิมพและสิ่งไมตีพิมพ ประเภทตางๆโดยมีการจัดเก็บอยางเปนระบบเพื่อความสะดวกใน การใชบริการและงายตอการเนินงานของบรรณารักษหากนักเรียนรูจักการปฏิบัติตนใหถูกตองตาม ระเบี ย บ มี ม ารยาทในการใช ห อ งสมุด และเลื อ กใช บ ริการของหอ งสมุด ได อย า งถูก วิธิ จะช ว ยให นักเรียนสามารถใชหองสมุดรวมกับผูอื่นไดอยางเหมาะสมและประหยัดเวลาในการศึกษาคนควาของ นักเรียน

หองสมุดประชาชน หองสมุดประชาชน คือ หองสมุดที่ไดรับเงินสนับสนุนทางการเงินจากรัฐบาลโดยประชาชน เป น ผู เ สี ย ภาษี ใ ห รั ฐ เพื่ อ ให บํ า รุ ง ห อ งสมุ ด เป ด กว า งแก ป ระชาชนในท อ งถิ่ น โดยไม จํ า กั ด เพศวั ย เชื้ อ ชาติ ศาสนา ความคิ ด เห็ น ทางการเมื อ ง และ ความรู ห อ งสมุ ด บางแห ง ที่ ไ ม ไ ด รั บ ความ สนับสนุนทางการเงินจากรัฐบาลแตเปดบริการแกประชาชนทั่วไปโดยไมคิดมูลคาก็ถือวาเปนหองสมุด ประชาชนดวย และก็เปนหองสมุดที่ไมแสวงหาผลประโยชน ตั้งขึ้นเพื่อใหประชาชนเขาใช และโดย ปกติจะไดรับเงินทุนอุดหนุนจากรัฐบาล สวนสมาคมหองสมุดอเมริกันไดกลาวถึงความหมายของ หองสมุดประชาชนไววา ถาจะพูดกันถึง ความหมายของหองสมุดประชาชนแลวเรามักจะคํานึงถึง ลักษณะสําคัญ 3 ประการของหองสมุดประชาชน คือ 1. หองสมุดแหงนั้นมีหนวยงานของรัฐบาลเปนผูควบคุม 2. ไดรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลโดยประชาชนเปนผูเสียภาษีใหแกรัฐเพื่อใชบํารุงหองสมุด 3. จะตองเปดใหประชาชนทุกเพศทุกวัย เขาใชบริการอยางเสรี

9

ความหมายของหองสมุดประชาชน หองสมุดประชาชน ( Publish Library ) หมายถึง หองสมุดที่ใหบริการสําหรับประชาชน ทุกเพศ ทุกวัยไมจํากัด อายุ โดยมี กิจกรรมที่จัดดําเนินการ ดังนี้ 1. จัดกิจกรรมโดยการสงเสริมการอาน และคนควา ดานการใชภูมิปญญาทองถิ่น 2. เปนศูนยสงเสริมการเรียนรู โดยจัดกิจกรรมดานแนะแนวการศึกษานอกโรงเรียน และ อื่นๆ จัดพื้นที่สําหรับบริการ ตามหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน มสธ. และสถาบันอื่นๆ 3. เปนศูนยประชาคม โดยจัดใหบริการสถานที่จัดประชุม สัมมนา การแสดงผลิตภัณฑ กิจกรรมของเด็กและครอบครัวและกิจกรรมเอนกประสงค โดยเนนดานการศึกษา ศิลปวัฒนธรรม ดานสงเสริม การดําเนินงานเชิงธุรกิจในหองสมุด 4. เปนเครือขายการเรียนรู โดยจัดและพัฒนาเครือขายการเรียนรูทั้งภาครัฐและเอกชน ใน ดานขอมูลขาวสารและสื่อในดานพัฒนาการผลิต เผยแพร จัดหา แลกเปลี่ยน หมุนเวียน และฝกอบรม

ความสําคัญของหองสมุดประชาชน 1. หองสมุดเปนแหลงรวบรวมขอมูล ขาวสาร ความรู และวิชาการตาง ๆ ที่นักศึกษา สามารถคนควาหาความรูเพิ่มเติมไดตลอดเวลา 2. หองสมุดเปนแหลงที่นักศึกษาสามารถเลือกหาความรู ขอมูล ขาวสาร ไดอยางหลากหลาย ตามความสนใจและความตองการของตนเอง 3. หองสมุดชวยใหนักศึกษาเปนผูที่ทันสมัยทันตอเหตุการณ เนื่องจากขอมูล ขาวสาร ความรู และวิชาการตาง ๆ เกิดขึ้นใหมตลอดเวลา 4. หองสมุดชวยใหนักศึกษาเกิดความคิดริเริ่มสรางสรรค เกิดนิสัยรักการอาน และการศึกษา คนควาดวยตนเอง เกิดความรูอันเปนรากฐานในการคนควาวิจัยสรางสรรคสิ่งใหม ๆ 5. หองสมุดชวยปลูกฝงใหนักศึกษาเปนพลเมืองดี เปนนักประชาธิปไตย มีจรรยาบรรณรูจัก ปฏิบัติตนตามกฎเกณฑของสังคม มีความรับผิดชอบ รูเทาทันโลก

วัตถุประสงคของหองสมุดประชาชน วัตถุประสงคของหองสมุดประชาชนโดยทั่วไปที่สําคัญมีดังตอไปนี้ 1. เปน แหลง ใหบริการการศึ กษานอกโรงเรียนแก ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย และทุกระดั บ การศึกษา 2. เปน แหลง สนับสนุน การเผยแพร ความรูก ารศึกษาและวัฒ นธรรม โดยจัดใหประชาชน สามารถใชหนังสือ และวัสดุอื่นๆโดยไมเสียคาบริการใดๆ 3. เปนแหลงกลางที่จะปลูกฝงใหประชาชนมีนิสัยรักการอาน 4. เปนศูนยรวบรวมขาวสารและความรูตางๆที่ทันตอเหตุการณ และ ความเคลื่อนไหวของโลก ที่ ใ ห พื้ น ฐานทางความคิ ด ของประชาชนโดยส ว นรวม และเป น พื้ น ฐานของความเติ บโตทางดาน วัฒนธรรมและสติปญญา

10 5. เปนศูนยรวมของกิจกรรมทางดานวัฒนธรรมของทองถิ่น 6. เปนแหลงกลางในการสงเสริมใหประชาชนไดใชเวลาวางใหเกิดประโยชน และรูจักพักผอน หยอนใจดวยการอานหนังสือ 7. เปนแหลงสงเสริมกิจกรรมทางดานการศึกษาและวัฒนธรรมของกลุมชน หรือ องคการใน สังคม เพื่อพัฒนาความเปนอยูของประชาชนทุกคนในสังคม 8. เปนแหลงปลูกฝงความรับผิดชอบทางการเมืองแกประชาชนทุกคน 9. เปนแหลงสงเสริมแนะนําใหประชาชนมีความรู ทัศนคติ และสามารถปฏิบัติตนเปนพลเมือง ดีตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข 10. เปนแหลงที่ประชาชนสามารถใชหนังสือและวัสดุอุปกรณตางๆ ใหเกิดประโยชนไดอยางเต็มที่ ตามความตองการและสภาพแวดลอมของประชาชน

ระเบียบการใชหองสมุดประชาชน ระเบียบการยืม-คืน หนังสือ / สื่อฯ 1. แสดงบัตรทุกครั้งตอเจาหนาที่ (เฉพาะเจาของบัตรเทานั้น) 2. ยืมหนังสือครั้งละไมเกิน 10 เลม นาน 7 วัน 3. ยืมสื่ออื่นๆ ครั้งละไมเกิน 3 ชิ้น นาน 7 วัน 4. หากทําหนังสือหรือสื่ออื่นหายใหชดใชตามราคา หมายเหตุ หนังสืออางอิง หนังสือพิมพ และวารสารไมสามารถยืมกลับไปอานที่บานได

หลักฐานการสมัครสมาชิกหองสมุดฯ 1. สําเนาบัตรประชาชน/ขาราชการ

จํานวน 1 ฉบับ

2. สํานาทะเบียนบาน

จํานวน 1 ฉบับ

3. รูปถายขนาด 1 นิ้ว

จํานวน 1 รูป

4. ไดรับการยกเวนคาธรรมเนียมในการสมัครสมาชิกหองสมุด

บริการหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ หัวหิน มีการจัดบริการในรูปแบบตางๆ ดังนี้ 1. บริการการอาน 2. บริการยืม – คืน 3. บริการแนะนําการใชหองสมุด 4. บริการตอบคําถามและชวยการคนควา

11 5. บริการแนะแนวการอาน 6. บริการสอนการใชหองสมุด 7. บริการอินเทอรเน็ต ฟรี wifi 8. บริการสงเสริมการอานสําหรับเด็ก 9. บริการรับบริจาคหนังสือ 10.บริการหองสมุดเคลื่อนที่ 11.บริการสงเสริมการใชหองสมุด 12. บริการหองประชุมกลุมยอย

มารยาทและขอควรปฏิบัติเมื่อเขาใชหองสมุด 1. เมื่อใชหนังสือแลวใหนําวางไวบนโตะหรือในที่ที่กําหนดอยางเปนระเบียบ 2. แตงกายใหสุภาพเรียบรอย เชน ไมสวมกางเกงขาสั้น 3. สํารวมกิริยา ไมพูดคุยเสียงดัง และไมปฏิบัติตนเปนที่รบกวนผูอื่น 4. ไมสูบบุหรี่หรือนําอาหาร เครื่องดื่ม เขามารับประทานในหองสมุด 5. ไมฉีก หรือ กรีดหนังสือเอกสารและสิ่งพิมพ ทุกชนิดของหองสมุด 6. ไมนําทรัพยากรหองสมุดออกจากหองสมุดโดยไมยืมอยางถูกตองตามระเบียบ 7. ทรัพยากรที่ยืมจากหองสมุดควรดูแลรักษาเปนอยางดี ไมทําลาย หรือทําเปรอะเปอน 8. ไมเพิกเฉยตอการนําทรัพยากรหองสมุดที่ยืมไปคืนหองสมุดตามเวลาที่กําหนด 9. ปฏิบัติตามกฎระเบียบอยางเครงครัด 10. ชวยกันรักษาความสะอาดภายในหองสมุด

ขอบเขตการใหบริการของหองสมุด หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินตั้งอยูในชุมชน ใหประชาชนทั่วไปใชบริการ มีวัตถุประสงคเพื่อ เปน แหลง คน ควาของประชาชนทั่วไป ชวยใหทุกคนมีโอกาสแสวงหาและเพิ่มพูน ความรู รวมทั้ง ใหบริการขาวสารและความรูที่ทันตอเหตุการณและความเคลื่อนไหวของประเทศชาติและของโลก หองสมุดประชาชนบริการแกผูใชหลายระดับ หลายวัย ผูใชมักตองการขอมูลที่เกี่ยวของกับความสนใจ ของทองถิ่นและกิจกรรมตาง ๆ ของชุมชน โดยทั่วไปมีบริการพื้นฐาน และบริการพิเศษ เชน บริการ หองสมุดเคลื่อนที่ และบริการแกผูใชเฉพาะกลุม เชน คนพิการ ผูตองขัง ผูสูงอายุ เปนตน ผูใหบริการ ตองรูความตองการของชุมชนที่หองสมุดตั้งอยู ชวยแนะแนวการอาน หรือจัดกิจกรรมใหผูใชไ ดรั บ สารนิเทศดวยวิธีตาง ๆ เชน จัดนิทรรศการ เลาเรื่องหนังสือ เพื่อใหผูมีความสามารถในการอานจํากัด ไดรูสารนิเทศที่เปนประโยชน

12

ทรัพยากรในหองสมุด -

หนังสือวิชาการ หนังสือแบบเรียน หนังสือนวนิยาย หนังสือสําหรับเยาวชน วารสาร ,นิตยสาร สิ่งพิมพตาง ๆ ฯลฯ

การจัดหมวดหมูหนังสือในหองสมุด หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินแยกเนื้อหาจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศเปนหมวดตาง ๆ ออกเปน 10 หมวดใหญ เรียกวาการจัดหมวดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) เรียกยอ ๆ วา ระบบ D.C. หรือ D.D.C.ระบบนี้ตั้งชื่อตามผูคิดคน คือ นายเมลวิล ดิวอี้ ( Melvil Dewey) บรรณารักษชาวอเมริกันโดยใชตัวเลขหลักรอยเปนสัญลักษณ ดังตอไปนี้ หมวด 000 เบ็ดเตล็ด ความรูทั่วไป บรรณารักษศาสตร หมวด 100 ปรัชญา จิตวิทยา หมวด 200 ศาสนา หมวด 300 สังคมศาสตร หมวด 400 ภาษาศาสตร หมวด 500 วิทยาศาสตร คณิตศาสตร หมวด 600 เทคโนโลยี หรือวิทยาศาสตรประยุกต หมวด 700 ศิลปกรรม และนันทนาการ หมวด 800 วรรณคดี หมวด 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร

การสืบคนขอมูลในหองสมุด หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินไมมีคอมพิวเตอรในการใหบริการสืบคนขอมูล การสืบคนขอมูล ภายในหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ผูใชบริการสามารถใช wifi ฟรี ผานระบบมือถือของตนเองได

การสืบคนและวิธีสืบคนขอมูลบนเครือขายคอมพิวเตอร บริการ wifi ฟรี ใชผานระบบมือถือในการสืบคนขอมูล

13

สวนที่ 2 ทิศทางการดําเนินงาน นโยบายและจุดเนนการดําเนินงานของสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 12 ภารกิจ “เรงดวน” ที่จะตอง “จับตองได” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธิการ กศน. (นายวรัท พฤกษาทวีกุล) “คนสําราญ งานสําเร็จ” ในการประชุมมอบนโยบาย และภารกิจเรงดวน ของสํานักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีผูอํานวยการสํานักงาน กศน.จังหวัด อําเภอ และสถานศึกษาขึ้นตรงทั่วประเทศเขา รวมประชุม ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม ดร.วรัท พฤกษาทวีกุล เลขาธิการกศน. มอบ 12 ภารกิจเรงดวนขับเคลื่อนงาน กศน.โดยทุกภารกิจทุกคนตองดําเนินงานใหเกิดผลงานที่สามารถจับตอง ไดตามคานิยมหลัก (Core value) “คนสําราญ งานสําเร็จ”สําหรับภารกิจที่สําคัญประกอบดวย 1. นอมนําพระบรมราโชบายสูการปฏิบัติ “หนึ่งชุมชน หนึ่งนวัตกรรมการพัฒนาชุมชนถิ่น ไทยงาม” เพื่อความกินดีอยูดี มีงานทํา เชน โคกหนองนาโมเดล ,คลองสวยน้ําใส, พลังงานทดแทน (แสงอาทิตย) ,จิตอาสาพัฒนาชุมชน 2. ขับเคลื่อนนโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) และรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ (ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย) ใหเกิดผลเปนรูปธรรม 3. เรงผลักดันรางพระราชบัญญัติสงเสริมการเรียนรู พ.ศ. .... ใหสําเร็จ และปรับโครงสราง การบริหารและอัตรากําลังใหสอดคลองกับบริบทการเปลี่ยนแปลง เรง “การสรรหา บรรจุ แตงตั้งที่มี ประสิทธิภาพ” 4. ปรับปรุง พัฒ นาหลักสูตรทุกระดับ ทุกประเภท ใหทันสมัย สอดคลองกับบริบทสภาวะ ปจจุบันและความตองการของผูเรียน Credit Bank System / E-exam รวมทั้งสงเสริมกิจกรรมการ พัฒนาผูเรียนดวยกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด เพื่อสรางคนดี มีระเบียบวินัย และมีทัศนคติที่ดี ตอบานเมือง 5. พัฒนา Bigdata ของ กศน. ที่ทันสมัย รวดเร็ว และทันที “ขอมูลและสารสนเทศ กศน. ที่ทันสมัย จะปรากฏบนหนาจอมือถือทันที เมื่อคุณตองการ” รวมทั้งการสื่อสารและประชาสัมพันธ งานของ กศน. ตองมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล “ตีฆองรองปาว ขาวชาว กศน.”

14 6. พัฒ นาระบบการเรียนรู ONIE Digital Learning Platform รองรับ DEEP และ Digital Science Museum ,ศู น ย เ รี ย นรู ทุ ก ช ว งวั ย รวมทั้ ง สื่ อ การเรี ย นการสอน แหล ง เรี ย นรู ในทุ ก กลุมเปาหมาย “เรียนรูไดทุกที่ ทุกเวลา” 7. สงเสริมการพัฒนาความสามารถดานดิจิทัล Digital Literacy ใหกับบุคลากร กศน. ทุก ระดับ และกลุมเปาหมายทุกกลุม 8. สงเสริม สนับสนุนการฝกอาชีพเพื่อการมีงานทํา “Re-Skill Up-Skill และออกใบรับรอง ความรูความสามารถ” 9. สงเสริมการมีสวนรวมกับทุกภาคีเครือขายและภาคเอกชนในการฝกอาชีพและสงเสริม การตลาด เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ/สินคา กศน. ขยายชองทางการจําหนาย 10. ซอมแซม ฟนฟูอาคาร สถานที่ สิ่งแวดลอมของสํานักงานทุกแหง และแหลงเรียนรูทุก แหง ใหสะอาด ปลอดภัย พรอมใหบริการดวย มิตรไมตรี “กศน.งามตา ประชาชื่นใจ”กศน.งานเรามี คือความผาสุขของประชาชน เราใกลชิดชุมชนทุกหมูบาน ทุกตําบล ทุกอําเภอ ทุกจังหวัด ใน ทามกลางที่งบประมาณประเทศมีจํากัด เราตอง “ประหยัด เรียบงาย ไดประโยชนสูงสุด” ไม จําเปนตองสรางอาคารใหญโต เลขาธิการ กศน. จึงใหนโยบาย “กศน. งามตา ประชาชื่นใจ” โดยเชิญ ชวนพี่นองชาวกศน. ซอมแซม ฟน ฟู อาคาร สถานที่ทุกแหง เชน ทาสี ปดเช็ดกวาด ทําความสะอาด ถางหญา ตกแตง ใหสวยงาม สะอาดตา ปลอดภัย (โดยเฉพาะ ศรช.หลายแหงเสื่อมโทรมมาก) รวมมือ กันทํา หากไมไหวชวนเครือขายชุมชน มาลงแรมชวยกัน 11. จัดกิจกรรมสงเสริมความสัมพันธของชาว กศน. “กศน.เกมส” และกิจกรรมเชื่อม ความสัมพันธของพี่นองชาว กศน. 12. บูรณการรวมกับหนวยงานตางๆ ในสัง กัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้ง ในสวนกลางและ ภูมิภาค “ทีม กศน.” “ทีมกระทรวงศึกษาธิการ”

ภารกิจตอเนื่อง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรียนรู 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1) สนั บ สนุ น การจั ด การศึ ก ษานอกระบบตั้ ง แต ป ฐมวั ย จนจบการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน โดยดําเนินการใหผูเรียนไดรับการสนับสนุนคาจัดซื้อหนังสือเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคาจัดการเรียนการสอนอยางทั่วถึงและเพียงพอ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเขาถึงบริการทางการศึกษา ที่มีคุณภาพโดยไมเสียคาใชจาย

15 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหกับกลุมเปาหมายผูดอย พลาด และ ขาดโอกาสทางการศึกษา ผานการเรียนแบบเรียนรูดวยตนเอง การพบกลุม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัดการศึกษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ทั้งดานหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและ ประเมินผลการเรียน และระบบการใหบริการนักศึกษาในรูปแบบอื่น ๆ 4) จัดใหมีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ ที่มีความโปรง ใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความ ตองการของกลุมเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ 5) จัดใหมีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนที่มีคุณภาพที่ผูเรียนตองเรียนรูและเขารวมปฏิบั ติ กิจกรรมเพื่อเปนสวนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับ การปองกันและแกไขปญหายาเสพติด การบําเพ็ญสาธารณประโยชนอยางตอเนื่อง การสงเสริมการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และ ยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูเรียนนํากิจกรรมการ บําเพ็ญประโยชนอื่น ๆ นําอกหลักสูตร มาใชเพิ่มชั่วโมงกิจกรรมใหผูเรียนจบตามหลักสูตรได 1.2 การสงเสริมการรูหนังสือ 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลผูไ มรูหนังสือ ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัยและเปน ระบบเดียวกันทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค 2) พัฒ นาหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดําเนินงานการ สงเสริม การรูหนังสือที่สอดคลองกับสภาพแตละกลุมเปาหมาย 3) พัฒ นาครู กศน. และภาคีเครือขายที่รวมจัดการศึกษา ใหมีความรู ความสามารถ และทั ก ษะการจั ด กระบวนการเรี ย นรู ใ ห กั บ ผู ไ ม รู ห นั ง สื อ อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และอาจจั ด ให มี อาสาสมัครสงเสริมการรูหนังสือในพื้นที่ที่มีความตองการจําเปนเปนพิเศษ 4) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการรู หนังสือ การพัฒนาทักษะการรูหนังสือใหกับประชาชนเพื่อเปนเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรูอยาง ตอเนื่องตลอดชีวิตของประชาชน 1.3 การศึกษาตอเนื่อง 1) จั ด การศึ ก ษาอาชี พ เพื่ อ การมี ง านทํ า อย า งยั่ ง ยื น โดยให ค วามสํ า คั ญ กั บ การจั ด การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และ อาชีพเฉพาะทางหรือการบริการ รวมถึงการเนนอาชีพชางพื้นฐาน ที่สอดคลองกับศักยภาพของผูเรียน ความตองการและศักยภาพของแตละพื้นที่ มีคุณภาพไดมาตรฐานเปน ที่ยอมรับ สอดรับกับความ

16 ตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสรางความเขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพ ชุมชน โดยจัดใหมีหนึ่ง อาชีพเดน รวมทั้ง ใหมีการกํากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษา อาชีพเพื่อการมีงานทําอยางเปนระบบและตอเนื่อง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตใหกับทุกกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผูสูงอายุที่ สอดคลองกับความตองการจําเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดํารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได มีความรูความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเอง ใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันไดอย างมี ประสิทธิภาพ และเตรียมพร อมสํ าหรับการปรับตัวให ทันต อการเปลี่ยนแปลงของข าวสารขอมู ลและ เทคโนโลยีสมัยใหมในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสําคัญตางๆ เชน สุขภาพกายและจิต การปองกัน ภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและคานิยมที่พึงประสงค ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ผาน การศึกษารูปแบบตาง ๆ อาทิ คายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การสงเสริมความสามารถ พิเศษตาง ๆ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒ นาสัง คมและชุมชน โดยใชหลักสูตรและการจัดกระบวนการ เรียนรูแบบบูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสรางชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุมเปา หมาย และบริบทของชุมชนแตละพื้นที่ เคารพความคิดของผูอื่น ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทาง ความคิ ด และอุ ด มการณ รวมทั้ ง สั ง คมพหุวั ฒ นธรรม โดยจั ด กระบวนการให บุ ค คลรวมกลุ มเพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน สรางกระบวนการจิตสาธารณะ การสรางจิตสํานึกความเปนประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบตอหนาที่ความเปนพลเมืองดี การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม การ บําเพ็ญ ประโยชนในชุมชน การบริหารจัดการน้ํา การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษพลัง งาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ชวยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาสังคมและชุมชนอยางยั่งยืน 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรู ตลอดชีวิตในรูปแบบตาง ๆ ใหกับประชาชน เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืน หยัดอยูไดอยาง มั่นคง และมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสูความสมดุล และยั่งยืน 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พัฒนาแหลงการเรียนรูที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการอานและพัฒนา ศักยภาพการเรียนรูใหเกิดขึ้นในสังคมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวางและทั่วถึง เชน พัฒนาหองสมุด ประชาชนทุกแหงใหมีการบริการที่ทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสง เสริมการอาน การ สรางเครือขายสงเสริมการอาน จัดหนวยบริการเคลื่อนที่พรอมอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการ อานและการเรียนรูที่หลากหลายใหบริการกับประชาชนในพื้นที่ตาง ๆ อยางทั่วถึง สม่ําเสมอ รวมทั้ง

17 เสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่อ อุปกรณเพื่อสนับสนุนการอานและการจัดกิจกรรมเพื่อ สงเสริมการอานอยางหลากหลาย 2) จัดสรางและพัฒนาศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา ใหเปนแหลงเรียนรูวิทยาศาสตร ตลอดชีวิตของประชาชน เปนแหลงสรางนวัตกรฐานวิทยาศาสตร และเปนแหลงทองเที่ยวเชิงศิลปะ วิทยาการประจํ า ทองถิ่น โดยจัดทํา และพัฒ นานิ ทรรศการ สื่อและกิจกรรมการศึกษาที่ เน น การ เสริมสรางความรู และสรางแรงบันดาลใจดานวิทยาศาสตร สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห การคิด เชิงสรางสรรค และปลูกฝงเจตคติทางวิทยาศาสตร ผานการกระบวนการเรียนรูที่บูรณาการความรู ดานวิทยาศาสตร ควบคูกับเทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร รวมทั้งสอดคลองกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของของชุมชน และประเทศ รวมทั้งระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อใหประชาชนมีความรูและความสามารถนําความรูและทักษะไปประยุกตใชในการดําเนินชีวิต การ พั ฒ นาอาชี พ การรั ก ษาสิ่ ง แวดล อ ม การบรรเทาและป อ งกั น ภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ รวมทั้ ง มี ความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เปนไปอยางรวดเร็วและ รุนแรง (Disruptive Change) ไดอยางมีประสอทธิภาพ 1.5 ประสานความรวมมือ หนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ที่มีแหลงเรียนรูอื่น ๆ เพื่อสงเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีรูปแบบที่ หลากหลาย และตอบสนองความตองการของ ประชาชน เชน พิพิธภัณฑ ศูนยเรียนรู แหลงโบราณคดี หองสมุด เปนตน

2. ดานหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผล งาน บริการทางวิชาการ และการประกันคุณภาพการศึกษา 2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรม เพื่อ สง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่ หลากหลาย ทันสมัย รวมทั้ง หลักสู ต ร ทองถิ่นที่สอดคลองกับสภาพบริบทของพื้นที่ และความตองการของกลุมเปาหมายและชุมชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกสและสื่ออื่น ๆ ที่เอื้อตอการเรียนรู ของผูเรียนกลุมเปาหมายทั่วไปและกลุมเปาหมายพิเศษ 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลใหมีความทันสมัย ดวยระบบหองเรียนและ การควบคุมการสอบออนไลน 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและ ประสบการณ ใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายได อยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการประชาสัมพันธใหสาธารณชนไดรับรูและสามารถเขาถึงระบบการ ประเมินได 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะ หลักสูตรในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหไดมาตรฐาน โดยการนําแบบทดสอบกลาง และระบบการ สอบอิเล็กทรอนิกส (e-Exam) มาใชอยางมีประสิทธิภาพ

18 2.6 ส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาหลั ก สู ต ร รู ป แบบการจั ด กระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผล และเผยแพรรูปแบบการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งใหมีการนําไปสูการปฏิบัติอยางกวางขวางและ มีการพัฒนาใหเหมาะสมกับบริบทอยางตอเนื่อง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน เพื่อพรอมรับการ ประเมินคุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญของ ระบบการประกัน คุณภาพ และสามารถดําเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได อย าง ตอเนื่องโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง และจัดใหมีระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเขาไปสนับ สนุน อยางใกลชิด สําหรับสถานศึกษาที่ยังไมไดเขารับการประเมินคุณภาพภายนอก ใหพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด

3. ดานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศนเพื่อการศึกษา เพื่อใหเชื่อมโยงและ ตอบสนองตอการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพื่อ กระจายโอกาสทางการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายตางๆ ใหมีทางเลือกในการเรียนรูที่หลากหลายและ มีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองใหรูเทาทันสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เชน รายการ พัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทํา รายการติวเขมเติมเต็มความรู ฯลฯ เผยแพรทางสถานีวิทยุศึกษา สถานี วิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทางอินเทอรเน็ต 3.2 พั ฒ นาการเผยแพร ก ารจั ด การศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย โดยผ า นระบบเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล และช อ งทางออนไลนต า ง ๆ เช น Youtube Facebook หรื อ Application อื่นๆ เพื่อสงเสริมให ครู กศน. นําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการสรางกระบวนการเรียนรู ดวยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษา และสถานีโทรทัศนเพื่อการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิต และการออกอากาศใหกลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรูที่มีคุณภาพได อ ย า ง ตอเนื่องตลอดชีวิต โดยขยายเครือขายการรับฟงใหสามารถรับฟงไดทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ทั่ว ประเทศ และเพิ่มชองทางใหสามารถรับ ชมรายการโทรทั ศนไ ดทั้ง ระบบ Ku - Band , C – Band Digital TV และทางอินเทอรเน็ต พรอมที่จะรองรับการพัฒนาเปนสถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษา สาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการใหบริการสื่อเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา เพื่อใหไดหลายชองทางทั้ง ทางอินเทอรเน็ต และรูปแบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพทเคลื่อนที่ และ Tablet, รวมทั้งสื่อ Offline ในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใหกลุมเปาหมายสามารถเลือกใชบริการเพื่อเขาถึงโอกาสทางการศึกษา และการเรียนรูไดตามความตองการ

19 3.5 สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลดานการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอยางตอเนื่อง เพื่อนําผลมาใชในการพัฒนางานใหมีความถูกตอง ทันสมัยและสามารถสง เสริมการศึกษาและการ เรียนรูตลอดชีวิตของประชาชนไดอยางแทจริง

4. ดานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ 4.1 สงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรือ โครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ 4.2 จั ด ทํ า ฐานข อ มู ล โครงการและกิ จ กรรมของ กศน.ที่ ส นองงานโครงการอั น เนื่องมาจากพระราชดําริหรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ เพื่อนําไปใชในการวางแผน การ ติดตามประเมินผลและการพัฒนางานไดอยางมีประสิทธิภาพ 4.3 สงเสริมการสรางเครือ ขายการดําเนินงาน เพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ เพื่อใหเกิดความเขมแข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4.4 พัฒนาศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” เพื่อใหมีความพรอมในการ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหนาที่ที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ 4.5 จัดและสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิตใหสอดคลองกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นที่ สูง ถิ่นทุรกันดาร และพื้นที่ชายขอบ

5. ดานการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่บริเวณ ชายแดน 5.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัดชายแดน ภาคใต 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูที่ตอบสนอง ปญหาและความตองการของกลุมเปาหมาย รวมทั้งอัตลักษณและความเปนพหุวัฒนธรรมของพื้นที่ 2) พัฒ นาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางเขม ข น และ ตอเนื่องเพื่อใหผูเรียนสามารถนําความรูที่ไดรับไปใชประโยชนไดจริง 3) ใหหนวยงานและสถานศึกษาจัดใหมีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแกบุคลากร และนักศึกษา กศน. ตลอดจนผูมาใชบริการอยางทั่วถึง 5.2 พัฒนาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 1) ประสานความร วมมื อ กับ หนว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งในการจั ด ทํ า แผนการศึ ก ษาตาม ยุทธศาสตรและบริบทของแตละจังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 2) จัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเนนสาขาที่เปนความตองการของ ตลาด ใหเกิดการพัฒนาอาชีพไดตรงตามความตองการของพื้นที่ 5.3 จัดการศึกษาเพื่อ ความมั่นคง ของศูนยฝกและพัฒนาอาชีพ ราษฎรไทยบริ เ วณ ชายแดน (ศฝช.)

20 1) พัฒนาศูนยฝกและพัฒนาอาชีพ ราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อใหเปนศูนย ฝก และสาธิตการประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม และศูนยการเรียนรูตนแบบการจัดกิจกรรมตามแนว พระราชดําริปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง สําหรับประชาชนตามแนวชายแดน ดวยวิธีการเรีย นรู ท่ี หลากหลาย 2) มุงจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพ โดยใชวิธีการหลากหลาย ใชรูปแบบเชิงรุก เพื่อ การเขาถึงกลุมเปาหมาย เชน การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรวมมือกับเครือขาย การจัด อบรมแกนนําดานอาชีพ ที่เนนเรื่องเกษตรธรรมชาติที่สอดคลองกับบริบทของชุมชนชายแดน ใหแก ประชาชนตามแนวชายแดน

6. ดานบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีสวนรวมของทุกภาคสวน 6.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งกอน และระหวางการดํารงตําแหนงเพื่อใหมีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหาร จัดการการดําเนินงานของหนวยงานและสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสงเสริมให ขาราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพื่อเลื่อนตําแหนงหรือเลื่อนวิทยฐานะ โดยเนนการประเมินวิทย ฐานะเชิงประจักษ 2) พัฒ นาศึกษานิเทศก กศน. ใหมีสมรรถนะที่จําเปนครบถวน มีความเปนมืออาชีพ สามารถปฏิบัติการนิเทศไดอยางมีศักยภาพ เพื่อรวมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยในสถานศึกษา 3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตําบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน. ตําบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการ ความรูและผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพอยาง แทจริง 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบ การเรียนรูไดอยางมีคุณภาพ โดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัด กระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผล และการวิจัยเบื้องตน 5) พัฒ นาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ให มี ความรู ความสามารถและมีความเปนมืออาชีพในการจัดบริการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของ ประชาชน 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวม ในการบริหารการดําเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน. อยางมีประสิทธิภาพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทําหนาที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยไดอยางมีประสิทธิภาพ

21 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางสัมพันธภาพระหวางบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือขาย ทั้ ง ในและต า งประเทศในทุ ก ระดั บ โดยจั ด ให มี กิ จ กรรมเพื่ อ เสริ ม สร า งสั ม พั น ธภาพและเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการทํางานรวมกันในรูปแบบที่หลากหลายอยางตอเนื่อง อาทิ การแขงขันกีฬา การ อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพในการทํางาน 6.2 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและอัตรากําลัง 1) จัดทําแผนการพัฒ นาโครงสรางพื้นฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานที่ และวัสดุ อุปกรณ ใหมีความพรอมในการจัดการศึกษาและการเรียนรู 2) บริหารอัตรากําลังที่มีอยู ทั้งในสวนที่เปนขาราชการ พนักงานราชการ และลูกจาง ให เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติงาน 3) แสวงหาความรว มมื อ จากภาคี เครือ ข ายทุก ภาคสวนในการระดมทรัพ ยากรเพื่ อ นํามาใชในการปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานใหมีความพรอมสําหรับดําเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย และการสงเสริมการเรียนรูสําหรับประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ 1) พัฒ นาระบบฐานขอมูลใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยงกัน ทั่ ว ประเทศอยางเปนระบบเพื่อใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใชเปนเครื่องมือสําคัญ ในการบริหาร การวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางมีประสิทธิภาพ 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และเรงรัดการเบิกจายงบประมาณใหเปนตามเปาหมายที่กําหนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทั่วประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการเพื่อประโยชนในการจัด การศึกษาใหกับผูเรียนและการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ 4) ส ง เสริ ม ให มี ก ารจั ด การความรู ใ นหน ว ยงานและสถานศึ ก ษาทุ ก ระดั บ รวมทั้ ง การศึกษาวิจัยเพื่อสามารถนํามาใชในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานที่สอดคลองกับ ความ ตองการของประชาชนและชุมชนพรอมทั้งพัฒนาขีดความสามารถเชิงการแขงขันของหนวยงานและ สถานศึกษา 5) สรางความรวมมือของทุกภาคสวนทั้งในประเทศและตางประเทศ ในการพัฒนาและ สงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิต 6) สงเสริมการใชระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส (E-office) ในการบริหารจัดการ เชน ระบบ การลา ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ระบบการขอใชรถราชการ ระบบการขอใชหองประชุม เปนตน

22 6.4 การกํากับ นิเทศติดตามประเมิน และรายงานผล 1) สรางกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหเชื่อมโยงกับหนวยงาน สถานศึกษา และภาคี เครือขายทั้งระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและรายงานผลการนํานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบาย ในแตละเรื่องไดอยางมีประสิทธิภาพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่นๆ ที่เหมาะสม เพื่อ การกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอยางมีประสิทธิภาพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติ ราชการประจําปของหนวยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏิบัติ ราชการประจําป ของสํานักงาน กศน.ใหดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วิธีการ และ ระยะเวลาที่กําหนด 5) ใหมีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหนวยงานภายในและภายนอก องคกร ตั้งแตสวนกลาง ภูมิภาค กลุมจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพื่อความเปน เอกภาพในการใชขอมูล และการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ทิศทางการดําเนินงานของสํานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ ไดประชุมบุคลากรเพื่อรวมกันประเมินสถานการณของหนวยงาน โดยใชการวิเคราะหสภาพแวดลอม และศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกําหนดจุดแข็งและจุดออนจากสภาพแวดลอมในหนวยงาน รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดลอมภายนอกหนวยงานซึ่งเปนจุดยืนหรือจุดเริ่มตนของการ พัฒ นาคุณภาพการศึกษาของสํานักงานสง เสริมการศึก ษานอกระบบและการศึก ษาตามอัธ ยาศั ย จังหวัดประจวบคีรีขันธอันเปนปจจัยตอการสงเสริมสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยของสถานศึกษาในสังกัด เพื่อนําผลไปใชในการกําหนดทิศทางการดําเนินงานของหนวยงาน ซึ่งไดผลการประเมินสถานการณของหนวยงาน ดังนี้ จุดแข็ง (Strengths) 1. บุคลากรไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง 2. บุคลากรมีความรู ความสามารถ ตามโครงสรางของสํานักงาน กศน.จังหวัด 3. บุคลากรมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับสถานศึกษาในสังกัด 4. บุคลากรมีความมุงมั่นในการปฏิบัติหนาที่ 5. การบริหารงบประมาณเปนไปตามเปาหมายและมาตรการแนวทางที่กําหนด 6. การจัดสรรงบประมาณใหสถานศึกษาในสังกัดอยางเพียงพอและทั่วถึง

23 7. สงเสริมและสนับสนุนใหสถานศึกษาในสังกัดจัดทําและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอยาง ตอเนื่อง 8. อาคาร สถานที่ พรอมใหบริการแกผูรับบริการและผูมาติดตอ 9. มีสิ่งอํานวยความสะดวกอยางเพียงพอไวใหบริการในการดําเนินงานของสถานศึกษา เชน ยานพาหนะ บุคลากร 10. มีการกํากับติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง จุดออน(Weaknesses) 1. สํานักงาน กศน.จังหวัด ขาดขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในการปฏิบัติหนาที่ ทําใหการบริหารงานของหนวยงานไมตอเนื่อง 2. ระบบประกั น คุ ณ ภาพภายในของสถานศึ ก ษาสั ง กั ด สํ า นั ก งาน กศน.จั ง หวั ด ประจวบคีรีขันธขาดประสิทธิภาพ เนื่องจากสถานศึกษาสวนหนึ่งยังไมนําผลการประกันคุณภาพมา เปนแนวทางการพัฒนา 3. โครงสรางของสถานศึกษายังขาดขาราชการในการปฏิบัติงานในพื้นที่ เชน ขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา 4. อาคารสถานที่ของสถานศึกษาในสังกัดมีสภาพชํารุด ทรุดโทรม เชน หองสมุดประชาชน กศน.อําเภอ เปนตน 5. ไดรับการจัดสรรงบประมาณไมเพียงพอในการปรับปรุงซอมแซมอาคารสถานที่ของ สถานศึกษาในสังกัดและหนวยงาน โอกาส (Opportunities) 1. มียุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป เปนแผน แมบทที่เปนตนแบบในการดําเนินงาน 2. นโยบายและจุดเนนการดําเนินงานของสํานักงาน กศน. มีความชัดเจนสามารถนําไปสูการ ปฏิบัติได 3. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และนโยบายของรัฐบาลใหความสําคัญกับ การศึกษาซึ่งเอื้อตอการพัฒนาการบริหารจัดการศึกษามากขึน้ 4. จังหวัดประจวบคีรีขันธมีพื้นที่ติดชายแดนทั้ง 8 อําเภอ และเปนจังหวัดเดียวใน 27 จังหวัด ที่มีพื้นที่ติดชายแดน 5. มีแหลงเรียนรู/ภูมิปญญาทองถิ่น/แหลงประวัติศาสตรจํานวนมาก ที่สามารถใชประโยชน เพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 6. ภาคีเครือขายใหการสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยเชน บันทึกขอตกลงความรวมมือ (MOU) 7. การกระจายอํานาจใหกับสถานศึกษาบริหารจัดการได เชน การจัดซื้อจัดจาง

24 8. ความกาวหนาของสื่อเทคโนโลยี ชวยใหครู/อาจารย ผูเรียนและประชาชนสามารถใชเปน เครื่องมือในการแสวงหาความรูดวยตนเองไดอยางกวางขวาง 9. มีการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอมที่เปนรูปธรรม เชน กศน.ไรถัง อุปสรรค (Threats) 1. สถานศึกษาบางแหงมีระยะทางไกล ทําใหการติดตอประสานงานในภารกิจเรงดวนเกิ ด ความลาชา 2. คณะกรรมการวาดวยการพัสดุ (กวพ.) มีหนังสือจําแนกประเภทวัสดุสํานักงาน และยกเลิก การจัดซื้อครุภัณฑต่ํากวาเกณฑ ทําใหไมเอื้อตอการดําเนินงาน 3. การกําหนดแนวทางในการดําเนินงานตามนโยบายมีความลาชา ทําใหไมสามารถ ปฏิบัติงานไดตามกําหนดเวลา 4. สถานศึกษาบางแหงเกิดอุทกภัย ทําใหอาคารสถานที่ไดรับความเสียหายและสงผลเสียตอ ทางราชการ จากผลการประเมินสถานการณของสํ านักงานสง เสริมการศึก ษานอกระบบและ การศึ ก ษา ตามอั ธ ยาศั ย จั ง หวัด ประจวบคี รี ขั น ธ โดยการวิ เ คราะห ส ภาพแวดล อ มและศั กยภาพ (SWOT Analysis) ของหน ว ยงานดั ง กล า วข า งต น สํ า นั ก งานส ง เสริ ม การศึ ก ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธ ยาศั ยจัง หวั ด ประจวบคี รีขัน ธส ามารถนํ ามากํ า หนดทิ ศ ทางการดํา เนินงานของ หนวยงาน ไดแก ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค ตัวชี้วัดความสําเร็จ และกลยุทธ ดังนี้ ปรัชญา “ปรัชญาคิดเปน และ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” วิสัยทัศน “มุงสรางโอกาสการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ เทาเทียมทุกชวง วัย ภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จําเปนในโลกศตวรรษที่ 21” พันธกิจ 1. สง เสริม สนับสนุน และพัฒ นาครู บุคลากรทุกตําแหนง ใหมีความรู มีทักษะในการจั ด กระบวนการจัดการเรียนรู การจัดการเรียนการสอน และการปฏิบัติหนาที่ใหมีประสิทธิภาพ 2. สงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพและ การเรียนรูตลอดชีวิตภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและมีทักษะที่จําเปนในโลกศตวรรษที่ 21

25 3. ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให ส ถานศึ ก ษาจั ด ทํ า หลั ก สู ต ร รู ป แบบการจั ด การเรี ยนรู สื่ อ และ นวัตกรรม การวิจัย การวัดผลและประเมินผล ใหสอดคลองกับบริบทในพื้นที่ 4. สงเสริม สนับสนุน ใหสถานศึกษานําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไดอยางมีประสิทธิภาพ 5. ประสานความรวมมือกับภาคีเครือขายจัดสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 6. พัฒนาระบบการบริหารจัดการ เพื่อสงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยใหมีประสิทธิภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล เปาประสงคและตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาประสงค 1. ครู และบุคลากรมีความรู มีทักษะในการจัด กระบวนการจัดการเรียนรู การจัดการเรียนการ สอน และการปฏิบัติหนาที่ไดอยางมี ประสิทธิภาพ 2. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยที่มีคุณภาพและการเรียนรูตลอดชีวิต ภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและมี ทักษะที่จําเปนในโลกศตวรรษที่ 21 3. หนวยงานและสถานศึกษาจัดทําหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนรู สื่อและนวัตกรรม การวิจัย การวัดผลและประเมินผล ให สอดคลองกับบริบทในแตละพื้นที่ เพื่อสราง ความมั่นคง มั่งคั่งของประชาชน 4. สงเสริมสนับสนุนสถานศึกษานําเทคโนโลยี ทางการศึกษาและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยไดอยางมีประสิทธิภาพและสงเสริมให ประชาชนใชเทคโนโลยีดิจิทัล 5. ประสานความรวมมือกับภาคีเครือขายจัด สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ตัวชี้วัดความสําเร็จ 1. รอยละของครู และบุคลากรมีความรู มีทักษะ ในการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู การจัดการ เรียนการสอน และการปฏิบัติหนาที่ไดอยางมี ประสิทธิภาพ 2. รอยละของประชาชนจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพและการ เรียนรูตลอดชีวิตภายใตหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและมีทักษะที่จําเปนในโลก ศตวรรษที่ 21 3. รอยละของสถานศึกษามีหลักสูตร รูปแบบ การจัดการเรียนรู สื่อและนวัตกรรม การวิจัย การวัดผลและประเมินผล ใหสอดคลองกับ บริบทในแตละพื้นที่ 4. รอยละของสถานศึกษาและประชาชนนํา เทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัล มาใชในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยไดอยางมีประสิทธิภาพ 5. รอยละของภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัด สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

26 เปาประสงค 6. มีระบบการบริหารจัดการ เพื่อสงเสริมการ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยใหมีประสิทธิภาพ ตามหลักธรรมาภิ บาล

ตัวชี้วัดความสําเร็จ 6. รอยละของหนวยงานและสถานศึกษามีระบบ การบริหารจัดการ เพื่อสงเสริมการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมี ประสิทธิภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล

กลยุทธ 1. พัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและจัดกิจกรรมเสริมทักษะพัฒนาผูเรียนใน รูปแบบที่หลากหลายเสริมสรางความมั่นคงของสถาบันหลักและมีความสามารถในการแขงขัน 2. พัฒนาบุคลากรใหมีความรู มีทักษะในการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู และการปฏิบัติ หนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. พัฒ นาและนําระบบเครือขายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาและการบริหารจัดการที่ ทันสมัย 4. สรางโอกาสทางการศึกษาใหกับประชาชนเกิดการเรียนรูตลอดชีวิตภายใตหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 5. ประสานความรวมมือกับภาคีเครือขายจัดสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 6. พัฒนาระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล 3. เปาหมายหลักของการบริหารและจัดการศึกษาของหนวยงาน 1. กลุมเปาหมายมีความรูพื้นฐาน เพื่อการศึกษาตอ พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต 2. กลุมเปาหมายมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู เรียนรูอยางตอเนื่อง และสามารถนําไปประยุกตใชในการดํารงชีวิต 3. กลุมเปาหมายมีสมรรถนะและทักษะในการดํารงชีวิตที่เหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และพรอมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 4. กลุมเปาหมายหรือผูเขารับการอบรมมีความรู ความสามารถ และทักษะในการประกอบ อาชีพ สามารถนําความรูไปใชในการลดรายจาย หรือเพิ่มรายได หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาตอ ยอดอาชีพ หรือเพิ่มมูลคาของสินคาหรือบริการ 5. กลุมเปาหมายหรือผูเขารับการอบรม มีความรูในการใชเทคโนโลยีไดอยางเหมาะสม และ สามารถนําความรูมาประยุกตใชในการแกปญหาและพัฒนาการดํารงชีวิต หรือการประกอบอาชีพได 6. ภาคี เ ครื อ ข า ย ทุ ก ภาคส ว นมี ส ว นร ว มในการจั ด ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น การจั ด กิ จ กรรม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางตอเนื่อง 7. ระบบบริหารจัดการมีประสิทธิภาพเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล

27

การวิเคราะหสภาพแวดลอม กศน.อําเภอหัวหิน บุ ค ลากรของสถานศึ ก ษาได รว มกั น ประเมิ น สถานการณ ข องสถานศึ ก ษา โดยใช ก าร วิเคราะหสภาพแวดลอมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกําหนดจุดแข็งและจุดออนจากการ วิเคราะหสภาพแวดลอ มภายในสถานศึกษา การกําหนดโอกาสและอุป สรรคจากการรวิ เ คราะห สภาพแวดลอมภายนอกสถานศึกษา อันเปนปจจัยตอการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนําผลไปใชใน การกําหนดทิศทางการดําเนินงานของสถานศึกษา ซึ่งไดผลการประเมินสถานการณของสถานศึกษา ดังนี้ จุดแข็ง (Strengths) 1. เปนสถานศึกษาที่ตั้งอยูในเขตพระราชฐานชั้นนอกของวังไกลกังวล 2. บุคลากรมีความสามัคคีและทํางานเปนทีม 3. ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีวุฒิทางวิชาชีพครู และมีใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพครู 4. บุคลากรไดรับการพัฒนาความรูและประสบการณอยางตอเนื่อง ไมต่ําคนละ 20 ชั่วโมง/ป 5. บุคลากรสวนใหญมีความรูความสามารถ มีความตั้งใจในการพัฒนาการทํางานจนเปน ที่ยอมรับและไดรับมอบหมายใหปฏิบัติภารกิจสําคัญจากหนวยงานตนสังกัด 6. บุคลากรมีเปาหมายรวมกันที่ชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย จนทําใหสถานศึกษาไดรับรางวัลเกียรติยศ และการยอมรับจากหนวยงาน ตนสังกัด ชุมชน และเครือขาย 7. มีหองสมุดประชาชน ที่เปนแหลงการเรียนรูสําคัญและตั้งอยูในเขตชุมชน คือ หอสมุด รัชมังคลาภิเษกวังไกลกังวลอําเภอหัวหิน และหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน 8. มีศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขาแมฟาหลวง บานโคนมพัฒนาตําบลหวยสัตวใหญ เปนหนวยจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 9. มีศูนยเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมประจําตําบลครบทุก ตําบล 10. ภารกิจงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีลักษณะการทํางานที่ ยืดหยุน หลากหลาย สามารถบูรณาการการเรียนรูใหสอดคลองกับวิถีชีวิตและการทํางาน สรางโอกาส ใหประชาชนไดเขาถึงการเรียนรูตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชน 11. ไดรับรางวัลเกียรติยศ และการยอมรับจากหนวยงานตนสังกัด ชุมชน และเครือขาย อาทิ แหลงเรียนรู ประเภทสถานศึกษาขนาดใหญ รางวัลที่ 1 หองสมุดประชาชน/หองสมุดเฉลิมพระ เกียรติ/หอสมุดฯ ดีเดน ระดับประเทศ สถานศึกษาพอเพียง ศูนยสถานศึกษาพอเพียงที่มีผลการ ปฏิบัติงานเปนเลิศ ระดับประเทศ ไดรับการคัดเลือกบุคคลเขารับการอบรมเกษตรธรรมชาติระดับสูง (ระดับประเทศ) เปนตน

28 12. สถานศึกษามีหลักสูตรรายวิชาเลือก ไดแก รายวิชาอุทยานราชภักดิ์ และรายวิช า ศาสตรพระราชา เพื่อสรางความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญของสมเด็จพระบูรพกษัตริยไทย ปลูกฝงคุณธรรม รักชาติ ศาสน กษัตริย และเสริมสรางอัตลักษณของผูเรียน มีความจงรักภักดีและ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยควบคูกับความภาคภูมิใจในการเปนคนไทยและคนอําเภอหัวหิน จุดออน (Weaknesses) 1. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในสาระความรูพื้นฐานต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑการแปล คะแนนของการประเมิน ผลรายวิ ช าในหลัก สู ตรการศึก ษานอกระบบระกั บการศึก ษาขั้นพื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 2. อาคารสถานที่ของ กศน.อําเภอหัวหินตั้งอยูในหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินจึงมีเนื้อ ที่จํากัดและไมเพียงพอในการอํานวยความสะดวกตอการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 3. พันธกิจงานการศึก ษานอกระบบและการศึ กษาตามอั ธยาศัย มีเนื้องานครอบคลุ ม ภารกิจหลายดานแตมีความจํากัดดานการใชงบประมาณในการบริหารจัดการทําใหการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาทําใหบางครั้งขาดความตอเนื่องไมบรรลุตามคุณภาพและประสิทธิภาพที่ตั้งเปาหมายไว โอกาส (Opportunities) 1. อําเภอหัวหินเปนอําเภอที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร ทรงริเริ่มโครงการพระราชดําริแหงแรกและไดดําเนินโครงการพระราชดําริ จํานวนมากและตอเนื่อง 2. อําเภอหัวหินมีแหลงทองเที่ยวที่มีเอกลักษณที่งดงาม มีชื่อเสียงและไดรับความนิยมมา อยางยาวนานจากนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศเปนอยางมาก 3. มีภาคีเครือขายรวมสงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ไดแก สวนราชการ เอกชน ประชาสังคมที่หลากหลาย ตลอดจนมีผูบริหารทั้งสวนกลาง สวน ภูมิภาค และทองถิ่นที่มีความคิดกาวหนา มีกลุมองคกร ชมรม เกื้อกูลเอื้อประโยชน ตอการทํางาน แบบมีสวนรวม สามารถบูรณาการองคความรูมาพัฒนาการบริหารงาน เพื่อตอบสนองความตองการ ของประชาชนไดอยางรวดเร็วขึ้น 4. มีการอพยพของประชากรตางถิ่น ทั้ง ชาวไทยและชาวต างประเทศเขา มาอาศั ย อยู เพิ่มขึ้นทุกปทําใหมีกลุมเปาหมายเพิ่มมากขึ้นในการจัดการศึกษา 5. เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 6. มีวัฒนธรรม ประเพณี ของอําเภอหัวหิน ไดแก การไหวพระจันทรของชุมชนกะเหรี่ยง บานปาละอู ตําบลหวยสัตวใหญ อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ

29 7. เป น อํ า เภอที่ มี ส ถานศึ ก ษาทุ ก ระดั บ ตั้ ง แต ร ะดั บ อนุ บ าลถึ ง ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา มี สถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐ เอกชน ทองถิ่น และสถาบันการศึกษานานาชาติ 8. มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจสูงทั้งธุรกิจทองเที่ยว บริการ โรงแรม อสังหาริมทรัพย ฯลฯ มีจํานวนสถานประกอบการเพิ่มขึ้น 9. สถานประกอบการต อ งการแรงงานที่ มี ก ารศึ ก ษา มี คุ ณ ภาพและมี ทั ก ษะการใช ภาษาอังกฤษ 10. ประชาชนมีความตองการศึก ษาตอ และต องการพัฒ นาทัก ษะการใช ภาษาอั ง กฤษ เพิ่มขึ้น 11. หัวหินเปนอําเภอที่มีการปลูกสับปะรด ซึ่งจะไดรับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และ การแปรรูปมากขึ้น 12. ประชาชนในหมูบาน และชุมชนยังมีวิถีชีวิตแบบพึ่งพาอาศัยกัน 13. มีแหลงเรียนรู/ภูมิปญญา/แหลงประวัติศาสตรจํานวนมาก ที่สามารถใชประโยชนเพื่อ สนับสนุนการจัดการเรียนรูของผูเรียนและพัฒนาหลักสูตร สื่อ นวัตกรรม ที่เหมาะสมตอผูเรียน 14. องคการบริหารสวนทองถิ่น และชมรม มีความพรอมในการดําเนินงานที่เอื้อประโยชน ตอการพัฒนา และการดําเนินงานตาง ๆ ของสถานศึกษา 15. มีนโยบายในการสงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรูที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษที่ 21 รวมทั้งความตองการของประชาชนและชุมชน ในรูปแบบที่หลากหลาย ใหประชาชน คิดเปน วิเคราะหได ตัดสินใจภายใตขอมูลที่ถูกตอง 16. มีแหลงการเรียนรูที่มีความสําคัญ เชน อุทยานราชภักดิ์ อางเก็บน้ําเขาเตา ถนนหวยมงคล สหกรณโคนมไทย-เดนมารค หวยสัตวใหญ จํากัด อันเนื่องมาจากพระราชดําริ อุปสรรค (Threats) 1. สภาพภูมิประเทศที่มีความแตกตางกัน คือ ทางทิศตะวันออกเปนชายฝงทะเลเหมาะ สําหรับธุรกิจทองเที่ยวและพาณิชยบริเวณทิศตะวันตกเปนพื้นที่ที่เหมาะสําหรับการทําการเกษตร จึง ทําใหวิถีการดําเนินชีวิตของประชาชนแตละพื้นที่มีความแตกตางกัน 2. ผูเรียนสวนใหญเปนลูกจางในสถานประกอบการ มุงทํางานหารายไดเลี้ยงตนเองและ ครอบครัว ทําใหบางครั้งไมสามารถมาเรียนและทํากิจกรรมตาง ๆ รวมกับสถานศึกษาไดอยางตอเนื่อง 3. การคมนาคมและการติดตอสื่อสารในพื้นที่ตําบลบึงนคร ยังไมมีความสะดวกและอยู หางไกลเนื่องจากถนนสวนใหญเปนถนนลูกรัง ในฤดูฝนเดินทางลําบาก ไมมีไ ฟฟาและไมสามารถ ติดตอสื่อสารทางโทรศัพทได 4. ครัวเรือนภาคเกษตรมีรายไดไมพอจาย ตองกูหนี้สินจากสถาบันการเงินชุมชนและ เอกชนสูงขึ้นอยางนาเปนหวง ภาคเกษตรกรรมยังไมสามารถนําเทคโนโลยีใหมเขามาประยุกตไดอยาง ทั่วถึง เนื่องจากตนทุนสูง

30 5. การเพิ่มของประชาชนแฝงมีจํานวนเพิ่มขึ้นจําเปนตองเพิ่มบริการสาธารณะเกิ ดการ แขงขันในการประกอบอาชีพสภาพชุมชนแออัด และมีการใชแรงงานที่ผิดกฎหมาย 6. แผนการปฏิบัติงานไมสามารถตั้งเปาประสงคระยะยาวที่ชัดเจนไดเนื่องจากนโยบาย ระดับกระทรวง สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการสํานักงาน สง เสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสทางการเมืองของคณะรัฐบาลที่มาบริห าร ประเทศ จากการประเมิ น สถานการณ ข องสถานศึ ก ษา โดยการวิ เ คราะห ส ภาพแวดล อ มและ ศักยภาพ (SWOT Analysis) ของสถานศึกษาดังกลาวขางตน สถานศึกษาสามารถนํามากําหนดทิ ศ ทางการดํ า เนิ น งานของสถานศึ ก ษา ได แ ก ปรั ช ญา วิ สั ย ทั ศ น อั ต ลั ก ษณ เอกลั ก ษณ พั น ธกิ จ เปาประสงค ตัวชี้วัดความสําเร็จ และกลยุทธ ดังนี้ ปรัชญา “กศน.อําเภอหัวหิน พัฒนาคนบนพื้นฐานปรัชญาคิดเปน เนนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” วิสัยทัศน กศน.อํ า เภอหั ว หิ น น อ มนํ า ศาสตร พ ระราชาเพื่ อ จั ด การศึ ก ษาตลอดชี วิ ต ร วมกั บ ภาคี เครือขายที่มีคุณภาพ เทาเทียมกัน เปนบุคคลแหงการเรียนรู คิดเปน พอเพียง มีทักษะการประกอบ อาชีพและทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 คําอธิบาย กศน.อําเภอหัวหิน นอมนําศาสตรพระราชา มาเปนแนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ทีม่ ีคุณภาพ เทาเทียมกัน จัดการศึกษาและสงเสริมใหผูเรียน/ผูรับบริการ ใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู มีทักษะการคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห สามารถวิพากษผูอื่นได ดําเนิน ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความรู ทักษะ และความสามารถในการประกอบอาชีพ เทาทันการการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 เปนการเรียนรูตลอดชีวิตที่ตองการทักษะใหม ๆ เชน การอานออกเขียนได ตองการรูภาษามากกวา 1 ภาษา ความรูดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร สุขภาพ อนามัย เศรษฐกิจ เปนตน สมรรถนะที่สําคัญคือ เนนทักษะการคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห ทักษะการ สรางนวัตกรรม ทักษะการสื่อสาร ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ โดยการบอกลําดับขั้นตอนได

31 อัตลักษณ “จิตอาสา” คําอธิบาย กศน.อําเภอหัวหิน ไดกําหนดอัตลักษณของผูเรียนคือ “จิตอาสา” มุงเนนใหผูเรียนมีสวน รวมในการทําประโยชนเพื่อสวนรวม เอกลักษณ “สถานศึกษาพอเพียง” คําอธิบาย กศน.อํ า เภอหั ว หิ น ได กํ า หนดเอกลั ก ษณ ข องสถานศึ ก ษาคื อ “สถานศึ ก ษาพอเพียง” เกิดจากแรงบันดาลใจ คืออําเภอหัวหินมีวังไกลกังวลเปนที่ประทับ มีโครงการพระราชดําริแหงแรก มีแหลง เรียนรูอุทยานราชภักดิ์ และมีหอสมุดรัชมังคลาภิเษกวังไกลกังวลตั้งอยูในเขตพระราชฐาน ชั้นนอกของวังไกลกังวล สถานศึกษาไดนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขับเคลื่อนสูก าร บริหารจัดการสถานศึกษาอยางเปนระบบในทุกดาน ไดแก การบริหารเงินงบประมาณ การบริหารงาน บุคลากร การบริหารงานวิชาการ และการบริหารพัสดุ ใชการบริหารแบบมีสวนรวม โดยมีผูบริหาร ครูและบุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคีเครือขาย ภูมิปญญา แหลงเรียนรูในชุมชน มีการ พัฒ นางานวิชาการ ไดแก พัฒ นาหลักสูตรสถานศึก ษา พัฒ นาหลักสูตรรายวิชาเลือ กคื อรายวิ ช า อุทยานราชภักดิ์ และรายวิชาศาสตรพระราชา สงผลตอความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญ ของสมเด็จพระบูรพกษัตริยไทย ปลูกฝงคุณธรรม รักชาติ ศาสน กษัตริย และเสริมสรางอัตลักษณของ ผูเรียน มีความจงรักภักดีและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยควบคูกับความภาคภูมิใจในการเปนคน ไทยและคนอําเภอหัวหิน พันธกิจ 1. จั ด การศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ให มี คุ ณ ภาพ เท า เที ย มกั น เนนผูเรียนเปนสําคัญ 2. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหผูเรียน มีทักษะการดําเนินชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 3. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการประกอบอาชีพตามสภาพชุมชนของอําเภอหัวหิน มี แนวทางการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถใชเทคโนโลยีไดอยางเหมาะสม และอยูในสังคมไดอยางมีความสุข 4. สงเสริม สนับสนุน และประสานการมีสวนรวมของภาคีเครือขายในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิต 5. สงเสริม สนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม สื่อการเรียนรู และเทคโนโลยีมาใชในการจัด กระบวนการเรียนรู

32 6. จัดสงเสริม สนับสนุนและประสานงานการจั ดการศึกษาตามโครงการอันเนื่ องมาจาก พระราชดําริ พัฒนาแหลงเรียนรู และภูมิปญญาทองถิ่นในพื้นที่ 7. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 8. พัฒ นาหลักสูตรรายวิช าเลือ ก ตามหลักสู ตรการศึ กษานอกระบบระดั บการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 9. พัฒนาบุคลากรและระบบบริหารจัดการใหสามารถดําเนินงานการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล 10. สงเสริมและจัดกิจกรรม 4 ดาน ไดแก กิจกรรมดานศาสนา กิจกรรมดานวิถีไทย กิจกรรม ดานคุณธรรมอัตลักษณ และกิจกรรมดานจิตอาสาทําความดีดวยหัวใจ เปนสถานศึกษาคุณธรรม พันธกิจ

เปาประสงค

จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 1. ผูเรียนมีความรู ทักษะตามที่หลักสูตร กําหนด ใหมีคุณภาพ เทาเทียมกัน เนนผูเรียนเปนสําคัญ จั ด การศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตาม 2. ผูเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรูอยาง ตอเนื่องตามทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 อัธยาศัยใหผูเรียนมีทักษะการดําเนินชีวิตตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง และมีทักษะ 3. ผูเรียนมีทักษะกระบวนการคิดตามทักษะ การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 4. ผูเรียนมีทักษะการดําเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จั ด การศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการประกอบ 5. ผูเรียน/ผูรับบริการมีความรู และทักษะใน การประกอบอาชีพตามสภาพบริบทและ อาชี พ ตามสภาพชุ ม ชนของอํ า เภอหั ว หิ น มี ความตองการ และอยูในสังคมไดอยางมี แนวทางการปฏิ บั ติ ต นตามหลั ก ปรั ช ญาของ ความสุข เศรษฐกิจพอเพียง สามารถใชเทคโนโลยีไดอยาง 6. ผูเรียน/ผูรับบริการมีแนวทางการปฏิบัติตน เหมาะสมและอยูในสังคมไดอยางมีความสุข ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ อยูในสังคมไดอยางมีความสุข 7. ผูเรียน/ผูรับบริการสามารถใชเทคโนโลยีได อยางเหมาะสมและอยูในสังคมไดอยางมี ความสุข สงเสริม สนับสนุน และประสานการมีสวนรวม 8. สงเสริมสนับสนุนภูมิปญญามีสวนรวมใน การจัดการศึกษา ของภาคี เ ครื อ ข า ยในการจั ด การศึ ก ษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสงเสริม การศึกษาตลอดชีวิต

33 พันธกิจ

เปาประสงค

สงเสริม สนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม สื่อการ 9. สถานศึกษามีการพัฒนานวัตกรรม สื่อการเรียนรู และเทคโนโลยีมาใชในการจัด เรี ย น รู และ เทคโน โล ยี ม า ใช ใน ก า ร จั ด กระบวนการเรียนรู กระบวนการเรียนรู ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น และประสานงานการจั ด 10. สถานศึกษามีการจัดการศึกษาตามโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ การศึ ก ษาตามโครงการอั น เนื่ อ งม า จาก พระราชดําริ พัฒนาแหลงเรียนรู และภูมิปญญา 11. ภูมิปญญามีสวนรวมในการจัดการความรู และจัดกระบวนการเรียนรู ทองถิ่นในพื้นที่ 12. สถานศึกษามีแหลงการเรียนรูไดรับการ พัฒนาครอบคลุมทุกตําบลเพื่อสนองตอบ ความตองการของผูเรียน พั ฒ นาหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา ตามหลั ก สู ต ร 13. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้ นฐาน พุทธศักราช 2551 พั ฒ นาหลั ก สู ต รรายวิ ช าเลื อ ก ตามหลั ก สู ต ร 14. สถานศึกษามีหลักสูตรรายวิชาเลือก ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พั ฒ นาบุ ค ลากรและระบบบริ ห ารจั ด การให 15. บุคลากรไดรับการพัฒนาสมรรถนะในการ ดําเนินงานการศึกษานอกระบบและ สามารถดําเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ตามปรั ช ญาของ 16. บุคลากรไดรับการพัฒนาตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล เศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล 17. สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการที่ สามารถดําเนินงานการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรร มาภิบาล ส ง เสริ ม และจั ด กิ จ กรรม ครอบคลุ ม 4 ด า น 18. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรม ครอบคลุม 4 ดาน ไดแก กิจกรรมดานศาสนา กิจกรรม ไดแก กิจกรรมดานศาสนา กิจกรรมดานวิถีไทย ดานวิถีไทย กิจกรรมดานคุณธรรมอัตลักษณ กิจกรรมดานคุณธรรมอัตลักษณ และกิจกรรม และกิจกรรมดานจิตอาสาทําความดีดวยหัวใจ ด า น จิ ต อาสาทํ า คว ามดี ด ว ยหั ว ใจ เป น 19. ผู เ รี ย นมี คุ ณ ธรรม และคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง สถานศึกษาคุณธรรม ประสงค ตามที่สถานศึกษากําหนด

34 เปาประสงคและตัวชี้วัดความสําเร็จ เปาประสงค

ตัวชี้วัดความสําเร็จ

1ผูเรียนมีความรู ทักษะตามที่หลักสูตรกําหนด

รอยละของผูเรียนที่มีความรู และทักษะตามที่ หลักสูตรกําหนด

2ผูเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรูอยาง ตอเนื่องตามทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21

รอยละผูเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู อยางตอเนื่องตามทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21

3ผูเรียนมีทักษะกระบวนการคิดตามทักษะการ เรียนรูในศตวรรษที่ 21

รอยละของผูเรียนมีทักษะกระบวนการคิดตาม ทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21

4ผูเรียนมีทักษะการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญา รอยละของผูเรียนมีทักษะการดําเนินชีวิตตาม ของเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5ผูเรียน/ผูรับบริการมีความรู และทักษะในการ รอยละของผูเรียน/ผูรับบริการมีความรู และ ประกอบอาชีพตามสภาพบริบทและความ ทักษะในการประกอบอาชีพตามสภาพบริบท ตองการ และอยูในสังคมไดอยางมีความสุข และความตองการ และอยูในสังคมไดอยางมี ความสุข 6ผูเรียน/ผูรับบริการมีแนวทางการปฏิบัติตน รอยละของผูเรียน/ผูรับบริการมีแนวทางการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียงและอยูใน ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง สังคมไดอยางมีความสุข และอยูใ นสังคมไดอยางมีความสุข 7ผูเรียน/ผูรับบริการสามารถใชเทคโนโลยีได อยางเหมาะสมและอยูในสังคมไดอยางมี ความสุข

รอยละผูเรียน/ผูรับบริการสามารถใชเทคโนโลยีได อยางเหมาะสมและอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

8ภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

จํานวนภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

10สถานศึกษามีการจัดการศึกษาตามโครงการ

จํานวนโครงการ/กิจกรรมที่สถานศึกษาจัด สงเสริม สนับสนุนการศึกษาตามโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ

35 เปาประสงค

ตัวชี้วัดความสําเร็จ

11 สงเสริมสนับสนุนภูมิปญญามีสวนรวมในการ จํานวนภูมิปญญาทีม่ ีสวนรวมในการจัด จัดการศึกษา การศึกษา 12สถานศึกษามีแหลงการเรียนรูไดรับการ พัฒนาครอบคลุมทุกตําบลเพื่อสนองตอบความ ตองการของผูเรียน

จํานวนแหลงการเรียนรูที่มีความพรอมในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของสถานศึกษา

13สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษาที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ เปนเอกสารรูปเลมสามารถตรวจสอบได

14สถานศึกษามีหลักสูตรรายวิชาเลือก

หลักสูตรรายวิชาเลือกที่จัดทําขึ้นมีประสิทธิภาพ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเป น เอกสารรู ป เล ม สามารถ ตรวจสอบได

15บุคลากรไดรับการพัฒนาสมรรถนะในการ ดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย

รอยละของบุคลากรไดรับการพัฒนาสมรรถนะ ในการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย

16บุคลากรไดรับการพัฒนาตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล

รอยละของบุคลากรไดรับการพัฒนาตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิ บาล

17สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการที่ สามารถดําเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล

สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการที่สามารถ ดําเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล อยาง นอย 2 ระบบ

19ผูเรียนมีคุณธรรม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค

ร อ ยละของผู เ รีย นมี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค ต ามที่ ส ถานศึ กษา กําหนด

36 กลยุทธของสถานศึกษา กลยุทธที่ กลยุทธที่ กลยุทธที่ กลยุทธที่ กลยุทธที่ กลยุทธที่

1 พัฒนาคุณภาพผูเรียน/ผูรับบริการ 2 พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3 ขยายและพัฒนาแหลงเรียนรูใหหลากหลาย 4 สงเสริม สนับสนุนใหภาคีเครือขายจัดการศึกษา 5 พัฒนาศักยภาพของบุคลากรทางการศึกษา 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมภิบาล มุงบริการที่มีคุณภาพ

37

ทิศทางการดําเนินงานของ หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน จุดแข็ง (Strength) 1. บรรณารักษหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินมีกิจกรรมสงเสริมการอานอยางสม่ําเสมอใน รูปแบบที่หลากหลาย 2. บรรณารักษหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินมีกิจกรรมสงเสริมการอานลงพื้นที่ใกลชิดกับ ประชาชนในการกิจกรรมสงเสริมการอานหองสมุดเคลื่อนที่สรางรอยยิ้มสูชุมชนรวมกับครู กศน.ตําบล 3. บรรณารักษหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินมีกิจกรรมในรูปแบบการบริการแบบเชิงรุกใน รูปแบบตาง ๆ เพื่อดึงดูดใหผูใชบริการเขามาใชบริการหองสมุดใหมากที่สุด 4. บรรณารักษมีการเรียนรูจากสื่อตางๆ อยูตลอดเวลา เพื่อนําความรูที่ไดจากการศึกษาดวย ตนเองมาสร า งสื่ อ และกิ จ กรรมส ง เสริ ม การอ า นและเผยแพร เ ป น ความรู ใ ห เ ข า กั บ เหตุ ก ารณ ที่ เปลี่ยนแปลงไปในสถานการณปจจุบัน 5. บรรณารั ก ษ ห อ งสมุ ด ประชาชนอํ า เภอหั ว หิ น มี ก ารพั ฒ นาห อ งสมุ ด ประชาชนอย า ง สม่ําเสมอโดยการจัดภูมิทัศนทั้งภายนอกและภายใน ใหมีความสะอาด สวยงาม มีมุมบริการตางๆ ที่ หลากหลาย จุดออน (Weakness) 1. หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินมีพื้นที่คับแคบ ทําใหพัฒนาเปนมุมตางๆ เพิม่ เติมไดยาก 2. คอมพิวเตอรที่มีอยูคอนขางเกาและชํารุด 3. งบประมาณที่ไดรับจัดสรรในการบริหารจัดการหองสมุดคอนขางนอย โอกาส (Opportunity) 1. สถานที่ ตั้ ง ของห อ งสมุ ด ประชาชนอํ า เภอหั ว หิ น อยู ใ กล แ หล ง ชุ ม ชน สะดวกสํ า หรั บ ประชาชนที่มาติดตอราชการ 2. สถานที่ตั้ง ของหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินอยูใกลกับ สถานศึกษา และหนวยงาน ราชการอื่นๆ ทําใหงายในการติดตอขอความอนุเคราะหในการรวมกิจกรรมสงเสริมการอาน 3. หองสมุดมีภาคีเครือขายทั้งภาครัฐและเอกชน รานคา และประชาชนทั่วไป ในการใหการ สนับชวยเหลือในการจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน โดยบรรณารักษติดตอขอความอนุเคราะหขอรับการ สนับสนุน

38 อุปสรรค (Threat) 1. หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินในชวงหนารอนจะมีสภาพอากาศที่รอนอบอาวเปนอยาง มากแมวาจะมีพัดลมใหบริการในแตละจุด ผูใชบริการสวนใหญไมคอยอยากนั่งอานหนังสือเพราะ หองสมุดมีสภาพอากาศรอน 2. หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน มีสถานที่ตั้งอยูใกลกับแหลงชุมชน มักมีปญหาในเรื่อง ขยะที่คนในชุมชนที่ผานไปมาในบริเวณนั้นทิ้งขยะเขามาในบริเวณรอบ ๆ หองสมุดประชาชนอําเภอ หัวหิน ปรัชญา (Philosophy) หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินสรางการเรียนรู เขาถึงทุกกลุมเปาหมายทุกเพศทุกวัย สูนิสัย รักการอาน วิสัยทัศน (Vision) หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินมุงเนนเปนศูนยกลางแหงการเรียนรู เพื่อสงเสริมการอานใน รูปแบบที่หลากหลาย อัตลักษณ (Identity) จิตอาสา สรางการเรียนรู สูสังคมแหงการอาน พันธกิจ (Mission) 1. พั ฒ นาห อ งสมุ ด ประชาชนอํ า เภอหั ว หิ น ให เ ป น ศู น ย ก ลางแหล ง เรี ย นรู ต ามอั ธ ยาศั ย ตลอดชีวิต 2. พัฒนาหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินใหเปนศูนยกลางการเรียนรูของคนในชุมชนและ ประชาชนทั่วไป 3. พัฒ นาหองสมุดประชาชนอํ า เภอหัว หิน ให เปน ศูน ยก ารเรียนรู เพื่อตอบสนองความ ตองการของกลุมเปาหมายตาง ๆ อยางทั่วถึง 4. พัฒนาหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินใหเปนศูนยกลางการเรียนรูเพื่อพัฒนาอาชีพและ การทํามาหากินของคนในชุมชน 5. พั ฒ นาห อ งสมุ ด ประชาชนอํ า เภอหั ว หิ น ให เ ป น ศู น ย ก ลางการเรี ย นรู เ พื่ อ ให บ ริ ก าร จัดกิจกรรมสง เสริ มการอ าน พัฒ นารูปแบบและวิ ธีก ารเรียนรู การศึ กษาตามอัธ ยาศั ย ให มี ค วาม หลากหลาย เพื่อกระตุนใหผูเรียนไดเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

39 เปาประสงค (Goal) ผูใชบริการเขาถึงการใหบริการที่ตรงกับความตองการดวยสื่อสารสนเทศและกิจกรรมสงเสริม การอานผานในรูปแบบตาง ๆ ทําใหเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต และผูรับบริการเกิ ด ความพึงพอใจตอการใชบริการของหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ตัวชี้วัดความสําเร็จ 1. ปริมาณของผูเ ข ารว มกิ จกรรม ของหองสมุดประชาชนอํ า เภอหัว หิน มีจํานวนตาม เปาหมายที่กําหนด 2. ผูเขารวมกิจกรรมและกลุมเปาหมายตาง ๆ มีความพึงพอใจอยางนอยรอยละ 80 อยูใน ระดับมากขึ้นไปในดานตาง ๆ ไดแก การใหบริการของหองสมุด การใชสื่อสารสนเทศที่สงเสริมการ เรียนรู การจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูและสงเสริมการอาน 3. ผู เ ข า ร ว มกิ จ กรรมและกลุ ม เป า หมายต า ง ๆ สามารถนํ า ความรู ไ ปประยุ ก ต ใ ช ใ น ชีวิตประจําวันและการประกอบอาชีพหรือตอยอดอาชีพเดิมของตนเองได กลยุทธของหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน 1. พัฒนาดานอาคารสถานที่ พัฒนาหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินใหเหมาะสมกับการเขา ใชบริการ มีการทําความสะอาดอยูตลอดเวลาเพื่อใหหองสมุดไรฝุน มีการจัดตกแตงมุมบริการตาง ๆ ใหสวยงามสะอาดตา และมีการใชน้ํายาฆาเชื้อฉีดพนเช็ดทําความสะอาดอยางสม่ําเสมอในชวงของ การแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 2. พัฒนาดานบุคลากรผูปฏิบัติงาน บรรณารักษไมใชแคทําหนาที่ดูแลและจัดระบบหนังสือ ภายในหองสมุด แตยังตองใหบริการอํานวยความสะดวกแกผูมาใชบริการในทุกกลุมเปาหมาย เพราะ ปจจุบันรูปแบบการบริการของหองสมุดมีการเปลี่ยนแปลงสูยุคดิจิทัล จากหนังสือเปลี่ยนไปสูรูปแบบ อื่น ไมวาจะเปน E-book หนัง สือเสียง รูปภาพ วิดีโอ เกม หรือ แอพพลิเคชั่นอื่น ๆ บทบาทของ บรรณารักษหองสมุดประชาชนตองปรับเปลี่ยนตนเอง และจําเปนตองเรียนรูทักษะใหมๆ ที่สอดคลอง กับโลกความรูในอนาคตเพื่อนํามาจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในรูปแบบที่หลากหลายและดึงดูดตอ ผูรับบริการทุกกลุมเปาหมาย 3. พัฒนาดานการบริการ บรรณารักษมีการปรับรูปแบบการบริการหองสมุดอยูตลอดเวลา มี การสํารวจความพึง พอใช ตอการใช บริ การของห องสมุ ด สํารวจความต องการจั ดซื้ อหนัง สื อ ของ หองสมุดทั้งในรูปแบบของเอกสาร และสํารวจความตองการผานออนไลน โดยใช Google form เพื่อ นําขอมูลที่ไดมาสรุป พัฒนา และจัดหาสื่อบริการตาง ๆ ใหตองกับความตองการของผูใชบริการ

40 4. พัฒ นาดานทรัพยากร มีการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่ห ลากหลายเพราะหอ งสมุ ด ประชาชนอําเภอหัวหิน มักมีผูใชบริการชาวตางชาติ ที่มาใชบริการหองสมุด และมักมายืมอยูเป น ประจํ า การจั ด หาทรั พ ยากรจึ ง ต อ งมี ค วามหลากหลาย ทั้ ง สื่ อ ความรู ที่ เ ป น ภาษาไทยและสื่ อ ภาษาตางประเทศ 5. พัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศ หองสมุดมีบริการ Wifi ผูใชบริการสามารถใชบริการได ฟรีโดยไมเสียคาใชจาย และบรรณารักษมีการจัดสื่อบริการความรู ทั้งสื่อ E-book QR-Code ความรู และจัดทําสื่อสงเสริมการอานความรูผานออนไลน Infographic และสื่อ วิดีโอความรู เปนตน

โครงการ/กิจกรรม

41

สวนที่ 3 รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 3.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 3.2 แผนการใชจายงบประมาณตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ 2564

42 3.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 หองสมุดประชาชนประชาชนอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ แผน

โครงการ/กิจกรรม

กิจกรรมหลัก

เปาหมาย/กลุมเปาหมาย งบประมาณ ระยะเวลา (ครอบครัว/เยาวชน/ประชาชน พื้นที่ดําเนินการ (บาท) ดําเนินงาน จํานวน(คน/เลม/แหง) เด็กเยาวชนและประชาชนทัว่ ไป

หองสมุด

จํานวน 15,000 คน

ประชาชนอําเภอ

2. โครงการปลูกผัก

กิจกรรมสงเสริมการอานภายในหองสมุดประชาชนอําเภอ หัวหิน - บริการยืม-คืน - บริการการอานและศึกษาคนควาภายในหองสมุด - สมัครสมาชิกหองสมุด - กิจกรรมสงเสริมการอานสําหรับเด็ก - กิจกรรมการพบกลุมของนักศึกษา - กิจกรรมแนะนําการใชหองสมุด - กิจกรรม - กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ

หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน

หองสมุด

ปลอดสารพิษ แบงปนรู

- กิจกรรมสงเสริมการเรียนรูการปลูกผักแบบชุมชนเมือง

1 แหง

ประชาชนอําเภอ

แผนพัฒนา

1. โครงการการศึกษาตาม

แหลงการ

อัธยาศัยพัฒนาหองสมุด

เรียนรู

ประชาชนอําเภอหัวหินให

(หองสมุด,

เปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต

แหลงเรียนรู

2564

อื่นๆ)

แบงปนน้ําใจ ตามวิถีเกษตร - กิจกรรมสงเสริมความรูประโยชนของผักปลอดสารพิษ ธรรมชาติสูความพอเพียง 2564

-

ต.ค.63-ก.ย. 64

หัวหิน

หัวหิน

-

ต.ค.63-ก.ย. 64

43 3.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 หองสมุดประชาชนประชาชนอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ แผน

โครงการ/กิจกรรม 3. โครงการปนหนังสือสูพนื้ ที่ หางไกลใหนองอาน ประจําป

กิจกรรมหลัก 1.คัดเลือกหนังสือดีนําไปมอบ ใหกับโรงเรียนในพื้นที่หางไกล

เปาหมาย/กลุมเปาหมาย (ครอบครัว/เยาวชน/ประชาชน จํานวน(คน/เลม/แหง) โรงเรียนในพื้นที่หางไกลในเขต ตําบลบึงนคร และตําบลหวยสัตว ใหญ จํานวน 10 โรงเรียน

งบประมาณ 2564

4. โครงการหองสมุดเคลื่อนที่

1.บริการหนังสือดีสูชุมชน

สรางรอยยิ้มสูชุมชน 2564

2. จัดกิจกรรมสงเสริมการอาน จํานวน 300 คน 3. กิจกรรมสงเสริมการอาน สรางอาชีพ

เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป

พื้นที่ดําเนินการ 1.โรงเรียน ตชด. บานแพรกตะครอ 2. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานทาไมลาย 3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหวยไคร 4. โรงเรียนบานหวยไคร 5. โรงเรียนบานเนินพะยอม 6. โรงเรียนอานันท 7. โรงเรียน ตชด. นเรศวรปาละอู 8. ศูนยเด็กเล็กองคการบริหารสวน ตําบลหวยสัตวใหญ 9. โรงเรียนนเรศวรหวยผึ้ง 10. โรงเรียน ตชด.บานคลองนอย 1. กศน.ตําบลหนองพลับ 2. กศน.ตําบลหินเหล็กไฟ 3. กศน.ตําบลบึงนคร 4. กศน.ตําบลหวยสัตวใหญ 5. กศน.ตําบลทับใต

งบประมาณ

ระยะเวลา

(บาท)

ดําเนินงาน

ไมใช

20-21 ต.ค.

งบประมาณ

63

ไมใช

ต.ค.63-ก.ย.

งบประมาณ

64

44 3.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 หองสมุดประชาชนประชาชนอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ เปาหมาย/กลุมเปาหมาย แผน

โครงการ/กิจกรรม

กิจกรรมหลัก

(ครอบครัว/เยาวชน/ประชาชน

พื้นที่ดําเนินการ

จํานวน(คน/เลม/แหง) แผนพัฒนา แหลงการ เรียนรู (หองสมุด, แหลง เรียนรูอื่นๆ)

5. โครงการวันเด็กแหงชาติ

1. กิจกรรมอานตามรอยพอ 2. กิจกรรมชมวิดีทัศนประวัติวันเด็กแหงชาติ พัฒนาเยาวชนจิตอาสาสู เด็กไทยวิถีใหม เดินตามรอยเทา 3. กิจกรรมเกม Kahoot ตอบคําถามความรูเรื่องวัน เด็กแหงชาติและความรูเรื่อง COVID 2019 พอขอเปนนักอาน ประจําป 4. กิจกรรมเกมเปดแผนปายมหาสนุก งบประมาณ 2564 2564 6. โครงการเรียนรูตามอัธยาศัย ไปกับหองสมุดประชาชนอําเภอ หัวหิน ประจําปงบประมาณ 2564

1. การดําเนินงานตามแผน 2.จัดกิจกรรมสงเสริมการอานโครงการเรียนรูตาม อัธยาศัยไปกับหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน 3. การแนะนําการใชหองสมุดประชาชนอําเภอ หัวหิน 4. กิจกรรมประดิษฐกระทงสืบสานประเพณีไทย 5. กิจกรรมสงเสริมการอานผานออนไลน 6. กิจกรรมวาดภาพระบายสี 7. กิจกรรมเรียนรูพัฒนาการของพวงมาลัย

งบประมาณ

ระยะเวลา

(บาท)

ดําเนินงาน

เด็กและเยาวชนและประชาชน

หองสมุดประชาชน ไมใช

9 มกราคม

ทั่วไป จํานวน 7 คน

อําเภอหัวหิน

2564

เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป

หองสมุดประชาชน ไมใช

ต.ค.63-ก.ย.

จํานวน 600 คน

อําเภอหัวหิน

64

งบประมาณ

งบประมาณ

45 3.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 หองสมุดประชาชนประชาชนอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ แผน

โครงการ/กิจกรรม

แผนพัฒนา แหลงการ เรียนรู (หองสมุด, แหลงเรียนรู อื่นๆ)

7. โครงการอบรมใหความรูการใชสื่อและ เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาครูและบุคลากรของ กศน. อําเภอหัวหิน ในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยตามแนววิถีใหม (New Normal) ประจําปงบประมาณ 2564

กิจกรรมหลัก

เปาหมาย/กลุมเปาหมาย (ครอบครัว/เยาวชน/ประชาชน จํานวน(คน/เลม/แหง)

พื้นที่ดําเนินการ

งบประมาณ

ระยะเวลา

(บาท)

ดําเนินงาน

1. การดําเนินงานตามแผน ครูและบุคลากร ของ กศน.อําเภอ หองสมุดประชาชน ไมใช 2.จัดโครงการอบรมใหความรูการใช หัวหิน จํานวน 13 คน อําเภอหัวหิน งบประมาณ สื่อและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาครูและ บุคลากรของ กศน.อําเภอหัวหิน ในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยตามแนววิถี ใหม (New Normal) ประจําป งบประมาณ 2564 3. ความรูเรื่องการทําเกียรติบัตร ออนไลน 4. ความรูเรื่องการทําคลิปวิดีโอจาก โปรแกรม Powerpoint

ม.ค. 2564

46

3.2 แผนการใชจายงบประมาณตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ 2564 แผนการใชงบประมาณประจําป 2564 (ตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2563 – มีนาคม 2564) ของหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน แผนงาน พื้นฐานดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ผลผลิตที่ 5 ผูรับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย งบดําเนินงาน ที่

1. 2. 3. 4. 5.

ชื่องาน/โครงการ

คาบริหารงานทั่วไปคาวารสารหนังสือพิมพ (ไตรมาส 1-2) คาวัสดุคาเดินทางไปราชการ (ไตรมาส 1-2) คาใชจายซื้อหนังสือประจําหองสมุดประชาชน (ไตรมาส 1-2) คาใชจายสาธารณูปโภคหองสมุดประชาชน คาอินเตอรเน็ตหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน รวม

จัดสรร

5,010.00 12,750.00 12,750.00 21,000.00 8,988.00 60,498.00

47

สวนที่ 4 รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 4.1 โครงการตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564

48 โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยพัฒนาหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต ประจําปงบประมาณ 2564 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ ................................................................. 1. สอดคลองกับนโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน 1.1 สอดคลองกับยุทธศาสตร 20 ป (พ.ศ.2561-2580) ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน 1.2 สอดคลองกับแผนการศึกษาแหงชาติ (2560-2579) ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู 1.3 สอดคลองกับภารกิจตอเนื่อง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรียนรู 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พัฒ นาแหลงการเรียนรูที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการอานและการพัฒนา ศักยภาพการเรียนรูใหเกิดขึ้นในสังคมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวางและทั่วถึง เชน การพัฒนา กศน.ตําบล ห อ งสมุ ด ประชาชนทุ ก แหง ให มี การบริก ารที่ ทั น สมั ย ส ง เสริ ม และสนั บ สนุนอาสาสมั ค รส ง เสริ มการอาน การสรางเครือขายสงเสริมการอาน จัดหนวยบริการหองสมุดเคลื่อนที่ หองสมุดชาวตลาด พรอมหนังสือและ อุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลายใหบริการกับประชาชนในพื้นที่ตาง ๆ อยางทั่วถึง สม่ําเสมอ รวมทั้งเสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่ออุปกรณเพื่อสนับสนุนการอาน และการ จัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการอานอยางหลากหลายรูปแบบ 1.4 สอดคลองกับพันธกิจของสํานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ พันธกิจขอ 5 จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสรางสังคมแหงการ เรียนรูตลอดชีวิต 1.5 สอดคลองกับพันธกิจของ กศน.อําเภอหัวหิน พัน ธกิจขอที่ 1 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีคุณภาพ เทาเทียมกัน เนน ผูเรียนเปนสําคัญ พันธกิจขอที่ 4 สงเสริม สนับสนุน และประสานการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย ในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิต 1.6 สอดคลองกับตัวมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูรับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย 1.1 ผูรับบริการมีความรูทักษะ หรือประสบการณ สอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการ หรือ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.1 การกําหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

49 2.2 ผูจัดกิจกรรมมีความรู ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.3 สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.4 ผูรับบริการมีความพึงพอใจตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เนนการมีสวนรวม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.5 การกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การสงเสริม สนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรู การดําเนินงานหองสมุดประชาชนตามขอสั่งการของรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ 1) จัดหองสมุดประชาชนใหมีบรรยากาศที่ดี อาคารพรอมเขาใชบริการ แอรเย็น อินเทอรเน็ตแรงปรั บ รูปแบบการใหบริการหองสมุดประชาชนใหเปนหองสมุดดิจิทัลที่มีคอมพิวเตอรรุนใหม ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูง 2) จัดใหมีวัสดุอุปกรณที่ทันสมัย เชน คอมพิวเตอร โตะ เกาอี้ ปลั๊กไฟ และมีการซอมบํารุงอยูเสมอไว บริการในหองสมุดประชาชน 3) จั ดให ห องสมุ ดประชาชนมี พื้ นที่ ส วนตั วในการใช บริ การ เช น บล็ อก หรื อ ห องประชุ มกลุ มเล็ ก หอง E-Sport (จัดทําพื้นที่ในการใหบริการตามความตองการและความสนใจของผูมาใชบริการหองสมุดประชาชน อยางเหมาะสม) 4) จัดใหหองสมุดประชาชนมีมุมบริการรานกาแฟ อาหารวาง เชน นําสินคาของนักศึกษาหรือกลุมอาชีพที่ กศน. ไดสงเสริมและสนับสนุนมาจําหนาย (โดยจัดใหมีตามความเหมาะสมกับบรรยากาศและสถานที่ของหองสมุด ประชาชน) 5) จัดหาหนังสือ สื่อ เทคโนโลยีใหมที่ทันสมัย เปนปจจุบัน มีบริการยืมคืนและอานหนังสือแบบออนไลน 6) จัดบรรยากาศภายในหองสมุดประชาชนใหโลง กวาง มีมุมบริการ มุมเด็ก ที่แบงเปนสัดสวน ดูทันสมัย สดใส นาเขาใชบริการ มีบรรยากาศที่เหมาะสมกับการเรียนรู 7) จัดใหมีการสอบถามความคิดเห็นแบบออนไลน เชน การสํารวจความตองการในการซื้อหนังสือของ หองสมุด 8) จัดหาหนังสือสําหรับผูพิการ หนังสือเสียง/หนังสือสําหรับคนตาบอด และมีพื้นที่อํานวยความสะดวก คนพิการ (โดยประสานงานขอรับทราบขอมูล และแนวทางการสนับสนุนไดจากศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา)

50 2. หลักการและเหตุผล หองสมุดประชาชนเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชนที่สนับสนุนการศึกษาทั้งในระบบการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เนนการปลูกฝงและสงเสริมนิสัยรักการอาน และการเรียนรูตลอดชีวิต สนับสนุน การปฏิรูปการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ พัฒ นาคุณภาพ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ผลผลิต เพื่อใหบรรลุและสอดคลองกับนโยบายและจุดเนนการดําเนินงานของสํานักงาน กศน. และในยุคที่สังคมและ เทคโนโลยีตางๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปหองสมุดทุกประเภทไมวาจะเปนหองสมุดโรงเรียน หองสมุดประชาชน หองสมุดเฉพาะ และหองสมุดในสถาบันอุดมศึกษา จะตองมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนใหมในการบริหาร จัดการและการปฏิบัติหนาที่ในวิชาชีพ โดยตองเนนบริการในรูปแบบเชิงรุกและพัฒนาหองสมุดใหเปนหองสมุด มีชีวิต เพื่อตอบรับกับกระแสสังคมที่มี การเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ภายใตสังกัดของ กศน. อําเภอหัวหิน มีการบริหารจัดการ การสราง บรรยากาศของห อ งสมุ ด ให เ อื้ อ ต อ การเรี ย นรู โดยจั ด กิ จ กรรมส ง เสริ ม การอ า นในรู ป แบบ ต า ง ๆ เช น อาสาสมัครสงเสริมการอาน หองสมุดประชาชน บานหนังสือชุมชน หองสมุดเคลื่อนที่ เพื่อเอื้อตอการเรียนรู ของสังคมและชุมชน ตลอดจนจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลายในลักษณะเชิงรุก ทั้งนี้ เพื่อกระตุนและสนับสนุนการสงเสริมการอานในชุมชนใหเปนสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต 3.วัตถุประสงค 1. เพื่อสงเสริมใหเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปมีทักษะและนิสัยรักการอาน 2. เพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในลักษณะเชิงรุกที่มีความหลากหลายเหมาะสมกับทุกชวงวัยและ เขาถึงกลุมเปาหมายทุกชวงวัย เปนการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตทั้งในหองสมุดและพื้นที่ชุมชน 3. เพื่อเปนการประชาสัมพันธงานการศึกษาตามอัธยาศัยของหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินในสังกัด ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหินใหเปนที่รูจักแกชุมชน 4. เปาหมายการดําเนินงานโครงการ เชิงปริมาณ - หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน จํานวน 1 แหง เชิงคุณภาพ 1) มุงปลูกฝงนิสัยรักการอานทุกชวงวัย สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต 2) เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปมีทักษะการอานและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู ดวยตนเอง และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

51 5. วิธีการดําเนินงาน งาน/โครงการ/กิจกรรม/ หลักสูตร กิจกรรมสงเสริมการอาน ภายในหองสมุดประชาชน อําเภอหัวหิน - บริการยืม-คืน - บริการการอานและศึกษา คนควาภายในหองสมุด - สมัครสมาชิกหองสมุด - กิจกรรมสงเสริมการอาน สําหรับเด็ก - กิจกรรมการพบกลุมของ นักศึกษา - กิจกรรมแนะนําการใช หองสมุด

เปาหมาย (คน)

พื้นที่ดําเนินการ

ระยะเวลาในการ ดําเนินงาน

งบประมาณ (บาท)

15,000

-หองสมุด ประชาชนอําเภอ หัวหิน

ต.ค 63 – ก.ย.64

-

- เพื่อตรวจสอบ และติดตามการ จัดกิจกรรมนําผลมาใชในการ พัฒนางานตอไป

-ติดตามผลและ ประเมินผล

หองสมุดประชาชน อําเภอหัวหิน

ต.ค.63 - ก.ย. 64

-

- เพื่อนําผลการจัดกิจกรรมไปใช ในการพัฒนางานตอไป

บรรณารักษ หองสมุดประชาชน หองสมุด อําเภอหัวหิน ประชาชนอําเภอ หัวหิน

ต.ค.63 - ก.ย. 64

-

52 6. วงเงินงบประมาณ ไมใชงบประมาณ 7. แผนการใชจายงบประมาณ กิจกรรมหลัก

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 (ต.ค.– ธ.ค. 63) (ม.ค. – มี.ค.64) (เม.ย.– มิ.ย.64)

ไตรมาส 4 (ก.ค.– ต.ค. 64)

1. การวางแผนดําเนินงาน - ประชุมชี้แจง - เสนอโครงการเพื่อ ขออนุมัติ

-



-

2. การดําเนินงานตามแผน กิจกรรมสงเสริมการอาน ภายในหองสมุดประชาชน อําเภอหัวหิน - บริการยืม-คืน - บริการการอานและศึกษา คนควาภายในหองสมุด - สมัครสมาชิกหองสมุด - กิจกรรมสงเสริมการอาน สําหรับเด็ก - กิจกรรมการพบกลุมของ นักศึกษา - กิ จ ก รรม แนะ นํ าก าร ใ ช หองสมุด

-



-

-

3. การประเมินผลกิจกรรม

-



-

-

4. รายงานผลและสรุปผล

-



-

-

-

8. ผูรับผิดชอบโครงการ 8.1 นางสาวสิริลักษณ มีเชื้อ บรรณารักษปฏิบัติการหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน 8.2 นางสาวธนัชพร ไชยนา ครู ศรช. 8.3 ครูอาสาสมัคร ครู กศน. ตําบล และครู ศรช. 9. เครือขาย 9.1 หนวยงานสถานศึกษาในพืน้ ที่อําเภอหัวหิน 9.2 คณะกรรมการสถานศึกษา 9.3 ผูนําชุมชน

53 10. โครงการที่เกี่ยวของ 10.1 โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยพัฒนาหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต ประจําปงบประมาณ 2564 10.2 โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ แบงปนรูแบงปนน้ําใจ ตามวิถีเกษตรธรรมชาติสูความพอเพียง ประจําปงบประมาณ 2564 10.3 โครงการหองสมุดเคลื่อนที่สรางรอยยิ้มสูชุมชน ประจําปงบประมาณ 2564 10.4 โครงการวันเด็กแหงชาติ พัฒนาเยาวชนจิตอาสาสูเด็กไทยวิถีใหม เดินตามรอยเทาพอขอเปนนักอาน ประจําปงบประมาณ 2564 10.5 โครงการปนหนังสือสูพนื้ ที่หางไกลใหนองอาน ประจําปงบประมาณ 2564 10.6 โครงการเรียนรูตามอัธยาศัยไปกับหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ประจําปงบประมาณ 2564 10.7 โครงการอบรมใหความรูการใชสื่อและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาครูและบุคลากรของ กศน.อําเภอหัวหิน ใน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแนววิถีใหม (New Normal) ประจําปงบประมาณ 2564 11. ผลลัพธ (Outcome) 11.1 เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป มีทักษะการอานและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรูดวยตนเองและ เชื่อมโยงความรูใหมไดอยางเปนระบบสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตและอยูในสังคมไดอยางมีความสุข 12. ดัชนีชี้วัดผลสําเร็จของโครงการ 12.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 1) เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป เขารวมกิจกรรมจํานวนไมต่ํากวา 15,000 คน 2) รอยละ 80 ของกลุมเปาหมายมีความพึงพอใจในการเขารวมกิจกรรมในระดับดีขึ้นไป 12.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ (Outcome) 1) กลุมเปาหมายไดรับการปลูกฝงนิสัยรักการอาน 2) กลุมเปาหมายนําความรูและประสบการณที่ไดรับไปใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิต

13. การติดตามและประเมินผลโครงการ 13.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 13.2 รายงานผลการจัดกิจกรรม

54 โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ แบงปนรูแบงปนน้ําใจ ตามวิถีเกษตรธรรมชาติสูความพอเพียง 2564 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ ................................................................. 1. สอดคลองกับนโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน 1.1 สอดคลองกับยุทธศาสตร 20 ป (พ.ศ.2561-2580) ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน 1.2 สอดคลองกับแผนการศึกษาแหงชาติ (2560-2579) ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู 1.3 สอดคลองกับภารกิจตอเนื่อง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรียนรู 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พั ฒ นาแหล ง การเรี ย นรู ที่ มี บ รรยากาศและสภาพแวดล อ มที่ เ อื้ อ ต อ การอ า นและพั ฒ นา ศักยภาพการเรียนรูใหเกิดขึ้นในสังคมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวางและทั่วถึง เชน พัฒนาหองสมุดประชาชน ทุกแหงใหมีการบริการที่ทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขายสง เสริม การอาน จัดหนวยบริการเคลื่อนที่พรอมอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลาย ใหบริการกับประชาชนในพื้นที่ตาง ๆ อยางทั่วถึง สม่ําเสมอ รวมทั้ง เสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่อ อุปกรณเพื่อสนับสนุนการอานและการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการอานอยางหลากหลาย 1.5 ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ที่มีแหลงเรียนรูอื่นๆ เพื่อสงเสริมการจัด การศึกษานอกระบบและการศึ กษาตามอั ธยาศั ยใหมีรู ปแบบที่ หลากหลาย และตอบสนองความต องการของ ประชาชน เชน พิพิธภัณฑ ศูนยเรียนรู แหลงโบราณคดี หองสมุด เปนตน 1.4 สอดคลองกับพันธกิจของสํานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ พันธกิจขอ 5 จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสรางสังคมแหงการ เรียนรูตลอดชีวิต 1.5 สอดคลองกับพันธกิจของ กศน.อําเภอหัวหิน พันธกิจขอที่ 1 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีคุณภาพ เทาเทียมกัน เนน ผูเรียนเปนสําคัญ พันธกิจขอที่ 4 สงเสริม สนับสนุน และประสานการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย ในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิต 1.6 สอดคลองกับตัวมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูรับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย 1.1 ผูรับบริการมีความรูทักษะ หรือประสบการณ สอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการ หรือ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

55 มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.1 การกําหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.2 ผูจดั กิจกรรมมีความรู ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.3 สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.4 ผูรับบริการมีความพึงพอใจตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เนนการมีสวนรวม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.5 การกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การสงเสริม สนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรู 2. หลักการและเหตุผล โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ แบง ปนรูแบง ปน น้ําใจ ตามวิถีเกษตรธรรมชาติสูความพอเพียง 2564 จั ด ขึ้ น เพื่ อ ให เ ยาวชนและประชาชนทั่ วไป ได มี โ อกาสเข า ร ว มโครงการได รั บ ความรู แ ละเพิ่ มโอกาสทาง การศึกษา โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อพัฒนาพื้นที่ของหองสมุดใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชนและ พัฒนารูปแบบกิจกรรมตาง ๆ ของหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินใหมีกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อกระตุนให เด็กเยาวชน และประชาชนทั่วไปเห็นความสําคัญของหองสมุด ศู น ย ก ารศึ ก ษานอกระบบและการศึ กษาตามอั ธยาศั ย อํ า เภอหั ว หิ น เป น สถานศึ ก ษาหนึ่ ง ที่ ส ง เสริม สนับสนุนการศึกษาตามอัธยาศัยในรูปแบบตาง ๆ ปจจุบันเราอยูในภาวะความเสี่ยงดานสุขภาพอยางนาเปน หวงเนื่องจากเราบริโภค อาหาร พืช ผัก ผลไม ที่ไมปลอดภัย หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินจึงได จัด ทํ า โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ แบง ปน รูแบง ปน น้ําใจ ตามวิถีเกษตรธรรมชาติสูความพอเพียง 2564 เพื่อ พัฒ นาหองสมุดใหเปนแหลงเรียนรูสําหรับชุมชนและกระตุนใหเด็กเยาวชน และประชาชนเห็นคุณคาและ ความสําคัญของการดูแลรักษาสุขภาพสามารถปฏิบัติไ ดจริงในชีวิตประจําวัน เปนการสงเสริมกิจกรรมทาง สุขภาพที่มีความหลากหลายวิธีควบคูกันไปกับการสงเสริมอานจะชวยสรางโอกาสทางความรูความคิดและมี สุขภาพกายที่แข็งแรงปลอดภัยจากโรคตาง ๆ 3. วัตถุประสงค 1. เพื่อพัฒนาพื้นที่หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินใหเปนแหลงเรียนรูของชุมชน 2. เพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในกลุมเปาหมายทุกชวงวัย เปนการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตใน พื้นที่ชุมชน 3. เพื่อสงเสริมใหชุมชนและประชาชนทั่วไปมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกผักชนิดตางๆ และ สามารถนําไปปฏิบัติไดจริงในชีวิตประจําวัน

56 4. เปาหมาย 4.1 เชิงปริมาณ หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน จํานวน 1 แหง 4.2 เชิงคุณภาพ 1) มุงปลูกฝงนิสัยรักการอานความรูเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ของคนในชุมชน 2) เด็กเยาวชน และประชาชนทั่วไปไดประโยชนจากการอานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับวิธีการปลูก ผักชนิดตางๆ และสามารถนําไปปฏิบัติไดจริงในชีวิตประจําวัน

57

58 5. วิธีดําเนินการ กิจกรรมหลัก

วัตถุประสงค

1. การวางแผน ดําเนินงาน - ประชุมชี้แจง - เสนอโครงการ เพื่อขออนุมัติ

- เพื่อใหการ ดําเนินงานมี ประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผล

2. การดําเนินงานตาม

1. เพื่อพัฒนาพื้นที่

แผน

หองสมุดประชาชน

2.1 ดําเนินโครงการ

อําเภอหัวหินใหเปน

ปลูกผักปลอดสารพิษ

แหลงเรียนรูของ

แบงปนรูแบงปนน้ําใจ

ชุมชน

ตามวิถเี กษตรธรรมชาติ 2. เพื่อจัดกิจกรรม สูความพอเพียง 2564

สงเสริมการอานใน กลุมเปาหมายทุก ชวงวัย เปนการ สงเสริมการเรียนรู ตลอดชีวิตในพื้นที่ ชุมชน 3. เพื่อสงเสริมให ชุมชนและ ประชาชนทั่วไปมี ความรูความเขาใจ เกี่ยวกับวิธีการปลูก ผักชนิดตางๆ และ สามารถนําไป ปฏิบัติไดจริงใน ชีวิตประจําวัน

กลุม

เปาหมาย

เปาหมาย

(คน)

- ผูบริหาร - บรรณารักษ หองสมุดประชาชน อําเภอหัวหิน - ครู กศน.ตําบล - ครูอาสาสมัคร และครู ศรช.

15

กศน.อําเภอหัวหิน

1 แหง

หองสมุดประชาชน

พื้นที่ดําเนินการ

อําเภอหัวหิน

ระยะเวลา ต.ค. 62

งบ ประมาณ

59 5. วิธีดําเนินการ (ตอ) กิจกรรมหลัก 3. การประเมินผลกิจกรรม

กลุม

เปาหมาย

เปาหมาย

(คน)

- เพื่อตรวจสอบ

- คณะกรรมการ

1

และติดตามการ

ติดตามผลและ

จัดกิจกรรมนําผล

ประเมินผล

วัตถุประสงค

พื้นที่ดําเนินการ หองสมุดประชาชน

ระยะเวลา

งบ ประมาณ

ต.ค.63 - ก.ย. 64

-

ต.ค.63 - ก.ย. 64

-

อําเภอหัวหิน

มาใชในการ พัฒนางานตอไป 4. รายงานผลและสรุปผล

- เพื่อนําผลการ

บรรณารักษ

จัดกิจกรรมไปใช

หองสมุด

ในการพัฒนางาน

ประชาชนอําเภอ

ตอไป

หัวหิน

1

หองสมุดประชาชน อําเภอหัวหิน

60 6. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ไมใชงบประมาณ

7. แผนการใชจายงบประมาณ กิจกรรมหลัก

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

(ต.ค.– ธ.ค. 63) (ม.ค. – มี.ค.64) (เม.ย.– มิ.ย.64) (ก.ค.– ก.ย. 64)

1. การวางแผนดําเนินงาน - ประชุมชี้แจง



-

-

-

3. การประเมินผลกิจกรรม

-



-



4. รายงานผลและสรุปผล

-



-



- เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ

8. ผูรับผิดชอบโครงการ 8.1 นางสาวสิริลักษณ มีเชื้อ

บรรณารักษปฏิบัติการหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน

8.2 นางสาวธนัชพร ไชยนา

ครู ศรช.

8.3 ครูอาสาสมัคร ครู กศน. ตําบล และครู ศรช. 9. เครือขาย 9.1 หนวยงานสถานศึกษาในพืน้ ที่อําเภอหัวหิน 9.2 คณะกรรมการสถานศึกษา 9.3 ผูนําชุมชน 10. โครงการที่เกี่ยวของ 10.1 โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยพัฒนาหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต ประจําปงบประมาณ 2564 10.2 โครงการหองสมุดเคลื่อนที่สรางรอยยิ้มสูชุมชน ประจําปงบประมาณ 2564 10.3 โครงการวันเด็กแหงชาติ พัฒนาเยาวชนจิตอาสาสูเด็กไทยวิถีใหม เดินตามรอยเทาพอขอเปนนักอาน ประจําปงบประมาณ 2564 10.4 โครงการปนหนังสือสูพ ื้นที่หางไกลใหนองอาน ประจําปงบประมาณ 2564 10.5 โครงการเรียนรูตามอัธยาศัยไปกับหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ประจําปงบประมาณ 2564

61 10.6 โครงการอบรมใหความรูการใชสื่อและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาครูและบุคลากรของ กศน.อําเภอหัวหิน ใน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแนววิถีใหม (New Normal) ประจําปงบประมาณ 2564 11. ผลลัพธ (Outcome) 11.1 เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป มีทักษะการอานและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรูดวยตนเองและ เชื่อมโยงความรูใหมไดอยางเปนระบบสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตและอยูในสังคมไดอยางมีความสุข 12. ดัชนีชี้วัดผลสําเร็จของโครงการ 12.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 1) เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป เขารวมกิจกรรมจํานวนไมต่ํากวา 300 คน 2) รอยละ 80 ของกลุมเปาหมายมีความพึงพอใจในการเขารวมกิจกรรมในระดับดีขึ้นไป 12.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ (Outcome) 1) กลุมเปาหมายไดรับการปลูกฝงนิสัยรักการอาน 2) กลุม เปาหมายนําความรูและประสบการณที่ไดรับไปใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิต

13. การติดตามและประเมินผลโครงการ 13.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 13.2 รายงานผลการจัดกิจกรรม

62 โครงการปนหนังสือสูพื้นที่หางไกลใหนอ งอาน ประจําปงบประมาณ 2564 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ ................................................................. 1. สอดคลองกับนโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน 1.1 สอดคลองกับยุทธศาสตร 20 ป (พ.ศ.2561-2580) ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน 1.2 สอดคลองกับแผนการศึกษาแหงชาติ (2560-2579) ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู 1.3 สอดคลองกับภารกิจตอเนื่อง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรียนรู 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พั ฒ นาแหล ง การเรี ย นรู ที่ มี บ รรยากาศและสภาพแวดล อ มที่ เ อื้ อ ต อ การอ า นและพั ฒ นา ศักยภาพการเรียนรูใหเกิดขึ้นในสังคมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวางและทั่วถึง เชน พัฒนาหองสมุดประชาชน ทุกแหงใหมีการบริการที่ทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขายสง เสริม การอาน จัดหนวยบริการเคลื่อนที่พรอมอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลาย ใหบริการกับประชาชนในพื้นที่ตาง ๆ อยางทั่วถึง สม่ําเสมอ รวมทั้ง เสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่อ อุปกรณเพื่อสนับสนุนการอานและการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการอานอยางหลากหลาย 1.5 ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ที่มีแหลงเรียนรูอื่นๆ เพื่อสงเสริมการจัด การศึกษานอกระบบและการศึ กษาตามอั ธยาศั ยใหมีรู ปแบบที่ หลากหลาย และตอบสนองความต องการของ ประชาชน เชน พิพิธภัณฑ ศูนยเรียนรู แหลงโบราณคดี หองสมุด เปนตน 1.4 สอดคลองกับพันธกิจของสํานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ พันธกิจขอ 5 จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสรางสังคมแหงการ เรียนรูตลอดชีวิต 1.5 สอดคลองกับพันธกิจของ กศน.อําเภอหัวหิน พันธกิจขอที่ 1 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีคุณภาพ เทาเทียมกัน เนน ผูเรียนเปนสําคัญ พันธกิจขอที่ 4 สงเสริม สนับสนุน และประสานการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย ในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิต 1.6 สอดคลองกับตัวมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูรับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย

63 1.1 ผูรับบริการมีความรูทักษะ หรือประสบการณ สอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการ หรือ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.1 การกําหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.2 ผูจัดกิจกรรมมีความรู ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.3 สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.4 ผูรับบริการมีความพึงพอใจตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เนนการมีสวนรวม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.5 การกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การสงเสริม สนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรู 2. หลักการและเหตุผล การที่จะพัฒ นาเยาวชนใหเปน คนดีมีคุณธรรมนั้น เปนเรื่องที่จําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองสง เสริมเด็กและ เยาวชนทุกเภททุกวัยไดรับโอกาสทางการเรียนรูอยางทั่วถึงโดยเฉพาะเด็กในพื้นที่หางไกลยังมีความขาดแคลน สื่อหนังสืออยูเปจํานวนมากโดยในพื้นที่ของอําเภอหัวหินในเขต พื้นที่ตําบลบึงนคร และตําบลหวยสัตวใหญ ยัง มีโรงเรียนที่ยังขาดแคลนหนังสืออันเปนสื่อการเรียนรูและเพิ่มศักยภาพของเด็กและเยาวชนในรูปแบบตางๆ และตามที่สํานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ ตามหนังสือที่ ศธ.0210.44/1689 ลงวันที่ 30 กันยายน 2563 ไดมีหนังสือแจงใหสถานศึกษาทุกแหงจัดกิจกรรมเชิญชวนบริจาคหนังสือมีคา (หนังสือนิทานสมุดภาพ หนังสือเสริมความรูทั่วไป) ระหวางวันที่ 29 กันยายน 2563 ถึง 31 ตุลาคม 2563 เนื่องในโอกาสครบ 120 ป วันคลายวัน พระราชสมภพสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี แลวใหดําเนินการคัดแยกหนังสือสําหรับ เด็ก และประสานสง ต อใหกั บ โรงเรียนตํ ารวจตระเวนชายแดน โรงเรียนประถมศึก ษามัธยมศึก ษาในถิ่ น ทุรกันดารในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ นั้น ศู น ย ก ารศึ ก ษานอกระบบและการศึ กษาตามอั ธยาศั ย อํ า เภอหั ว หิ น เป น สถานศึ ก ษาหนึ่ ง ที่ ส ง เสริม สนับสนุนและรวมสรางการเรียนรูตลอดชีวิตรวมทั้งการดําเนินกิจกรรมของศูนยการเรียนและแหลงการเรียนรู อื่น ๆ ในรูปแบบตางๆ และมีเปาหมายที่เนนใหเยาวชนและประชาชนทั่วไป ไดรับโอกาสทางการศึกษาใน รูปแบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางทั่วถึงในทุกพื้นที่ หองสมุดประชาชนอําเภอ หัวหินภายใตสังกัดของ กศน.อําเภอหัวหิน จึงไดจัดทําโครงการปนหนังสือสูพื้นที่หางไกลใหนองอาน ประจําป งบประมาณ 2564 ขึ้น เพื่อทําการรับบริจาคหนังสือความรูตางๆ ที่เปนประโยชนสําหรับเด็กจากประชาชน ทั่วไปโดยการประชาสัมพันธผานชองทางสื่อตาง ๆ เพื่อคัดเลือกหนังสือดีและมีประโยชนใหแกโรงเรียนในเขต พื้นที่ตําบลบึงนคร และตําบลหวยสัตวใหญ เพื่อใหเด็กและเยาวชนไดมีสื่อในการเรียนรู และเติบโตขึ้นเปน ทรัพยากรบุคคลที่ดีมีคุณภาพตอไป

64 3. วัตถุประสงค 3.1 เพื่อรับบริจาคหนังสือดีและมีคุณคาสงตอใหแกโรงเรียนที่ขาดแคลน 3.2 เพื่อมอบหนังสือที่เปนสื่อการเรียนรูสําหรับเด็กในพื้นที่หางไกลสงเสริมใหเด็กเยาวชนมีนิสัย รักการอาน 3.3 เพื่อสงเสริมการอานใหเหมาะสมกับทุกชวงวัยของเด็ก เปนการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ในพืน้ ที่ชุมชน 4. เปาหมาย 4.1 เชิงปริมาณ กลุมเปาหมายโรงเรียนในเขต พื้นที่ตําบลบึงนคร และตําบลหวยสัตวใหญ จํานวน 10 แหง 4.2 เชิงคุณภาพ 1) มุงปลูกฝงนิสัยรักการอานทุกชวงวัย สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต 2) เด็กเยาวชนมีทักษะการอานและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรูดวยตนเอง และสามารถพัฒนา คุณภาพชีวิตใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

65 5. วิธีดําเนินการ กิจกรรมหลัก

วัตถุประสงค

1. การวางแผน ดําเนินงาน - ประชุมชี้แจง - เสนอโครงการ เพื่อขออนุมัติ

- เพื่อใหการ ดําเนินงานมี ประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผล

กลุม เปาหมาย

- ผูบริหาร - บรรณารักษ หองสมุด ประชาชนอําเภอ หัวหิน - ครู กศน.ตําบล - ครูอาสาสมัคร และครู ศรช. 2. การดําเนินงาน 1. เพื่อรับบริจาค 1.โรงเรียน ตชด. ตามแผน หนังสือดีและมี บานแพรกตะครอ 2.1 จัดกิจกรรม คุณคาสงตอใหแก 2. ศูนยพัฒนาเด็ก สงเสริมการอาน โรงเรียนที่ขาด เล็กบาน โครงการปนหนังสือสู แคลน ทาไมลาย พื้นที่หางไกลใหนอง 2. เพื่อมอบ 3. ศูนยพัฒนาเด็ก อาน ประจําป หนังสือที่เปนสื่อ เล็กบานหวยไคร งบประมาณ 2564 การเรียนรูสําหรับ 4. โรงเรียนบาน หวยไคร เด็กในพื้นที่ หางไกลสงเสริม 5. โรงเรียน ใหเด็กเยาวชนมี บานเนินพะยอม นิสัยรักการอาน 6. โรงเรียน 3. เพื่อสงเสริม อานันท การอานให 7. โรงเรียน ตชด. เหมาะสมกับทุก นเรศวรปาละอู ชวงวัยของเด็ก 8. ศูนยเด็กเล็ก เปนการสงเสริม องคการบริหาร การเรียนรูตลอด สวนตําบลหวย ชีวิตในพื้นที่ชุมชน สัตวใหญ 9. โรงเรียน นเรศวรหวยผึ้ง 10. โรงเรียน ตชด.บานคลอง นอย

เปาหมาย (คน) 15

10 แหง

พื้นที่ดําเนินการ กศน.อําเภอหัวหิน

ระยะเวลา ต.ค. 63

1.โรงเรียน ตชด. 20-21 ต.ค. บานแพรกตะครอ ตําบล 2563 บึงนคร 2. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบาน ทาไมลาย ตําบลบึงนคร 3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบาน หวยไคร ตําบลบึงนคร 4. โรงเรียนบาน หวยไคร ตําบลบึงนคร 5. โรงเรียนบาน เนินพะยอม ตําบลบึงนคร 6. โรงเรียนอานันท ตําบล หวยสัตวใหญ 7. โรงเรียน ตชด. นเรศวร ปาละอู ตําบลหวยสัตวใหญ 8. ศูนยเด็กเล็กองคการ บริหารสวนตําบล หวยสัตวใหญ 9. โรงเรียนนเรศวร หวยผึ้ง ตําบล หวยสัตวใหญ 10. โรงเรียน ตชด. บานคลองนอย ตําบล หวยสัตวใหญ

งบ ประมาณ

66 5. วิธีดําเนินการ (ตอ) กิจกรรมหลัก 3. การประเมินผล กิจกรรม

วัตถุประสงค

กลุม เปาหมาย

- เพื่อตรวจสอบ -คณะกรรมการ และติดตามการ ติดตามผลและ จัดกิจกรรมนํา ประเมินผล ผลมาใชในการ พัฒนางานตอไป

4. รายงานผลและสรุปผล - เพื่อนําผลการ จัดกิจกรรมไปใช ในการพัฒนา งานตอไป

บรรณารักษ หองสมุด ประชาชน อําเภอหัวหิน

เปาหมาย พื้นที่ดําเนินการ (คน)

ระยะเวลา

งบ ประมาณ

1

หองสมุดประชาชน อําเภอหัวหิน

ต.ค.63

-

1

หองสมุดประชาชน อําเภอหัวหิน

ต.ค. 63

-

67 6. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ไมใชงบประมาณ 7. แผนการใชจายงบประมาณ กิจกรรมหลัก

ไตรมาส 1 (ต.ค.– ธ.ค. 63)

ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ม.ค. – มี.ค.64) (เม.ย.– มิ.ย.64) (ก.ค.– ก.ย. 64)

1. การวางแผนดําเนินงาน - ประชุมชี้แจง - เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ - ประสานหนวยงานสถานศึกษา 2. จัดกิจกรรมสงเสริมการอานโครงการ ปนหนังสือ สูพื้นที่หางไกลใหนองอาน ประจําป งบประมาณ 2564 3. การประเมินผลกิจกรรม



-

-

-



-

-

-



-

-

-

4. รายงานผลและสรุปผล



-

-

-

8. ผูรับผิดชอบโครงการ 8.1 นางสาวสิริลักษณ มีเชื้อ บรรณารักษปฏิบัติการหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน 8.2 นางสาวธนัชพร ไชยนา ครู ศรช. 8.3 ครูอาสาสมัคร ครู กศน. ตําบล และครู ศรช. 9. เครือขาย 9.1 หนวยงานสถานศึกษาในพื้นที่ตําบลบึงนครและตําบลหวยสัตวใหญ 9.2 คณะกรรมการสถานศึกษา 9.3 ผูนําชุมชน 10. โครงการที่เกี่ยวของ 10.1 โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยพัฒนาหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินใหเปนแหลงเรียนรูตลอด ชีวิต ประจําปงบประมาณ 2564 10.2 โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ แบงปนรูแบงปนน้ําใจ ตามวิถีเกษตรธรรมชาติสูความพอเพียง ประจําปงบประมาณ 2564 10.3 โครงการหองสมุดเคลื่อนที่สรางรอยยิ้มสูชุมชน ประจําปงบประมาณ 2564 10.4 โครงการวันเด็กแหงชาติ พัฒนาเยาวชนจิตอาสาสูเด็กไทยวิถีใหม เดินตามรอยเทาพอขอเปนนัก อาน ประจําป งบประมาณ 2564 10.5 โครงการเรียนรูตามอัธยาศัยไปกับหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ประจําปงบประมาณ 2564

68 10.6 โครงการอบรมใหความรูการใชสื่อและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาครูและบุคลากรของ กศน.อําเภอ หัวหิน ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแนววิถีใหม (New Normal) ประจําป งบประมาณ 2564 11. ผลลัพธ (Outcome) 11.1 เด็กและเยาวชนไดรับสื่อการเรียนรูที่หลากหลายสามารถนําไปศึกษาเรียนรูดวยตนเองและ เชื่อมโยงความรูใหมไดอยางเปนระบบสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตและอยูในสังคมไดอยางมีความสุข 12. ดัชนีชี้วัดผลสําเร็จของโครงการ 12.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 1) เด็กเยาวชนกลุมเปาหมายโรงเรียนในเขต พื้นที่ตําบลบึงนคร และตําบลหวยสัตวใหญ จํานวน 10 แหง ไดรับสื่อความรูที่เปนประโยชนสําหรับเด็ก 2) รอยละ 80 ของกลุมเปาหมายมีความพึงพอใจในการเขารวมกิจกรรมในระดับดีขึ้นไป 12.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ (Outcome) 1) กลุมเปาหมายไดรับการปลูกฝงนิสัยรักการอาน 2) กลุมเปาหมายนําความรูและประสบการณที่ไดรับไปใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 13. การติดตามและประเมินผลโครงการ 13.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 13.2 รายงานผลการจัดกิจกรรม 13.3 แบบตอบรับหนังสือบริจาค

69 โครงการหองสมุดเคลื่อนที่สรางรอยยิ้มสูชุมชน ประจําปงบประมาณ 2564 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ ................................................................. 1. สอดคลองกับนโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน 1.1 สอดคลองกับยุทธศาสตร 20 ป (พ.ศ.2561-2580) ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน 1.2 สอดคลองกับแผนการศึกษาแหงชาติ (2560-2579) ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู 1.3 สอดคลองกับภารกิจตอเนื่อง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรียนรู 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พั ฒ นาแหล ง การเรี ย นรู ที่ มี บ รรยากาศและสภาพแวดล อ มที่ เ อื้ อ ต อ การอ า นและพั ฒ นา ศักยภาพการเรียนรูใหเกิดขึ้นในสังคมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวางและทั่วถึง เชน พัฒนาหองสมุดประชาชน ทุกแหงใหมีการบริการที่ทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขายสง เสริม การอาน จัดหนวยบริการเคลื่อนที่พรอมอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลาย ใหบริการกับประชาชนในพื้นที่ตาง ๆ อยางทั่วถึง สม่ําเสมอ รวมทั้ง เสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่อ อุปกรณเพื่อสนับสนุนการอานและการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการอานอยางหลากหลาย 1.5 ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ที่มีแหลงเรียนรูอื่นๆ เพื่อสงเสริมการ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีรูปแบบที่ หลากหลาย และตอบสนองความตองการของ ประชาชน เชน พิพิธภัณฑ ศูนยเรียนรู แหลงโบราณคดี หองสมุด เปนตน 1.4 สอดคลองกับพันธกิจของสํานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ พันธกิจขอ 5 จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสรางสังคมแหงการ เรียนรูตลอดชีวิต 1.5 สอดคลองกับพันธกิจของ กศน.อําเภอหัวหิน พันธกิจขอที่ 1 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีคุณภาพ เทาเทียมกัน

เนน

ผูเรียนเปนสําคัญ พันธกิจขอที่ 4 สงเสริม สนับสนุน และประสานการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย ในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิต

70 1.6 สอดคลองกับตัวมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูรับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย 1.1 ผูรับบริการมีความรูทักษะ หรือประสบการณ สอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการ หรือ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.1 การกําหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.2 ผูจัดกิจกรรมมีความรู ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.3 สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.4 ผูรับบริการมีความพึงพอใจตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เนนการมีสวนรวม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.5 การกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การสงเสริม สนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรู 2. หลักการและเหตุผล โครงการหองสมุดเคลื่อนที่สรางรอยยิ้มสูชุมชน ประจําปงบประมาณ 2564 เปนโครงการตอเนื่องมาจาก โครงการหองสมุดเคลื่อนที่สรางรอยยิ้มสูชุมชนในปงบประมาณ 2561 ถึงปงบประมาณ 2563 ซึ่งไดดําเนิน กิจกรรมเพื่อเพิ่มและขยายโอกาสอัตราการอานในทองถิ่นของอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ เพื่อให เยาวชนและประชาชนทั่ ว ไป ได มี โ อกาสเข า ร ว มโครงการได รั บ ความรู แ ละโอกาสทางการศึ ก ษา โดยมี วัตถุประสงคหลักเพื่อใหบริการความรูในรูปแบบหองสมุดเคลื่อนที่ในลักษณะเชิงรุก เปนการประชาสัมพันธ กิจกรรมของหองสมุดและสรางความสัมพันธอันดีระหวางสวนราชการกับประชาชนในพื้นที่ ตลอดจนรับทราบ ปญหาความตองการการรับบริการการอานในแตละพื้นที่ของชุมชน ศู น ย ก ารศึ ก ษานอกระบบและการศึ กษาตามอั ธยาศั ย อํ า เภอหั ว หิ น เป น สถานศึ ก ษาหนึ่ ง ที่ ส ง เสริม สนับสนุนและประสานงานภาคีเครือขายในหนวยงานราชการตางๆ ในการมีสวนรวมจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิต รวมทั้งการดําเนินกิจกรรมของศูนยการเรียนและแหลง การเรียนรูอื่น ๆ ในรูปแบบตางๆ และมีเปาหมายที่เนน ใหเ ยาวชนและประชาชนทั่วไป ไดรับโอกาสทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สงเสริมใหมีการสรางบรรยากาศ และ สิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการอานใหเกิดขึ้นในสังคมไทย โดยสนับสนุนการพัฒนาแหลงการเรียนรูใหเกิดขึ้นอยาง

71 กวางขวางและทั่วถึงเขาถึงแหลงชุมชนในลักษณะเชิงรุก ดวยเหตุนี้หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ในสังกัด ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน จึงไดจัดทําโครงการหองสมุดเคลื่อนที่สราง รอยยิ้มสูชุมชนตอเนื่องจากปงบประมาณ 2561 ถึงปงบประมาณ 2564 เพื่อตอยอดการสรางความสุ ขและ รอยยิ้มใหแกประชาชนในชุมชนและทองถิ่น ของชาวอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ โดยการจัดกิจกรรม สงเสริมการอานในรูปแบบตางๆ ที่หลากหลายเพื่อเพิ่มอัตราการอานใหทั่วถึงทุกพื้นที่สรางโอกาสการเรียนรู ของบุคคลทุกเพศทุกวัยใหมีการเรียนรูตลอดชีวิต 3. วัตถุประสงค 1. เพื่อสงเสริมใหเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปมีทักษะและนิสัยรักการอาน 2. เพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานที่มีความหลากหลายเหมาะสมกับทุกชวงวัยและเขาถึงกลุมเปาหมายทุก ชวงวัย เปนการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตในพื้นที่ชุมชน 3. เพื่อเปนการประชาสัมพันธงานการศึกษาตามอัธยาศัยของหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินในสังกัดศูนย การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหินใหเปนที่รูจักแกชุมชน 4. เปาหมาย 4.1 เชิงปริมาณ เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป จํานวน 300 คน 4.2 เชิงคุณภาพ 1) มุงปลูกฝงนิสัยรักการอานทุกชวงวัย สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต 2) เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปมีทักษะการอานและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรูดวยตนเอง และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

72 5. วิธีดําเนินการ กิจกรรมหลัก

วัตถุประสงค

กลุม

เปาหมาย

เปาหมาย

(คน)

1. การวางแผน

- เพื่อใหการดําเนินงาน - ผูบริหาร

ดําเนินงาน

มีประสิทธิภาพและเกิด - บุคลากร

- ประชุมชี้แจง

ประสิทธิผล

- เสนอโครงการ

พื้นที่ดําเนินการ

ระยะเวลา

20

- กศน.อําเภอหัวหิน

ต.ค. 63

300

ตําบลหวยสัตวใหญ

ต.ค.63 – ก.ย. 64

กศน.อําเภอ หัวหิน

เพื่อขออนุมัติ - ประสานภาคี เครือขายหนวยงาน ที่เกี่ยวของ 2. การดําเนินงานตาม

1. เพื่อสงเสริมใหเด็ก

เด็กเยาวชน

แผน

เยาวชนและประชาชน

และประชาชน

ตําบลบึงนคร

ทั่วไป

ตําบลหนองพลับ

2.1 จัดกิจกรรมสงเสริม ทั่วไปมีทักษะและนิสัย การอานหองสมุด

รักการอาน

ตําบลหินเหล็กไฟ

เคลื่อนที่สรางรอยยิ้มสู

2. เพื่อจัดกิจกรรม

ตําบลทับใต

ชุมชน

สงเสริมการอานที่มี ความหลากหลาย เหมาะสมกับทุกชวงวัย และเขาถึง กลุมเปาหมายทุกชวง วัย เปนการสงเสริม การเรียนรูตลอดชีวิตใน พื้นที่ชุมชน 3. เพื่อเปนการ ประชาสัมพันธงาน การศึกษาตามอัธยาศัย ของหองสมุดประชาชน อําเภอหัวหินในสังกัด ศูนยการศึกษานอก ระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอําเภอหัว หินใหเปนที่รูจักแก ชุมชน

งบ ประมาณ -

73 5. วิธีดําเนินการ (ตอ) กิจกรรมหลัก

วัตถุประสงค

กลุม

เปาหมาย

เปาหมาย

(คน)

3. การประเมินผล

- เพื่อ

กิจกรรม

ตรวจสอบ และ ติดตามผลและ ติดตามการจัด

- คณะกรรมการ

พื้นที่ดําเนินการ

ระยะเวลา

งบ ประมาณ

5

กศน. อําเภอหัวหิน

ก.ย. 64

-

20

กศน. อําเภอหัวหิน

ก.ย. 64

-

ประเมินผล

กิจกรรมนําผล มาใชในการ พัฒนางาน ตอไป 4. รายงานผลและ

- เพื่อนําผลการ - บุคลากร กศน.

สรุปผล

จัดกิจกรรมไป ใชในการพัฒนา งานตอไป

อําเภอหัวหิน - คณะกรรมการ รายงานผลฯ

5

- คณะกรรมการ สถานศึกษา

3

74 6. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ - ไมใชงบประมาณ

7. แผนการใชจายงบประมาณ กิจกรรมหลัก

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

(ต.ค.– ธ.ค. 62) (ม.ค. – มี.ค.63) (เม.ย.– มิ.ย.63) (ก.ค.– ก.ย. 63)

1. การวางแผนดําเนินงาน - ประชุมชี้แจง - เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ



-

-

-









- ประสานภาคีเครือขายหนวยงานที่เกี่ยวของ

2. การดําเนินงานตามแผน - กิจกรรมสงเสริมการอานหองสมุดเคลื่อนที่ สรางรอยยิ้มสูชุมชน ณ ตําบลหวยสัตวใหญ ตําบลบึงนคร ตําบลหนองพลับ ตําบลหินเหล็ก ไฟ และตําบลทับใต

8. ผูรับผิดชอบโครงการ 8.1 นางสาวสิริลักษณ มีเชื้อ บรรณารักษปฏิบัติการ 8.2 นางสาวธนัชพร ไชยนา ครู ศรช. 8.3 ครูอาสาสมัคร ครู กศน. ตําบล และครู ศรช.

9. เครือขาย 9.1 หัวหนาสวนราชการประจําอําเภอ 9.2 คณะกรรมการสถานศึกษา 9.3 ผูนําชุมชน 9.4 องคการบริหารสวนตําบลในพื้นที่อําเภอหัวหิน 9.5 หนวยงานสถานศึกษาในพืน้ ที่อําเภอหัวหิน

75 10. โครงการที่เกี่ยวของ 10.1 โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยพัฒนาหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต ประจําป งบประมาณ 2564 10.2 โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ แบงปนรูแบงปนน้ําใจ ตามวิถีเกษตรธรรมชาติสูความพอเพียง ประจําป งบประมาณ 2564 10.3 โครงการปนหนังสือสูพ ื้นที่หางไกลใหนองอาน ประจําปงบประมาณ 2564 10.4 โครงการเรียนรูตามอัธยาศัยไปกับหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ประจําปงบประมาณ 2564 10.5 โครงการวันเด็กแหงชาติ พัฒนาเยาวชนจิตอาสาสูเด็กไทยวิถีใหม เดินตามรอยเทาพอขอเปนนักอาน ประจําป งบประมาณ 2564 10.6 โครงการอบรมใหความรูการใชสื่อและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาครูและบุคลากรของ กศน.อําเภอหัวหิน ใน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแนววิถีใหม (New Normal) ประจําปงบประมาณ 2564

11. ผลลัพธ (Outcome) 11.1 เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป มีทักษะการอานและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรูดวยตนเอง และเชื่อมโยงความรูใหมไดอยางเปนระบบสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตและอยูในสังคมไดอยางมีความสุข 12. ดัชนีชี้วัดผลสําเร็จของโครงการ 12.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 1) เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป เขารวมกิจกรรมจํานวนไมต่ํากวา 300 คน 2) รอยละ 80 ของกลุมเปาหมายมีความพึงพอใจในการเขารวมกิจกรรมในระดับดีขึ้นไป 12.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ (Outcome) 1) กลุมเปาหมายไดรับการปลูกฝงนิสัยรักการอาน 2) กลุมเปาหมายนําความรูและประสบการณที่ไดรับไปใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 13. การติดตามและประเมินผลโครงการ 13.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 13.2 รายงานผลการจัดกิจกรรม

76 โครงการวันเด็กแหงชาติ พัฒนาเยาวชนจิตอาสาสูเด็กไทยวิถีใหม เดินตามรอยเทาพอขอเปนนักอาน ประจําปพุทธศักราช 2564 ณ หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ ................................................................. 1. สอดคลองกับนโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน 1.1 สอดคลองกับยุทธศาสตร 20 ป (พ.ศ.2561-2580) ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน 1.2 สอดคลองกับแผนการศึกษาแหงชาติ (2560-2579) ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู 1.3 สอดคลองกับภารกิจตอเนื่อง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรียนรู 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พั ฒ นาแหล ง การเรี ย นรู ที่ มี บ รรยากาศและสภาพแวดล อ มที่ เ อื้ อ ต อ การอ า นและพั ฒ นา ศักยภาพการเรียนรูใหเกิดขึ้นในสังคมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวางและทั่วถึง เชน พัฒนาหองสมุดประชาชน ทุกแหงใหมีการบริการที่ทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขายสง เสริม การอาน จัดหนวยบริการเคลื่อนที่พรอมอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลาย ใหบริการกับประชาชนในพื้นที่ตาง ๆ อยางทั่วถึง สม่ําเสมอ รวมทั้ง เสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่อ อุปกรณเพื่อสนับสนุนการอานและการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการอานอยางหลากหลาย 1.5 ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ที่มีแหลงเรียนรูอื่นๆ เพื่อสงเสริมการจัด การศึกษานอกระบบและการศึ กษาตามอั ธยาศั ยใหมีรู ปแบบที่ หลากหลาย และตอบสนองความต องการของ ประชาชน เชน พิพิธภัณฑ ศูนยเรียนรู แหลงโบราณคดี หองสมุด เปนตน 1.4 สอดคลองกับพันธกิจของสํานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ พันธกิจขอ 5 จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสรางสังคมแหงการ เรียนรูตลอดชีวิต 1.5 สอดคลองกับพันธกิจของ กศน.อําเภอหัวหิน พันธกิจขอที่ 1 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีคุณภาพ เทาเทียมกัน ผูเรียนเปนสําคัญ

เนน

77 พันธกิจขอที่ 4 สงเสริม สนับสนุน และประสานการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย ในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิต 1.6 สอดคลองกับตัวมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูรับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย 1.1 ผูรับบริการมีความรูทักษะ หรือประสบการณ สอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการ หรือ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.1 การกําหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.2 ผูจดั กิจกรรมมีความรู ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.3 สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.4 ผูรับบริการมีความพึงพอใจตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เนนการมีสวนรวม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.5 การกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การสงเสริม สนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรู 2. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2553 มาตรา 6 การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้ง รางกาย และจิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมในการดํารงชีพ สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข มาตรา 7 ในกระบวนการเรียนรูตองมุงปลูกฝงจิตสํานึกที่ถูกตองเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รูจักรักษาและสงเสริมสิทธิ หนาที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความ เสมอภาค และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย มีความภาคภูมิใจในความเปนไทยรูจักรักษาผลประโยชนสวนรวมและ ของประเทศชาติ รวมทั้งสงเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และความรูอันเปนสากล ตลอดจนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีความสามารถในการประกอบ อาชีพ รูจักพึ่งตนเอง มีความริเริ่มสรางสรรค ใฝรูและเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่อง เด็กถือเปนทรัพยากรที่สําคัญยิ่งของประเทศชาติ และเพื่อเปนพลังสําคัญในการพัฒนาชาติบานเมืองให เจริญกาวหนาและมั่นคง ดังนั้นเพื่อกระตุนใหเด็กตระหนักถึงบทบาทอันสําคัญของตนเองทั่วโลกจึงไดมีการจัด

78 งานวัน เด็กแหงชาติเมื่อป พ.ศ.2498 ตามความเห็นขององคการสหประชาชาติ ซึ่ง ทางประเทศไทยก็ไดรับ ขอเสนอใหมีสวนรวมในการจัดงานวันเด็กแหงชาติขึ้นมา เพื่อสงเสริมใหประชาชนไดเห็นความสําคัญของเด็กๆ มากขึ้น อยางที่นานาประเทศกําลังทําอยู โดยนายวี เอ็ม กุลกานี ผูแทนองคกรสมาพันธเพื่อสวัสดิภาพเด็ก ระหวางประเทศไดติดตอผานมาทางกรมประชาสงเคราะห กระทรวงมหาดไทย และประเทศไทยก็ไ ดรับ ขอเสนอและเตรียมจัดงานวันเด็กแหงชาติขึ้น ในที่สุดที่ประชุมไดเห็นชอบเรื่องการจัดงานวันเด็กแหงชาติ จึงได นําเรื่องเสนอตอคณะรัฐมนตรี ตอมาเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ.2498 ไดมีมติคณะรัฐมนตรีรับหลักการจากที่ ประชุมใหมีจัดงานวันเด็กแหงชาติขึ้น โดยมอบหมายใหกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงศึกษาธิการรับไป ดําเนินการ ซึ่งกองสลากกินแบงรัฐบาลไดอนุมัติเงินสวนของคาใชจายในการดําเนินการจัดงาน จากการนําเรื่อง เขาสูที่ประชุม โดยคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมแหงชาติประเทศไทยมีงานเฉลิมฉลองวันเด็กแหงชาติเกิดขึ้น เปนครั้งแรก ในวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2498 ซึ่งตอมาทางราชการไดกําหนดวันจันทรแรกของเดือนตุลาคมของ ทุกปเปนวันเด็กแหงชาติ และจัดติดตอกันมาจนถึงป พ.ศ.2506 เกิดปญหาเกี่ยวกับการจัดงานวันเด็ก เพราะใน ประเทศไทยเดือนตุลาคมยังอยูในฤดูฝน มีฝนตกมากเด็ก ๆ ไมสะดวกในการมารวมงาน อีกอยาง วันจันทรเปน วันทํางานของผูปกครอง ทําใหไมสามารถพาเด็กๆไปรวมงานได และวันจันทรเปนวันที่มีการจราจรก็ติ ดขั ด มาก ที่ประชุมคณะกรรมการจัดงานวันเด็กแหงชาติ มีความเห็นพองตองกันวา สมควรที่จะเสนอเปลี่ยนวัน จัด งานวั น เด็ กแห ง ชาติ เป น วั น เสารที่ ส องของเดือ นมกราคม ซึ่ ง มี ค วามเหมาะสมและสะดวกสบายขึ้ น ทาง คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่คณะกรรมการจัดงานวันเด็กแหงชาติเสนอ จึงไดประกาศเปลี่ยนงานฉลองวัน เด็กแหงชาติจากวันจันทรแรกของเดือนตุลาคม มาเปนวันเสารที่สองของเดือนมกราคมตั้งแตบัดนั้นเปน ตนมา งานวันเด็กแหงชาติไดเริ่มจัดขึ้นมาใหมอีกครั้งใน พ.ศ.2508 จนถึงปจจุบัน ในป พุ ท ธศั ก ราช 2564 วั น เด็ ก แห ง ชาติ ต รงกั บ วั น เสาร ที่ 9 มกราคม 2564 โดย พลเอก ประยุ ท ธ จัน ทรโอชา นายกรัฐมนตรี ไดมอบคําขวัญ วันเด็กแหง ชาติ ป 2564 “เด็กไทยวิถีใ หม รวมไทยสรางชาติ ดวยภักดีมีคุณธรรม” เนื่องดวยตลอดป 2563 คนไทยตลอดจนทุกประเทศทั่วโลก ตางเผชิญกับสถานการณ การแพรระบาดของโรคโควิด-19 สงผลใหตองมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใชชีวิตตามแนวทางของชีวิ ต วิถีใหม หรือ New Normal ดังนั้น เด็กไทยในยุคปจจุบัน จึงถือเปนเด็กไทยวิถีใหม ที่กาวทันการเปลี่ยนแปลง ของโลก มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใชชีวิต ตลอดจนการศึกษาเลาเรียนใหสอดคลองกับสถานการณ ปจจุบัน เปน ยุคแหง การเรียนรูแบบไรขีดจํากัด ซึ่ง เด็กไทยจะตองมีภูมิคุมกันที่ดีเพื่อที่จะเผชิญหนา เรียนรู และรับมือกับสิ่งตางๆ ได ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน ไดตระหนักเล็งเห็นความสําคัญ ของ เด็กและเยาวชน ในการเตรียมความพรอมของการพัฒนาเด็ก ทั้งทางดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และ สติปญญาในทางสังคมของเด็กอันจะนําไปสูการสรางวินัย มีคุณธรรมจริยธรรมและมีจิตอาสาในการชวยเหลือ สังคมและชุมชนเพื่อใหอยูรวมกันอยางมีความสุข อีกทั้งเด็กและเยาวชนยังเปนทรัพยากรสําคัญอยางยิ่งในการ พัฒ นาชาติบานเมืองใหเจริญ รุง เรืองกาวหนาและมั่นคง และจะเปนผูที่จะตองเติบโตขึ้น เปนผูใหญ ในวัน ขางหนา เราจึง ควรสนับสนุน ใหเด็กและเยาวชนไดทํากิจกรรมและกลาแสดงออกตามความสามารถอยาง

79 สรางสรรค ปลูกฝงใหเด็กและเยาวชนตระหนักถึงความสําคัญของตนเอง รูจักหนาที่ของตนเอง อยูในระเบียบ วินัย มีจิตอาสาตอสวนรวม มีความรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และที่สําคัญคือยึดมั่นในสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และมีความเลื่อมใสการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข นอกจากนี้การสรางนิสัยรักการอานใหกับเด็กและเยาวชนถือเปนสวนหนึ่งที่เราไมควรจะละทิ้ง เพราะเด็กและเยาวชนจะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาสังคม ชุมชนและพัฒนาประเทศตอไป ดังนั้นผูใหญหรือ ผูที่มีสวนเกี่ยวของในสัง คมจะตองสง เสริมใหเด็กมีนิสัยรักการอานอยางสม่ําเสมอ เพราะการอานเปนการ แสวงหาความรูที่ครอบคลุมกิจกรรมหลายดาน เชน การรับรู การตระหนัก การพัฒนา การสนองตอบ และ การใชจินตนาการ เปนตน อันจะเปนประโยชนตอการเรียนรู และการดํารงชีวิตของเด็กและเยาวชนทั้งใน ปจจุบันและในอนาคต การจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอานถือเปนสวนสําคัญที่จะชวยขับเคลื่อนการปฏิรูป การเรียนการสอนไปสูการปฏิบัติใหเกิดผลเปนรูปธรรมเร็วขึ้นและทําใหการดําเนินการตามเจตนารมณของการ ขับเคลื่อนนโยบายและจุ ด เนนการดํ าเนินงานสํ านักงานสง เสริ มการศึก ษานอกระบบและการศึกษาตาม อั ธ ยาศั ย เป น ไปอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ด ว ยเหตุ นี้ ศู น ย ก ารศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย อําเภอหัวหิน จึงไดจัดโครงการวันเด็กแหงชาติ พัฒนาเยาวชนจิตอาสาสูเด็กไทยวิถีใหม เดินตามรอยเทา พอขอเปนนักอาน ประจําปพุทธศักราช 2564 ขึ้น ณ หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ถนนแนบเคหาสน ตําบลหัวหิน อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ 3. วัตถุประสงค 3.1 เพื่อใหเด็กและเยาวชนยึดมั่นในสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยและการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย 3.2 เพื่อกระตุนใหเด็กและเยาวชนไดตระหนักถึงความสําคัญของตนเองรูจักหนาที่เปนคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตอาสาในการชวยเหลือสังคมและชุมชน 3.3 เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู มีนิสัยรักการอาน รักการคนควา เกิดการใฝรู และนําไปสูการปฏิบัติในชีวิตประจําวัน 3.4 เพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวางหนวยงานสถานศึกษา ภาคีเครือขาย และชุมชน 4. เปาหมาย 4.1 เชิงปริมาณ เด็กในชุมชนศาลเจาพอเสือ จํานวน 7 คน

80 4.2 เชิงคุณภาพ 1) มุงปลูกฝงใหเด็กและเยาวชนทุกชวงวัย ไดมีความรู ความคิด กลาแสดงออกและมีคุณภาพชีวิตที่ดี 2) เด็กและเยาวชน มีพัฒนาการทั้งทางรางกาย อารมณ สังคม สติปญญา มีสุขภาพพลานามัยที่ สมบูรณ และหางไกลจากสิ่งเสพติด 3) เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนทุกชวงวัยใหมีทักษะกระบวนการแสวงหาความรู กลาคิดกลาแสดงออก รักการอานการเรียนรูทุกรูปแบบและพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง

81 5. วิธีดําเนินการ กิจกรรมหลัก

วัตถุประสงค

กลุม

เปาหมาย

พื้นที่

เปาหมาย

(คน)

ดําเนินการ

1.การวางแผนดําเนินงาน - เพื่อใหการดําเนินงาน

- ผูบริหาร

- ประชุมชี้แจง

มีประสิทธิภาพและเกิด

- บุคลากร

อําเภอ

- เสนอโครงการ

ประสิทธิผล

กศน.อําเภอ

หัวหิน

เพื่อขออนุมัติ

22

-กศน.

1. เพื่อใหเด็กยึดมั่นใน

เด็กในชุมชน

แผน

สถาบัน ชาติ ศาสนา

ศาลเจา

ประชาชน

2.1 จั ด โครงการวั น เด็ ก พระมหากษัตริยและ

พอเสือ

อําเภอ

แหงชาติ พัฒนาเยาวชน การปกครองระบอบ จิตอาสาสูเด็กไทยวิถีใหม ประชาธิปไตย เดิ น ตามรอยเท า พ อ ขอ 2 เพื่อกระตุนใหเด็กได เป น นั ก อ า น ประจํ า ป ตระหนักถึงความสําคัญ พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 6 4 ของตนเองรูจักหนาที่ จัดเปนกิจกรรมกลุมยอย เปนคนดี มีคุณธรรม เนื่ อ งจากเป น ช ว งการ จริยธรรม และจิตอาสา แพรระบาดของเชื้อไวรัส ในการชวยเหลือสังคม โคโรนา 2019 กิจกรรม และชุมชน ยอย ไดแก

3. เพื่อพัฒนาเด็กใหเปน

1. กิจกรรมอานตามรอย

บุคคลแหงการเรียนรู มี

พอ

นิสัยรักการอาน รักการ

2. กิจกรรมชมวิดีทัศน

คนควา เกิดการใฝรู

ประวัติวันเด็กแหงชาติ

และนําไปสูการปฏิบัติใน

3. กิจกรรมเกม Kahoot

ชีวิตประจําวัน

ตอบคําถามความรูเรื่อง

4. เพื่อสราง

วันเด็กแหงชาติและ

ความสัมพันธอันดี

ความรูเรื่อง COVID

ระหวางชุมชน

4. กิจกรรมเกมเปดแผน ปายมหาสนุก

งบ ประมาณ

ธ.ค. 63

-

9 ม.ค. 64

-

หัวหิน

2. การดําเนินงานตาม

2019

ระยะเวลา

8

หองสมุด

หัวหิน

82 กิจกรรมหลัก 3. การประเมินผล กิจกรรม

วัตถุประสงค

กลุม

เปาหมาย

พื้นที่

เปาหมาย

(คน)

ดําเนินการ

1

หองสมุด ประชาชน อําเภอหัว หิน

9 ม.ค. 64

1

หองสมุด

ม.ค. 64

4. รายงานผลและ

- ติดตามการจัดกิจกรรม - บรรณารักษ นําผลมาใชในการพัฒนา หองสมุด งานตอไป ประชาชน อําเภอ หัวหิน - เพื่อนําผลการจัด - บรรณารักษ

สรุปผล

กิจกรรมไปใชในการ

หองสมุด

ประชาชน

พัฒนางานตอไป

ประชาชน

อําเภอหัว

อําเภอหัวหิน

หิน

งบ

ระยะเวลา

ประมาณ

-

6. วงเงินงบประมาณ ไมใชงบประมาณ 7. แผนการใชจายงบประมาณ กิจกรรมหลัก 1. การวางแผนดําเนินงาน - ประชุมชี้แจง

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

(ต.ค.– ธ.ค. 62) (ม.ค. – มี.ค.63) (เม.ย.– มิ.ย.63) -



-

-



-

ไตรมาส 4 (ก.ค.– ต.ค. 63) -

- เสนอโครงการเพื่อขอ อนุมัติ 2. การดําเนินงานตามแผน 2.1 จัดโครงการวันเด็กแหงชาติ พัฒนาเยาวชนจิตอาสาสูเด็กไทย วิถีใหม เดินตามรอยเทาพอขอเปน นั ก อ า น ประจํ า ป พุ ท ธศั กราช 2564 ตามกิจกรรมยอยไดแก จัดเปนกิจกรรมกลุมยอยเนื่องจาก เปนชวงการแพรระบาดของเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 กิจกรรมยอย ไดแก 1. กิจกรรมอานตามรอยพอ 2. กิจกรรมชมวิดีทัศนประวัติวัน

-

83 เด็กแหงชาติ 3. กิจกรรมเกม Kahoot ตอบ คําถามความรูเรื่องวันเด็กแหงชาติ และความรูเรื่อง COVID 2019 4. กิจกรรมเกมเปดแผนปายมหา สนุก

3. การประเมินผลกิจกรรม

-



-

-

4. รายงานผลและสรุปผล

-



-

-

8. ผูรับผิดชอบโครงการ 8.1 นางสาวสิริลักษณ มีเชื้อ 8.2 นางสาวธนัชพร ไชยนา 9. เครือขาย 9.1 สถานีรถไฟอําเภอหัวหิน

บรรณารักษปฏิบัติการหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ครู ศรช.

9.2 สโมสรไลออนสราษฎรภักดีหัวหิน 9.3 สถานีตํารวจภูธรอําเภอหัวหิน 9.4 เทศบาลเมืองหัวหิน 9.5 สมาชิกองคการบริหารสวนจังหวัดประจวบคีรขี ันธ 9.6 โรงเรียนมัธยมสาธุการวิทยา 9.7 โรงเรียนอนันตรักษการบริบาลหัวหิน 9.8 ชุมชนศาลเจาพอเสือ

84 10. โครงการที่เกี่ยวของ 10.1 โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยพัฒนาหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต ประจําป งบประมาณ 2564 10.2 โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ แบงปนรูแ บงปนน้ําใจ ตามวิถีเกษตรธรรมชาติสูความพอเพียง ประจําป งบประมาณ 2564 10.3 โครงการปนหนังสือสูพนื้ ที่หางไกลใหนองอาน ประจําปงบประมาณ 2564 10.4 โครงการหองสมุดเคลื่อนที่สรางรอยยิ้มสูชุมชน ประจําปงบประมาณ 2564 10.5 โครงการเรียนรูตามอัธยาศัยไปกับหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ประจําปงบประมาณ 2564 10.6 โครงการอบรมใหความรูการใชสื่อและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาครูและบุคลากรของ กศน.อําเภอหัวหิน ใน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแนววิถีใหม (New Normal) ประจําปงบประมาณ 2564

11. ผลลัพธ (Outcome) เด็กและเยาวชนที่เขารวมกิจกรรมกลาแสดงออกอยางสรางสรรค มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู ดวยตนเองและเชื่อมโยงความรูใหมไดอยางเปนระบบสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตและอยูในสังคมไดอยางมี ความสุข 12. ดัชนีชี้วัดผลสําเร็จของโครงการ 12.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 1) เด็กและเยาวชน เขารวมกิจกรรมจํานวน 8 คน 2) รอยละ 80 ของกลุมเปาหมายมีความพึงพอใจในการเขารวมกิจกรรมในระดับดีขึ้นได 12.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ (Outcome) 1) กลุมเปาหมายไดรับการสงเสริมพัฒนาการใหมีความพรอมทั้งทางดานรางกาย จิตใจ สังคม อารมณ และสติปญญา อีกทั้งยังเปนการเพิ่มโอกาสการแสดงออกถึงความสามารถดานตาง ๆ ตามวัยที่ เหมาะสม 2) กลุมเปาหมายกลาคิดกลาแสดงออกสามารถนําความรูที่ไดจากการรวมกิจกรรมสงเสริมการ อานนําไปใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองอยางตอเนื่อง 13. การติดตามและประเมินผลโครงการ 13.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 13.2 รายงานผลการจัดกิจกรรม 13.3 ภาพถายกิจกรรม

85 โครงการเรียนรูตามอัธยาศัยไปกับหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ประจําปงบประมาณ 2564 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ ................................................................. 1. สอดคลองกับนโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน 1.1 สอดคลองกับยุทธศาสตร 20 ป (พ.ศ.2561-2580) ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน 1.2 สอดคลองกับแผนการศึกษาแหงชาติ (2560-2579) ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู 1.3 สอดคลองกับภารกิจตอเนื่อง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรียนรู 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พัฒ นาแหลงการเรียนรูที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการอานและการพัฒนา ศักยภาพการเรียนรูใหเกิดขึ้นในสังคมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวางและทั่วถึง เชน การพัฒนา กศน.ตําบล ห อ งสมุ ด ประชาชนทุ ก แหง ให มี การบริก ารที่ ทั น สมั ย ส ง เสริ ม และสนั บ สนุนอาสาสมั ค รส ง เสริ มการอาน การสรางเครือขายสงเสริมการอาน จัดหนวยบริการหองสมุดเคลื่อนที่ หองสมุดชาวตลาด พรอมหนังสือและ อุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลายใหบริการกับประชาชนในพื้นที่ตาง ๆ อยางทั่วถึง สม่ําเสมอ รวมทั้งเสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่ออุปกรณเพื่อสนับสนุนการอาน และการ จัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการอานอยางหลากหลายรูปแบบ 1.4 สอดคลองกับพันธกิจของสํานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ พันธกิจขอ 5 จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสรางสังคมแหงการ เรียนรูตลอดชีวิต 1.5 สอดคลองกับพันธกิจของ กศน.อําเภอหัวหิน พันธกิจขอที่ 1 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีคุณภาพ เทาเทียมกัน เนน ผูเรียนเปนสําคัญ พันธกิจขอที่ 4 สงเสริม สนับสนุน และประสานการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย ในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิต 1.6 สอดคลองกับตัวมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูรับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย 1.1 ผูรับบริการมีความรูทักษะ หรือประสบการณ สอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการ หรือ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

86 มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.1 การกําหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.2 ผูจัดกิจกรรมมีความรู ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.3 สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.4 ผูร ับบริการมีความพึงพอใจตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เนนการมีสวนรวม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.5 การกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การสงเสริม สนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรู 2. หลักการและเหตุผล โครงการเรียนรูตามอัธยาศัยไปกับหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ประจําปง บประมาณ 2564 เปน โครงการตอเนื่องจากปง บประมาณ 2563 จัดขึ้น เพื่อใหเยาวชนและประชาชนทั่วไป ไดมีโอกาสเขา ร ว ม โครงการไดรับความรูและเพิ่มโอกาสทางการศึกษา โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อเพิ่มอัตราการใชหองสมุดและ เขารวมทํากิจกรรมตาง ๆ กับทางหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินในกิจกรรมรูปแบบตางๆ เพื่อกระตุนใหเด็ก เยาวชน นักศึกษาและประชาชนทั่วไปเห็นความสําคัญของหองสมุด ตลอดจนรับทราบปญหาความตองการ การรับบริการการอานของผูเขารวมกิจกรรมเพื่อนํามาพัฒนาปรับปรุงหองสมุดใหดีมากยิ่งขึ้น ศู น ย ก ารศึ ก ษานอกระบบและการศึ กษาตามอั ธยาศั ย อํ า เภอหั ว หิ น เป น สถานศึ ก ษาหนึ่ ง ที่ ส ง เสริม สนับสนุนการศึกษาตามอัธยาศัยในรูปแบบตาง ๆ ที่เนนใหผูเรียนกลาคิดกลาแสดงออกในทางที่สรางสรรค สงเสริมใหผูเรียนรูจักการเรียนรูตลอดชีวิต อีกทั้งยังมีเปาหมายที่เนนใหเด็กเยาวชนนักศึกษาและประชาชน ทั่วไป ไดรับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สงเสริมใหมีการ สรางบรรยากาศ และสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการอานใหเกิดขึ้นในชุมชน สถานศึกษา และสวนราชการอื่น ๆ เนน การบริการสง เสริมการอานการในลักษณะเชิงรับและเชิงรุกใหมากขึ้น เนนสรางอัตราการอานและการใช หองสมุดใหเพิ่มมากขึ้นสงเสริมใหหองสมุดประชาชนเปนหองสมุดมีชีวิตอยูตลอดเวลา ดวยเหตุนี้หองสมุด ประชาชนอําเภอหัวหิน ในสัง กัดศูน ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน จึง ได ดําเนินการจัดโครงการเรียนรูตามอัธยาศัยไปกับหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ประจําปงบประมาณ 2564 ตอเนื่องจากปงบประมาณ 2563 ทั้งนี้เพื่อสงเสริมและกระตุนใหเด็กเยาวชน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป เห็นความสําคัญของการอานและการเขาใชหองสมุดใหเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

87 3. วัตถุประสงค 1. เพื่อสงเสริมใหเด็กเยาวชน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปมีทักษะและนิสัยรักการอาน 2. เพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานที่มีความหลากหลายเหมาะสมกับทุกชวงวัยและเขาถึงกลุมเปาหมายทุก ชวงวัย เปนการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตในพื้นที่ชุมชน 3. เพื่อเปนการประชาสัมพันธงานการศึกษาตามอัธยาศัยของหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินในสังกัดศูนย การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหินใหเปนที่รูจักแกชุมชน 4. เปาหมาย 4.1 เชิงปริมาณ กลุมเปาหมายเปนเด็กเยาวชน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ตลอดปงบประมาณ 2564 ชวงเดือน ตุลาคม 2563 ถึงเดือน กันยายน 2564 จํานวน 300 คน 4.2 เชิงคุณภาพ 1) มุงปลูกฝงนิสัยรักการอานทุกชวงวัย สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต 2) เด็กเยาวชน นักศึกษาและประชาชนทั่วไปมีทักษะการอานและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู ดวยตนเอง และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

88 5. วิธีดําเนินการ กิจกรรมหลัก 1. การวางแผนดําเนินงาน

วัตถุประสงค

กลุม

เปาหมาย

พื้นที่

เปาหมาย

(คน)

ดําเนินการ

15

กศน.อําเภอ

- เพื่อใหการ

- ผูบริหาร

- ประชุมชี้แจง

ดําเนินงานมี

- บรรณารักษหองสมุด

- เสนอโครงการ

ประสิทธิภาพและ

ประชาชนอําเภอหัวหิน

เกิดประสิทธิผล

- ครู กศน.ตําบล

เพื่อขออนุมัติ

ระยะเวลา ต.ค. 63

หัวหิน

- ครูอาสาสมัครและครู ศรช. 2. การดําเนินงานตามแผน

1. เพื่อสงเสริมให

1. โรงเรียนดรุณศึกษา

600 คน

หองสมุด

ต.ค.63-ก.ย. 64

2.1 จัดกิจกรรมสงเสริมการ เด็กเยาวชนและ

2. โรงเรียนมัธยม

ประชาชน

อานโครงการเรียนรูตาม

ประชาชนทั่วไปมี

สาธุการ

อําเภอหัวหิน

อัธยาศัยไปกับหองสมุด

ทักษะและนิสัยรัก

2.นักศึกษา กศน.ตําบล

ประชาชนอําเภอหัวหิน

การอาน

3. เด็กในชุมชนศาล

กิจกรรมยอย

2. เพื่อจัดกิจกรรม

เจาพอเสือ

1. การแนะนําการใช

สงเสริมการอานที่มี

4. นักศึกษา กศน.

หองสมุดประชาชนอําเภอ

ความหลากหลาย

ตําบล

หัวหิน

เหมาะสมกับทุกชวง

5. เด็กเยาวชนและ

2. กิจกรรมประดิษฐพวง

วัยและเขาถึง

ประชาชนทั่วไป

กุญแจตามจินตนาการ

กลุมเปาหมายทุก

3. กิจกรรมเขาจังหวะ

ชวงวัย เปนการ

สําหรับเด็ก

สงเสริมการเรียนรู

4. ตุกตาหอมสมุนไพร

ตลอดชีวิตในพื้นที่

5. ประดิษฐตุกตาจากเศษ

ชุมชน

วัสดุเหลือใช

3. เพื่อจัดกิจกรรม

6. กิจกรรมปนผาขนหนู

สงเสริมการอานโดย

เปนรูปสัตว

ใชสื่อออนไลนเปน

7. วาดภาพระบายสี

เครื่องมือในการ

8. ตุกตาลมคืนชีพ สนุกไป

เขาถึงผูรับบริการ

กับวิทยาศาสตร

โดยกลุมเปาหมาย

9. การแนะนําการใช

ทุกเพศทุกวัยมีสวน

หองสมุดประชาชนอําเภอ

รวมในกิจกรรม ไม

หัวหิน

วาอยูสถานที่ใดก็

10. กิจกรรมประดิษฐ

สามารถเขารวม

กระทงสืบสานประเพณีไทย กิจกรรมกับทาง หองสมุดได

งบ ประมาณ

89 5. วิธีดําเนินการ (ตอ) กิจกรรมหลัก

วัตถุประสงค

11. กิจกรรมสงเสริมการอาน

4. เพื่อเปนการ

ผานออนไลน

ประชาสัมพันธ

12. กิจกรรมวาดภาพระบายสี

งานการศึกษา

13. กิจกรรมเรียนรูพัฒนาการ

ตามอัธยาศัย

ของพวงมาลัย

ของหองสมุด

กลุม

เปาหมาย

เปาหมาย

(คน)

- บรรณารักษ

1

พื้นที่ดําเนินการ

ระยะเวลา

งบ ประมาณ

ประชาชน อําเภอหัวหินใน สังกัดศูนย การศึกษานอก ระบบและ การศึกษาตาม อัธยาศัยอําเภอ หัวหินใหเปนที่ รูจักแกชุมชน 3. การประเมินผลกิจกรรม

- เพื่อ

ตรวจสอบ และ หองสมุด ติดตามการจัด

ประชาชน

กิจกรรมนําผล

อําเภอหัวหิน

หองสมุดประชาชน

ต.ค.63 - ก.ย. 64

-

ต.ค.63 - ก.ย. 64

-

อําเภอหัวหิน

มาใชในการ พัฒนางาน ตอไป 4. รายงานผลและสรุปผล

- เพื่อนําผลการ บรรณารักษ จัดกิจกรรมไป

หองสมุด

ใชในการ

ประชาชน

พัฒนางาน

อําเภอหัวหิน

ตอไป

1

หองสมุดประชาชน อําเภอหัวหิน

90 6. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ไมใชงบประมาณ

7. แผนการใชจายงบประมาณ กิจกรรมหลัก

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

(ต.ค.– ธ.ค. 63) (ม.ค. – มี.ค.64) (เม.ย.– มิ.ย.64) (ก.ค.– ก.ย. 64)

1. การวางแผนดําเนินงาน - ประชุมชี้แจง



-

-







3. การประเมินผลกิจกรรม

-



-



4. รายงานผลและสรุปผล

-



-



- เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ

-

- ประสานหนวยงานสถานศึกษา 2.จัดกิจกรรมสงเสริมการอานโครงการเรียนรูตาม อัธยาศัยไปกับหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน กิจกรรมยอย 1. การแนะนําการใชหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน 2. กิจกรรมประดิษฐพวงกุญแจตามจินตนาการ 3. กิจกรรมเขาจังหวะสําหรับเด็ก 4. ตุกตาหอมสมุนไพร 5. ประดิษฐตุกตาจากเศษวัสดุเหลือใช 6. กิจกรรมปนผาขนหนูเปนรูปสัตว 7. วาดภาพระบายสี 8. ตุกตาลมคืนชีพ สนุกไปกับวิทยาศาสตร 9. การแนะนําการใชหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน 10. กิจกรรมประดิษฐกระทง สืบสานประเพณีไทย 11. กิจกรรมสงเสริมการอานผานออนไลน 12. กิจกรรมวาดภาพระบายสี 13. กิจกรรมเรียนรูพัฒนาการของพวงมาลัย

91 8. ผูรับผิดชอบโครงการ 8.1 นางสาวสิริลักษณ มีเชื้อ

บรรณารักษปฏิบัติการหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน

8.2 นางสาวธนัชพร ไชยนา

ครู ศรช.

8.3 ครูอาสาสมัคร ครู กศน. ตําบล และครู ศรช. 9. เครือขาย 9.1 หนวยงานสถานศึกษาในพืน้ ที่อําเภอหัวหิน 9.2 คณะกรรมการสถานศึกษา 9.3 ผูนําชุมชน 10. โครงการที่เกี่ยวของ 10.1 โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยพัฒนาหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต ประจําป งบประมาณ 2564 10.2 โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ แบงปนรูแบงปนน้ําใจ ตามวิถีเกษตรธรรมชาติสูความพอเพียง ประจําป งบประมาณ 2564 10.3 โครงการปนหนังสือสูพื้นที่หางไกลใหนองอาน ประจําปงบประมาณ 2564 10.4 โครงการหองสมุดเคลื่อนที่สรางรอยยิ้มสูชุมชน ประจําปงบประมาณ 2564 10.5 โครงการวันเด็กแหงชาติ พัฒนาเยาวชนจิตอาสาสูเด็กไทยวิถีใหม เดินตามรอยเทาพอขอเปนนักอาน ประจําป งบประมาณ 2564 10.6 โครงการอบรมใหความรูการใชสื่อและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาครูและบุคลากรของ กศน.อําเภอหัวหิน ใน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแนววิถีใหม (New Normal) ประจําปงบประมาณ 2564 11. ผลลัพธ (Outcome) 11.1 เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป มีทักษะการอานและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรูดวยตนเองและ เชื่อมโยงความรูใหมไดอยางเปนระบบสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตและอยูในสังคมไดอยางมีความสุข 12. ดัชนีชี้วัดผลสําเร็จของโครงการ 12.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 1) เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป เขารวมกิจกรรมจํานวนไมต่ํากวา 300 คน 2) รอยละ 80 ของกลุมเปาหมายมีความพึงพอใจในการเขารวมกิจกรรมในระดับดีขึ้นไป 12.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ (Outcome) 1) กลุมเปาหมายไดรับการปลูกฝงนิสัยรักการอาน 2) กลุมเปาหมายนําความรูและประสบการณที่ไดรับไปใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 13. การติดตามและประเมินผลโครงการ 13.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 13.2 รายงานผลการจัดกิจกรรม

92 โครงการอบรมใหความรูการใชสื่อและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาครูและบุคลากรของ กศน.อําเภอหัวหิน ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแนววิถีใหม (New Normal) ประจําปงบประมาณ 2564 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหัวหิน สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ ................................................................. 1. สอดคลองกับนโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน 1.1 สอดคลองกับยุทธศาสตร 20 ป (พ.ศ.2561-2580) ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน 1.2 สอดคลองกับแผนการศึกษาแหงชาติ (2560-2579) ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู 1.3 สอดคลองกับภารกิจตอเนื่อง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรียนรู 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พั ฒ นาแหล ง การเรี ย นรู ที่ มี บ รรยากาศและสภาพแวดล อ มที่ เ อื้ อ ต อ การอ า นและพั ฒ นา ศักยภาพการเรียนรูใหเกิดขึ้นในสังคมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวางและทั่วถึง เชน พัฒนาหองสมุดประชาชน ทุกแหงใหมีการบริการที่ทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขายสง เสริม การอาน จัดหนวยบริการเคลื่อนที่พรอมอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลาย ใหบริการกับประชาชนในพื้นที่ตาง ๆ อยางทั่วถึง สม่ําเสมอ รวมทั้ง เสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่อ อุปกรณเพื่อสนับสนุนการอานและการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการอานอยางหลากหลาย 1.5 ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ที่มีแหลงเรียนรูอื่นๆ เพื่อสงเสริมการจัด การศึกษานอกระบบและการศึ กษาตามอั ธยาศั ยใหมีรู ปแบบที่ หลากหลาย และตอบสนองความต องการของ ประชาชน เชน พิพิธภัณฑ ศูนยเรียนรู แหลงโบราณคดี หองสมุด เปนตน 1.4 สอดคลองกับพันธกิจของสํานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ พันธกิจขอ 5 จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสรางสังคมแหงการ เรียนรูตลอดชีวิต 1.5 สอดคลองกับพันธกิจของ กศน.อําเภอหัวหิน พันธกิจขอที่ 1 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีคุณภาพ เทาเทียมกัน เนน ผูเรียนเปนสําคัญ

93 พันธกิจขอที่ 4 สงเสริม สนับสนุน และประสานการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย ในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิต 1.6 สอดคลองกับตัวมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูรับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย 1.1 ผูรับบริการมีความรูทักษะ หรือประสบการณ สอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการ หรือ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.1 การกําหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.2 ผูจัดกิจกรรมมีความรู ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.3 สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.4 ผูร ับบริการมีความพึงพอใจตอการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เนนการมีสวนรวม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.5 การกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การสงเสริม สนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรู 2. หลักการและเหตุผล เนื่องดวยสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีการแพรระบาด อยางรุนแรงหลายพื้นที่ในประเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิตของนัก เรียน นักศึกษา ที่จะไดรับผลกระทบจากการแพรระบาดดังกลาว จึงไดมีประกาศใหสถานศึกษาในสังกัดและในกํากับ 28 จัง หวัด ปดเรียนดวยเหตุพิเศษ โดยมีจัง หวัดประจวบคีรีขันธ รวมอยูในจํานวนนี้ดวย ดวยเหตุนี้ กศน. อําเภอหัวหินและหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ จึงจําเปนตองปดสถานศึกษาและ ปดบริการของหองสมุดทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของผูเรียนและผูเขาใชบริการทุกๆ ทาน ทั้งนี้ในชวงปดเรียน ดวยเหตุพิเศษ ครูผูสอนยังตองมีการจัดการเรียนการสอนในลักษณะออนไลนในชองทางตาง ๆ โดยเฉพาะการ สงเสริมการอานผานออนไลนในรูปแบบตางๆ ดวยเหตุนี้หองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินจึงไดจัดโครงการ อบรมใหความรูการใชสื่อและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาครูและบุคลากรของ กศน.อําเภอหัวหิน ในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแนววิถี ใหม (New Normal) ประจําปง บประมาณ 2564 เพื่อ สนับสนุนครูและบุคลากรในการใชสื่อและเทคโนโลยีในการปรับปรุง พัฒนาสื่อการสอน กระบวนการจัดการ เรียนการสอน และการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในรูปแบบออนไลน

94 3. วัตถุประสงค 3.1 เพื่อสงเสริมแนวคิดการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนดวยเทคโนโลยีของครูและบุคลากร 3.2 เพื่อสนับสนุนครูและบุคลากรปรับปรุง พัฒนา กระบวนการเรียนการสอน สื่อการสอน และการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในรูปแบบออนไลน โดยการใชเทคโนโลยี 3.3 เพื่อเสริมสรางทักษะในการใชเทคโนโลยีใหกับครูและบุคลากรในการพัฒนางานของตนเอง 4. เปาหมาย 4.1 เชิงปริมาณ กลุมเปาหมายเปนครูและบุคลากร กศน.อําเภอหัวหิน ชวงเดือน ตุลาคม 2563 ถึงเดือน กันยายน 2564 4.2 เชิงคุณภาพ 1) มุงปลูกฝงนิสัยรักการอานทุกชวงวัย สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต 2) เด็กเยาวชน นักศึกษาและประชาชนทั่วไปมีทักษะการอานและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู ดวยตนเอง และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

95 5. วิธีดําเนินการ กิจกรรมหลัก 1. การวางแผนดําเนินงาน - ประชุมชี้แจง - เสนอโครงการ เพื่อขออนุมัติ

2. การดําเนินงานตามแผน 2.1 จัดโครงการอบรมให ความรูการใชสื่อและ เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาครูและ บุคลากรของ กศน.อําเภอ หัวหิน ในการจัดการศึกษา

วัตถุประสงค

กลุม

เปาหมาย

เปาหมาย

(คน)

- เพื่อใหการดําเนินงาน - ผูบริหาร มีประสิทธิภาพและเกิด - บรรณารักษ หองสมุดประชาชน ประสิทธิผล อําเภอหัวหิน - ครู กศน.ตําบล - ครูอาสาสมัคร และครู ศรช. 1. เพื่อสงเสริมแนวคิด ครูและบุคลากร การพัฒนาการจัดการ เรียนการสอนดวย เทคโนโลยีของครูและ บุคลากร 2. เพื่อสนับสนุนครู

พื้นที่ดําเนินการ

ระยะเวลา

15

กศน.อําเภอหัวหิน

ต.ค. 63

13 คน

หองสมุดประชาชน

ต.ค.63-ก.ย.

ประมาณ

64

อําเภอหัวหิน

กศน.อําเภอหัวหิน

งบ

และบุคลากรปรับปรุง พัฒนา กระบวนการ ตามอัธยาศัยตามแนววิถใี หม เรียนการสอน สื่อการ สอน และการจัด (New Normal) ประจําป กิจกรรมสงเสริมการ งบประมาณ 2564 อานในรูปแบบ 2.2 ความรูเรื่องการทํา ออนไลน โดยการใช เกียรติบัตรออนไลน เทคโนโลยี 2.3 ความรูเรื่องการทําคลิป 3. เพื่อเสริมสราง วิดีโอจากโปรแกรม ทักษะในการใช นอกระบบและการศึกษา

Powerpoint

3. การประเมินผลกิจกรรม

เทคโนโลยีใหกับครูและ บุคลากรในการพัฒนา งานของตนเอง - เพื่อตรวจสอบ และ - บรรณารักษ

1

ติดตามการจัดกิจกรรม หองสมุดประชาชน นําผลมาใชในการ

หองสมุดประชาชน

ต.ค.63 - ก.ย.

อําเภอหัวหิน

64

หองสมุดประชาชน

ต.ค.63 - ก.ย.

อําเภอหัวหิน

64

-

อําเภอหัวหิน

พัฒนางานตอไป 4. รายงานผลและสรุปผล

- เพื่อนําผลการจัด

บรรณารักษ

กิจกรรมไปใชในการ

หองสมุดประชาชน

พัฒนางานตอไป

อําเภอหัวหิน

1

-

96 6. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ไมใชงบประมาณ

7. แผนการใชจายงบประมาณ กิจกรรมหลัก

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

(ต.ค.– ธ.ค. 63) (ม.ค. – มี.ค.64) (เม.ย.– มิ.ย.64) (ก.ค.– ก.ย. 64)

1. การวางแผนดําเนินงาน - ประชุมชี้แจง



-

-

-









3. การประเมินผลกิจกรรม

-

-

-



4. รายงานผลและสรุปผล

-

-

-



- เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ - ประสานหนวยงานสถานศึกษา 2. การดําเนินงานตามแผน 2.1 จัดโครงการอบรมใหความรูการใชสื่อและ เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาครูและบุคลากรของ กศน. อําเภอหัวหิน ในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยตามแนววิถีใหม (New Normal) ประจําปงบประมาณ 2564 2.2 ความรูเรื่องการทําเกียรติบัตรออนไลน 2.3 ความรูเรื่องการทําคลิปวิดีโอจากโปรแกรม Powerpoint

8. ผูรับผิดชอบโครงการ 8.1 นางสาวสิริลักษณ มีเชื้อ

บรรณารักษปฏิบัติการหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน

8.2 นางสาวธนัชพร ไชยนา

ครู ศรช.

8.3 ครูอาสาสมัคร ครู กศน. ตําบล และครู ศรช. 9. เครือขาย 9.1 หนวยงานสถานศึกษาในพืน้ ที่อําเภอหัวหิน 9.2 คณะกรรมการสถานศึกษา 9.3 ผูนําชุมชน

97 10. โครงการที่เกี่ยวของ 10.1 โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยพัฒนาหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหินใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต ประจําป งบประมาณ 2564 10.2 โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ แบงปนรูแบงปนน้ําใจ ตามวิถีเกษตรธรรมชาติสูความพอเพียง ประจําป งบประมาณ 2564 10.3 โครงการปนหนังสือสูพื้นที่หางไกลใหนองอาน ประจําปงบประมาณ 2564 10.4 โครงการหองสมุดเคลื่อนที่สรางรอยยิ้มสูชุมชน ประจําปงบประมาณ 2564 10.5 โครงการวันเด็กแหงชาติ พัฒนาเยาวชนจิตอาสาสูเด็กไทยวิถีใหม เดินตามรอยเทาพอขอเปนนักอาน ประจําป งบประมาณ 2564 10.6 โครงการเรียนรูตามอัธยาศัยไปกับหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน ประจําปงบประมาณ 2564 11. ผลลัพธ (Outcome)

11.1 ครูและบุคลากรของ กศน.อําเภอหัวหิน สามารถนําความรูดานการใชสื่อและเทคโนโลยีไปพัฒนา ประยุกตใชในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานใน รูปแบบออนไลนได 12. ดัชนีชี้วัดผลสําเร็จของโครงการ 12.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 1) ครูและบุคลากรของ กศน.อําเภอหัวหินนําความรูไปใชในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการ สอนและกิจกรรมสงเสริมการอานในระดับดีขึ้นไป 2) รอยละ 80 ของกลุมเปาหมายมีความพึงพอใจในการเขารวมกิจกรรมในระดับดีขึ้นไป 12.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ (Outcome) 1) กลุมเปาหมายสามารถนําความรูดานการใชสื่อและเทคโนโลยีนําไปจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน ในรูปแบบออนไลนได

13. การติดตามและประเมินผลโครงการ 13.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 13.2 รายงานผลการจัดกิจกรรม

บรรณานุกรม สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. สํานักงาน. รางนโยบายและจุดเนนการ ดําเนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564.กรุงเทพฯ. 2564.

คณะผูจัดทํา ที่ปรึกษา 1. นางเรียงตะวัน สิทธิเชนทร

ผูอํานวยการสํานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ

2. นางสาวสุธิกานต แยมนิล

ผูอํานวยการ กศน.อําเภอหัวหิน

3. นางสาวณัฐกฤตา ทับทิม 4. นายณัฐกานต พวงเจริญ 5. นางสาวปยภรณ พูลนอย 6. นางสาวสิริลักษณ มีเชื้อ 7. นายนิยม ภาลีกัณฑ

ครู ครูผูชวย บรรณารักษปฏิบัติการ บรรณารักษปฏิบัติการ นักวิเคราะหนโยบายและแผน

ผูจัดทํา/รวบรวม/เรียบเรียง/พิมพ นางสาวสิริลักษณ มีเชื้อ

บรรณารักษปฏิบัติการหองสมุดประชาชนอําเภอหัวหิน

ออกแบบปก นางสาวธนัชพร ไชยนา

ครู ศรช.

บรรณาธิการ นางสาวณัฐกฤตา ทับทิม นางสาวปยภรณ พูลนอย นางสาวสิริลักษณ มีเชื้อ

ครู บรรณารักษปฏิบัติการ บรรณารักษปฏิบัติการ

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2025 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.