รายงานประจำปี 2564 สมบูรณ์ Flipbook PDF


42 downloads 102 Views 16MB Size

Story Transcript

รายงานประจำปี ๒๕๖๔

สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม ศ า ล า ก ล า ง จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม ( ห ลั ง เ ก่ า ) ชั้ น ๑ ถ น น อ ภิ บ า ล บั ญ ช า อำ เ ภ อ เ มื อ ง น ค ร พ น ม จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม ๔ ๘ ๐ ๐ ๐

รายงานประจาปี ๒๕๖๔

คำนำ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดนครพนม เป็นผู้แทนกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ในส่วนภูมิภำค สังกัดสำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีบทบำทหน้ำที่ในกำร ประสำน บูรณำกำร และร่วมมือกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เพื่อดำเนินกำรตำมนโยบำยของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และนโยบำยของจังหวัด นครพนม รำยงำนประจำปี 2๕๖๔ ฉบับนี้ คณะผู้จัดทำได้รวบรวมและเรียบเรียง สรุปผล กำรปฏิบัติงำนของสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม และหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ รำยงำน ประจำปี 256๔ จะเป็นสื่อเผยแพร่ ประชำสัมพันธ์ และเป็นประโยชน์ต่อกำรดำเนิ นงำนของ องค์กรต่ำง ๆ ทั้งภำครัฐและเอกชน รวมทั้งเป็นกำรเผยแพร่ควำมรู้ผลกำรดำเนินงำนและกิจกรรม ที่สำคัญ ที่สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนมได้ดำเนินกำรในปีงบประมำณ 256๔ สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม กุมภำพันธ์ ๒๕๖๕

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔

สำรบัญ เรื่อง ส่วนที่ 1  ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติงาน  แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดนครพนม (พ.ศ. ๒๕๖๖ – พ.ศ. ๒๕๗๐)  ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issue)  แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดนครพนม (พ.ศ. ๒๕๖๖ – พ.ศ. ๒๕๗๐)  โครงการของจั งหวัด นครพนม ตามแผนปฏิ บั ติ ร าชการประจ าปี ข องจั งหวั ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ - โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรที่สาคัญทางเศรษฐกิจของ จังหวัดนครพนม  โครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุม่ เกษตรทฤษฎีใหม่  โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจาปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๔  โครงการที่ได้รับจัดสรรจากสานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ - โครงการร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัยเลือกใช้สินค้า Q - โครงการส่งเสริมการบริโภคและใช้วัตถุสินค้า Q ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.256๔  กองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน  แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรประจาปีจังหวัดนครพนม  วันพระบิดาแห่งฝนหลวง ประจาปี 256๔  พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา  แผนเตรียมความพร้อมด้านอาหารจังหวัดนครพนม ประจาปี 256๔  กิจกรรมการรวมกลุ่มและการสร้างเครือข่าย ภายใต้โครงการพัฒนาศูนย์เครือข่าย ปราชญ์ชาวบ้าน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จังหวัดนครพนม  การจัดทาปฏิทินผลผลิตสินค้าเกษตรระดับจังหวัด (Provincial Crop Calendar)  ข้ อ มู ล เพื่ อ การวางแผนพั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ์ รายสิ น ค้ า ของจั ง หวั ด ประจาปี 256๔ จิ้งหรีด

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

หน้า 2-๕ ๗ ๘ ๙ 1๐ - ๑๖ ๑๗ - ๒๘ ๒๙ - ๓๓ 3๓ – ๓๕ 3๖ – ๓๙ ๔๐ – ๔๒ 4๓ – ๔๙ ๕๐ – ๕๑ ๕๒ ๕๒ – ๕๓ 5๔ – ๕๖ 5๗ – ๖๐ ๖๑

รายงานประจาปี ๒๕๖๔

สำรบัญ เรื่อง  ข้อมูลพื้นฐานด้านการเกษตร ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดนครพนม  ข้อมูลพืน้ ฐานจังหวัดสนับสนุนการตรวจราชการ/ครม.สัญจร  ศูนย์บริการข้อมูลด้านการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด  การประชาสัมพันธ์ของสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม  โครงการตามแผนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ปี 256๔  งานสารบรรณ  งานพัสดุ  งานการเงินและบัญชี ส่วนที่ 3  งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ส่วนที่ 4  กิจกรรมอื่น ๆ คณะผู้จัดทา

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

หน้า ๖๒ – ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ – ๗๑ ๗๒ – ๗๔ ๗๕ ๗๕ ๗๕ 69 – ๗๐ 71 – ๑๐๑

รายงานประจาปี ๒๕๖๔

ส่วนที่ 1

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

1

2

รายงานประจาปี ๒๕๖๔

ความเป็นมา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้จัดตั้ง สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ขึ้นเป็นรำชกำรบริหำรส่วน ภูมิภำค สังกัดสำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตำมพระรำชกฤษฎีกำแบ่งส่วนรำชกำร สำนักงำน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๘ ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ ฉบับกฤษฎีกำ เล่มที่ ๑๒๒ ตอนที่ ๖ ก ลงวันที่ ๗ กุมภำพันธ์ ๒๕๓๘ สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ได้จัดตั้งขึ้นในเดือนมกรำคม พ.ศ. ๒๕๔๐ โดยกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ได้แต่งตั้งเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนมตำมลำดับ ดังนี้ ชื่อ สกุล 1. นายชัยสิทธิ์ 2. นายสุบิน 3. นายสรรค์สนธิ 4. นางกนกวรรณ 5. นายรักสกุล 6. นายอโณทัย 7. นายรักสกุล 8. น.ส.ไพรวัลย์

นครจินดา ยศพิทักษ์ บุณโยทยาน ธีรศาสตร์ สุริโย จูงใจ สุริโย ปัชชามาตร

ดารงตาแหน่งตั้งแต่พ.ศ..... ๒๕๔๐ ๒๕๔๓ ๒๕๔๓ ๒๕๔๔ ๒๕๔๔ ๒๕๕๐ ๒๕๕๐ ๒๕๕๒ ๒๕๕๒ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๖๒ ๒๕๖๒ ปัจจุบัน

ที่ตั้ง สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ศำลำกลำงจังหวัดนครพนม (หลังเก่ำ) ชั้น ๑ ถนนอภิบำลบัญชำ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม ๔๘๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๒-๕๑๕๕๕๖ โทรสาร ๐๔๒-๕๑๕๕๕๗ E-mail: [email protected] , [email protected]

วิสัยทัศน์ “เป็นศูนย์กลาง การบริหารจัดการยุทธศาสตร์ด้านการเกษตรและสหกรณ์ และอานวยการบริการด้านการเกษตรแบบเบ็ดเสร็จในจังหวัด” สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔

3

พันธกิจ ๑. กำรจัดโครงสร้ำงองค์กรให้มีควำมเหมำะสมกับภำรกิจ ๒. กำรพัฒนำบุคลำกรอย่ำงต่อเนื่อง ๓. กำรพัฒนำระบบ IT และมำตรฐำนข้อมูลด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์ ๔. กำรพัฒนำระบบกำรให้บริกำร

ค่านิยม “การทางานเป็นทีม มีความรับผิดชอบ มีความสุข มุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์”

บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน (๑) ศึกษำ วิเครำะห์ และจัดทำยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด และกลุ่ม จังหวัด แผนพัฒนำกำรเกษตรรำยสินค้ำ แผนบูรณำกำรพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด และกำรจัดทำ งบประมำณด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด (๒) ศึกษำ วิเครำะห์และจัดทำแผนปฏิบัติกำรโครงกำรพัฒนำด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด กำกับกำรบูรณำกำรและติดตำมกำรใช้งบประมำณของส่วนรำชกำรในสังกัดกระทรวงในจังหวัด (๓) กำกับ ดูแล ควบคุม ประสำน ดำเนินงำนและประเมินผลสัมฤทธิ์ของกำรปฏิบัติงำน ตำมแผนงำน และโครงกำรพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัด (๔) ดำเนินงำนโครงกำรพิเศษ โครงกำรพระรำชดำริ งำนช่วยเหลือเกษตรกรงำนภัยพิบัติ กำรเตือนกำร ระบำดและเฝ้ำระวังและเตือนภัยสินค้ำเกษตรในจังหวัด (๕) กำกับดูแล ควบคุม และพัฒนำข้ำรำชกำรและลูกจ้ำงในสังกัดกระทรวงในจังหวัด (๖) ประชำสัมพันธ์และเผยแพร่กำรพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดให้เป็นศูนย์ข้อมูลและศูนย์แม่ ข่ำยข้อมูลด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด (๗) กำกับดูแลหน่วยงำนในสังกัดกระทรวงดำเนินกำรให้เป็นไปตำมกฎหมำย (๘) ดำเนินกำรให้เป็นไปตำมที่กฎหมำยกำหนด (๙) ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมำย

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

4

รายงานประจาปี ๒๕๖๔

โครงสร้างหน่วยงาน สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม แบ่งงำนภำยในหน่วยงำนออกเป็น ๓ กลุ่ม ๑ ฝ่ำย ดังนี้ 1. กลุ่มยุทธศาสตร์พัฒนาการเกษตร จั ด ท ำยุ ท ธศำสตร์ ก ำรพั ฒ นำกำรเกษตรของจั ง หวั ด กลุ่ ม จั ง หวั ด แผนพั ฒ นำกำรเกษตรรำยสิ น ค้ ำ และแผนเชิงพื้นที่ บู ร ณำกำรจั ด ท ำแผนงำน/โครงกำร/งบประมำณของส่ ว นรำชกำรสั ง กั ด กระทรวงฯ ในจั ง หวั ด และ กลุ่มจังหวัด จัดทำแผนปฏิบัติกำรประจำปีด้ำนกำรเกษตรของจังหวัด บูรณำกำรกำรดำเนินงำนของหน่วยงำนตำมแผนงำนโครงกำร ดำเนินงำนตำมนโยบำยสำคัญของรัฐบำลรวมทั้งกำหนดแผนและกำรดำเนินโครงกำรที่มีควำมสำคัญ ซึ่งเป็น ประเด็นเร่งด่วนและเหมำะสมกับสภำพเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัด ติดตำมประเมินผล แผนงำน โครงกำรและงบประมำณของหน่วยงำนในสังกัด ปฏิบัติงำนอื่นตำมที่ได้รับมอบหมำย 2. กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและโครงการพิเศษ จัดทำ และประสำนงำนโครงกำรพระรำชดำริ งำนควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศ งำนรับเรื่องรำวร้องทุกข์ กำรช่วยเหลือเกษตรกร งำนภัยพิบัติ งำนนำยทะเบียนกลุ่มเกษตรกร และกฎหมำยอื่นที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติงำนอื่นตำมที่ได้รับมอบหมำย 3. กลุ่มสารสนเทศการเกษตร จัดทำข้อมูลและสำรสนเทศด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด เป็นศูนย์ข้อมูล และศูนย์แม่ข่ำยข้อมูลด้ำนกำรเกษตรของจังหวัด จัดทำระบบเตือนภัยด้ำนกำรเกษตรโดยแจ้งเตือนกำรระบำดของศัตรูพืชและสัตว์เฝ้ำระวัง และแจ้ง เตือน ภัยสินค้ำเกษตร งำนด้ำนกำรประชำสัมพันธ์ ปฏิบัติงำนอื่นตำมที่ได้รับมอบหมำย ๔. ฝ่ายบริหารทั่วไป บริหำรงำนทั่วไปของสำนักงำน บริหำรงำนบุคคล ประสำนงำนกำรตรวจรำชกำรประจำปี และของผู้บริหำรระดับสูง ประสำนงำนกำรดำเนินงำนภำยในจังหวัดกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แหล่งวิชำกำรและหน่วยงำนอื่น ปฏิบัติงำนอื่นตำมที่ได้รับมอบหมำย สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔

อัตรากาลัง สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม มีอัตรำกำลังทั้งสิ้น ๑๙ คน ดังนี้ อัตรากาลังข้าราชการ

๘ อัตรำ

ระดับ

จานวนอัตรา

ผู้อำนวยกำรระดับสูง



ชำนำญกำรพิเศษ



อำวุโส



ชำนำญกำร



ปฏิบัติกำร



อัตราลูกจ้างประจา

๑ อัตรำ

พนักงำนขับรถยนต์



อัตราพนักงานราชการ

๕ อัตรำ

เจ้ำหน้ำที่วิเครำะห์นโยบำยและแผน



เจ้ำหน้ำที่บริหำรงำนทั่วไป



เจ้ำพนักงำนกำรเงินและบัญชี



เจ้ำหน้ำที่บันทึกข้อมูล



ลูกจ้ำงกองทุนหมุนเวียนเพื่อกำรกู้ยืมแก่เกษตรกรฯ



เจ้ำหน้ำที่โครงกำรพัฒนำศูนย์เครือข่ำยปรำชญ์ชำวบ้ำน



พนักงำนขับรถยนต์รำชกำร



แม่บ้ำน



อัตราจ้างเหมา

๔ อัตรำ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

5

6

รายงานประจาปี ๒๕๖๔

ส่วนที่ 2

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔

7

แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดนครพนม (พ.ศ. ๒๕๖๖ – พ.ศ. ๒๕๗๐) วิสัยทัศน์ (Vision) คุณภาพชีวิตเกษตรกรดีขึ้น ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี สู่วิถีเกษตรที่ยั่งยืน พันธกิจ (Mission) ๑. ส่งเสริมสถาบันเกษตรกร และสนับสนุนให้สมาชิกพึ่งพาตนเองได้ ๒. ส่งเสริมการผลิต สินค้าเกษตรให้มีคุณภาพ ปลอดภัย ได้มาตรฐาน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๓. ส่งเสริมการนางานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนา ๔. สร้างจิตสานึกในการใช้ทรัพยากรการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์หลัก (Goals) ๑. เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี ๒. ผลผลิตทางการเกษตรมีคุณภาพ ได้มาตรฐานปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๓. เทคโนโลยี และนวัตกรรม มีการประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิต ๔. ทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมมีความสมดุลและยั่งยืน ค่าเป้าหมายของเป้าประสงค์หลัก ตัวชี้วัด

เกษตรกรมีรายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรต่อหัวเพิ่มขึ้นร้อยละ ๓

กลยุทธ์ ๑. สร้างความเข้มแข็งและเชื่อมโยงเครือข่ายให้กับสถาบันเกษตรกร ๒. ส่งเสริมการผลิตสินค้ามีคุณภาพ ปลอดภัย ให้ได้มาตรฐาน ๓. ส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มและจัดการตลาดสินค้าเกษตร ๔. ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ๕. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการผลิตสินค้าทางการเกษตรที่เหมาะสม ได้มาตรฐาน และเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ๖. การบริหารจัดการเทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านการเกษตร ๗. ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรการเกษตร ๘. บริหารจัดการน้าอย่างเป็นระบบ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

8

รายงานประจาปี ๒๕๖๔

ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issue) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ ๑. เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้ ๑. เกษตรกรมีรำยได้ พ้นขีดควำมยำกจนตำม ๑. เสริมสร้ำงควำมมั่นคงในกำรประกอบอำชีพ เกณฑ์ จปฐ. ไม่น้อยกว่ำ ๓๘,๐๐๐ บำท/คน/ปี เกษตรกรรม ๒. สถาบันเกษตรกรมีมาตรฐานใน ๒. สถำบั น เกษตรกรผ่ ำ นกำรรั บ รอง ๒. สร้ำงควำมเข้มแข็งและเชื่อมโยงเครือข่ำย การดาเนินงาน มำตรฐำนไม่น้อยกว่ำร้อยละ๗๐ ให้กับสถำบันเกษตรกร

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับมาตรฐานสินค้า เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ ๑. สินค้าเกษตรมีคุณภาพ ปลอดภัย ๑. แปลง/ฟำร์มที่ยื่นขอรับกำรรับรอง ผ่ำน ๑. ส่งเสริมกำรผลิตสินค้ำให้ได้มำตรฐำน ไ ด้ ม า ตรฐา น และเ ป็ น มิ ต รกั บ กำรรับรองมำตรฐำนไม่น้อยกว่ำร้อยละ ๘๐ สิ่งแวดล้อม ๒. สินค้าเกษตรมีมูลค่าสูง ๒. รำยได้ เ งิ น สดสุ ท ธิ ท ำงกำรเกษตร/ ๒. ส่ ง เสริ ม กำรสร้ ำ งมู ล ค่ ำ เพิ่ ม และจั ด กำร ครัวเรือน/ปีไม่น้อยกว่ำ ๔๐,๐๐๐ บำท ตลำดสินค้ำเกษตร ๓. ส่งเสริมภูมิปัญญำท้องถิ่น

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรม เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด ๑.เกษตรกรมีความสามารถในการ เกษตรกรมีกำรใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมใน ใช้ เ ทคโนโลยี และนวั ต กรรมด้ า น กำรผลิตทำงกำรเกษตรไม่น้อยกว่ำร้อยละ ๕๐ การเกษตร ๒ . ง า น วิ จั ย เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ นวัตกรรมได้รับการพัฒนา

กลยุทธ์ ๑.ส่ ง เสริ ม กำรใช้ เ ทคโนโลยี ก ำรผลิต สิน ค้ ำ ทำงกำรเกษตรที่เหมำะสม ได้มำตรฐำน และ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๒.กำรบริหำรจัดกำรเทคโนโลยี และนวัตกรรม ด้ำนกำรเกษตร

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล และยั่งยืน เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ๑ . ท รั พ ย า ก ร ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ สิ่งแวดล้อมได้รับการบริหารจัดการ อย่างมีประสิทธิภาพ ๒ . ก า ร ผ ลิ ต ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร มี ประสิ ท ธิ ภ าพบนพื้ น ฐานของการ อนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัด กลยุทธ์ ๑. พื้นที่กำรเกษตรได้รับกำรอนุรักษ์ และฟื้นฟู ๑. ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยำกรกำรเกษตร ไม่น้อยกว่ำปีละ ๔๐,๐๐๐ ไร่ ๒. จ ำนวนพื้ น ที่ ที่ มี ก ำรผลิต ทำงกำรเกษตรใน ๒. บริหำรจัดกำรน้ำอย่ำงเป็นระบบ รู ป แ บ บ เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ยั่ ง ยื น ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ ำ ๑๐๐,๐๐๐ ไร่

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔

9

แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดนครพนม (พ.ศ. ๒๕๖๖ – พ.ศ. ๒๕๗๐) ประเด็นยุทธศาสตร์

๑. สร้างความ เข้มแข็งให้กับ เกษตรกรและสถาบัน เกษตรกร

๒. เพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตและ ยกระดับมาตรฐาน สินค้า

เป้าประสงค์

๑. เกษตรกร สามารถพึ่งพา ตนเองได้

๒. สถาบัน เกษตรกรมี มาตรฐานในการ ดาเนินงาน ๑. สินค้าเกษตรมี คุณภาพ ได้ มาตรฐาน และ เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ๒. สินค้าเกษตรมี มูลค่าสูง

ตัวชี้วัด

ค่าเป้าหมาย

กลยุทธ์

พ.ศ. ๒๕๖๖

พ.ศ. ๒๕๖๗

พ.ศ. ๒๕๖๘

พ.ศ. ๒๕๖๙

พ.ศ.๒๕๗๐

๑. ร้อยละของ เกษตรกรที่มีรายได้พ้น ขีดความยากจนตาม เกณฑ์ จปฐ. ไม่น้อย กว่า (๓๘,๐๐๐ บาท/ครัวเรือน/ปี) ๒. ร้อยละของสถาบัน เกษตรกรผ่านการ รับรองมาตรฐาน

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๗๐

พ.ศ. ๒๕๖๖๒๕๗๐ ๘๐

๗๐

๗๐

๗๐

๗๐

๗๐

๗๐

๑. สร้างความเข้มแข็ง และเชื่อมโยงเครือข่าย ให้กับสถาบันเกษตรกร

๑. ร้อยละของแปลง/ ฟาร์ม ที่ยื่นขอรับการ รับรอง ผ่านการรับรอง มาตรฐาน

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

ส่งเสริมการผลิตสินค้า มีคุณภาพ ปลอดภัย ให้ได้มาตรฐาน

๒. รายได้เงินสดสุทธิ ทางการเกษตร/ ครัวเรือน/ปี

๓๘,๐๐๐

๓๘,๐๐๐

๓๘,๐๐๐

๓๘,๐๐๐

๓๘,๐๐๐

๓๘,๐๐๐

๑. ส่งเสริมการสร้าง มูลค่าเพิ่ม และจัดการ ตลาดสินค้าเกษตร

เสริมสร้างความมั่นคง ในการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม

๒. ส่งเสริมภูมิปัญญา ท้องถิ่น ๓. เพิ่มความ สามารถในการ แข่งขันภาค การเกษตรด้วย เทคโนโลยี และ นวัตกรรม

๔. บริหารจัดการ ทรัพยากร การเกษตร และ สิ่งแวดล้อมอย่าง สมดุล และยั่งยืน

๑. เกษตรกรมี ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรม ด้านการเกษตร ๒. งานวิจัย เทคโนโลยี และ นวัตกรรมได้รับ การพัฒนา ๑. ทรัพยากร การเกษตร และ สิ่งแวดล้อมได้รับ บริหารจัดการ อย่างมี ประสิทธิภาพ ๒. การผลิตทาง การเกษตรมี ประสิทธิภาพบน พื้นฐานของการ อนุรักษ์ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม

๓. ร้อยละของ เกษตรกรมีการใช้ เทคโนโลยี และ นวัตกรรมการผลิต

๓๐

๓๕

๔๐

๔๕

๕๐

๑. จานวนพื้นที่ การเกษตรได้รับการ อนุรักษ์ และฟื้นฟู

๔๐,๐๐๐ ไร่

๔๐,๐๐๐ ไร่

๔๐,๐๐๐ ไร่

๔๐,๐๐๐ ไร่

๔๐,๐๐๐ ไร่

๒. จานวนพื้นที่ที่มกี าร ผลิตทางการเกษตรใน รูปแบบเกษตรกรรม ยั่งยืน

๑๐๐,๐๐๐ ไร่

๑๐๐,๐๐๐ ไร่

๑๐๐,๐๐๐ ไร่

๑๐๐,๐๐๐ ไร่

๑๐๐,๐๐๐ ไร่

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

๔๐

๑. ส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีการผลิตทาง การเกษตรที่เหมาะสม ได้มาตรฐาน และเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม

๒๐๐,๐๐๐ ไร่

๒. การบริหารจัดการ เทคโนโลยี และ นวัตกรรมด้าน การเกษตร ฟื้นฟู และอนุรักษ์ ทรัพยากรการเกษตร

๒๐๐,๐๐๐ ไร่

บริหารจัดการน้าอย่าง เป็นระบบ

10 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ผลการดาเนินงานโครงการของจังหวัดนครพนม ตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ชื่อโครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรที่สาคัญทางเศรษฐกิจของจังหวัดนครพนม งบประมาณ ๑๓,๓๙๔,๗๐๐ บาท (สิบสามล้านสามแสนเก้าหมื่นสี่พันเจ็ดร้อยบาทถ้วน) กิจกรรมหลักที่ ๑ กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตข้ำวหอมมะลิคุณภำพดีและได้มำตรฐำนเกษตรอินทรีย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด: การพัฒนาการเกษตรอุตสาหกรรมเกษตรเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่มา จังหวัดนครพนมมีพื้นที่เกษตรกรรม ๑,๙๒๒,๔๗๒ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกข้ำว ๑,๔๗๘,๕๗๐ ไร่พืชไร่๔๕,๑๒๕ ไร่ พืชสวน ๓๖,๓๒๒ ไร่ไม้ผลและไม้ยืนต้น ๓๖๒,๔๕๕ ไร่โดยมีพื้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทำน ๑๐๑,๗๐๐ ไร่ และ พื้นที่เกษตรกรรมนอกเขตชลประทำน๑,๘๒๐,๗๖๔ ไร่จำนวนประชำกร๗๑๙,๑๓๖คน๒๒๗,๓๙๖ครัวเรือน เป็นภำค กำรเกษตร ๑๑๙,๖๘๘ ครัวเรือน และเป็นแรงงำนภำคเกษตร ๒๓๙,๓๗๖ คนปริมำณน้ำฝนเฉลี่ย ๑๓๘.๒๐ มม. สินค้ำเกษตรที่สำคัญของจังหวัดนครพนมได้แก่ ข้ำวเจ้ำนำปีผลผลิต ๒๖๕,๘๗๓ ตัน ผลผลิตเฉลี่ย ๓๙๗ กิโลกรัมต่อ ไร่ข้ำวเหนียวนำปี ผลผลิต ๒๗๑,๙๖๗ ตัน ผลผลิตเฉลี่ย๔๑๑ กิโลกรัมต่อไร่ยำงพำรำผลผลิต ๓๗,๗๑๑ ตัน ผลผลิต เฉลี่ย ๑๘๖ กิโลกรัมต่อไร่มันสำปะหลัง ผลผลิต ๖๕,๖๒๓ ตัน ผลผลิตเฉลี่ย ๓,๐๓๓ กิโลกรัมต่อไร่ และสับปะรด ผลผลิต ๑๘,๙๓๐ ตัน ผลผลิตเฉลี่ย ๓,๔๖๗ กิโลกรัมต่อไร่สินค้ำเด่นได้แก่ข้ำว เป็นพื ชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด นครพนม ในจังหวัดนครพนมจะเน้นกำรปลูกทั้งข้ำวเจ้ำ และข้ำวเหนียวนำปี สัตว์เศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ โคเนื้อ จำนวน ๑๐๗,๗๖๐ ตัว กระบือ จำนวน๕๗,๖๒๑ ตัว สุกร จำนวน ๑๐๑,๒๕๒ ตัว ไก่ไข่ จำนวน ๒๕๗,๙๕๘ ตัว ไก่ พื้นเมือง จำนวน ๑,๒๘๔,๕๖๕ ตัว และสินค้ำเกษตร GI ประกอบด้วย ๑) สับปะรด GI ลักษณะเด่น เปลือกบำง ตำ ตื้น ผลมีขนำดค่อนข้ำงใหญ่ เนื้อละเอียดแน่น มีสีเหลืองเข้มแกนหวำนกรอบรับประทำนได้ เนื้อสัปปะรดมีรสชำติ หวำนฉ่ำ หอม ไม่กัดลิ้นและไม่ระคำยคอพื้นที่ปลูก อำเภอท่ำอุเทน อำเภอโพนสวรรค์ พื้นที่ปลูก ๑๒,๑๔๖ ไร่ พื้นที่ ให้ผลผลิต ๕,๔๕๙ ไร่ ผลผลิต ๒๐,๐๐๐ ตัน ๒) ลิ้นจี่ นพ.๑ ลักษณะเด่น คือ มีเปลือกสีแดงอมชมพู ผลใหญ่ ทรงรูป ไข่ เนื้อผลแห้ง สีขำวขุ่น รสชำติหวำนอมเปรี้ยว ไม่มีรสฝำด ปลูกในพื้นที่บ้ำนนำโดน ตำบลขำมเฒ่ำ อำเภอเมือง นครพนม พื้นที่ปลูก ๒,๗๑๑ ไร่ พื้นที่ให้ผลผลิต ๑,๑๒๘ ไร่ ผลผลิต ๒๗๘ ตัน

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 11 สรุปสาระสาคัญ สภาพปัญหา/ความต้องการ สถำนกำรณ์ ปัจจุบัน คนส่ ว นใหญ่หันมำบริ โภคอำหำรเพื่อ สุขภำพ หรื อ อำหำรที่ส ะอำดปรำศจำกสำร ปนเปื้อน เกษตรกรในประเทศต้องปรับตัวหันมำผลิตสินค้ำเกษตรอินทรีย์ที่ไม่มีสำรเคมีหรือสำรพิษเจือปน เพื่อเพิ่ม มูลค่ำของสินค้ำเกษตรและลดปัญหำสำรเคมีตกค้ำงในเลือดของเกษตรกร ทั้งนี้ จังหวัดนครพนมเน้นเรื่องของกำร ส่งเสริมกำรปลูกข้ำวหอมมะลิตำมมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์เพื่อเพิ่มมูลค่ำข้ำวจังหวัดนครพนม ยังมีควำมจำเป็นอย่ำง ยิ่งในกำรพัฒนำสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน ของกลุ่มวิสำหกิจชุมชน ที่เป็นจุดกลำงในกำรรวบรวมและกระจำย ข้ำวหอมมะลิอินทรีย์ของจังหวัด รวมถึงกำรแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่ำง ๆ ให้มีควำมทันสมัยและตรงกับควำมต้องกำร ของผู้บริโภคในระบบห่วงโซ่ผลิตภัณฑ์ แต่กำรผลิตข้ำวหอมมะลิอินทรีย์ในจังหวัดนครพนม ยังมีสัดส่วนกำรผลิตน้อย กว่ำกำรผลิตข้ำวรวมของจังหวัดมำก และแนวโน้มควำมต้องกำรของผู้บริโภคต่อข้ำวหอมมะลิอินทรีย์เพิ่มขึ้น จึงเป็น โอกำสในกำรส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตข้ำวหอมมะลิอินทรีย์เพื่อเพิ่มมูลค่ำ และสร้ำงรำยได้ให้กับเกษตรกรมีชีวิต ควำมเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและยั่งยืนจึงเห็นควรให้มีกำรส่งเสริมเกษตรกรผลิตข้ำวหอมมะลิที่ได้กำรรับรองมำตรฐำนเกษตร อินทรีย์เพิ่มขึ้นเพื่อรองรับควำมต้องกำรของตลำดให้มีควำมสมดุลในระบบห่วงโซ่กำรผลิต กำรปลูกพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด ได้แก่ สินค้ำเกษตร GIสับปะรดลิ้นจี่ นพ.๑ รวมถึงสินค้ำเกษตรอืน่ ๆ ประกอบด้วย พืชผักอินทรีย์ ถั่วลิสง มันสำปะหลังแตงโมไร้ปลอดภัย พืชสมุนไพร ที่จังหวัดมีศักยภำพในกำรแปร รูปผ่ำนโรงคัดตัดแต่งพืชผักปลอดภัย โรงงำนแปรรูปสมุนไพรที่ได้รับกำรรับรองมำตรฐำน GMP ซึ่งยังขำดควำม สมดุลของปริมำณกำรผลิตและควำมต้องกำรตลำด และสินค้ำเกษตรที่กำลังพัฒนำ ประกอบด้วย ทุเรียน ขนุน มังคุด และเงำะ ซึ่งเป็นสินค้ำหลักที่มีกำรส่งออกผ่ำนสะพำนมิตรภำพไทย-ลำว แห่งที่ ๒ ซึ่งไม่ใช้สินค้ำที่ผลิตในพื้นที่ จังหวัดนครพนม จึงเห็นควรให้มีกำรส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนำกำรส่งออก ด้ำนปศุสัตว์เพื่อเป็นกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งและยั่งยืน มุ่งเน้นด้ำนกำรตลำดเป็นสำคัญ ใช้กำรตลำดนำกำร ผลิตเพื่อให้ผู้เลีย้ งโคเนื้อของจังหวัดนครพนมเป็นเกษตรกรที่มีควำมมั่นคงทำงอำชีพและรำยได้ กำรพัฒนำโคเนื้อของ จังหวัดนครพนมมีควำมมุ่งหวังสูงสุด คือ กำรที่เกษตรกรมีรำยได้เพิ่มขึ้นและอยู่ดีกินดี จึงพัฒนำช่ องทำงกำรสร้ำง รำยได้ทั้งรำยได้แท้จริง (ขำยเนื้อโค/โคเนื้อมีชีวิต) และรำยได้เกี่ยวเนื่อง (ขำยปุ๋ยคอก/อำหำรสัตว์ ฯลฯ) กระบือขำด กำรพัฒนำพันธุ์กระบือ จึงมีควำมจำเป็นต้องดำเนินกำรทันทีในกำรให้เกษตรกรพัฒนำพันธุ์กระบือโดยอำศัยฟำร์ม ต้นแบบและชุมชนต้นแบบในกำรจัดกำรพัฒนำพันธุ์กระบืออย่ำงมีประสิทธิภำพ ด้ำนประมงมีกำรเลี้ยงปลำนิลแปลงเพศในกระชัง เพื่อจำหน่ำยให้แก่ผู้บริโภคภำยในเขตจังหวัดและพื้นที่ ใกล้เคียง แต่ผลผลิตในปัจจุบันยังไม่เพียงพอต่อควำมต้องกำรของผู้บริโภค ขณะที่พื้นที่แหล่งน้ำโขงเป็นแหล่งเลี้ยง ปลำในกระชังที่มีศักยภำพสูงมำก อีกทั้งกำรเลี้ยงในระบบ GAP (Good Agriculture Practice) หรือระบบกำรเลี้ยง สัตว์น้ำที่ดี จะเป็นกำรยกระดับกำรเลี้ยงสัตว์น้ำให้มีมำตรฐำนสำกล สำมำรถแข่งขันกับต่ำงประเทศได้

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

12 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑) เพื่อพัฒนำและสนับสนุนเกษตรกรผู้ปลูกข้ำวหอมมะลิเข้ำสู่กระบวนกำรเกษตรอินทรีย์และได้กำรรับรองกำรผลิต ข้ำวหอมมะลิมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์ ๒) เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตข้ำวหอมมะลิให้ได้ผลผลิตต่อไร่สูง และเพิ่มรำยได้ให้แก่เกษตรกร ๓) พัฒนำศักยภำพกำรแปรรูปสินค้ำเกษตรด้ำนกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ บรรจุ ภัณฑ์ คุณภำพมำตรฐำนสินค้ำเกษตร เพื่อส่งเสริมกำรผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้ตรงตำมควำมต้องกำรของตลำด ๔) เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตรที่สำคัญทำงเศรษฐกิจได้แก่ สับปะรด ลิ้นจี่ นพ.๑ พืชผักปลอดภัย แตงโมปลอดภัยมันสำปะหลังพืชสมุนไพร ทุเรียน ขนุน เงำะโรงเรียน และมังคุด เพื่อเพิ่มคุณภำพกำรผลิตและลด ต้นทุนกำรผลิต และเป็นแหล่งเรียนรู้กำรผลิตทำงกำรเกษตรตำมมำตรฐำน GAP และอินทรีย์ และเป็นทำงเลือก อำชีพกำรผลิตให้กับเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดนครพนม กิ จ กรรมหลั ก ที่ ๑ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต ข้ า วหอมมะลิ คุ ณ ภาพดี แ ละได้ ม าตรฐานเกษตรอินทรีย์ เป้าหมายเกษตรกร ๕๒๐ ราย งบประมาณ ๑,๗๖๖,๑๕๐ บาท โดย สานักงานเกษตรจังหวัดนครพนม และ สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม กิจกรรมย่อยที่ ๑.๓ พัฒนำศักยภำพผู้นำเกษตรกรอินทรีย์จังหวัดนครพนมเพื่อยกระดับและสร้ำงเครือข่ำยเกษตรกร อินทรีย์ เป้ำหมำยเกษตรกร ๒๕๐ รำยงบประมำณ ๓๑๘,๗๐๐ บำทโดย สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครพนม ๑) พัฒนำศักยภำพเกษตรกร (ผู้นำเกษตรกร) ระดับพื้นฐำนเพื่อเตรียมควำมพร้อมในกำรเชื่อมโยงเครือข่ำย เกษตรกรเกษตรอินทรี ย์ในกำรส่งเสริมกำรลดต้นทุนกำรผลิต และกำรบริหำรจัดกำรกลุ่ มเกษตรกร เป้ำหมำย เกษตรกร ๑๕๐ รำย จำนวน ๓ วัน ผลการดาเนินงาน ได้รับจัดสรรงบประมำณ ๑๘๕,๘๕๐ บำท ดำเนินกำร เบิกจ่ำยคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ดำเนินกำรเสร็จเรียบร้อยแล้วคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ โดยดำเนินกำรกำหนดกำรฝึกอบรมพัฒนำศักยภำพเกษตรกร (ผู้นำ เกษตรกร) ระดับพื้นฐำน เพื่อเตรียมควำมพร้อมในกำรเชื่อมโยงเครือข่ำย เกษตรกรเกษตรอิ น ทรี ย์ ในกำรส่ ง เสริ ม กำรลดต้ น ทุ น กำรผลิ ต และกำร บริ หำรจัดกำรกลุ่ มเกษตรกร โครงกำรเพิ่ มประสิ ทธิภ ำพกำรผลิ ต สิ น ค้ ำ เกษตรที่สำคัญทำงเศรษฐกิจของจังหวัดนครพนม กิจกรรมหลักที่ ๑ กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตข้ำวหอมมะลิ คุณภำพดีและได้มำตรฐำนระหว่ำงวันที่ ๒๔ - ๒๖ มีนำคม ๒๕๖๔ ณ กลุ่มวิสำหกิจชุมชนแปรรูปข้ำวตำบลบ้ำนผึง้ ตำบลบ้ำนผึ้ง อำเภอเมืองนครพนม

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 13 ๒) พัฒนำศักยภำพเกษตรกรอินทรีย์ (ผู้นำเกษตรกร) ในระดับกลำงเพื่อยกระดับผู้นำเกษตรกรอินทรีย์ในกำรส่งเสริม กำรรวมกลุ่ ม กำรท ำงำนแบบเครื อ ข่ ำ ยกำรแปรรู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ และกำรต่ อ ยอดผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นกำรเชื่ อ มโยง ตลำด ภำยในประเทศและต่ำงประเทศ เป้ำหมำยเกษตรกร ๑๐๐ รำย จำนวน ๓ วัน งบประมำณ ๑๓๒,๘๕๐ บำท ผลการดาเนินงาน ได้รับจัดสรรงบประมำณ ๑๓๒,๘๕๐ บำท ดำเนินกำร เบิกจ่ำยคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ดำเนินกำรเสร็จเรียบร้อยแล้วคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ โดยดำเนินกำรกำหนดกำรฝึกอบรมพัฒนำศักยภำพเกษตรกร (ผู้นำเกษตรกร) ระดับกลำง เพื่อยกระดับผู้นำเกษตรกรอินทรีย์ในกำรส่งเสริมกำรรวมกลุ่มกำร ทำงำนแบบเครือข่ำยกำรแปรรูปผลิตภัณฑ์และกำรต่อยอดผลิตภัณฑ์ในกำร เชื่ อ มโยงตลำดภำยในประเทศและต่ำงประเทศ กิจกรรมหลั กที่ ๑ กำรเพิ่ม ประสิทธิภำพกำรผลิตข้ำวหอมมะลิคุณภำพดีและได้มำตรฐำน ระหว่ำงวันที่ ๑๗ - ๑๙ มีนำคม ๒๕๖๔ ณ กลุ่มวิสำหกิจชุมชนแปรรูปข้ำวตำบลบ้ำนผึ้ง ตำบลบ้ำนผึ้ง อำเภอเมืองนครพนม กิจกรรมหลักที่ ๒ เพิ่มมูลค่าข้าวหอมมะลิคุณภาพดีและได้มาตรฐาน และยกระดับกลุ่มเกษตรในการแปรรูป สินค้าเกษตรเพิ่มมูลค่า เพื่อสร้างความเข้มแข็งยั่งยืนเป้าหมายเกษตรกร ๑,๑๙๐ ราย งบประมาณ ๑,๖๗๘,๘๐๐ บาทโดย สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม กิจกรรมย่อยที่ ๒.๑ เพิ่มมูลค่ำข้ำวหอมมะลิด้วยกำรตรวจรับรองมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์ตำมระบบควบคุมภำยใน เป้ำหมำยเกษตรกร ๑,๑๕๐ รำยงบประมำณ ๑,๒๕๗,๗๕๐ บำท ๑) ตรวจรับรองมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์เป้ำหมำยเกษตรกร ๑,๐๕๐ รำย งบประมำณ ๑,๑๖๙,๓๐๐ บำท (ยกเลิก กิจกรรมเนื่องจำกสถำนกำรณ์กำรระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่ำ ๒๐๑๙) ๒) ฝึกอบรมผู้ตรวจประเมินแปลงเบื้องต้น เกษตรกร ๑๐๐ รำย จำนวน ๒ วัน งบประมำณ ๘๘,๔๕๐ บำท ผลการดาเนินงาน ได้รับจัดสรรงบประมำณ ๘๘,๔๕๐ บำท ส่งคืนเงินประมำณ ๑,๐๕๐ บำท งบประมำณคงเหลือ ๘๗,๔๐๐ บำท ดำเนินกำรเบิกจ่ำยคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ดำเนินกำรเสร็จเรียบร้อยแล้วคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ โดย ดำเนินกำรฝึกอบรมพัฒนำศักยภำพผู้ตรวจประเมินแปลงเบื้องต้น ระหว่ำงวันที่ ๓๐ - ๓๑ มีนำคม ๒๕๖๔ ณ กลุ่ม วิสำหกิจชุมชนแปรรูปข้ำวตำบลบ้ำนผึ้ง ตำบลบ้ำนผึ้ง อำเภอเมืองนครพนม

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

14 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ กิจกรรมย่อ ยที่ ๒.๒ พั ฒนำและสนับสนุนกลุ่ มวิสำหกิจชุมชนแปรรู ปข้ำวอิ นทรี ย์เ พื่อกำรค้ำ โดยคัดเลือ กกลุ่ม เกษตรกรและวิสำหกิจชุมชนแปรรูปข้ำวที่อยู่ระหว่ำงกำรพัฒนำ งบประมำณ ๔๒๑,๐๕๐ บำท ๑) อบรมเพิ่มประสิทธิภำพกระบวนกำรผลิตและแปรรูปข้ำว ให้กับกลุ่มเกษตรกร และวิสำหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัด นครพนม เพื่อพัฒนำเป็น Smart Farmer และเพิ่มช่องทำงกำรแปรรูปผลิตภัณฑ์ เป้ำหมำยเกษตรกรจำนวน ๔๐ คน หลักสูตร ๒ วัน งบประมำณ ๔๖,๐๕๐ บำท ผลการดาเนินงาน ได้รับจัดสรรงบประมำณ ๔๖,๐๕๐ บำท ส่งคืนงบประมำณ ๕,๐๐๐ บำท คงเหลืองบประมำณ ๔๑,๐๕๐ บำท ดำเนินกำรเบิกจ่ำยคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ดำเนินกำรเสร็จเรียบร้อยแล้วคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ โดย ดำเนินกำรฝึกอบรมเพิ่มประสิทธิภำพกระบวนกำรผลิตและแปรรูปข้ำว ให้กับกลุ่มเกษตรกร และวิสำหกิ จชุมชนใน พื้นที่จังหวัดนครพนม เพื่อพัฒนำเป็น Smart Farmer และเพิ่มช่องทำงกำรแปรรูปผลิตภัณฑ์ ระหว่ำงวันที่ ๒๒ ๒๓ มีนำคม ๒๕๖๔ ณ กลุ่มวิสำหกิจชุมชนแปรรูปข้ำวตำบลบ้ำนผึ้ง ตำบลบ้ำนผึ้ง อำเภอเมืองนครพนม

๒) พัฒนำผลิตภัณฑ์แปรรูปจำกข้ำวให้กับกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มวิสำหกิจชุมชนแปรรูปข้ำวที่กำลังพัฒนำเพื่อเพิ่ม มูลค่ำสินค้ำข้ำว จำนวน ๕ แห่ง งบประมำณ ๓๗๕,๐๐๐ บำท - ค่ำจ้ำงเหมำออกแบบและพัฒนำบรรจุภัณฑ์จำนวน ๕ แห่ง แห่งละ ๗๕,๐๐๐ บำท เป็นเงิน ๓๗๕,๐๐๐ บำท ผลการดาเนินงาน ดำเนินกำรจัดจ้ำงออกแบบบรรจุภัณฑ์ งบประมำณ ๓๗๕,๐๐๐ บำท ดำเนินกำรเสร็จเรียบร้อย คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ๑. ออกแบบและพั ฒนำบรรจุภั ณ ฑ์ ให้กับกลุ่ มเกษตรกร และกลุ่ มวิส ำหกิจชุ มชนแปรรู ปข้ำว จำนวน ๕ แห่ง ประกอบด้วย ๑) ออกแบบและพัฒนำบรรจุภัณฑ์ กลุ่มเกษตรกรแปรรูปข้ำวอินทรีย์บ้ำนเหล่ำทุ่ง ประกอบด้วย ๑.๑ ถุงข้ำว (Vacuum) บรรจุ ๑ กิโลกรัม จำนวน ๗,๕๐๐ ใบ ๑.๒ ฉลำก (สำยคำด) จำนวน ๗,๕๐๐ ใบ ๒) ออกแบบและพัฒนำบรรจุภัณฑ์ กลุ่มวิสำหกิจชุมชนเพิ่มผลผลิตกำรเกษตรบ้ำนเทพนม ประกอบด้วย กระสอบบรรจุเมล็ดพันธุ์ข้ำว ขนำด ๒๕ กิโลกรัม จำนวน ๗,๕๐๐ ใบ ๓) ออกแบบและพัฒนำบรรจุภัณฑ์ กลุ่มวิสำหกิจชุมชนกลุ่มข้ำวปลอดภัยบ้ำนดอนดู่ หมู่ที่ ๑๒ ประกอบด้วย ๓.๑ ถุงข้ำว (Vacuum) บรรจุ ๑ กิโลกรัม จำนวน ๗,๕๐๐ ใบ ๓.๒ ฉลำก (สำยคำด) จำนวน ๗,๕๐๐ ใบ ๔) ออกแบบและพัฒนำบรรจุภัณฑ์ กลุ่มแปลงใหญ่ข้ำวอินทรีย์โพนสวรรค์ ประกอบด้วย กระสอบบรรจุ ข้ำวสำร ขนำด ๑๐ กิโลกรัม จำนวน ๕,๐๐๐ ใบ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 15 ๕) ออกแบบและพัฒนำบรรจุภัณฑ์ กลุ่มแปลงใหญ่บุญเพียรข้ำวอินทรีย์ตำบลฝั่งแดง ประกอบด้วย ๕.๑ ถุงข้ำว (Vacuum) บรรจุ ๑ กิโลกรัม จำนวน ๗,๕๐๐ ใบ ๕.๒ ฉลำก (สำยคำด) จำนวน ๗,๕๐๐ ใบ ๒. ดำเนินกำรส่งมอบบรรจุภัณฑ์ให้กับกลุ่มเกษตรกร และกลุ่มวิสำหกิจชุมชนเป้ำหมำย ดังนี้ ๑) ถุงข้ำว (Vacuum) บรรจุ ๑ กิโลกรัม สำหรับกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มวิสำกิจชุมชน จำนวน ๓ แห่ง แห่งละ ๗,๕๐๐ ใบ รวม ๒๒,๕๐๐ ใบ - ขนำด ๑๒๕ มิลลิเมตร x ๓๐๐ มิลลิเมตร

- พับข้ำง ๒๕ มิลลิเมตร และวัสดุผลิตจำก NYLON/DL/LLDE ควำมหนำไม่น้อยกว่ำ ๑๓๐-๑๓๓ MIC

๒. ฉลำก (สำยคำด) ส ำหรั บกลุ่ มเกษตรกรและกลุ่ มวิส ำหกิจชุ มชน จำนวน ๓ แห่ง แห่งละ ๗,๕๐๐ ใบ รวม ๒๒,๕๐๐ ใบ - ขนำด ๓๗ x ๙ เซ็นติเมตร - วัสดุกระดำษอำร์ตมัน ๑๐๕ แกรม - ออกแบบ และจัดทำฉลำก พิมพ์ ๔ สี ฉลำกมีรำยละเอียดตรำบรรจุภัณฑ์ (โลโก้) และแหล่งผลิตตำมรำยละเอียด ของกลุ่มเกษตรกร และกลุ่มวิสำหกิจชุมชน จำนวน ๓ แห่ง มีโลโก้จังหวัดนครพนม และโลโก้กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กลุ่มที่ ๑ กลุ่มเกษตรกรแปรรูปข้ำวอินทรีย์บ้ำนเหล่ำทุ่ง

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

16 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ กลุ่มที่ ๒ กลุ่มวิสำหกิจชุมชนกลุ่มข้ำวปลอดภัยบ้ำนดอนดู่

กลุ่มที่ ๓ กลุ่มแปลงใหญ่บุญเพียรข้ำวอินทรีย์ตำบลฝั่งแดง

๓. กระสอบ สำหรับบรรจุเมล็ดพันธุ์ข้ำว (ข้ำวเปลือก) ขนำดบรรจุ ๒๕ กิโลกรัม พร้อมสกรีนฉลำก จำนวน ๓,๐๐๐ ใบ ดังนี้ - ขนำด ๒๑ x ๓๔ นิ้ว - วัสดุกระสอบพลำสติกสำน สีขำว - ออกแบบและจัดพิมพ์สกรีนฉลำก พิมพ์ ๑ หน้ำ ๒ สี (ไม่เคลือบ) เกรด ๗๐ ๗๕ แกรม ฉลำกมีร ำยละเอี ยดตรำบรรจุภั ณฑ์ (โลโก้) และแหล่ งผลิ ตตำม รำยละเอียดของกลุ่มเกษตรกร และกลุ่มวิสำหกิจชุมชน จำนวน ๑ แห่ง มีโลโก้ จังหวัดนครพนม และโลโก้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๔. กระสอบ สำหรับบรรจุข้ำวสำร ขนำดบรรจุ ๑๐ กิโลกรัม พร้อมสกรีนฉลำก จำนวน ๕,๐๐๐ ใบ ดังนี้ - ขนำด ๑๔ x ๒๒ นิ้ว - วัสดุกระสอบพลำสติกสำน สีขำว - ออกแบบและจัดพิมพ์สกรีนฉลำก พิมพ์ ๒ หน้ำ ๒ สี (ไม่เคลือบ) เกรด ๔๐ - ๔๕ แกรม ฉลำกมีรำยละเอียดตรำ บรรจุภัณฑ์ (โลโก้) และแหล่งผลิตตำมรำยละเอียดของกลุ่มเกษตรกร และกลุ่มวิสำหกิจชุมชน จำนวน ๑ แห่ง มีโล โก้จังหวัดนครพนม และโลโก้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงกำหนด โดยส่งมอบฉลำกตัวอย่ำงที่สมบูรณ์ ให้กับผู้ว่ำจ้ำงก่อนกำรตีพิมพ์)

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 17

รำยงำนผลกำรดำเนินโครงกำร ๑ ตำบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวัดนครพนม เป็นกำรสรุปผลกำร ดำเนินงำนตำมกิจกรรมหลักในภำพรวมของโครงกำรฯ ที่คณะทำงำนขับเคลื่อนโครงกำรฯ ระดับจังหวัด และระดับ อำเภอ บูรณำกำรกำรดำเนินงำนร่วมกัน ซึ่งสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม เป็นหน่วยงำนหลักในกำร ดำเนินกำรประสำนงำนและอำนวยกำร โดยมีผลกำรดำเนินงำนดังนี้ ๓.๑ การอานวยการและการบริหารโครงการ เป็นกำรเตรียมควำมพร้อมหน่วยงำนที่ร่วมบูรณำกำรกำรดำเนินงำนเพื่อให้กำรขับเคลื่อนโครงกำรฯ เกิดควำม ชัดเจนในกำรบริหำรจัดกำร ตำมแนวทำงที่กำหนดและเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ ผลการดาเนินงาน : สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนมได้ชี้แจงแนวทำงกำรดำเนินงำนโครงกำรฯ โดย กำรจัดประชุมคณะทำงำนขับเคลื่อนโครงกำร ๑ ตำบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ระดับจังหวัด และระดับอำเภอ ทำ หนังสื อ ชี้ แจงแนวทำงกำรดำเนินงำน รวมถึงแจกจ่ำยคู่มือกำรปฏิบัติงำนโครงกำรฯ ที่ได้รั บจำกกองนโยบำย เทคโนโลยีเพื่อกำรเกษตร สำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๓.๒ จานวนเกษตรกรที่สมัครเข้าร่วมโครงการ จังหวัดนครพนม เปิดรับสมัครเกษตรกรเข้ำร่วมโครงกำรและจ้ำงแรงงำนระดับตำบล ตำมรอบระยะเวลำที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนด ๔ รอบ ได้แก่ รอบที่ ๑ ระหว่ำงวันที่ ๒๗ สิงหำคม ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๙ กันยำยน ๒๕๖๓ ผลการรับสมัคร รอบที่ ๒ ระหว่ำงวันที่ ๑๘ ถึงวันที่ ๒๒ กันยำยน ๒๕๖๓ เกษตรกรและ รอบที่ ๓ ระหว่ำงวันที่ ๘ ถึงวันที่ ๒๒ ตุลำคม ๒๕๖๓ และ จ้างแรงงาน ระดับตาบล ดังนี้ รอบที่ ๔ ระหว่ำงวันที่ ๕ ถึงวันที่ ๑๕ มีนำคม ๒๕๖๔ ๓.๒.๑ จานวนเกษตรกรที่สมัครและได้รับการคัดเลือกโครงการ อาเภอ เป้าหมาย (อาเภอ)

ตาบลเป้าหมาย (ตาบล)

๑๑

๕๙

เป้าหมาย (ราย)

จานวนเกษตรกร ที่สมัครเข้าร่วม โครงการทัง้ หมด (ราย)

จานวน เกษตรกรที่ ได้รับการ คัดเลือก (ราย)

๙๔๔

๑,๑๖๔

๕๕๒*

จานวนเกษตรกรที่ไม่ได้รับการคัดเลือก (ราย) ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่าน เกษตรกร คุณสมบัติ เกษตรกรยกเลิก เกณฑ์การ ยกเลิกการ แต่ไม่ได้รับ เข้าร่วมโครงการ คัดเลือก สมัคร คัดเลือก

๖**

๑๐๘

๒๒๐

หมายเหตุ * ข้อมูลเกษตรกรคงเหลือเข้ำร่วมโครงกำร ณ วันที่ ๘ กันยำยน ๒๕๖๔ ** เนื่องจำกมีเกษตรกรเข้ำร่วมไม่ครบตำมเกณฑ์ที่กำหนด (ตำบลละ ๒ รำยขึ้นไป)

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

๒๗๘

18 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ๓.๒.๒ จานวนเกษตรกรที่ได้รับการคัดเลือกโครงการ แบ่งตามประเภทของเกษตรกร ประเภท เกษตรกรทั่วไป

จานวน ๕๐๖ รำย

เกษตรกร ๕ ประสานฯ

๔๖ รำย

รวมจานวน

๕๕๒ ราย

หมายเหตุ * ข้อมูลเกษตรกรคงเหลือเข้ำร่วมโครงกำร ณ วันที่ ๘ กันยำยน ๒๕๖๔ ๓.๒.๓ จานวนผู้สมัครจ้างงานเกษตรทฤษฎีใหม่ระดับตาบล อาเภอเป้าหมาย (อาเภอ)

ตาบลเป้าหมาย (ตาบล)

เป้าหมายจ้างงานเกษตร ทฤษฎีใหม่ (ราย)

จานวนผู้สมัคร

๑๑

๕๙

๔๗๒

๕๙๕

๓.๒.๔ จานวนจ้างงานเกษตรทฤษฎีใหม่ระดับตาบลที่ได้รับการคัดเลือกในแต่ละเดือน เดือน ธันวาคม ๒๕๖๓ มกราคม ๒๕๖๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ มีนาคม ๒๕๖๔ เมษายน ๒๕๖๔

จานวนผู้ที่ได้รับการ คัดเลือกให้ปฏิบัติงาน ๑๗๒ ๑๗๙ ๑๗๙ ๒๗๖ ๓๐๕

เดือน พฤษภาคม ๒๕๖๔ มิถุนายน ๒๕๖๔ กรกฎาคม ๒๕๖๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ กันยายน ๒๕๖๔

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

จานวนผู้ที่ได้รับการ คัดเลือกให้ปฏิบัติงาน ๒๙๘ ๒๘๙ ๒๘๔ ๒๘๒ ๒๗๑

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 19 ๓.๓ การสนับสนุนเกษตรกร ๓.๓.๑ ผลการดาเนินงานการพัฒนาพื้นที่ (สระเก็บกักน้า) สถำนีพัฒนำที่ดินนครพนม ขุดสระเก็บกักน้ำให้แก่เกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำร โดยแบ่งตำมขนำดสระเก็บน้ำได้ดังนี้ ขนาดพื้นที่เข้าร่วม โครงการ (ไร่) ๒.๕ ไร่ ๓ ไร่ ๔ ไร่ ๕ ไร่

ปริมาณดินขุด

จานวนเกษตรกร (ราย)

๑,๘๐๐ ลูกบำศก์เมตร ๔๙ ๒,๑๐๐ ลูกบำศก์เมตร ๒๓๗ ๒,๘๐๐ ลูกบำศก์เมตร ๔๐ ๓,๕๐๐ ลูกบำศก์เมตร ๙๐ ผลรวมทั้งหมด ๔๑๖ * หมำยเหตุ * ข้อมูล ณ วันที่ ๑๗ กันยำยน ๒๕๖๔ กำรสนับสนุนกำรขุดสระเก็บกักน้ำ สิ้นสุดสัญญำจ้ำง เดือน ธันวำคม ๒๕๖๔ ปัจจุบันเริ่ มมีกำรใช้ ประโยชน์จำกแหล่ งน้ำ โดยเกษตรกรได้เ ริ่ มปลู กหญ้ำแฝกเพื่ อ ป้อ งกันกำรชะล้ำง พังทลำยของดินและได้ปลูกพืชริมขอบบ่อ เช่น ตะไคร้ ไม้ผล และเลี้ยงสัตว์บริเวณริมสระเก็บกักน้ำ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

20 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ๓.๓.๒ ผลการดาเนินงานฝึกอบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ดำเนินกำรฝึกอบรมเฉพำะเกษตรกรรำยใหม่ และไม่เป็น เกษตรกรเข้ ำร่ ว มโครงกำรส่ งเสริ ม เกษตรทฤษฎี ใหม่ (๕ ประสำน สื บ สำนเกษตรทฤษฎี ใ หม่ ถวำยในหลวง) โดยแบ่งเป็น ๔ ครั้ง ได้แก่ จานวนเกษตรกร (ราย)

ระยะเวลา/งบประมาณ

กระบวนการเรียนรู้ครั้งที่ ๑ ๕๕๒ ประกอบด้วย ๔ วิชา ได้แก่ - องค์ความรู้และการขับเคลื่อนการพัฒนาตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - รูปธรรมของการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงในการพัฒนาการเกษตร - แนวคิด หลักการ และรูปแบบของเกษตร ทฤษฎีใหม่ : การบริหารจัดการน้าด้วยระบบ และวิธีการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - หลักพื้นฐานและความสัมพันธ์ของการวาง แผนการผลิต และการตลาด

๒๐ รุ่น รุ่นละ ๒ วัน ระหว่ำง วันที่ ๙-๓๑ กรกฎำคม ๒๕๖๔ งบประมำณ ๔๑๑,๕๙๐ บำท

กระบวนการเรียนรู้ครั้งที่ ๒ ประกอบด้วย ๒ วิชา ได้แก่ - กระบวนการวางแผนการดาเนินการเกษตร ทฤษฎีใหม่ - ทฤษฎีใหม่แบบครบวงจร : จากการผลิตสู่ การตลาด

อบรมผ่ำน Application Zoom จำนวน ๑ วัน วันที่ ๑๔ สิงหำคม ๒๕๖๔ งบประมำณ ๙,๐๐๐ บำท

๕๓๒

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 21 จานวน เกษตรกร (ราย) ๕๓๒

กระบวนการเรียนรู้ครั้งที่ ๓ ประกอบด้วย ๒ วิชา ได้แก่ - การบูรณาการเพื่อการขับเคลื่อนการดาเนินงาน การสร้างเครือข่าย/กลุม่ เกษตรทฤษฎีใหม่ - การบริหารจัดการเครือข่ายและการขยายผล เกษตรทฤษฎีใหม่ กระบวนการเรียนรู้ครั้งที่ ๔ ๕๓๒ การศึกษาเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ แปลง ต้นแบบ นายสุนนั ท์ มหาวงษ์ ตาบลนาเดื่อ อาเภอ ศรีสงคราม จังหวัดนครพนม

ระยะเวลา/งบประมาณ อบรมผ่ำน Application Zoom จำนวน ๑ วัน วันที่ ๑๕ สิงหำคม ๒๕๖๔

ศึกษำดูงำนผ่ำน Facebook Live จำนวน ๑ วัน วันที่ ๑๕ สิงหำคม ๒๕๖๔

๓.๓.๓ ผลการพัฒนาการผลิตด้านพืช ด้านประมง และด้านปศุสัตว์ (๑) กิจกรรมการปรับปรุงบารุงดิน สถำนีพัฒนำที่ดินนครพนม สนับสนุนปัจจัยกำรผลิตในกำรปรับปรุงบำรุงดิน พร้อมถ่ำยทอดองค์ควำมรู้ด้ำน กำรพัฒนำที่ดินให้กับเกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำรฯและได้รับกำรขุดสระเก็บกักน้ำแล้ว จำนวน ๓๙๐ รำย (ยกเว้น เกษตรกรที่เคยเข้ำร่วมโครงกำร ๕ ประสำนสืบสำนเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวำยในหลวง) (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยำยน ๒๕๖๔) เพื่อปรับปรุงบำรุงดินให้มีควำมอุดมสมบูรณ์ และเหมำะสมในกำรปลูกพืช งบประมำณ ๕๗๓,๓๐๐ บำท ประกอบด้วย - ปูนเพื่อกำรเกษตร (โดโลไมท์) - น้ำหมักชีวภำพ (ถังหมัก, กำกน้ำตำล, วัสดุหมัก)

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

22 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ (๒) กิจกรรมการสนับสนุนปัจจัยการผลิตด้านพืช สำนักงำนเกษตรจังหวัดนครพนม สนับสนุนปัจจัย กำรผลิตด้ำนพืช โดยสนับสนุนไม้ผล จำนวน ๑๐ ชนิด ได้แก่ กล้วยน้ำว้ำ เงำะ ฝรั่ง มะขำมเปรี้ยว ละมุด พุทรำ มะละกอ ขนุน และมะพร้ำวน้ำหอม ให้เกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำรฯ ตำมควำมต้องกำรของเกษตรกรรำยบุคคล โดยส่งมอบปัจจัย กำรผลิตด้ำนพืชให้แก่เกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำรฯ และได้รับ กำรขุดสระเก็บน้ำเรียบร้อยแล้ว จำนวน ๓๙๐ รำย (ยกเว้น เกษตรกรที่เคยเข้ำร่วมโครงกำร ๕ ประสำนสืบสำนเกษตร ทฤษฎีใหม่ ถวำยในหลวง) (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยำยน ๒๕๖๔) งบประมำณ ๕๗๓,๓๐๐ บำท

(๓) กิจกรรมการสนับสนุนปัจจัยการผลิตด้านประมง สำนักงำนประมงจังหวัดนครพนม ดำเนินกำร สนั บ สนุ น ปั จ จั ย กำรผลิ ต ให้ แ ก่ เ กษตรกรที่ เ ข้ ำ ร่ ว ม โครงกำรฯ และได้รับกำรขุดสระเก็บน้ำแล้ว (ยกเว้น เกษตรกรที่เคยเข้ำร่วมโครงกำร ๕ ประสำนสืบสำน เกษตรทฤษฎีใหม่ ถวำยในหลวง) จำนวน ๒๗๐ รำย งบประมำณ ๓๙๖,๙๐๐ บำท ได้แก่ ปลำนิล รำยละ ๗๐๐ ตั ว อำหำรเม็ ด ส ำเร็ จ รู ป รำยละ ๑ กระสอบ (ข้อมูล ณ วันที่ ๒๙ กันยำยน ๒๕๖๔)

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 23 (๔) กิจกรรมการสนับสนุนปัจจัยการผลิตด้านปศุสัตว์ สำนักงำนปศุสัตว์จังหวัดนครพนม ดำเนินกำรสนับสนุนปัจจัยกำรผลิตด้ำนปศุสัตว์ให้แก่เกษตรกรที่เข้ำร่วม โครงกำรฯ และได้รับกำรขุดสระเก็บน้ำแล้ว (ยกเว้นเกษตรกรที่เคยเข้ำร่วมโครงกำร ๕ ประสำน สืบสำนเกษตร ทฤษฎีใหม่ ถวำยในหลวง) จำนวน ๓๙๖ รำย (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยำยน ๒๕๖๔) งบประมำณ ๕๘๒,๑๒๐ บำท โดยสนับสนุนปัจจัยกำรผลิตด้ำนปศุสัตว์ ตำมควำมต้องกำรของเกษตรกรรำยบุคคล ได้แก่ - สนับสนุนไก่ไข่ จำนวน ๓๘๘ รำย รำยละ ๖ ตัว พร้อมอำหำรรำยละ ๑๐ กิโลกรัม - สนับสนุนเป็ดไข่ จำนวน ๗ รำย รำยละ ๕ ตัว พร้อมอำหำรรำยละ ๒๓.๕ กิโลกรัม - สนับสนุนไก่พื้นเมือง จำนวน ๔๐ รำย รำยละ ๑๒ ตัว พร้อมอำหำรรำยละ ๓๕ กิโลกรัม - สนับสนุนเป็ดเทศ จำนวน ๔ รำย รำยละ ๕ ตัว พร้อมอำหำรรำยละ ๒๓.๕ กิโลกรัม - สนับสนุนกำกน้ำตำล จำนวน ๔ รำย รำยละ ๙๘ กิโลกรัม - สนับสนุนข้ำวโพดป่น จำนวน ๑ รำย รำยละ ๙๘ กิโลกรัม - สนับสนุนรำ,ปลำยข้ำว จำนวน ๑ รำย (รำ ๕๐ กิโลกรัม, ปลำยข้ำว ๔๘ กิโลกรัม) - สนับสนุนข้ำวโพดป่น, ปลำยข้ำว จำนวน ๑ รำย (ข้ำวโพดป่น ๕๐ กิโลกรัม ปลำยข้ำว ๔๘ กิโลกรัม) ๓.๓.๔ ผลการพัฒนากลุ่มเกษตรกร คณะทำงำนขับเคลื่อนโครงกำร ๑ ตำบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ระดับจังหวัดเห็นชอบกำรคัดเลือกพื้นที่ ตำบลนำเดื่อ เป็นตำบลต้นแบบกลุ่มต้นแบบพัฒนำอำชีพและกำรตลำด โครงกำร ๑ ตำบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวัดนครพนม ตำมที่สำนักงำนปศุสัตว์จังหวัดนครพนมเสนอ โดยมีจำนวน สมำชิกเป็นเกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำรฯ จำนวน ๗ คน และได้รับกำรขุดสระ เก็บน้ำจำกสถำนีพัฒนำที่ดิน นครพนมเรียบร้อยแล้ว ผลผลิตที่เป็นที่เป็นสินค้ำ หลักด้ำนพืช ประมง ปศุสัตว์ ได้แก่ ข้ำวหอมมะลิ ๑๐๕ กล้วย ปลำนิล และไก่ พื้ นเมื อง ทั้ ง นี้ ได้ ด ำเนิ น กำรจดทะเบี ย นวิ ส ำหกิ จ ชุ ม ชนชื่ อ “กลุ่ ม ต้ น แบบ โครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ตาบลนาเดื่อ”

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

24 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ๓.๓.๕ ผลการพัฒนาตลาดและการเชื่อมโยงตลาด ในกระบวนกำรเรียนรู้ครั้งที่ ๒ หลักสูตรกำรวิเครำะห์พื้นที่และกำรวำงแผนกำรผลิต เมื่อวันที่ ๑๔ สิงหำคม ๒๕๖๔ กระบวนกำรเรียนรู้ครั้งที่ ๓ กำรรวมกลุ่ม นอกจำกกำรบรรยำยและแลกเปลี่ยนประสบกำรณ์ระหว่ำง วิทยำกรกับเกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำรแล้วสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนมได้มอบหมำยให้แรงงำน เกษตรทฤษฎีใหม่ระดับตำบล สำรวจผลผลิตทำงกำรเกษตร พร้อมทั้งข้อมูลแหล่งตลำดและแหล่งรับซื้อผลผลิตของ เกษตรกร โดยสรุปผลกำรสำรวจได้ดังนี้ (๑) ชนิดสินค้ำที่เกษตรกรโครงกำร ๑ ตำบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ผลิต โดยแบ่งเป็น - สินค้ำเกษตรด้ำนพืช เช่น ข้ำวจ้ำว ข้ำวเหนียว พืชผักสวนครัว ไม้ผล ไม้ยืนต้นต่ำง ๆ เป็นต้น - สินค้ำเกษตรด้ำนประมง เช่น ปลำนิล ปลำตะเพียน ลูกอ๊อด เป็นต้น - สินค้ำเกษตรด้ำนปศุสัตว์ เช่น สุกร โคเนื้อ วัวพื้นบ้ำน ไก่ไข่ เป็ด ไก่พื้นเมือง เป็นต้น - สินค้ำประเภทกำรแปรรูปผลิตภัณฑ์จำกผลผลิตทำงกำรเกษตร เช่น ถั่วเคลือบ ถั่วคั่วทรำย เสื่อจำกกก เครื่อง จักสำน ถ่ำนไบโอชำร์จำกไผ่กิมซุง เป็นต้น ผลกำรสำรวจข้อมูลผลผลิตทำงกำรเกษตรของเกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำร ๑ ตำบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ดังนี้ ชนิดสินค้าที่เกษตรกรผลิต

ร้อยละ

สินค้าเกษตรด้านพืช

๖๖

สินค้าเกษตรด้านประมง

๑๒

สินค้าเกษตรด้านปศุสัตว์



สินค้าประเภทการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผลผลิตทาง การเกษตร

๑๖

(๒) ข้อมูลแหล่งตลำดและแหล่งรับซื้อผลผลิตของเกษตรกร แบ่งเป็น - ในชุ ม ชน ได้ แ ก่ แ หล่ ง ตลำดและแหล่ ง รั บ ซื้ อ ผลผลิ ต ของเกษตรกรที่ อ ยู่ ใ นพื้ น ที่ ชุ ม ชน เช่ น ตลำดในชุ ม ชน ผู้ประกอบกำร/กลุ่มวิสำหกิจในชุมชนที่รับซื้อผลผลิต บุคคลทั่วไปในชุมชน - นอกชุมชน ได้แก่ ตลำดนอกชุมชน พ่อค้ำคนกลำง/ผู้ประกอบกำรซึ่งอยู่นอกพื้นที่ของเกษตรกรที่เข้ำมำรับซื้อสิ น ผลผลิต กำรส่งออกต่ำงประเทศ - ในชุมชนและนอกชุมชน ได้แก่ เกษตรกรมีกำรจำหน่ำยผลผลิตทั้งแหล่งตลำดที่อยู่ในพื้นที่ชุมชน และตลำดนอก ชุมชน รวมถึงจำหน่ำยให้พ่อค้ำคนกลำง/ผู้ประกอบกำรซึ่งอยู่นอกพื้นที่ของเกษตรกรที่เข้ำมำรับซื้อผลผลิต

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 25 ผลการสารวจแหล่งตลาดและแหล่งรับซื้อผลผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุม่ เกษตรทฤษฎีใหม่ แหล่งตลาดและแหล่งรับซื้อผลผลิตของเกษตรกร ในชุมชน นอกชุมชน ในชุมชนและนอกชุมชน

ร้อยละ ๖๗ ๒๐ ๑๓

๓.๓.๖ รายได้, รายจ่าย, หนี้สินและการออมของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม มอบหมำยให้แรงงำนเกษตรทฤษฎีใหม่ระดับตำบล สำรวจข้อมูล รำยได้, รำยจ่ำย, หนี้สิน และกำรออมของเกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำร ๑ ตำบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ จำนวน ๕๕๒ รำย ทั้งก่อนและหลังเข้ำร่วมโครงกำร ตำมแบบ รง ๐๒-๖ แบบบันทึกข้อมูลเกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำร ผล สำรวจดังนี้ (๑) ผลการสารวจรายได้, รายจ่าย, หนี้สนิ และการออมของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุ่มเกษตร ทฤษฎีใหม่ ก่อนเข้าร่วม โครงการ

หลังเข้าร่วมโครงการ

๑. รายได้เฉลี่ยจากภาคการเกษตร ของเกษตรกรต่อปี (บาท)

๖๔,๓๗๙

๖๗,๘๔๗

เพิ่มขึ้น ๓,๔๖๘ บำท

๒. รายได้เฉลี่ยนอกภาคการเกษตร ของเกษตรกรต่อปี (บาท)

๘๑,๓๔๓.๑๒

๗๖,๔๐๐

ลดลง ๔,๙๔๓ บำท

๓. รายจ่ายครัวเรือนเฉลี่ยต่อปี (บาท)

๑๐๒,๓๐๐.๘๓

๙๒,๘๔๕

ลดลง ๙,๔๕๕.๘๓ บำท

๔. หนี้สินเฉลี่ย (บาท)

๔๒๑,๙๓๘.๖๙

๓๙๖,๒๔๗

ลดลง ๒๕,๖๙๑.๖๙ บำท

๕. การออมเฉลี่ย (บาท)

๑๕,๙๘๓.๘๖

๑๖,๕๕๐

เพิ่มขึ้น ๕๖๖.๑๔ บำท

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

26 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ (๒) ผลการสารวจจานวนเกษตรกรที่มีรายได้เพิ่มขึ้น มีรายจ่าย/หนี้สินลดลง และมีการออมเพิ่มขึ้นภายหลังเข้า ร่วมโครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ จานวน (ราย) ๑. หลังเข้าร่วมโครงการเกษตรกรมีรายได้จากภาคการเกษตร ของเกษตรกรต่อปีเพิ่มขึ้น (ราย) ๒. หลังเข้าร่วมโครงการเกษตรกรมีรายจ่ายครัวเรือนต่อปีลดลง (ราย) ๓. หลังเข้าร่วมโครงการเกษตรกรไม่มีหนี้สินหรือมีหนี้สินลดลง (ราย) ๔. หลังเข้าร่วมโครงการมีจานวนเกษตรกรออมเงินเพิ่มขึ้น (ราย) ๕. หลังเข้าร่วมโครงการเกษตรกรมีการออมเงินในอัตราที่ เพิ่มขึ้น (ราย)

๑๘๖

คิดเป็นร้อยละของจานวน เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ๓๔

๑๔๕

๒๖

๒๖๒

๔๗

๑๗



๑๐๑

๑๘

๓.๓.๗ ผลการปฏิบัติงานของแรงงานเกษตรทฤษฎีใหม่ระดับตาบล โครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ แรงงำนเกษตรทฤษฎีใหม่ระดับตำบล ทำหน้ำที่ประสำน เชื่ อ มโยงกำรทำงำน ๑ ตำบล ๑ กลุ่ มเกษตรทฤษฎี ใหม่ของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้เข้ำถึงแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ สนั บ สนุ น กำรด ำเนิ น โครงกำรประสำนงำนในกำรถ่ ำ ยทอด ควำมรู้ แ ละแก้ไ ขปัญ หำด้ ำนกำรเกษตรให้เ กษตรกร สำรวจ จั ด เก็ บ และรำยงงำนข้ อ มู ล พื้ น ฐำนทำงกำรเกษตรให้ เ ป็ น ปัจจุบัน รวมถึงติดตำมสถำนกำรณ์กำรเกษตรรำยแปลง และ รำยงำน เหตุกำรณ์ ฉุกเฉินเร่ งด่วนต่อหน่ว ยงำน ประสำนเชื่ อมโยง เครือข่ำย ช่วยเหลือปรับปรุงข้อมูลเกษตรกรในพื้นที่ให้เป็น ปัจจุบัน รวมถึงสำมำรถเป็นตัวแทนของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ในกำรจัดทำแผนและขับเคลื่อนแผนเกษตรกรรม ยั่งยืนในระดับตำบล ผลการปฏิบัติงานของแรงงานเกษตรทฤษฎีใหม่ระดับ ตาบล : แรงงำนงำนเกษตรทฤษฎีใหม่ระดับตำบล จังหวัด นครพนม ได้ปฏิบัติงำนตำมหน้ำที่ดังนี้

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 27 ๑. สนับสนุนวำงแผนกำรผลิตแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ของเกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำรฯ และปฏิบัติงำนร่วมกับ เจ้ำหน้ำที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในกำรดำเนินงำนภำยใต้โครงกำร

ร่วมกับเกษตรกรจัดทำแผนกำรผลิตในแปลง

ร่วมกับสำนักงำนเกษตรอำเภอ เพื่อให้ควำมรูเ้ รือ่ งกำรจัดทำ ปุ๋ ยอินทรียใ์ ห้แก่เกษตรกร

ร่วมกับเจ้ำหน้ำทีส่ ถำนีพัฒนำทีด่ ินวัดแปลง เพื่อวำงแผนกำรขุดสระเก็บนำ้

ร่วมเป็ นวิทยำกรกับปรำชญ์ เกษตรกร

ปฏิบตั ิงำนร่วมกับสำนักงำนเกษตร และสหกรณ์จงั หวัดในกำรจัด ฝึ กอบรมกระบวนกำรเรียนรู ้ ครัง้ ที่ ๑ - ๔

๒. จัดเก็บและรวบรวมข้อมูลด้ำนกำรเกษตรในพื้นที่ตำบลที่ตนเองปฏิบัติหน้ำที่

ลงพืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูล กำรทำเกษตรทฤษฎี ใหม่ของเกษตรกรใน ตำบล

ลงพืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูล ผลกำรผลิตข้ำวนำ ปรัง

ลงพืน้ ทีส่ ำรวจ เกษตรกรทีเ่ ข้ำร่วม โครงกำรทีไ่ ด้รับ ผลกระทบจำก โรคลัมปี สกิน

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

ลงพืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูล ด้ำนปศุสัตว์

28 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ๓. นำควำมรู้และข้อมูลข่ำวสำรที่ได้รับถ่ำยทอดสูเ่ กษตรกรที่รับผิดชอบและติดตำมสถำนกำรณ์กำร ทำกำรเกษตรทฤษฎีใหม่

ลงพืน้ ที่ติดตำมสถำนกำรณ์กำรทำเกษตรทฤษฎี ใหม่ของเกษตรกร

ลงพืน้ ที่ติดตำมสถำนกำรณ์กำรทำเกษตรทฤษฎีใหม่ ของเกษตรกร

กำรถ่ำยทอดควำมรูแ้ ละข้อมูลข่ำวสำรสู่เกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำร ของแรงงำนเกษตรทฤษฎีใหม่ระดับตำบล

ถ่ำยทอดองค์ควำมรู้กำรทำอำหำรไก่จำกแหนแดงให้เกษตรกร ถ่ำยทอดองค์ควำมรู้เรื่องกำรเลีย้ งใส้เดือนให้แก่เกษตรกร แนะนำวิธีกำรเก็บตัวอย่ำงดินเพื่อนำส่งวิเครำะห์ให้แก่เกษตรกร ถ่ำยทอดกำรจัดทำอำหำรปลำแบบลดต้นทุน (กำรทำแซนวิชปลำ) ถ่ำยทอดควำมรู้กำรทำจุลินทรียห์ น่อกล้วย

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 29 โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจาปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๔ หลักการและเหตุผล ตามที ่ก ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไ ด้ด าเนิน การโครงการเกษตรทฤษฎีใ หม่ ตั ้ง แต่ป ีง บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ และต่อ เนื่อ งมาจนถึงปัจจุบันซึ่งเป็นโครงการที่อ ยู่ภ ายใต้ งบบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจ ฐานรากนั้น ปัจ จุบัน โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่มีเ กษตรกรเข้า ร่ว มโครงการจานวนทั้ ง สิ้น ๒๑๐,๒๐๖ รายเกษตรกร ประมาณร้อยละ ๒๕ ทาการเกษตรที่ตรงตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ส่วนที่เหลือร้อยละ ๗๕ ทาการเกษตรในหลาย รู ปแบบซึ่งส่ ว นใหญ่ทาการเกษตรแบบผสมผสานอย่างไรก็ตามในแต่ละรูปแบบที่เกษตรกรได้ดาเนินการจัดอยู่ใน รูปแบบของระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ในการนี้สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์โดยกองนโยบายเทคโนโลยี เพื่อการเกษตรและเกษตรกรรม ยั ่ง ยืน จึง ได้จ ัด ท า“โครงการส่ง เสริม แนวทางเกษตรทฤษฎีใ หม่ ” ปี ง บประมาณพ.ศ.๒๕๖๔ (ต่ อ เนื่ อ งจาก ปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๓) ภายใต้โครงการเกษตรทฤษฎีใ หม่โ ดยมอบหมายให้สานัก งานเกษตรและ สหกรณ์จ ัง หวัด เป็น หน่ว ยงานหลัก ในการประสานงานและอ านวยการการด าเนิ น งานในพื้ น ที่ เ พื่ อ ให้ มี การ ดาเนินงานเป็นไปตามนโยบายส่ง เสริม แนวทางเกษตรทฤษฎีใ หม่ซึ่ง เป็น หนึ่ง ในนโยบายสาคัญ ของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ร วมทั้งให้สอดคล้องกับแนวทางการขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ตามวาระของประเทศต่อไปด้วยโดยส่งเสริมให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯได้น้อมนาหลักการเกษตร ทฤษฎีใ หม่ไ ปปรับ ใช้ใ นพื้น ที่ข องตนเองให้ส อดคล้อ งกับ สภาพพื้นที่ของเกษตรกรตามภูมิสังคมเพื่อมุ่งหวังที่จะ พัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้อันเกิดจากการพัฒนาศักยภาพของตนเองครอบครัว และชุมชนโดยการสร้างอาชีพอย่างเหมาะสมกับทรัพยากรธรรมชาติและปัจจัยการผลิตที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า วัตถุประสงค์ อานวยการกากับดูแลและติดตามความก้าวหน้าผลการดาเนินงานของเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายเดิมจากปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ -๒๕๖๒ เพื่อให้สามารถดาเนินการได้อย่างต่อเนื่องสามารถพึ่งพาตนเองได้และพัฒนาไปสู่ขั้นที่ ๒และขั้นที่๓ ของแนวทฤษฎีใหม่และเกิดความยั่งยืนได้ต่อไปโดยมีการวางระบบติดตามงานการประเมินผลพร้อมทั้งรายงาน ผลความก้าวหน้า ปัญ หา/อุป สรรคและข้อ เสนอแนะเสนอต่อ ผู ้บ ริห ารส าหรับ การปรับ ปรุง การดาเนิน งาน โครงการฯและให้เกิดการขยายผลได้ต่อไป เป้าหมาย เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายเดิมของจังหวัดนครพนม จานวน๑๐,๑๓๓ราย (เข้าร่วมโครงการปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ –พ.ศ. ๒๕๖๒)

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

30 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ สรุปผลการดาเนินงานและการถอดบทเรียนจากเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบบูรณาการ การสรุปผลการดาเนินโครงการและ การถอดบทเรี ยนจากเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการเกษตร ทฤษฎี ใหม่ ในเล่ มนี้ เป็ นการ สรุ ปผลการด าเนิ นงา นต า ม กิ จกรรมหลั กในภาพรวมของ โครงการฯ และถอดบทเรียนจาก การจั ด ท าเวที แ ลกเปลี่ ยน เรี ยนรู้ แบบบูรณาการ พร้ อมการ จัดทาแผนพัฒนาความต้องการ ของจุดเรียนรู้ ซึ่งสานักงานเกษตร และสหกรณ์ จั งหวั ดนครพนม เ ป็ น ห น่ ว ย ง า น ห ลั ก ใ น ก า ร ด าเนิ นการประสานงานและ อานวยการ โดยมีผลการดาเนินงานดังนี้ ๓.๑ การเตรียมการและบริหารจัดการ เพื่อให้การขับเคลื่อนโครงการฯ เกิดความชัดเจนในการบริหารจัดการ ตามแนวทางที่กาหนดและเป็นไปอย่ างมี ประสิทธิภาพ สรุปได้ดังนี้ ๓.๑.๑ กิจกรรมการเตรียมความพร้อมเบื้องต้น : เป็นการเตรียมความพร้อมหน่วยงานที่รว่ มบูรณาการการดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน : สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนมได้ชี้แจงแนวทางการดาเนินงานโครงการฯ โดยการ ทาหนังสือชี้แจงแนวทางการดาเนินงานรวมถึงแจกจ่ายคู่มือการปฏิบัติงานโครงการฯ ที่ได้รับจากกอง นโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย แจกจ่ายให้กับหน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่เป็นหน่วยงานพี่เลี้ยงแต่ละอาเภอ

๓.๑.๒ กิจกรรมการทบทวนและปรับปรุงระบบฐานข้อมูลของโครงการฯ : เป็นการทบทวนและปรับปรุงข้อมูลของเกษตรกรในระบบฐานข้อมูลhttp://newtheoryfarmer.ldd.go.th ผลการดาเนินงาน : หน่ว ยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่รับผิดชอบเป็นหน่วยงานพี่เลี้ยงดูแล เกษตรกรในแต่ละอาเภอเป็นผู้ทบทวนและปรับปรุงข้อมูลเกษตรกรในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน ๓.๒ ขั้นตอนและการดาเนินการถอดบทเรียน เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ประกอบด้วย เกษตรกรรายเดิมที่เข้า ร่วมโครงการฯ ปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒ ๓.๒.๑ กิจกรรมการทบทวนจุดเรียนรู้ปี ๒๕๖๓ และการคัดเลือกเกษตรกรที่ประสบความสาเร็จและ สามารถเป็นจุดเรียนรู้โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ปี ๒๕๖๔ ดาเนินการโดยมอบหมายให้หน่วยงานพี่เลี้ยงที่รับผิดชอบในแต่ละอาเภอทบทวนจุดเรียนรู้ปี ๒๕๖๓ และ พิจารณาคัดเลือกเกษตรกรเป็นจุดเรียนรู้ ปี ๒๕๖๔ ตามเกณฑ์ที่กาหนด ได้แก่

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 31 ๑. เป็นเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯตั้งแต่ปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒ ๒. ในแปลงมี การจัดสั ดส่ วนของพื้ นที่ที่ เข้ าร่ วมโครงการฯตาม องค์ ประกอบหลั กการเกษตรทฤษฎี ใหม่ ( ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐) สามารถเป็นแปลงต้นแบบ/จุดเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ให้กับ ผู้สนใจได้ ๓. มีแหล่งน้าเพียงพอตลอดปีสาหรับกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่ ๔. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการของเกษตรทฤษฎีใหม่ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕. มีลักษณะความเป็นผู้นากลุ่ม/ผู้นาชุมชนอย่างทางการและไม่ เป็นทางการ ๖. มีความสามารถทักษะในการสื่อสารการเป็นวิทยากรสาหรับ การทาเกษตรทฤษฎีใหม่ได้ ๗. มีการจัดทาแผนผังฟาร์มก่อน-หลังสาหรับกิจกรรมเกษตร ทฤษฎีใหม่อย่างเป็นระบบ ๘. มี การใช้ ภู มิ ปั ญญาท้ องถิ่ นสื บทอดและบั นทึกภู มิ ปั ญญาใน รูปแบบต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดเผยแพร่ให้กับผู้สนใจ ๙. มีการทาบัญชีครัวเรือนรายรับ -รายจ่ายของครัวเรือ นเป็น ประจา มีการออมและหนี้สินลดลง ๑๐. มีการวางแผนการผลิตและดาเนินการตามแผนการผลิตด้วย ตนเองเช่น การปลูก พืช /เลี ้ย งสัต ว์ที ่ห ลากหลายแบบ พึ่งตนเองได้ผลผลิตเพียงพอต่อการบริโภคภายในครัวเรือนแลกเปลี่ยนรวมทั้งจาหน่ายเพื่อเพิ่มรายได้ใน ครัวเรือน ๑๑. มีองค์ความรู้ด้านการถนอมแปรรูปผลผลิตที่เกิดจากกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่ ไว้กินและเหลือมีพอแบ่ง ส่วนผลผลิตที่เหลือจึงนามาขายทาให้มีรายได้ ๑๒. ในแปลงมีการปรับปรุงบารุงดินผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เองลดละเลิกการใช้สารเคมี ๑๓. มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาและคัดเลือกพันธุ์พืชเพื่อใช้ในครัวเรือน ๑๔. มีการรวมตัวกันของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯในรูปแบบของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหรือสหกรณ์ในการ จาหน่ายผลผลิตเพื่อสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนหรือติดต่อหน่วยงานภายนอกเพื่อรวมกลุ่มด้านการตลาด *หมายเหตุ : สามารถปรับให้สอดคล้องบริบทหรือสภาพแวดล้อมของพื้นที่

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

32 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ผลการดาเนินงาน : ปี ๒๕๖๔ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่รับผิดชอบดูแลเกษตรกรในแต่ละ อาเภอได้คัดเลือกเกษตรที่ประสบความสาเร็จสามารถเป็นจุดเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ได้ จานวน ๗ จุด รวมจานวน จุดเรียนรู้โครงการส่งเสริมแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี ๒๕๖๓ จานวน ๖๖ จุด เป็นจานวนทั้งสิ้น ๗๓ จุด โดยมี รายละเอียดจานวนจุดเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ ดังนี้ ลาดับที่ อาเภอ จานวนจุด จานวนจุด รวม หน่วยงานพี่เลี้ยง เรียนรู้ปี เรียนรู้ปี จานวนจุด ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ เรียนรู้ ๑ ท่าอุเทน ๘ ๑ ๙ สานักงานประมงจังหวัด ๒ ธาตุพนม ๑ ๑ โครงการชลประทานนครพนม ๓ นาแก ๑๐ ๑๐ สานักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครพนม/ สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครพนม ๔ นาทม ๓ ๓ ๖ การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดนครพนม ๕ นาหว้า ๖ ๖ ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ นครพนม/ศูนย์วจิ ัยและบารุงพันธุ์สัตว์ นครพนม ๖ บ้านแพง ๒ ๒ สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นครพนม ๗ ปลาปาก ๕ ๑ ๖ สานักงานสหกรณ์จังหวัดนครพนม/ โครงการชลประทานจังหวัดนครพนม ๘ โพนสวรรค์ ๔ ๔ สถานีพัฒนาที่ดินนครพนม ๙ เมือง ๖ ๖ สานักงานเกษตรจังหวัดนครพนม นครพนม ๑๐ เรณูนคร ๘ ๘ สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครพนม ๑๑ วังยาง ๔ ๒ ๖ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครพนม ๑๒ รวม จานวน ทั้งสิ้น

ศรีสงคราม



-



๖๖



๗๓

สานักงานปศุสัตว์จังหวัดนครพนม

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 33

สรุปผลการดาเนินงานโครงการร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัยเลือกใช้สินค้า Q (Q restaurant) ) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ๑. ชื่อโครงการ : โครงกำรร้ำนอำหำรวัตถุดิบปลอดภัยเลือกใช้สินค้ำ Q (Q restaurant) ๒. หลักการและเหตุผล กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ผลักดันให้มีกำรผลิตสินค้ำเกษตรและอำหำรที่ได้มำตรฐำน ควำมปลอดภัยต่อผู้บริโภค โดยส่งเสริมกำรผลิตตั้งแต่ฟำร์มให้มีควำมปลอดภัยต่อผู้บริโภค ตำมระบบกำรผลิต เกษตรที่ดีและเหมำะสมหรือที่รู้จักกันในชื่อ GAP ซึ่งจะมีกำรใช้สำรเคมีอย่ำงถูกต้องเหมำะสมและจำกัดตำมหลัก วิชำกำร โดยมีกำรให้สัญลักษณ์ Q เพื่อรับรองมำตรฐำนซึ่งจะทำให้สำมำรถสื่อสำรกับผู้บริโภคในกำรเลือกซื้อสินค้ำ ได้อย่ำงถูกต้องและปลอดภัย ๓. วัตถุประสงค์ของโครงการ ๓.๑ เพื่อประชำสัมพันธ์ร้ำนอำหำรซึ่งใช้วัตถุดิบจำกสินค้ำ Q ที่มีควำมปลอดภัยตำมระบบกำรผลิต GAP ๓.๒ เพื่อสร้ำงโอกำสให้ผู้ผลิตที่รับรองตนเองว่ำผลผลิตปลอดภัยเข้ำสู่ร้ำนอำหำรและได้รับกำรยอมรับ จำกผู้บริโภคและสร้ำงแรงจูงใจให้เกษตรกรหรือผู้ผลิต ผลิตสินค้ำที่มีควำมปลอดภัยเพิ่มมำกขึ้น ๓.๓ เพื่อเพิ่มช่องทำงกำรจำหน่ำยสินค้ำที่มีควำมปลอดภัยและสร้ำงควำมตระหนักให้กับผู้บริโภคได้ เลือกซื้อและบริโภคสินค้ำเกษตรและอำหำรที่มีควำมปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ ๔. เป้าหมาย ๑. จำนวนร้ำนอำหำรใหม่เพิ่มขึ้นรวม ๓ ร้ำน และจำนวนร้ำนอำหำรที่ผ่ำนกำรตรวจติดตำม ๒. ร้อยละ ๓๐ ของจำนวนร้ำนทั้งหมดในโครงกำร มีกำรยกระดับโดยกำรเพิ่มชนิดวัตถุดิบปลอดภัยที่ ใช้ในร้ำนอย่ำงน้อย ๑๐ รำยกำร โดยที่เป็นวัตถุดิบสินค้ำ Q หรือวัตถุดิบปลอดภัย ที่หน่วยงำนต่ำง ๆ ในกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ให้กำรส่งเสริมและรับรอง หรือเป็นที่วัตถุดิบรับรองตนเอง เช่น จำกฟำร์มเกษตรพอเพียง เกษตร ทฤษฎีใหม่ ฟำร์มปรำชญ์ชำวบ้ำน ๕. ผลการดาเนินงาน กำรดำเนินงำนโครงกำรร้ำนอำหำรวัตถุดิบปลอดภัยเลือกใช้สินค้ำ Q (Q restaurant) ประกอบด้วยกำรตรวจติดตำม และกำรตรวจรับรองร้ำนใหม่ โดยมีผลกำรดำเนินงำนดังนี้ 1.) กำรตรวจติดตำมร้ำนเดิม ปี ๖๓ ทั้งหมด ๒ ร้ำน ประกอบด้วย ร้ำนสวิทโฮมแอนด์คอฟฟี่ อ.ธำตุพนม จ.นครพนม และร้ำนฟำร์มข้ำวคุณแม่ อ.ธำตุพนม จ.นครพนม 2.) กำรตรวจรับรองร้ำนใหม่ปี ๖๔ ทั้งหมด ๓ ร้ำน ซึ่งผ่ำนกำรตรวจรับรอง ตำมหลักเกณฑ์เงื่อนไขฯ งบประมำณ ๒๑,๑๖๐ บำท เบิกจ่ำยร้อยละ ๑๐๐

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

34 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ร้านอาหารที่ได้รับการรับรองตามโครงการร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัยเลือกใช้สินค้า Q ( Q Restaurant) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ร้านใหม่ มีจานวนทั้งหมด ๓ ร้าน ชื่อ ร้านอาหาร

ที่อยู่

ประเภทอาหาร

๑.ร้านนา คุณปู่

เลขที่ ๑๓๓ หมู่ ๗ ๗ต.พระ กลำงทุ่งอ.ธำตุ พนม จ. นครพนม ๔๘๑๑๐ โทร.๐๖๕๐๙๐๐๗๕๗ เลขที่ ๑๘๓ หมู่ ๘ ถ.มัธยม จันทร์ ต.นำแก อ.นำแก จ. นครพนม ๔๘๑๓๐ โทร.๐๙๕ ๑๖๙๒๕๖๕

หมึกผัดผงกระหรี่, กุ้งผัด พริกเผำ, ปลำสำมรส,ยำ ปลำลูกเต๋ำ , เมี่ยงปลำ ทอด, ผัดผักรวมหมู

๒.ร้าน ภุชญา

ปลำกะพงนึง่ มะนำว, ต้ม ยำปลำ,ปลำนิลจุ่ม,ปลำ สมุนไพร, ข้ำวกระเพรำ หมู/ไก่, ข้ำวทรงเครื่องไก่ กรอบ, ข้ำวหน้ำสเต๊กเนือ้ , ข้ำวหน้ำสเต๊กหมู, ข้ำว กระเพรำทะเล, สลัดไก่ กรอบ, สเต็กหมู, สเต็กโค ขุน ๓.ร้าน เลขที่ ๕๖ ข้ำวทรงเครือ่ งไก่กรอบ, Steak หมู่ ๑๒ ถนน ข้ำวหน้ำสเต๊กเนื้อ, ข้ำว De'Farm นครพนม - ท่ำอุ หน้ำสเต๊กหมู, ข้ำวกระ เทน บ้ำนท่ำ เพรำทะเล, สลัดไก่กรอบ, จำปำ ต.ท่ำ สเต็กหมู ,สเต็กโคขุน, กระ จำปำ เพรำหมู/ไก่ อ.ท่ำอุเทนจ. นครพนม โทร.๐๖๒๕๑๔๕๒๔๙

วัตถุดิบที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน สินค้ำ Q สินค้ำที่ สินค้ำรับรอง ผ่ำนกำร ตนเอง รับรอง (Self Claim) ไก่สด CP เนื้อหมู ข้ำวกะเพรำ ปลำนิล ใบมะกรูดข่ำ CP ตะไคร้

ระยะเวลา ในการ รับรอง

ไก่สด CP -เนื้อโคขุน ปลำนิล โพนยำง CP คำ -ปลำ กะพง

คื่นช่ำย กระเพรำ ข่ำ ตะไคร้ ใบมะกรูด โหระพำ

๒๐ ก.ย. ๖๔ - ๑๙ ก.ย.๖๗

ไก่สด CP -เนื้อโคขุน โพนยำง คำ - เนื้อหมู -ข้ำวหอม มะลิ

ผักเรดโอ๊ค กรีนโอ๊ค คื่นช่ำย สะระแหน่

๒๐ ก.ย. ๖๔ - ๑๙ ก.ย.๖๗

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

๒๐ ก.ย. ๖๔ - ๑๙ ก.ย.๖๗

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 35 ภาพกิจกรรมการดาเนินงาน การตรวจรับรองร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัย ใช้สินค้า Q (Q restaurant) ) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

มอบผ้ำกันเปื ้อนให้ ร้ำนอำหำรที่เข้ำร่วม โครงกำร

คณะกรรมกำรตรวจ รับรองสอบถำม ข้อมูลของวัตถุดิบที่ ใช้ในร้ำนอำหำร

ตรวจสอบพืน้ ที่ใน กำรประกอบอำหำร และกำรจัดเก็บ วัตถุดิบ

คณะกรรมกำรตรวจ รับรองสอบถำม ข้อมูลของวัตถุดิบที่ ใช้ในร้ำนอำหำร

บริเวณพืน้ ที่ จำหน่ำยอำหำร

กำรแต่งกำยของผู้ ปรุงอำหำรและ พนักงำน

พืน้ ที่ในกำร ประกอบอำหำ พืน้ ที่ในกำรที่เก็บ วัตถุดิบ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

36 รายงานประจาปี ๒๕๖๔

ผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมการบริโภคและใช้วัตถุดิบสินค้า Q ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ************************************************************************ ๑. ชื่อโครงการ ส่งเสริมกำรบริโภคและใช้วัตถุดิบสินค้ำ Q ๒. หลักการและเหตุผล กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มียุทธศำสตร์ควำมปลอดภัยด้ำนอำหำรเพื่อยกระดับคุณภำพ สินค้ำเกษตรและอำหำรทั้งที่ส่งออกและบริโภคภำยในประเทศของไทยให้มีมำตรฐำนและควำมปลอดภัยสอดคล้อง กับข้อกำหนดขององค์กรระหว่ำงประเทศโดยมีกำรบูรณำกำรงำนของหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด และมี นโยบำยพัฒนำสินค้ำเกษตรให้ได้คุณภำพมำตรฐำนและควำมปลอดภัยเพื่อสร้ำงควำมมั่นใจให้กับผู้บริโภคและ มุ่งเน้นกำรสร้ำงมูลค่ำให้กับสินค้ำเกษตรโดยกำรพัฒนำห่วงโซ่อุปทำน รวมทั้งมีกิจกรรมกำรสร้ำงแหล่งจำหน่ำย สินค้ำเกษตรคุณภำพมำตรฐำนอำหำรปลอดภัยสำนักงำนมำตรฐำนสินค้ำเกษตรและอำหำรแห่งชำติ (มกอช.) ได้ สนับสนุนโครงกำรตรวจรับรองแหล่งจำหน่ำยสินค้ำเกษตรคุณภำพมำตรฐำนอำหำรปลอดภัย ระดับจังหวัดของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตำมแผนแม่บทชุมชนระดับจังหวัด ภำยใต้โครงกำรศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ตำมยุทธศำสตร์ควำมปลอดภัยด้ำนอำหำร โดยร่วมกับสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดในกิจกรรมกำรสร้ำง แหล่งจำหน่ำยสินค้ำเกษตรคุณภำพมำตรฐำนอำหำรปลอดภัย เพื่อดำเนินกำรตรวจประเมินและให้กำรรับรองแผง ร้ำนค้ำในตลำดสดและซุปเปอร์มำร์เก็ตที่จำหน่ำยสินค้ำเกษตรและอำหำรที่ได้รับกำรรับรองจำกกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ภำยใต้สัญลักษณ์ Q ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยเป็นกำรดำเนินกำรเพื่อประชำสัมพันธ์และรณรงค์ให้ ผู้บริโภคได้รู้จักสินค้ำ Q และหำซื้อสินค้ำ Q ได้อย่ำงสะดวกส่งผลให้สินค้ำ Q เป็นที่รู้จักและเป็นที่ต้องกำรของตลำด มำกขึ้น ทั้งนี้แหล่งผลิตและแหล่งจำหน่ำยสินค้ำเกษตรคุณภำพมำตรฐำนอำหำรปลอดภัยภำยใต้สัญลัก ษณ์ Qยังถือ เป็นหัวใจสำคัญเนื่องจำกเชื่อมโยงทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค ส่งผลให้คุณภำพชีวิตของประชำชนชำวไทยดีขึ้นโดยในปี ๒๕๕๖ – ๒๕๖๔ ได้ดำเนินกำรร่วมกับสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ในปี ๒๕๖๔ ที่ผ่ำนมำมีจังหวัดที่เข้ำร่วม ดำเนินกำรจำนวน ๗๒ จังหวัด ดังนั้นในปี ๒๕๖๕ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ยังคงมุ่งเน้นให้มีกำรบูรณำกำร ร่วมกับสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดในโครงกำรส่งเสริมกำรบริโภคและใช้วัตถุดิบสินค้ำ Qซึ่งสอดคล้องกับ ยุทธศำสตร์ควำมปลอดภัยอำหำรในกำรส่งเสริมและเชื่อมโยงทั้งแหล่งผลิตและแหล่งจำหน่ำยสินค้ำเกษตรคุณภำพ มำตรฐำนปลอดภัย จึงได้จัดสรรงบประมำณโครงกำรส่งเสริมกำรบริโภคและใช้วัตถุดิบสินค้ำ Q ให้กับ มกอช. ดำเนินโครงกำรอย่ำงต่อเนื่อง ต่อไป ๓. วัตถุประสงค์ของโครงการ ๓.๑ เพื่อส่งเสริมสถำนที่จำหน่ำยสินค้ำ Q ให้เป็นที่รู้จักและยอมรับของผู้บริโภค ๓.๒ เพื่อส่งเสริมแหล่งผลิตสินค้ำ Q ในพื้นที่ให้มีศักยภำพในกำรเข้ำสู่ช่องทำงจำหน่ำยต่ำง ๆ ๓.๓ เพื่อประชำสัมพันธ์ให้ผู้บริโภคเข้ำถึงสถำนที่จำหน่ำยและแหล่งผลิตสินค้ำ Q ๔. เป้าหมาย ๔.๒ ตรวจรับรองสถำนที่จำหน่ำยสินค้ำ Qร้ำนค้ำหน้ำฟำร์ม ทั้งหมด๓ แห่ง พร้อมทั้งออกป้ำยรับรอง ๔.๔ ส่งเสริมสถำนที่จำหน่ำยสินค้ำที่มีศักยภำพหรือส่งเสริมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อย่ำงน้อย ๑ แห่ง ๔.๕ ผลิตสื่อประชำสัมพันธ์อย่ำงน้อย ๑ รำยกำร

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 37 ๕. ผลการดาเนินงาน สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนมและคณะทำงำนได้ดำเนินงำนตำมโครงกำรส่งเสริมกำรบริโภคและใช้ วัตถุดิบ Q โดยมีผลกำรดำเนินงำนดังนี้ 1. มีกำรตรวจรั บรองสถำนที่จำหน่ำยสิ นค้ำ Q ประเภทร้ำนค้ำหน้ำฟำร์ ม เข้ำร่วมทั้งหมด ๓ แห่งซึ่งผ่ำน หลักเกณฑ์เงื่อนไขกำรตรวจรับรองสถำนจำหน่ำยสินค้ำเกษตรและอำหำรคุณภำพภำยใต้เครื่องหมำย Q ทั้ง๓ แห่ง 2. กิจกรรมกำรส่งเสริมสถำนที่จำหน่ำยสินค้ำและกำรประชำสัมพันธ์เพื่อให้สินค้ำ Q เป็นที่รู้จักมำกขึ้น มีกำรจัดทำแผ่นพับประชำสัมพันธ์ส่งเสริมกำรบริโภคและใช้วัตถุดิบสินค้ำ Q 3. สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ได้รับจัดสรรงบประมำณ ๒๔,๐๐๐ บำท ตลาดสด จานวน แห่ง/ จานวน แผง

งบประมาณ ที่ใช้

ร้านค้าหน้าฟาร์ม จานวน แห่ง

งบประมาณ ที่ใช้ (บาท)



-

การส่งเสริมแหล่งจาหน่าย จานวนราย/ จานวนชนิด ผลผลิต จำนวน ๓ แห่ง ได้แก่ ๑)ร้ำนพรีเมียม ช้อพ นครพนม อ.เมืองนครพนม ๒) ร้ำนค้ำ อตก. อ.ธำตุพนม ๓) ร้ำนหน้ฟำร์ม ไร่เตือนใจ อ.ท่ำอุเทน

งบประมาณ ที่ใช้ (บาท) ๕,๑๒๐ บำท (ค่ำใช้จำ่ ยใน กำรเดินทำง ไปรำชกำร)

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

การส่งเสริมการบริโภคสินค้า คุณภาพ จานวนครั้ง

งบประมาณ ที่ใช้ (บาท)

๑.จัดทำสื่อกำร ประชำสัมพันธ์ โครงกำรส่งเสริม กำรบริโภคและ ใช้วัตถุดิบ Q

๑๕,๐๐๐

๒.จัดทำป้ำย รับรองสถำนที่ จำหน่ำยสินค้ำ Q

๓,๘๘๐

38 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ แบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูลแผง/ร้านค้า สถานที่จาหน่ายสินค้า Q ประเภทตลาดสด (F๐๕)

ชื่อตลาด ร้านค้าหน้าฟาร์ม เลขที่ถนนตาบลแขวง. ชื่อเจ้าหน้าที่ผู้สัมภาษณ์ตลาด นางวราภรณ์ พรหมจักร ตาแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เบอร์โทร ๐๘๑ ๓๘๐๑๕๖๙. จานวนแผง/ร้านค้าทั้งหมด ๓ ร้านจานวนแผงร้านค้าที่ประเมิน ๓ ร้านจานวนแผง/ ร้านค้าที่ผ่านการประเมิน ๓ ร้าน.

ภาพประกอบผลการดาเนินงาน ที่อยู่ ลาดับ







ชื่อแผง/ ร้านค้า

ร้านค้า หน้า ฟาร์ม ร้านค้า อ.ต.ก. อ.ธาตุ พนม จ. นครพนม ร้านพรี เมียมช้อพ นครพนม อ.เมือง นครพนม จ. นครพนม ร้านค้า หน้าฟาร์ม ไร่เตือนใจ อ.ท่าอุ เทนจ. นครพนม

เลขที่ แผง เลขที่ ตาบล / แขวง

-

-

-

-

-

-

ฝั่งแดง

ใน เมือง

โนน ตาล

อาเภอ /เขต

ธาตุ พนม

เมือง นครพ นม

ท่าอุ เทน

จังหวัด

นครพนม

นครพนม

นครพนม

เบอร์ โทรศัพท์

๐๘๑๐๕ ๓๕๒๕๑

๐๘๑๙๒ ๗๖๙๙๑

๐๖๒๕๑ ๔๖๖๕๕

ประเภท สินค้า ที่ใช้ตัว Q

ชนิด สินค้า Q

การตัดสินใจ มอบป้าย ได้ ไม่ รับ ได้ มอบ รับ มอบ

วันที่ผ่าน ประเมิน

ข้าวหอม มะลิ

ข้าวหอม มะลิ

/

๖ ก.ย. ๖๔

ข้าวหอม มะลิ แตงโมไร้ เมล็ด โคขุน เมล่อน

ข้าวหอม มะลิ แตงโมไร้ เมล็ด โคขุน เมล่อน

/ / / /

๖ ก.ย. ๖๔

แตงโมไร้ เมล็ด เมล่อน มะเขือ เทศ ข้าวโพด ญี่ปุ่น

แตงโมไร้ เมล็ด เมล่อน มะเขือ เทศ ข้าวโพด ญี่ปุ่น

/ / / /

๖ ก.ย. ๖๔

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

ข้อความระบุ บนป้าย

- สถานที่ จาหน่าย - สินค้า - ระยะเวลา ในการรับรอง - ผู้ตรวจ รับรอง - สถานที่ จาหน่าย - สินค้า - ระยะเวลา ในการรับรอง - ผู้ตรวจ รับรอง - สถานที่ จาหน่าย - สินค้า - ระยะเวลา ในการรับรอง - ผู้ตรวจ รับรอง

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 39 โครงการส่งเสริมการบริโภคและการใช้วัตถุดิบสินค้า Q ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑.๑ ร้ำนค้ำพรีเมียมฟำร์มชอปนครพนม ตัง้ อยู่ใน บริเวณพืน้ ที่ศำลำกลำงจังหวัดนครพนม

๑.๒. ร้านค้า อตก. อ.ธาตุพนม จ.นครพนม

๑.๓. ร้ำนค้ำหน้ำฟำร์มไร่เตือนใจ อ.ท่ำอุเทน จ.นครพนม

๒. กำรประชำสัมพันธ์ให้ผู้บริโภค รู้จักสินค้ำ Q หรือเข้ำถึงสถำนที่จำหน่ำย/ แหล่งผลิตสินค้ำ Q โดยกำรจัดผ้ำกันเปื้อน ประชำสั มพั นธ์ ให้ ผู้ บริ โภครู้ จั กสิ นค้ ำ Q จำนวน ๑๕๐ ชุด

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

40 รายงานประจาปี ๒๕๖๔

กองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน ความเป็นมา จำกปัญหำควำมเดือดร้อนไม่เป็นธรรมในเรื่องเกี่ยวกับหนี้สิน ที่ดินทำกิน และกำรขำดแคลนเงินทุนในกำร ประกอบอำชีพของเกษตรกรและผู้ยำกจนเป็นปัญหำที่เกิดขึ้นมำเป็นเวลำนำนและยังไม่สำมำรถแก้ไขได้ ซึ่งเมื่อ เกษตรกรประสบปัญหำก็จะอยู่ในสภำวะที่ไม่สำมำรถช่วยเหลือตนเองได้ เกษตรกรจำนวนมำกต้องนำที่ดินทำกินที่มี อยู่ไปจำนอง หรือขำยฝำก หรือให้เจ้ำหนี้ยึดถือไว้เป็นหลักประกันตำมสัญญำกู้เงิน หรือขำยให้กับเจ้ำหนี้ ด้วยควำม ที่ขำดควำมรู้ในกำรทำนิติกรรมต่ำงๆ รวมถึงกำรขำดเงินทุนในกำรประกอบอำชีพ ทำให้มีสำมำรถชำระหนี้ได้จนต้อง สู ญ เสี ยสิทธิหรื อกรรมสิทธิ์ในที่ดินของตนไป รัฐ บำลทุกรัฐบำลที่ผ่ำนมำได้ตระหนักถึงปัญหำดังกล่ำว จึงได้หำ ทำงแก้ไขปัญหำควำมเดือดร้อนเหล่ำนี้ นำยกรัฐมนตรี (พลเอกเปรม ติณสูลำนนท์) ในสมัยนั้นโดยควำมเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี จึงได้ออกระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยกำรช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยำกจน พ.ศ. ๒๕๒๘ ขึ้น ซึ่งกำหนดให้มีคณะกรรมกำรขึ้นคณะหนึ่งเพื่อให้มีอำนำจและหน้ำที่รับผิดชอบในกำรกำหนดนโยบำยแผนงำนและ แนวทำงในกำรช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยำกจน คือ "คณะกรรมกำรช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยำกจน" เรียกโดยย่อ ว่ำ กชก. พร้อมกับจัดตั้งเงินทุนหมุนเวี ยนช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยำกจน กองทุนหมุนเวียนเพื่อปลดเปลื้องหนี้สิน เดิมของเกษตรกรที่ยำกจน และกองทุนหมุนเวียนเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยำกจนด้ำนหนี้สินและที่ดินขึ้นเพื่อ เป็นแหล่งเงินทุนหรือเครื่องมือหนึ่งที่จะช่วยแก้ไขปัญหำดังกล่ำว ต่อมำได้มีกำรขยำยขอบเขตกำรให้ควำมช่วยเหลือ เกษตรกรและผู้ยำกจนให้กว้ำงขวำงยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ขยำยวงเงินกู้ให้สูงขึ้นและเพื่อให้กำรดำเนินงำนมีควำมคล่องตัว ยิ่งขึ้นจึงได้มีกำรกระจำยอำนำจไปยังส่วนภูมิภำค โดยให้มีกำรจัดตั้งคณะอนุกรรมกำรช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ ยำกจน (อชก.) ขึ้นอีก ๕ คณะ คือ อชก.ส่วนกลำง อชก.กทม. อชก.เขต อชก.จังหวัด และ อชก.ส่วนอำเภอ ต่อมำในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้มีกำรปฏิรูประบบรำชกำร โดยรัฐบำลได้ออก พระรำชกฤษฎีกำโอนกิจกำร บริหำรและอำนำจหน้ำที่ของส่วนรำชกำรให้เป็นไปตำมพ.ร.บ. ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ โอนงำนช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรและผู้ ย ำกจน ซึ่ ง สั ง กั ด ส ำนั ก งำนปลั ด ส ำนั ก นำยกรั ฐ มนตรี มำสั ง กั ด ส ำนั ก งำน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงได้มีกำรปรับปรุงโครงสร้ำงของ กชก. ใหม่ให้สอดคล้องกับโครงสร้ำงกระทรวง เกษตรฯ และกชก.เดิมได้มีมติรวมเงินทุนและกองทุนทั้ง ๓ กองทุนเข้ำด้วยกัน โดยคณะรัฐมนตรีมีมีติและเมื่อวันที่ ๑๑ กุมภำพันธ์ ๒๕๔๖ เห็นชอบให้รวมเงินทุน และกองทุนหมุนเวียนเป็นกองทุนเดียว โดยมีชื่อใหม่ว่ำ "กองทุน หมุนเวียนเพื่อกำรกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยำกจน" และได้ประกำศมีผลบังคับใช้ แล้วเมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกำยน ๒๕๔๖

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 41 ผลการดาเนินงาน ๑. ดาเนินการช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยากจน

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

42 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ๒. การประชาสัมพันธ์ ส ำนั ก งำนเกษตรและสหกรณ์ จั ง หวั ด นครพนม ในฐำนะเลขำนุ ก ำร คณะอนุกรรมกำรบริหำรกองทุนหมุนเวียนเพื่อกำรกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยำกจน ระดับจังหวัด ได้ประชำสัมพันธ์กองทุนหมุนเวียนฯ ร่วม ในโครงกำรจังหวัดเคลื่อนที่ แบบบูรณำกำร “หน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้ำงรอยยิ้ม ให้ประชำชน” เป็นประจำ ทุกเดือน และคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ รวมทั้งผ่ำนช่องทำงสื่อออนไลน์ต่ำง ๆ ของ สำนักงำนฯ

๓. การติดตามและพัฒนาฟื้นฟูลูกหนี้กองทุนหมุนเวียนฯ กำรติดตำมและพัฒนำฟื้นฟูลูกหนี้กองทุนหมุนเวียนฯ ประจำปี มีเป้ำหมำยกำรติดตำมลูกหนี้ จำนวน ๑๖๐ รำย โดยกำรชี้แจงสิทธิหน้ำที่ให้แก่ลูกหนี้กองทุนหมุนเวียนเพื่อกำรกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยำกจน ได้ทรำบ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 43

แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรประจาปีจังหวัดนครพนม บทนา กำรจัดทำแผนป้องกันและแก้ไขปัญหำภัยพิบัติด้ำนกำรเกษตรประจำปี ดำเนินกำรภำยใต้คณะกรรมกำร ศูนย์ติดตำมและแก้ไขปัญหำภัยพิบัติด้ำนกำรเกษตรระดับจังหวัด โดยสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม เป็นศูนย์ติดตำมและแก้ไขปัญหำภัยพิบัติด้ำนกำรเกษตรจังหวัดนครพนม จังหวัดนครพนม อยู่ในเขตร้อนและอยู่ภำยใต้อิทธิพลของลมมรสุม ทำให้ประสบปัญหำภัยธรรมชำติเป็น ประจำทุกปี เนื่องจำกควำมเปลี่ยนแปลงของสภำพอำกำศและระบบนิเวศน์ ประกอบกับปัญหำภำวะโลกร้อน ทำให้ เกิดกำรเปลี่ยนแปลงของฤดูและปริมำณฝน ซึ่งเพิ่มควำมเสี่ยงของกำรเกิด ภัยธรรมชำติให้มีควำมถี่และควำมรุนแรง มำกขึ้น และประสบปัญหำภัยพิบัติด้ำนกำรเกษตรอันเนื่องมำจำกภัยธรรมชำติในหลำยรูปแบบ โดยที่สำคัญได้แก่ อุทกภัย ภัยแล้ง วำตภัย ดินโคลนถล่ม โดยเฉพำะภัยจำกพำยุหมุนเขตร้อนซึ่งทำให้เกิดควำมเสียหำยเป็น บริเวณกว้ำง รวมถึงปัญหำภัยแล้ง ฝนทิ้งช่วง และกำรระบำดของโรค แมลงศัตรูพืช โรคระบำดสัตว์และสัตว์น้ำ ซึ่ง ได้สร้ำงควำมเสียหำยแก่พื้นที่กำรเกษตรและผลผลิตทำงกำรเกษตร และส่งผลกระทบต่อรำยได้และควำมเป็นอยูข่ อง เกษตรกรให้ได้รับควำมเดือดร้อนมำกในแต่ละปี ดังนั้น เพื่อเป็นกำรเตรียมควำมพร้อมในกำรป้องกัน จึงได้บูรณำกำรและจัดทำแผนเตรียมรับสถำนกำรณ์ภยั พิบัติด้ำนกำรเกษตรจังหวัดนครพนม ประจำปี ๒๕๖๒เพื่อเตรียมรับสถำนกำรณ์ภัยธรรมชำติที่อำจเกิดขึ้นและสร้ำง ควำมเสียหำยแก่พื้นที่กำรเกษตรของเกษตรกร ให้ได้รั บผลกระทบน้อยที่สุด ส ำหรั บใช้เป็นกรอบแนวทำงกำร ดำเนินงำนของหน่ว ยรำชกำรในกำรป้อ งกันและแก้ไขปัญ หำภั ยพิ บัติด้ำนกำรเกษตร และเตรี ยมกำรให้ควำม ช่วยเหลือเพื่อบรรเทำควำมเดือดร้อนของเกษตรกรที่อำจได้รับผลกระทบจำกสถำนกำรณ์ภัยแล้ง ให้เป็นไปอย่ำง รวดเร็ว และมีประสิทธิภำพ วัตถุประสงค์ ๑) เพื่ อ ใช้ เ ป็นกรอบแนวทำงกำรดำเนินงำนป้อ งกันและลดควำมเสี่ ยงจำกภั ยแล้ งด้ำนกำรเกษตรของ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในจังหวัดนครพนม ให้เป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ ๒) เพื่ อ เตรี ยมควำมพร้ อ มให้ กั บส่ ว นรำชกำรที่ เ กี่ ยวข้ อ งในกำรให้ ค วำมช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ บรรเทำควำม เดือดร้อนแก่เกษตรกรทีประสบปัญหำภัยแล้งอย่ำงเป็นระบบ รวดเร็ว และมีประสิทธิภำพ เป้าหมาย ๑) เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำที่เกิดขึ้นแก่เกษตรกร รวมทั้งกำรช่วยเหลือเกษตรกรที่ ประสบปัญหำภัยแล้งได้อย่ำงรวดเร็ว และทันต่อสถำนกำรณ์ ๒) สร้ำงกำรรับรู้และกำรตระหนักแก่เกษตรกรในกำรปรับรูปแบบกำรผลิต เพื่อลดควำมเสี่ยงจำกภัยแล้ง ๓) บริหำรจัดกำรน้ำให้เป็นไปตำมแผนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และกำกับ ติดตำมกำรเพำะปลูกพืชฤดูแล้ง ให้เป็นไปตำมเป้ำหมำยที่กำหนด เพื่อลดควำมเสี่ยงจำกกำรชำดแคลนน้ำ ซึ่งอำจส่งผลกระทบต่อภำคส่วนอื่น ๆ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

44 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ กรอบแนวคิด 1. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ควำมเสี่ยงจำกสำธำรณภัย(Disaster Risk) หมำยถึง โอกำสที่จะเกิดกำรสูญเสียจำกสำธำรณภัยต่อชีวิต และทรัพย์สิน ควำมเป็นอยู่ และภำคบริกำรต่ำง ๆ ในชุมชนใดชุมชนหนึ่ง ณ ห้วงเวลำใดเวลำหนึ่งในอนำคต

ความเสี่ยงจากสาธารณภัย = ภัย x ความล่อแหลม x ความเปราะบาง ศักยภาพ ภัย (Hazard) คือเหตุกำรณ์หรืออันตรำยที่เกิดขึ้นจำกภัยธรรมชำติหรือจำกกำรกระทำของมนุษย์ที่อำจ นำมำซึ่งควำมสูญเสียต่อทรัพย์สิน ตลอดจนทำให้เกิดผลกระทบทำงเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ควำมล่อแหลม (Exposure) คือ กำรที่สิงใด ๆ ก็ตำมที่สถำนที่ตั้งอยู่ภำยในอำณำบริเวณพื้นที่เสี่ยงที่ อำจจะเกิดภัยและมีโอกำสได้รับควำมเสียหำยจำกภัยนั้น ๆ ควำมเปรำะบำง (Vulnerability) คือ ปัจจัยหรือสภำวะใด ๆ ที่ทำให้ชุมชนหรือสังคมขำดควำมสำมำรถ ในกำรป้องกันตัวเอง ทำให้ไม่สำมำรถรับมือกับภัยอันตรำยที่อำจเกิดขึ้น หรือไม่สำมำรถฟื้นฟูได้อย่ำงรวดเร็วจำก ควำมเสียหำยอันเกิดจำกภัย ศักยภำพ (Capacity) คือ ควำมรู้ ทักษะ และทรัพยำกรต่ำง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชน สังคม หรือหน่วยงำนใด ๆ ที่สำมำรถนำมำใช้เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยที่ตั้งไว้ กำรประเมินควำมเสี่ยง (Risk Assessment) เป็นกระบวนกำรที่ช่วยตรวจสอบระดับของควำมเสี่ยงที่ ชุมชนหรือสังคมมีต่อสำธำรณภัย ประกอบด้วย กำรระบุควำมเสี่ยง (Risk Identification) กำรวิเครำะห์ควำมเสี่ยง (Risk Analysis) และกำรประเมินผลควำมเสี่ยง (Risk Evaluation) ๒ การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย (Disaster Risk Management) แนวคิดกำรจัดกำรควำมเสี่ยงจำกสำธำรณภัย (Disaster Risk Management) เป็นแนวคิดกำรนำเรื่อง ควำมเสี่ยงมำเป็นปัจจัยหลักในกำรจัดกำรสำธำรณภัยเชิงรุกไปสู่กำรจัดกำรอย่ำงยั่งยืน ประกอบด้วยกำรลดควำม เสี่ ย งจำกสำธำรณภั ย (Disaster Risk Reduction: DRR) ได้ แ ก่ กำรป้ อ งกั น (Prevention) กำรลด ผลกระทบ (Mitigation) และกำรเตรี ย มควำมพร้ อ ม (Preparedness) ควบคู่ กั บ กำรจั ด กำรในภำวะฉุ ก เฉิ น (Emergency Management) ได้แก่ กำรเผชิญเหตุ (Response) และกำรบรรเทำทุกข์ (Relief) รวมถึงกำรฟื้นฟู (Recovery) ได้แก่ กำรฟื้นสภำพและกำรซ่อมสร้ำง (Rehabilitation and Reconstruction) กำรสร้ำงให้ดีกว่ำและ ปลอดภัยกว่ำเดิม (Build Back Better and Safer)

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 45 วิธีการดาเนินงาน ก่อนเกิดภัย ดำเนินกำรคำดหมำยสถำนกำรณ์ เฝ้ำระวังและติดตำมสภำวะอำกำศ สถำนกำรณ์น้ำ พื้นที่เสี่ยงภัยต่อ กำรเกิดอุทกภัย ดินโคลนถล่ม ภัยแล้ง และประเมินสถำนกำรณ์ที่คำดว่ำจะเกิดขึ้นในพื้นที่ และประชำสัมพันธ์ ข้อมูลข่ำวสำรและแจ้งเตือนภัยให้เกษตรกรทรำบผ่ำนทำงสื่อประชำสัมพัน ธ์ต่ำง ๆ ได้แก่ หอกระจำยข่ำวประจำ หมู่บ้ำน วิทยุชุมชน และทำงผู้นำชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งวำงแผนบริหำรจัดกำรน้ำ ตรวจสอบ ควำมพร้อมของเครื่องสูบน้ำ อ่ำงเก็บน้ำและคลองระบำยน้ำ วำงแผนเฝ้ำระวังและเตือนภัยศัตรูและโรคพืช/สัตว์ วำง แผนกำรปลูกพืชฤดูแล้งให้สอดคล้องกับน้ำต้นทุน กำรเตรียมควำมพร้อมของวัสดุอปุ กรณ์ ยำนพำหนะ เสบียงอำหำร สัตว์ เวชภัณฑ์ ปัจจัยกำรผลิต พันธุ์พืช/สัตว์ สนับสนุนช่วยเหลือเกษตรกรเมื่อเกิดภัย วำงแผนปฏิบัติกำร ฝนหลวง ให้คำแนะนำกำรผลิตที่เหมำะสมกับสถำนกำรณ์ ให้สำมำรถป้องกันและลดผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นเมื่อเกิดภัยพิบัติ ขณะเกิดภัย ๑. กำรติดตำมสถำนกำรณ์และแจ้งเตือนภัย - ศูนย์ติดตำมและแก้ไขปัญหำภัยพิบัติด้ำนกำรเกษตรจังหวัด ติดตำมสถำนกำรณ์ เผยแพร่ข้อมูล ข่ำวสำร และแจ้งเตือนภัยไปยังหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง และเกษตรกรได้ทรำบผ่ำนสื่อต่ำง ๆ - ให้เจ้ำหน้ำที่ทั้งในส่วนกลำงและส่วนภูมิภำค เตรียมรับสถำนกำรณ์และให้ดำเนินกำรประชำสัมพันธ์ และติดตำมสถำนกำรณ์อย่ำงใกล้ชิด และหำกเกิดผลกระทบทำงด้ำนกำรเกษตร ให้หน่วยงำนเร่งดำเนินกำรให้ ควำมช่วยเหลือเกษตรกรเพื่อบรรเทำควำมเดือดร้อนเฉพำะหน้ำตำมควำมสำมำรถและศักยภำพของหน่วยงำนทีอ่ ยู่ ในพื้นที่เป้ำหมำยและประสำนกับหน่วยงำนต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องในกำรดำเนินกำรให้ควำมช่วยเหลือเกษตรกร เช่น หน่วยงำนของกรมชลประทำน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และให้จังหวัด ต่ำง ๆ พิจำรณำให้ควำมช่วยเหลือ เกษตรกรโดยใช้เงินทดรองรำชกำรในอำนำจของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด (๒๐ ล้ำน) ตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำ ด้วยกำรจ่ำยเงินทดรองรำชกำรช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๖๒ และหลักเกณฑ์กำรใช้จ่ำยเงิน ทดรองรำชกำรเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณี ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรได้ทันที ตำม ควำมจ ำเป็ น และเหมำะสม หำกงบประมำณมี ไ ม่ เ พี ย งพอสำมำรถขอใช้ เ งิ น ทดรองรำชกำรในอ ำนำจของ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (๕๐ ล้ำน) เพื่อดำเนินกำรให้กำรช่วยเหลือเกษตรกรได้ทันทีตำมควำมจำเป็น และเหมำะสม

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

46 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ๒. กำรประเมินควำมเสียหำยและกำรรำยงำน ๑. สำนักงำนเกษตรอำเภอ รำยงำนสถำนกำรณ์ภัยธรรมชำติเบื้องต้นส่งสำนักงำน เกษตรจังหวัดและ นำยอำเภอ รวมทั้งศูนย์ติดตำมฯจังหวัดภำยใน ๒๔ ชั่วโมง ๒. หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องประมำณกำรมูลค่ำควำมเสียหำยที่จะบรรเทำควำมเดือดร้อน ตำมแบบรำยงำน สถำนกำรณ์ภัยธรรมชำติ (คชภ.๑) ส่งกรมต้นสังกัด และสำเนำส่งศูนย์ติดตำมฯจังหวัด ๓. ศูนย์ติดตำมฯจังหวัด ติดตำมและรำยงำนสถำนกำรณ์ผลกำรให้ควำมช่วยเหลือเกษตรกรต่อคณะ กรรมกำรบริหำรศูนย์และรำยงำนศูนย์ฯส่วนกลำงทรำบ ๓. กำรให้ควำมช่วยเหลือเบื้องต้น ศูนย์ติดตำมฯจังหวัด ประสำนหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องเร่งระดมดำเนินกำรให้ควำมช่วยเหลือ เพื่อบรรเทำ ควำมเดือดร้อนของเกษตรกร ดังนี้ หน่วยงาน การให้ความช่วยเหลือ ด้านชลประทาน ปรับแผนกำรบริหำรจัดกำรน้ำ รวมถึงจัดรอบเวรยำมกำรใช้น้ำ เพื่อลดผลกระทบจำกปัญหำ น้ำท่วม หรือ แล้ง สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รถบรรทุกน้ำ เครื่องผลักดันน้ำรวมถึงเครื่องจักร เครื่องมือ ต่ำง ๆ เพื่อช่วยเหลือพื้นที่ประสบภัย เสริมประสิทธิภำพของอำคำรชลประทำน รวมทั้งปิดช่องทำงน้ำ หรือเปิดทำงช่องน้ำให้ ระบำยน้ำได้ ม ำกขึ้ น รวมทั้ ง เร่ งซ่ อ มแซมอำคำรชลประทำนที่ช ำรุ ด เป็น กำรชั่ ว ครำวให้ สำมำรถใช้งำนได้ ด้านพืช ให้ เ จ้ ำ หน้ ำ ที่ ติ ด ตำมสถำนกำรณ์ ก ำรปลู ก พื ช และออกเยี่ ย มเกษตรกรในพื้ น ที่ เพื่ อ ให้ คำแนะนำและให้ควำมช่วยเหลือเกษตรกร แจ้งเตือนกำรระบำดของศัตรูพืช รวมทั้งควบคุม กำรระบำดศัตรูพืชไม่ให้ขยำยพื้นที่กำรระบำด ประชำสัมพันธ์ให้คำแนะนำในกำรป้องกัน กำจัดศัตรูพืชที่ถูกต้องเหมำะสมแก่เกษตรกร ด้านปศุสัตว์ จัดตั้งหน่วยเฉพำะกิจเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย เพื่อประชำสัมพันธ์ให้คำแนะนำกำรดูแล สุ ขภำพสั ตว์และรั กษำสั ตว์ป่วย หรื อ สั ตว์ที่บำดเจ็บจำกกำรเคลื่อ นย้ำย และดำเนินกำร ป้องกันและควบคุมกำรแพร่ระบำดของโรคโดยเร็วที่สุด รวมทั้งด้ำนกำรอพยพสัตว์ไปสู่ที่ ปลอดภัยและสนับสนุนเสบียงสัตว์ ด้านประมง เจ้ำหน้ำที่ประมงประจำศูนย์/สถำนี ติดตำมสถำนกำรณ์เก็บกักน้ำในอ่ำงเก็บน้ำ ให้คำแนะนำ ในกำรป้ อ งกั น โรคระบำดสั ต ว์น้ ำ จั ด ส่ ง เครื่ อ งสู บ น้ำและอุ ป กรณ์ ต่ ำง ๆ เพื่ อ ช่ ว ยเหลือ เกษตรกรทันทีที่ได้รับกำรร้องขอ เพื่อขนย้ำยหรือจับสัตว์น้ำออกจำหน่ำย

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 47 ให้จังหวัดต่ำง ๆ พิจำรณำกำรให้ควำมช่วยเหลือโดยใช้เงินทดรองรำชกำรในอำนำจของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด (๒๐ ล้ำน) ตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรจ่ำยเงินทดรองรำชกำรช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณี ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๖๒ และตำมหลั กเกณฑ์ วิธีปฏิบัติปลี กย่อยเกี่ยวกับกำรให้ควำมช่ว ยเหลือ ด้ำนกำรเกษตร ผู้ประสบภัยพิบัติฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยแล้งได้ทันทีตำมควำมจำเป็นและ เหมำะสม หำกเงินงบประมำณมีไม่เพียงพอสำมำรถขอใช้เงินทดรองรำชกำรในอำนำจของปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ( ๕๐ ล้ำน) และงบกลำงจำกคณะรัฐมนตรีต่อไป หลังเกิดภัย กำรให้ควำมช่วยเหลือเพื่อบรรเทำควำมเดือดร้อนตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยเงินทดรองรำชกำร เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๖๒ โดยผ่ำนควำมเห็นชอบของ ก.ช.ภ.อ. และ ก.ช.ภ.จ. รวมทั้ง กำรสนับสนุนพัฒนำพื้นที่กำรเกษตรที่ได้รับควำมเสียหำย และกำรฝึกอบรมอำชีพให้เกษตรกร เพื่อให้สำมำรถ ประกอบอำชีพเกษตรกรรมต่อไป ๑. การสารวจความเสียหาย ๑.๑ สำรวจและประเมินควำมเสียหำยด้ำนพืช ปศุสัตว์ และประมง เพื่อเสนอขอรับควำมช่วยเหลือผ่ำน คณะกรรมกำรให้ ค วำมช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระสบภั ยพิ บั ติ อ ำเภอ (ก.ช.ภ.อ.) และคณะกรรมกำรให้ ค วำมช่ ว ยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติจังหวัด (ก.ช.ภ.จ.) โดยใช้อัตรำกำรช่วยเหลือตำมหลักเกณฑ์วิธีกำรปฏิบัติปลีกย่อยเกี่ยวกับกำรให้ ควำมช่วยเหลือด้ำนกำรเกษตรผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๖๒ ๒. การให้ความช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนเป็นเงิน ๒.๑ กำรให้ควำมช่ว ยเหลือโดยใช้เงินทดรองรำชกำร กำรขอใช้เ งินทดรองรำชกำร ให้ดำเนินกำรตำม ระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยเงินทดรองรำชกำรเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๖๒ โดย หน่วยงำน ที่เกี่ยวข้องต้องดำเนินกำร ไม่เกิน ๓ เดือน นับแต่วันที่เกิดภัย - ระดับอำเภอ นำยอำเภอมีอำนำจอนุมัติจ่ำยเงินทดรองรำชกำรตำมที่ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดแต่ละจังหวัด มอบหมำย - ระดับจังหวัด ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมีอำนำจอนุมัติจ่ำยเงินทดรองรำชกำรวงเงิน ๒๐ ล้ำนบำท ต่อทุก ภัย - ระดับกระทรวง ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีอำนำจอนุมัติจ่ำยเงินทดรองรำชกำรวงเงิน ๕๐ ล้ำนบำท ต่อภัยพิบัติแต่ละครั้งหรือแต่ละเหตุกำรณ์ ๒.๒ กำรให้ควำมช่วยเหลือโดยใช้เงินงบกลำงกรณีที่พ้นกำหนดกำรประกำศเป็นภัย กรณีฉุกเฉินหรือไม่สำมำรถใช้เงินทดรองรำชกำรให้ควำมช่วยเหลือได้ ให้หน่วยงำนระดับจังหวัดรวบรวม รำยละเอียดกำรขอรับควำมช่วยเหลือที่ผ่ำนควำมเห็นชอบจำก ก.ช.ภ.จ. แล้ว เสนอเรื่องผ่ำนกรมต้นสังกัดส่งให้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เ พื่ อ เสนอขอเงิ น งบกลำงในอ ำนำจของส ำนั ก งบประมำณหรื อ นำยกรั ฐ มนตรี หรือคณะรัฐมนตรี ตำมลำดับต่อไป

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

48 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ๓. การฟื้นฟู หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องเข้ำปรับพื้นที่กำรเกษตร เพื่อให้เกษตรกรสำมำรถประกอบเกษตรกรรมได้เป็นปกติ อย่ำงรวดเร็วและมีประสิทธิภำพ พื้นที่ประสบภัยพิบัติด้านการเกษตร ในปี ๒๕๖๔ จังหวัดนครพนม ได้ประกำศพื้นที่ประสบสำธำรณภัยโรคระบำด ดังนี้ ภัยพิบัติด้านพืช (โรคระบาดพืช ) จังหวัดนครพนมได้ประกำศเขตกำรให้ควำมช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน แมลงศัตรูพืช ระบำด (เพลี้ยไฟ) ตำมระเบียบและหลักเกณฑ์ฯ ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ ๙ ตำบลสำมผง และหมู่ที่ ๕ ตำบลท่ำบ่อสงครำม อำเภอศรีสงครำม จังหวัดนครพนม ประกำศ ณ วันที่ ๒๔ พฤษภำคม พ.ศ. ๒๕๖๔ สรุปการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ ด้านพืช (เพลี้ยไฟ) ปี ๒๕๖๔ อาเภอศรีสงคาม เมื่อการประชุม ก.ช.ภ.จ. นครพนม ครั้งที่ ๒/๒๕๖๔ วันที่ ๑๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๔ เวลา ๑๐.๓๐ น.

ภัยพิบัติด้านปศุสัตว์ (โรคระบาดสัตว์) จังหวัดนครพนม ได้ประกำศกำหนดเขตโรคระบำด โรคลัมปี สกิน (Lumpy skin disease) ในโค และกระบือ ตำมพระรำชบัญญัติโรคระบำดสัตว์ พ.ศ.๒๕๕๘ ให้เขตพื้นที่ ทุกหมู่บ้ำน ทุกตำบล ทกอำเภอของจังหวัด นครพนม เป็นเขตโรคระบำด ชนิดโรคลัมปี สกิน (Lumpy skin disease) ในโค และกระบือ ประกำศ ณ วันที่ ๑๘ พฤษภำคม พ.ศ.๒๕๖๔ ตำมประกำศหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ป ลี ก ย่ อ ยเกี่ ย วกั บ กำรให้ ค วำมช่ ว ยเหลื อ ด้ ำ นกำรเกษตร ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๖๔ กรณีโรคระบำดสัตว์ชนิดโรคลัมปี สกิน (Lumpy skin disease) ในโค และกระบือ ของกระทรวงกำรคลัง เพื่อให้เกษตรกรได้รับควำมช่วยเหลือโดยเท่ำเทียม

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 49 สรุปการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ ด้านปศุสัตว์ชนิดโรคลัมปี สกิน รวมทัง้ ๑๒ อาเภอ เมื่อการประชุม ก.ช.ภ.จ. ครั้งที่ ๕/๒๕๖๔ วันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๐.๐๐ น.

สรุปการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ ด้านปศุสัตว์ ชนิดโรคลัมปี สกิน รวมทั้ง ๑๒ อาเภอ เมื่อการประชุม ก.ช.ภ.จ. ครั้งที่ ๖/๒๕๖๔ วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๓.๓๐ น.

จังหวัดนครพนมได้ประกำศกำหนดเขตโรคระบำดชั่วครำว ตำมพระรำชบัญญัติโรคระบำดสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๘ เขตพื้นที่บ้ำนนำโพธิ์ หมู่ที่ ๕ ตำบลบ้ำนผึ้ง อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม ได้ตรวจพบว่ำมีสุกรป่วยเป็นโรค ระบำดชนิด โรค พี.อำร์.อำร์.เอส (Porcine Reproductive and Respiratory Syndrome, PRRS ซึ่งโรคนี้เป็นโรค ระบำดร้ำยแรง เพื่อเป็นกำรควบคุมโรคระบำด ดังกล่ำว ประกำศ ณวันที่ ๑๓ เดือนกันยำยน พ.ศ. ๒๕๖๔

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

50 รายงานประจาปี ๒๕๖๔

วันพระบิดาแห่งฝนหลวง ประจาปี ๒๕๖๔ ความเป็นมา คณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ เ มื่ อ วั น ที่ ๒๐ สิ ง หำคม พุ ท ธศั ก รำช ๒๕๔๕ กำหนดให้วันที่ ๑๔ พฤศจิกำยน ของทุกปีเป็น “วันพระบิดำ แห่งฝนหลวง” เพื่อเป็นกำรแสดงควำมจงรักภักดีและน้อมรำลึกใน พระมหำกรุณำธิคุณที่ทรงก่อให้เกิด “เทคโนโลยีฝนหลวง” ขึ้นมำ บรรเทำทุกข์ยำกแก่มวลพสกนิกรและมวลมนุษย์ในโลก ให้รอดพ้น จำกควำมเดือดร้อนเสียหำย ทั้งด้ำนเศรษฐกิจและสังคมอันเนื่องมำ จำกภัยแล้งได้อย่ำงสัมฤทธิ์ผลเป็นที่ประจักษ์ชัด พระปรีชำสำมำรถ ทั้งนี้ เป็นที่ยอมรับทั่วไปทั้งในประเทศและต่ำงประเทศ ผลการจัดงาน “วันพระบิดาแห่งฝนหลวง” จังหวัดนครพนม

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 51 ๑. จังหวัดนครพนม โดยสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ได้จัดพิธีวำงพำนพุ่มดอกไม้สด ถวำยรำชสักกำระ พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศร มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร เนื่ อ งใน“วั น พระบิ ด ำแห่ ง ฝนหลวง” ในวั น อำทิ ต ย์ ที่ ๑๔ พฤศจิ ก ำยน ๒๕๖๔ เวลำ ๐๘.๓๐ – ๐๙.๓๐ น. ณ หอเฉลิมพระเกียรติพระรำชวงศ์จักรี ศูนย์วิทยำศำสตร์เพื่อกำรศึกษำนครพนม ตำบลหนองญำติ อำเภอเมือง นครพนม จั ง หวั ด นครพนม และเชิ ญ ส่ ว นรำชกำร หน่ ว ยงำน ในจั ง หวั ด นครพนม เข้ ำ ร่ ว มในพิ ธี ดั ง กล่ ำ ว จำนวน ๑๒ หน่วยงำน โดย นำยชำธิป รุจนเสรี ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดนครพนม เป็นประธำนในพิธี ๒. ประชำสัมพันธ์เชิญชวน ส่วนรำชกำรและหน่วยงำนต่ำง ๆ ในจังหวัดนครพนมลงนำมลงนำมน้อมรำลึก ในพระมหำกรุณำธิคุณของพระบิดำแห่งฝนหลวง และเชิญชมนิทรรศกำรผ่ำนระบบออนไลน์ทำงเว็ปไซต์กรมฝน หลวงและกำรบินเกษตร www.royalrain.go.th ระหว่ำงวันที่ ๗ – ๑๕ พฤศจิกำยน ๒๕๖๔

“วันพระบิดาแห่งฝนหลวง” จังหวัดนครพนม

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

52 รายงานประจาปี ๒๕๖๔

พ.ร.บ. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา พ.ศ. ๒๕๖๐ มีเจตนาในการกาหนดหลักเกณฑ์ ในการทาสัญญาในระบบเกษตรพันธสัญญาเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย รวมทั้งกาหนดกลไกในการส่งเสริม และพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา เพื่อช่วยสร้างความไว้วางใจ ความร่วมมือ ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพในการ ผลิตผลิตผลหรือบริการทางการเกษตรอย่างยั่งยืน ๑. การจัดทาเอกสารสาหรับชี้ชวน ๒. การจัดทาร่างในระบบเกษตรพันธสัญญา ๓. การคุ้มครองเกษตร จังหวัดนครพนม โดยสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ได้ประชำสัมพันธ์พระรำชบัญญัติ ส่งเสริมและพัฒนำระบบเกษตรพันธสัญญำ พ.ศ. ๒๕๖๐ และมีผู้ประกอบกำรมำยื่นแจ้งกำรประกอบธุรกิจในระบบ เกษตรพันธสัญญำ ดังนี้ ๑. ประชำสัมพันธ์พระรำชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนำระบบเกษตรพันธสัญญำ พ.ศ. ๒๕๖๐ แก่เกษตรกร และประชำชนทั่วไป ร่วมกับจังหวัดนครพนม ตำมโครงกำรจังหวัดเคลื่อนที่แบบบูรณำกำร ทุกเดือน ๒. มีผู้ประกอบกำรมำยื่นเรื่องกำรประกอบธุรกิจในระบบเกษตรพันธสัญญำ ยังไม่มี ๒.๑ ผลกำรดำเนินงำนของบริษัทฯ กำรจำหน่ำยผลผลิตเน้นกำรขำยปลีกในจังหวัดและจังหวัดใกล้เคียง ยังไม่ได้มีกำรส่งออกไปจำหน่ำยที่ตลำดต่ำงประเทศ

แผนเตรียมความพร้อมด้านอาหารจังหวัดนครพนม ประจาปี ๒๕๖๔ ในปัจจุบันภัยควำมมั่นคงจำกกำรสู้รบด้วยกำลังทหำรยังคงปรำกฏอยู่ และเกิดเป็นภัยควำมมั่นคงรูปแบบใหม่ มีแนวโน้มรุนแรงและขยำยวงกว้ำงครอบคลุมและส่งผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชำชนในหลำยพื้นที่ ประกอบกับปัจจุบันหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องได้มีกำรพัฒนำปรับปรุงแผนและแนวทำงที่เกี่ยวข้อง อำทิ งำนด้ำนสำธำรณ ภัย กระทรวงมหำดไทย (กรมป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย) ได้กำหนดแผนกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อเป็นหลักในกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยหน่วยงำนหลักได้จัดทำแผนปฏิบัติกำรกำรป้องกันและ บรรเทำสำธำรณภัยแห่งชำติ และงำนด้ำนควำมมั่นคงกระทรวงกลำโหม (กรมกำรสรรพกำลังกลำโหม) ได้กำหนดให้มีแผน ผนึกกำลังและทรัพยำกรเพื่อกำรป้องกันประเทศ รัฐบำลได้ให้ควำมสำคัญกับกำรพัฒนำระบบกำรเตรียมพร้อมแห่งชำติ โดยเน้นกำรบริหำรวิกฤตกำรณ์เพื่อ รับมือภัยคุกคำมต่ำง ๆ ทั้งที่เกิดจำกภัยธรรมชำติและภัยที่มนุษย์สร้ำงขึ้นที่มีแนวโน้มมำกขึ้น โดยมุ่งระดมสรรพ กำลังจำกทุกภำคส่วนให้สำมำรถดำเนินงำนร่วมกันอย่ำงมีประสิทธิภำพ เพื่อป้องกัน แก้ไข บรรเทำ และฟื้นฟูควำม เสียหำยของชำติที่เกิดจำกภัย ต่ำง ๆ รวมถึงให้ควำมสำคัญในกำรเตรียมพร้อมเพื่ อเผชิญกับปัญหำควำมมั่นคงใน รูปแบบใหม่ในทุกด้ำน

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 53 ในอนำคตประชำคมโลกอำจต้องเผชิญภัยคุกคำมหรือเกิดสภำวะที่กระทบทำงยุทธศำสตร์อย่ำงรุนแรงยำกแก่ กำรคำดคะเน และขนำดของผลกระทบที่ยำกจะวัดได้ ดังตัวอย่ำงในอดีตที่ผ่ำนมำ เช่น สหรัฐฯ ต้องเผชิญกับกำรท้ำทำย จำกรัสเซียและจีน นอกจำกนี้ กำรเกิดขึ้นของขั้วอำนำจใหม่ทำงเศรษฐกิจโลก คือ กลุ่ม BRICS ประกอบด้วยประเทศ บรำซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกำใต้ ซึ่งกำลังมีบทบำทในเวทีระหว่ำงประเทศมำกขึ้นและมีท่ำทีต้องกำรมีส่วน กำหนดกรอบกติกำของโลก โดยมีควำมเคลื่อนไหวที่สำคัญ ในด้ำนเศรษฐกิจและกำรเงินระหว่ำงประเทศ ซึ่งเป็นกำรท้ำ ทำยและสร้ ำงนโยบำยควำมมั่ นคงแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๔ ดุ ลอ ำนำจใหม่ และมี แนวโน้ มส่ งผลต่ อ กำร เปลี่ยนแปลงระเบียบโลกทั้งทำงกำรเมืองและเศรษฐกิจ สภำพกำรณ์ดังกล่ำว ส่งผลให้ประเทศไทยต้องดำเนินนโยบำย ด้วยควำมอ่อนตัว ในกำรกำหนดท่ำทีเพื่อรักษำดุลยภำพทำงควำมสัมพันธ์กับประเทศมหำอำนำจต่ำง ๆ ดังนั้น เพื่อเป็นกำรเตรียมพร้อมในกำรรับมือกับสถำนกำรณ์ที่อำจจะเกิดขึ้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ซึ่งเป็นหน่วย ประสำนงำนหลักด้ำนอำหำร ได้จัดทำแผนเตรียมพร้อมด้ำนอำหำร (ผ่ำนคณะกรรมกำรเตรียมพร้อมด้ำนอำหำร กษ. ตำมภำคผนวก ค) โดยเป็นกำรเตรียมกำรเพื่อกำหนดควำมต้องกำรอำหำร และวัตถุดิบที่จำเป็นในภำวะวิกฤตที่ต้อง อำศัยองค์กรเข้ำมำจัดกำรและประสำนงำนกับหน่วยงำนอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง เมื่อมีสถำนกำรณ์ฉุกเฉินหรือไม่ปกติเกิดขึ้น เพื่อให้เกิดควำมพร้อมในกำรแก้ไขปัญหำ สำนักงำนเกษตรเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ในฐำนะศูนย์ประสำนกำรปฏิบัติกำรเตรียมพร้อมด้ำน อำหำรจังหวัดนครพนม ให้มีกำรสนับสนุนกำรขับเคลื่อนแผนเตรียมพร้อมด้ำนอำหำรและรำยงำนควำมต้องกำรด้ำน ทรัพยำกรอำหำรไปยังศูนย์อำนวยกำรกำรเตรียมพร้อมด้ำนอำหำร ดังนี้ ขั้นการเตรียมการ ๑) จัดทำแผนเตรียมพร้อมด้ำนอำหำร และแผนปฏิบัติกำรระดับจังหวัดให้สอดคล้องกับแผนผนึกกำลัง และทรัพยำกรเพื่อกำรป้องกันประเทศ ๒) ประสำนและขอควำมร่วมมือจำกหน่วยรำชกำรต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และประสำนขอควำมช่วยเหลือจำก เอกชน เพื่อเตรียมพร้อมรับสถำนกำรณ์ตลอดเวลำ ๓) ประสำนกำรปฏิ บั ติ ก ำรตำมแผนปฏิ บั ติ ก ำรหรื อ ระเบี ย บปฏิ บั ติ ป ระจ ำ (รปจ.) ของส่ ว นรำชกำร รัฐวิสำหกิจ และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง เพื่อรับภำวะไม่ปกติ ๔) ประสำนกำรฝึ ก ซ้ อ มเมื่ อ มี ก ำรฝึ ก ซ้ อ มในระดับ พื้ น ที่ ต ำมแผนเตรี ย มพร้ อ มด้ ำ นอำหำรตำมที่ ศูนย์ อ ำนวยกำรเตรียมพร้อ มด้ำนอำหำรกำหนด และทำรำยงำนผลกำรฝึกซ้อมรวมทั้งข้อเสนอแนะต่ำง ๆ ต่อ ศูนย์ อำนวยกำรเตรียมพร้อมด้ำนอำหำรต่อไป ๕) ดำเนินกำรรวบรวมข้อมูลต่ำง ๆ ด้ำนอำหำรให้ครบถ้วนสมบูรณ์และทันสมัยอยู่ตลอดเวลำ ๖) เสนอของบประมำณค่ำใช้จ่ำยในกำรบริหำรงำน ๗) จัดทำรำยงำน ผลกำรปฏิบัติกำรหลังจำกเหตุกำรณ์เข้ำสู่ภำวะปกติ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

54 รายงานประจาปี ๒๕๖๔

การดาเนินกิจกรรมการรวมกลุ่มและการสร้างเครือข่าย ภายใต้โครงการพัฒนาศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จังหวัดนครพนม ******************************* ๑. ความเป็นมา ส ำนั ก งำนปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ ด ำเนิ น โครงกำรพั ฒ นำกำรเกษตร ตำมแนวทฤษฎีใหม่ โดยยึดหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปี ๒๕๖๔ และได้กำหนดแนวทำงในกำร รวมกลุ่มและสร้ำงเครือข่ำย โดยมอบหมำยให้สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ร่วมกับศูนย์เครือข่ำย ปรำชญ์ชำวบ้ำน พิจำรณำคัดเลือกเกษตรกร/เกษตรกรอำสำที่ผ่ำนกำรอบรมจำกศูนย์เครือข่ำยปรำชญ์ชำวบ้ำน ที่มีศักยภำพเป็นแกนนำในกำรสร้ำงกลุ่ม และให้มีกำรจัดเวทีแบบมีส่วนร่วม มีกำรทำควำมเข้ำใจแกนนำกลุ่ ม วิเครำะห์สถำนภำพและศักยภำพ(จุดแข็ ง จุดอ่อนโอกำสข้อจำกัดของกลุ่ม)ศึกษำปัญหำและแนวทำงกำรพัฒนำ ในกำรประกอบอำชีพและกำรจัดระบบเรียนรู้เทคโนโลยี และจัดทำแผนปฏิบัติกำรของกลุ่ม และนำเสนอขอ สนับสนุนงบประมำณจำกสำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ในด้ำนกำรพัฒนำบุคลำกร)โดยสำนักงำน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้สนับสนุนงบประมำณในด้ำนกำรพัฒนำบุคลำกรจำนวน ๓๐,๐๐๐ บำท สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์นครพนม ร่วมกับศูนย์ปรำชญ์ชำวบ้ำนชุมชนบุญนิยมศรีโคตร บูรณ์อโศก ได้พิจำรณำและคัดเลือก “กลุ่มปุ๋ยหมักบ้านโพนงามหมู่ที่ ๑ และ หมู่ที่ ๑๐” บ้ำนโพนงำม ตำบลนำ คำ อำเภอศรีสงครำม จังหวัดนครพนม เข้ำร่วมกิจกรรมกำรรวมกลุ่มและสร้ำงเครือข่ำยภำยใต้โครงกำรพัฒนำ ศูนย์เครือข่ำยปรำชญ์ชำวบ้ำน ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒. แนวทางการดาเนินงาน โครงกำรพั ฒ นำศู น ย์ เ ครื อ ข่ ำ ยปรำชญ์ ช ำวบ้ ำ น ปี ง บประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๔ มี เ ป้ ำ หมำย กำรดำเนินกิจกรรมกำรรวมกลุ่มและกำรสร้ำงเครือข่ำย จำนวน ๗๖ กลุ่ม เพื่อให้กำรดำเนินกิจกรรมสอดคล้องกับ งบประมำณที่ได้รับจัดสรรและเป้ำหมำยที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนด โดยดำเนินกำรตำมแนวทำง ดังนี้ ๑. กำรสำรวจและคัดเลือกกลุ่มเกษตรกร สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์นครพนม ร่วมกับศูนย์ปรำชญ์ชำวบ้ำนชุมชนบุญนิยมศรีโคตรบูรณ์อโศก ได้ พิจำรณำและคัดเลือก “กลุ่มปุ๋ยหมักบ้ำนโพนงำมหมู่ที่ ๑ และ หมู่ที่ ๑๐” บ้ำนโพนงำม ตำบลนำคำ อำเภอศรีสงครำม จังหวัดนครพนม เข้ำร่วมโครงกำรฯ ปีงบประมำณ ๒๕๖๔

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 55 ๒. กำรจัดทำเวทีเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติกำรและให้ควำมเห็นชอบแผนปฏิบัติกำร จัดเวทีแบบมีส่ วนร่วม โดยกำรชี้ แจงทำควำมเข้ำใจกลุ่ มเกษตรกรในกำรดำเนินกิจกรรมกลุ่ม วิเครำะห์ สถำนภำพ และศักยภำพ (จุดแข็ง, จุดอ่อน ) ศึกษำปัญหำและแนวทำงพัฒนำใน กำรประกอบอำชีพ กำรดำเนินกิจกรรม เพื่อพัฒนำผลผลิตของกลุ่ม รวมถึง เทคโนโลยี ทักษะกำรผลิต กำรแปรรูป และกำรตลำด โดยสำนักงำนเกษตรและ สหกรณ์จังหวัดนครพนม ร่วมกับกลุ่มปุ๋ยหมักบ้ำนโพนงำมหมู่ที่ ๑ และ หมู่ที่ ๑๐ จัดเวทีเพื่อวิเครำะห์ศักยภำพ ของ กลุ่มฯ เมื่อวันที่ ๗ มิถุนำยน ๒๕๖๔ พร้อมทั้งจัดทำแผนปฏิบัติกำรและให้ควำมเห็นชอบแผนปฏิบัติกำร ดังนั้น สำนักงำนฯจึงได้จัดทำโครงกำรเพิ่มประสิทธิภำพและเพิ่มพูนควำมรู้กำรเพำะเห็ดฟำงในตะกร้ำ ให้สอดคล้องกับควำม ต้องกำรในกำรพัฒนำของสมำชิกกลุ่มฯ

๓. กำรดำเนินกำรตำมแผนปฏิบัติกำร กิ จกรรมกำรศึ กษำดู งำน กำรสำธิ ต กำรฝึ กปฏิ บั ติ กำรเพำะเห็ ดฟำงในตะกร้ ำ ภำยใต้ โครงกำรเพิ่ ม ประสิทธิภำพและเพิ่มพูนควำมรู้กำรเพำะเห็ดฟำงในตะกร้ำ กลุ่มฯได้ศึกษำดูงำน กำรสำธิต กำรฝึกปฏิบัติกำรเพำะเห็ด ฟำงในตะกร้ำ เมื่อวันที่ ๑๘ สิงหำคม ๒๕๖๔ ณ โรงเรือนเพำะเห็ดฟำง บ้ำนนำ งำม อ.เรณูนคร จ.นครพนม โดยมี นำงนิสัย ยนต์สิงห์ เป็นวิทยำกร ซึ่งเป็นผู้ที่มีประสบกำรจำก เพำะเห็นฟำงในรูปแบบต่ำง ๆ เป็นระยะเวลำกว่ำ ๑๕ ปี และยังเป็นผู้มีควำมรู้ ควำมช ำนำญในกำรเพำะเห็ดฟำงเป็นอย่ำงดี ตลอดจนกำรเป็นวิทยำกรที่ มี ประสบกำรณ์กำรสอนเป็นระยะเวลำหลำยปี กำรสอนในพื้นที่ต่ำง ๆของจังหวัด นครพนม โดยกำรศึกษำดูงำน ในครั้งนี้ กลุ่มฯ ได้รับกำรบรรยำยถ่ำยทอดองค์ควำมรู้ ทั้งกำรเพำะเห็ดฟำงแบบกองเตี้ย และ กำรเพำะเห็ดฟำงในตะกร้ำ รวมถึงขั้นตอนกำรสำธิตวิธีกำรทำ และกลุ่มได้ลงมือ ปฏิบัติตำม ตลอดจนกำรเยี่ยมชมโรงเรือนเพำะเห็ดฟำง และศูนย์กำรเรียนรู้ที่วิทยำกรได้ถ่ำยทอดองค์ควำมรู้และภูมิ ปัญญำให้แก่สมำชิกของกลุ่มฯ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

56 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ๔. กำรติดตำมผล โดยให้กลุ่มเกษตรกรนำเสนอผลงำนและรำยงำนควำมก้ำวหน้ำของกลุ่มเกษตรกร กลุ่มนำเสนอผลงำนและควำมก้ำวหน้ำของกลุ่มเกษตรกร ตำมโครงกำรเพิ่มประสิทธิภำพและเพิ่มพูน ควำมรู้ในกำรเพำะเห็ ดฟำงในตะกร้ำ กิจกรรมกำรรวมกลุ่ มและสร้ำงเครือข่ำย ภำยใต้โครงกำรพัฒนำศูนย์ เครือข่ำยปรำชญ์ชำวบ้ำน ปี ๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๑๐ กันยำยน ๒๕๖๔ โดยสมำชิกของกลุ่มได้นำควำมรู้ที่ได้รับมำ ปรับใช้ในกิจกรรมของกลุ่มและใช้ในชีวิตประจำวัน เป็นกำรสร้ำงอำชีพเสริมและสร้ำงรำยได้ให้กับสมำชิกของ กลุ่ม

๕. สิ่งที่ได้จำกกำรทำกิจกรรมร่วมกัน ๑) เกิดควำมสำมัคคีของสมำชิกภำยในกลุ่ม อันเกิดจำกกำรร่วมแรงร่วมใจทำกิจกรรมร่วมกัน ๒) กำรทำกิจกรรมร่วมกันทำให้สมำชิกเกิดควำมเสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง ๓) เกิดกำรสร้ำงงำน สร้ำงรำยได้ ลดรำยจ่ำย และส่งผลให้สมำชิกมีเงินออม ๔) ทำให้กลุ่มเกิดกำรพัฒนำต่อยอดจำกองค์ควำมรู้ที่ได้จำกกำรทำกิจกรรมร่วมกัน และเป็นประโยชน์ต่อ กำรพัฒนำชุมชนของตน ต่อไปในอนำคต

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 57

การจัดทาปฏิทินผลผลิตสินค้าเกษตรระดับจังหวัด (Provincial Crop Calendar) ตำมมติที่ประชุมคณะกรรมกำรอำหำรแห่งชำติ ครั้งที่ ๒/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๖ กันยำยน ๒๕๖๑ ซึ่งมอบหมำย ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดจัดทำปฏิทินผลผลิตสินค้ำเกษตรรำยเดือนระดับจังหวัด เพื่อใช้ประโยชน์ในกำรวำงแผนเรื่อง ควำมมั่นคงอำหำรและส่ งเสริ มเศรษฐกิจในชุ มชน และท้อ งถิ่น โดยขอให้ข้อ มูล เป็นรำยปี ให้ฝ่ ำยเลขำนุกำร คณะกรรมกำรเฉพำะเรื่อ งคณะที่ ๑ คณะกรรมกำรขับเคลื่อนด้ำนควำมมั่นคงอำหำรตลอดห่วงโซ่ (ส ำนักงำน เศรษฐกิจกำรเกษตร) ภำยในวันที่ ๓๐ พฤศจิกำยน ของทุกปี (วันที่ผู้ ว่ำรำชกำรจังหวัดลงนำมถึงเลขำธิกำร สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร และสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ยืนยันข้อมูลปฏิทินของจังหวัดในระ บบ ออนไลน์) สศก. ได้ปรับปรุงระบบกำรบันทึกข้อมูลปฏิทินแบบออนไลน์ ที่สำมำรถบันทึกและจัดเก็บข้อมูลได้ทันที (http://cropcalendar.oae.go.th/site/login) โดยให้สำนักงำนเกษตรจังหวัด กรอกข้อมูลพืช สำนักงำนปศุสัตว์ จังหวัด กรอกข้อมูลด้ำนปศุสัตว์ สำนักงำนประมงจังหวัด กรอกข้อมูลด้ำนประมง และสำนักงำนเกษตรและ สหกรณ์จังหวัด เป็นหน่วยงำนประสำนกำรดำเนินงำนในภำพรวมของจังหวัด และสำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรที่ ๑-๑๒ เป็นหน่วยงำนให้คำแนะนำในกำรจัดทำและบันทึกข้อมูลปฏิทินฯ ในกำรกระบวนกำรจัดทำปฏิทิน กำรกลั่นกรองข้อมูลปฏิทินฯ ประจำปี ๒๕๖๔ โดยกลั่นกรองข้อมูลระดับ อำเภอ ผ่ำนคณะกรรมกำรขับเคลื่อนงำนด้ำนกำรเกษตรระดับจังหวัด แล้วนำเสนอผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดนครพนมลง นำมถึงเลขำธิกำรสำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกำยน ๒๕๖๔

http://calendar.oae.go.th/ ข้อมูลปฏิทินผลผลิตสินค้ำเกษตรรำยเดือนระดับจังหวัด

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

58 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ในปี 2564 สานักงานเกษตรจังหวัดนครพนม ได้นาเข้าข้อมูลด้านพืช จานวน 31 ชนิดพืช ได้แก่ สินค้า

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

จานวน เกษตรกร (ครัวเรือน)

เนื้อที่เพาะปลูก / เนื้อที่ยืนต้น (ไร่)

เนื้อที่เก็บเกี่ยว/ เนื้อที่ให้ผล (ไร่)

ปริมาณ ผลผลิตรวม ปี ปัจจุบัน (ตัน)

ข้ำวนำปรัง 7,797.00 73,411.80 73,411.80 39,540.55 ข้ำวนำปี 153,438.00 1,338,015.16 1,314,471.16 520,856.46 ถั่วลิสง 251.00 842.00 842.00 352.22 มันแกว 612.00 2,120.00 1,653.00 4,832.80 มันฝรั่ง 43.00 178.00 178.00 634.00 มัน 3,070.00 25,658.28 25,433.28 50,311.48 สำปะหลัง โรงงำน อินทผำลัม 4.00 20.00 16.00 39.10 จิ้งหรีด 25.00 0.00 0.00 100.80 ปำล์ม 979.00 9,425.27 6,035.52 8,899.54 น้ำมัน สับปะรด 1,461.00 4,764.00 2,437.00 8,983.30 บริโภคสด แคนตำลูป 30.00 60.00 60.00 120.00 แตงโมเนื้อ 277.00 2,047.75 2,047.75 7,985.35 แตงกวำ 36.00 80.00 80.00 270.00 ข้ำวโพด 204.00 656.00 649.00 1,104.90 รับประทำน ฝักสด ข้ำวโพด 537.00 2,110.25 2,110.25 3,820.16 หวำน คะน้ำ 45.00 55.00 55.00 350.80 ผักชีฝรั่ง 52.00 318.00 318.00 1,120.00 พริกขีห้ นู 35.00 61.50 61.50 79.40 เม็ดเล็ก (ขี้หนูสวน) พริกขีห้ นู 1,665.00 2,914.91 2,883.91 3,206.35 เม็ดใหญ่ ฟักทอง 67.00 429.00 429.00 1,400.00 มะเขือเทศ 543.00 3,887.87 3,887.87 8,324.89 โรงงำน มะเขือเทศ 135.00 336.00 336.00 772.20 บริโภคสด หอมแบ่ง 493.00 1,213.50 1,213.50 4,452.20 (ต้นหอม) เงำะ 5.00 24.00 14.00 52.00

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

ผลผลิตต่อไร่ (ก.ก.)

การกระจาย/ การบริโภค ภายในจังหวัด (ตัน)

การกระจาย/ การบริโภค ภายนอก จังหวัด (ตัน)

538.61 35,396.55 4,144.00 396.25 358,839.77 162,016.68 418.31 44.77 307.45 2,921.84 31.00 4,801.80 3,561.80 0.00 634.00 2,997.48 24,076.10 26,235.39 2,443.75 0.00 1,474.53

14.90 15.00 460.00

24.20 85.80 8,439.54

3,686.21

2,494.50

6,488.80

2,000.00 3,899.57 3,375.00 1,702.47

60.00 3,657.50 165.00 72.40

60.00 4,327.85 105.00 1,032.50

1,810.29

176.46

3,643.70

6,378.18 3,522.01 1,291.06

12.00 1,120.00 19.40

338.80 0.00 60.00

1,111.81

1,601.28

1,605.07

3,263.40 2,141.25

340.00 785.14

1,060.00 7,539.75

2,298.21

254.70

517.50

3,668.89

673.60

3,778.60

3,714.29

52.00

0.00

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 59 สินค้า

กล้วยน้ำว้ำ กล้วยหอม มะนำว ลำไย ลิ้นจี่ อ้อย โรงงำน 31 รวม

จานวน เกษตรกร (ครัวเรือน)

25 26 27 28 29 30

เนื้อที่เพาะปลูก / เนื้อที่ยืนต้น (ไร่)

เนื้อที่เก็บเกี่ยว/ เนื้อที่ให้ผล (ไร่)

ปริมาณ ผลผลิตรวม ปี ปัจจุบัน (ตัน)

ผลผลิตต่อไร่ (ก.ก.)

การกระจาย/ การบริโภค ภายในจังหวัด (ตัน)

การกระจาย/ การบริโภค ภายนอก จังหวัด (ตัน)

485.00 32.00 108.00 31.00 2,139.00 1,541.90

263.00 18.00 49.00 28.50 1,019.00 1,449.40

387.40 33.00 41.10 27.80 2,058.81 8,489.75

1,473.00 1,833.33 838.78 975.44 2,020.42 7,372.19

318.40 33.00 41.10 5.30 133.60 0.00

69.00 0.00 0.00 22.50 1,925.21 7,351.75

284.00 37.00 73.00 4.00 1,013.00 120.00

173,335.00 1,472,965.19 1,441,450.44 678,646.36 73,128.37 430,893.47 246,614.89

สำนักงำนปศุสัตว์จังหวัดนครพนม ได้นำเข้ำข้อมูลด้ำนปศุสัตว์ จำนวน 13 ชนิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

รหัสสินค้า

จานวน เกษตรกร (ราย)

แกะ แพะ โค กระบือ สุกร เป็ดเทศ เป็ดเนื้อ ไก่เนื้อ ไก่งวง ไก่พื้นเมือง นกกระทำ

20.00 238.00 24,898.00 13,392.00 3,885.00 6,982.00 425.00 295.00 483.00 49,937.00 15.00

รหัสสินค้า

12 ไข่เป็ด 13 ไข่ไก่

จานวน เกษตรกร (ราย)

จานวนสัตว์ที่เลี้ยง ทั้งหมด (ทุกช่วง อายุ) ณ วันที่ 1 มกราคม2564 147.00 3,600.00 129,949.00 71,008.00 122,979.00 112,842.00 9,597.00 6,691.00 6,681.00 1,795,239.00 4,853.00

จานวนแม่ไก่ ยืนกรง/ จานวนเป็ด หรือนกกระทา ที่ให้ไข่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2563 (ตัว) 6.00 455 60.00 297,708.00

ปริมาณผลผลิต ปีปัจจุบัน (ตัว)

การกระจาย ภายในจังหวัด (ตัว)

การกระจาย ภายนอก จังหวัด (ตัว)

ปริมาณผลผลิต ปีถัดไป (ตัว) )

61.00 2,349.00 4,505.00 2,451.00 47,430.00 70,340.00 7,844.00 5,199.00 4,798.00 145,830.00 4,121.00

61.00 2,349.00 3,059.00 1,557.00 33,550.00 65,990.00 7,844.00 5,199.00 4,798.00 135,630.00 4,121.00

0.00 0.00 1,446.00 894.00 13,880.00 4,350.00 0.00 0.00 0.00 10,200.00 0.00

76.00 2,546.00 4,919.00 2,692.00 52,225.00 77,606.00 8,608.00 5,713.00 5,275.00 160,445.00 124,581.00

ปริมาณผลผลิต รวมไข่ ปีปัจจุบัน (ฟอง)

การกระจาย/การ บริโภคไข่ ภายใน จังหวัด (ฟอง)

การกระจาย/การ บริโภคไข่ ภายนอก จังหวัด (ฟอง)

ปริมาณผลผลิตรวม ไข่ ปีถัดไป (ฟอง)

160,080.00 94,064,417.00

160,080.00 54,197,776.00

0.00 39,866,641.00

176,057.00 119,265,123.00

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

60 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ สำนักงำนประมงจังหวัดนครพนม นำเข้ำข้อมูลด้ำนกำรประมง จำนวน 6 ชนิด ดังนี้ รหัสสินค้า 1 2 3 4 5 6

ปลำเผำะ (สวำยโมง) ปลำดุก ปลำตะเพียน ปลำนิล ปลำอื่น ๆ ลูกอ๊อด (ฮวก) รวม

จานวนเกษตรกร ทั้งหมด (ราย) 41.000 856.000 827.000 7,514.000 1,812.000 32.000 11,082.00

เนื้อที่เลี้ยง (ไร่) 1.710 570.501 578.845 4,499.381 689.830 25.030 6,365.30

ปริมาณผลผลิตปี ปัจจุบัน (ตัน) 182.800 99.430 140.070 9,629.900 295.330 248.000 10,595.53

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

การกระจาย ผลผลิตภายใน จังหวัด (ตัน) 182.800 99.430 140.070 9,629.900 295.330 248.000 10,595.53

ปริมาณผลผลิตปี ถัดไป (ตัน) 220.800 155.880 228.600 9,883.800 370.920 307.200 11,167.20

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 61 ข้อมูลเพื่อการวางแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์รายสินค้าของจังหวัด ประจาปี ๒๕๖๔

จิ้งหรีด สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ได้รับมอบหมำยให้จัดทำข้อมูลเพื่อกำรวำงแผนพัฒนำกำร เกษตรและสหกรณ์รำยสินค้ำของจังหวัด เพื่อเป็นข้อมูลประกอบกำรวำงแผนงำนพัฒนำด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์ ในจังหวัด และแนวทำงกำรจัดทำข้อมูลเพื่อกำรวำงแผนพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์รำยสินค้ำของจังหวัดนครพนม ดังนี้ ๑. พิจำรณำคัดเลือกสินค้ำเกษตรที่สำคัญของจังหวัด จำนวน ๑ ชนิดสินค้ำ โดยพิจำรณำจำก ปริมำณกำรผลิต มูลค่ำของสินค้ำ ที่มีผลต่อเศรษฐกิจของจังหวัดนครพนม ๒. พิจำรณำข้อมูลที่สำคัญในกำรวำงแผนกำรพัฒนำสินค้ำนั้น ๆ เช่น - ข้อมูลด้ำนนโยบำย ได้แก่ นโยบำยระดับชำติ / นโยบำยกระทรวง / นโยบำยจังหวัด ที่เกี่ยวข้องกับ สินค้ำนั้น ๆ - ข้อมูลเฉพำะที่เกี่ยวกับตัวสินค้ำเกษตรของจังหวัด ได้แก่ • ข้อมูลพันธุ์ เช่น กำรวิจัยพันธุ์ ผู้เพำะพันธุ์ ทั้งภำครัฐ และเอกชน • ข้อมูลด้ำนกำยภำพ เช่น ดิน น้ำ ภูมิอำกำศ ภัยธรรมชำติ พื้นที่เสี่ยงภัย ปฏิทินกำรเพำะปลูก • ข้อมูลด้ำนเศรษฐกิจ เช่น ต้นทุนและผลตอบแทน / ปริมำณกำรผลิต / ช่องทำงกำรตลำด / รำคำ สินค้ำเกษตร / แหล่งจำหน่ำย / พื้นที่เพำะปลูกและเกษตรกร / คุณภำพ • แผนงำน / โครงกำร เกี่ยวกับสินค้ำเกษตรของจังหวัด (รำยสินค้ำ) ในปีปัจจุบัน และปีถัดไป ๓. ประสำนขอข้อมูล จำกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงำนเกษตรจังหวัด สำนักงำนประมงจังหวัด สำนักงำนปศุสัตว์จังหวัด สำนักงำนพำณิชย์จังหวัด สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรเขต ๓ และอื่น ๆ ๔. ศึกษำวิเครำะห์และประมวลข้อมูล เพื่อสรุปและจัดทำข้อมูลสินค้ำสำคัญของจังหวัด ๕. จั ด ท ำข้ อ มู ล ในรู ป แบบเอกสำร ซี ดี ไฟล์ ข้ อ มู ล และดำวน์ โ หลดลงเว็ บ ไซต์ ศู น ย์ บ ริ ก ำรข้ อ มู ล ด้ ำ น กำรเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดแบบเบ็ดเสร็จ ๖. รำยงำนผลกำรจัดทำข้อมูล เพื่อกำรวำงแผนพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์ร ำยสินค้ำของจังหวัดต่อ ผู้บังคับบัญชำตำมลำดับ และจัดส่งรูปเล่มข้อมูลรำยสินค้ำของจังหวัด จำนวน ๑ เล่ม และไฟล์ข้อมูลในรูปแบบซีดี จำนวน ๑ แผ่น ให้สำนักแผนงำนและโครงกำรพิเศษ ภำยในกำหนดเวลำ (๓๑ สิงหำคม ๒๕๖๓) https://www.opsmoac.go.th/nakhonphanom-doc_download

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

62 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ข้อมูลพื้นฐานด้านการเกษตร ข้อมูลทั่วไปของจังหวัด นครพนม สำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดทำระบบข้อมูลพื้นฐำนด้ำนกำรเกษตร ข้อมูลทั่วไปของ จังหวัด เพื่อเป็นฐำนข้อมูลของแต่ละจังหวัดในกำรใช้ประกอบกำรวำงแผนกำรพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์ใน ระดับพื้นที่ และเป็นกำรประชำสัมพันธ์ข้อมูลด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัดให้เกษตรกร ประชำชนทั่วไป หรือผู้ที่สนใจด้ำนกำรเกษตร เข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำรได้ง่ำย สะดวก และรวดเร็ว สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ได้นำเข้ำข้อมูลพื้นฐำนด้ำนกำรเกษตร ข้อมูลทั่วไปของ จังหวัด ผ่ำน https://provinfo.opsmoac.go.th/ ซึ่งข้อมูลจะประกอบด้วย

ข้อมูลพื้นฐำนด้ำนกำรเกษตร ข้อมูลทั่วไปของจังหวัด นั้นจะประกอบไปด้วยข้อมูล ๗ ด้ำนดังนี้ ๑. ลักษณะด้านกายภาพ ๑.๑. ลักษณะทำงภูมิศำสตร์ ๑.๒. สภำพพื้นที่ ลักษณะภูมิประเทศ๑.๓. ลักษณะของดิน ๑.๔. พื้นที่เกษตรกรรม ๑.๕. แหล่งน้ำธรรมชำติของจังหวัด ๑.๖. บ่อบำดำล ๑.๗. ลักษณะภูมิอำกำศ ๑.๗.๑. สภำพอำกำศวันนี้ ๑.๗.๒. พยำกรณ์อำกำศล่วงหน้ำ ๗ วัน ๑.๗.๓. ลักษณะอำกำศโดยทั่วไป ๑.๘. ทรัพยำกรธรรมชำติที่สำคัญ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 63 ๒. การปกครอง ๒.๑. กำรแบ่งเขตกำรปกครอง ๒.๓. ประชำกรภำคกำรเกษตร ๓. โครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค ๓.๑. กำรคมนำคมขนส่ง ๓.๓. ด่ำนกักกันของจังหวัด

๒.๒. ประชำกรของจังหวัด ๒.๔. ข้อมูลด้ำนสังคมและวัฒนธรรม ๓.๒. พื้นที่ชลประทำนและระบบชลประทำน

๔. เศรษฐกิจ ๔.๑. สภำพเศรษฐกิจโดยทั่วไป ๔.๒. ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด(GPP) ๔.๓. รำยได้เฉลี่ยของประชำกร และเกษตรกร ๔.๔. สินค้ำที่สำคัญของจังหวัด ๔.๕. ข้อมูลสินค้ำเกษตรที่ได้รับรองสิ่งบ่งชี้ทำงภูมิศำสตร์ (GI) ๔.๖. มำตรฐำนสินค้ำ ๔.๗. สินค้ำ OTOP ของจังหวัด ๔.๘. โครงกำรชุมชนท่องเที่ยวนวัตวิถี ๔.๙. สถำบันเกษตรกรและองค์กรเกษตร ๔.๑๐.กลุ่มเกษตรกร ๔.๑๑.อำสำสมัครเกษตรกร ๔.๑๒.ปรำชญ์ชำวบ้ำน ภำยใต้โครงกำรเกษตรตำมแนวทฤษฎีใหม่ โดยยึดปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง ๕. แหล่งแปรรูป ตลาดกระจายสินค้า ๖. ภัยพิบัติด้านการเกษตร ๖.๑. กำรช่วยเหลือผู้ประสบภัยด้ำนกำรเกษตรตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังฯ ๖.๒. กำรช่วยเหลือเพิ่มเติมตำมมติ ครม. ๗. งบประมาณ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

64 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดสนับสนุนการตรวจราชการ/ครม.สัญจร สำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มอบหมำยให้สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัด จัดทำข้อมูลพื้นฐำนจังหวัดสนับสนุนกำรตรวจรำชกำร และครม.สัญจร โดยข้อมูลประกอบด้วย 1. ข้อมูลผู้บริหำรในจังหวัดนครพนม 2. ข้อมูลจุดดูงำน ข้อมูลภัยพิบัติ และข้อมูลควำมก้ำวหน้ำกำรช่วยเหลือเกษตรกรของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ตำมนโยบำยรัฐบำล 3. ข้ อ มู ล พื้ น ฐำนด้ ำ นกำรเกษตรสนั บสนุน กำรตรวจรำชกำรเช่ น พื้ น ที่ ก ำรเกษตร ปริ ม ำณน้ ำในจังหวัด แผนงำน/โครงกำร งบประมำณของหน่วยงำน งบประมำณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ผลการดาเนินงาน สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ได้จัดทำข้อมูลเพื่อสนับสนุนกำรตรวจรำชกำรของผู้ตรวจ รำชกำร รัฐมนตรีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยทำเป็นสรุปข้อมูล และ Info Graphic จำนวน ๑๒ ครั้ง

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 65 ศูนย์บริการข้อมูลด้านการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด ส ำนั ก งำนเกษตรและสหกรณ์ จั ง หวั ด เป็ น หน่ ว ยรำชกำรบริ ห ำรส่ ว นภู มิ ภ ำคของส ำนั ก งำน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้รับมอบหมำยเป็นผู้แทนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในระดับจังหวัด มีงำนศูนย์ข้อมูลเกษตรและสหกรณ์ จังหวัด ที่ดำเนินงำนด้ำนระบบฐำนข้อมูล กำรเกษตรและสหกรณ์ โดยตรง จึงจัดตั้งศูนย์บริกำรข้อมูลด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ณ สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ศำลำกลำงจังหวัด ชั้น ๑ หลังเก่ำ อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้บริกำรข้อมูลด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด แก่เกษตรกร ผู้สนใจ รวมทั้งหน่วยงำน ภำครัฐและเอกชน แบบเบ็ดเสร็จ ๒. เพื่ออำนวยควำมสะดวกแก่เกษตรกร ผู้สนใจ รวมทั้งหน่วยงำนภำครัฐ และเอกชนในกำรยื่นเรื่องขอรับ บริกำรต่ำง ๆ ที่เกี่ยวกับกำรเกษตรในพื้นที่ โดยมีจุดรับเรื่องเพียงจุดเดียว การรายงานผลการจัดทาสรุปผลความพึงพอใจของผู้มารับบริการ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖4 ผ่าน Google Form ณ วันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๔

จานวน 77 ราย ผลความพึงพอใจของผู้มารับบริการ คิดเป็นร้อยละ 90.88

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

66 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ การประชาสัมพันธ์ของสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ได้มีกำรประชำสัมพันธ์ข้อมูลด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์ ผ่ำนช่องทำงกำรประชำสัมพันธ์หลำกหลำยช่องทำง เพื่อให้สำมำรถสื่อสำรกับกลุ่มเป้ำหมำยได้ทั่วถึงและกว้ำงขวำง ดังนี้ ๑. สื่อสมัยใหม่ ๑.๑ Web site ๑.๑.๑ https://www.opsmoac.go.th/nakhonphanom-home สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดนครพนม ได้มีศูนย์บริกำรข้อมูลด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด

๑. ข้อมูลเกี่ยวกับสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด - ประวัติควำมเป็นมำ วิสัยทัศน์/พันธกิจ โครงสร้ำงองค์กร โครงสร้ำงผู้บริหำร ข้อมูลพื้นฐำนด้ำน กำรเกษตร ๒. ยุทธศาสตร์/แผนงาน - ยุทธศำสตร์ - แผนงำน/โครงกำร ๓. ข่าวสาร - ข่ำวรับสมัครงำน - ข่ำวประกำศจัดซื้อจัดจ้ำง - สรุปผลกำรจัดซื้อจัดจ้ำง - ข้อมูลภัยและสถำนกำรณ์ - ภำพกิจกรรม - ปฏิทินกิจกรม ๔. การบริการประชาชน - กำรขึ้นทะเบียนเกษตรกร - รับเรื่อง/ร้องเรียน - คู่มือประชำชน

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 67 ๕. องค์ความรู้ด้านการเกษตร - เทคโนโลยีและภูมิปัญญำชำวบ้ำน - บทควำมด้ำนกำรเกษตร - กฎหมำย - ระเบียบ/คำสั่ง - เอกสำรเผยแพร่ - ข้อมูลพื้นฐำนจังหวัดสนับสนุนกำรตรวจรำชกำร/ครม.สัญจร ๖. ติดต่อเรา - ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ และแผนที่ กำรได้มำซึ่งข้อมูลที่จะนำเข้ำwebsite ได้จำกกำรประสำนขอข้อมูลจำกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง และ กลุ่มสำรสนเทศได้มีกำรทบทวนข้อมูล และปรับปรุงข้อมูล ทุก ๆ ไตรมำส และมีกำรนำเข้ำข้อมูลเพื่อกำรเผยแพร่ ประชำสัมพันธ์ให้กับผู้ที่สนใจทรำบ ผลการดาเนินงาน จำนวนครั้งที่มีผู้เข้ำชม Visitor No. หรือค้นหำข้อมูลผ่ำน Web site สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์ จังหวัด นครพนม (https://www.opsmoac.go.th/nakhonphanom) ระหว่ำงวันที่ ๑ ตุลำคม ๒๕๖3 – ๓๐ กันยำยน ๒๕๖๔ จำนวน ๓,๐๗๙ คน และสำนักงำน ฯ ได้มีกำรปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันมำกที่สุด โดยมีกำรอัปโหลด ข้อมูล ของสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม จำนวน รวมทั้งสิ้น ๕๖๙ ครั้ง

๑.๒ Facebook ส ำนั ก งำนเกษตรและสหกรณ์ จั ง หวั ด นครพนม ได้ จั ด ท ำ Web page ในชื่ อ ของ คณะท างาน ประชาสัมพันธ์การเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

https://www.facebook.com/คณะทางานประชาสัมพันธ์การเกษตรและสหกรณ์-จังหวัดนครพนม-๒๑๑๑๑๗๗๘๒๗๘๕๗๙๔/

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

68 รายงานประจาปี ๒๕๖๔

Facebook : ประชาสัมพันธ์การเกษตรและสหกรณ์นครพนม https://www.facebook.com/profile.php?id=๑๐๐๐๐๙๓๙๕๖๑๖๔๙๕

Facebook : สนง.เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม https://www.facebook.com/paco.nakhonphanom ข้อมูลประชำสัมพันธ์ผำ่ น Facebook ทั้ง ๓ ชื่อ มีจำนวนผู้ที่ได้รับข่ำวด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์ ประมำณ ๖,๐๐๐ คน

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 69 ๑.๓ E-mail สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม มี E-mail เพื่อใช้ในกำรรับ - ส่งข้อมูล หรือ หนังสือสั่งกำร จำกกระทรวงเกษตรและสหกรณ์, หน่วยงำนในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัดนครพนม, หน่วยงำน สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดทุกจังหวัด E-mail : [email protected] E-mail : [email protected]

๒. สื่อสิ่งพิมพ์ ๒.๑ จดหมายข่าว สำนักงำนฯ มีกำรจัดทำจดหมำยข่ำวเพื่อประชำสัมพันธ์ให้หน่วยงำนทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ โดยใช้ชื่อ “ข่าวประชาสัมพันธ์ด้านการเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม” - ข่ำวประชำสัมพันธ์ด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ในปี ๒๕๖4 จำนวน ๑๐ ฉบับ เป็นกำร ประชำสัมพันธ์นโยบำยสำคัญ และภำรกิจเร่งด่วนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แก่หน่วยงำนในสังกัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์และสหกรณ์ หน่วยงำนในจังหวัดนครพนม และเกษตรกร

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

70 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ - ข่ า วประชาสั ม พั น ธ์ ด้ า นการเกษตรและสหกรณ์ จั ง หวั ด นครพนม ที่ เ ป็ น กำรประชำสั ม พั น ธ์ กิ จ กรรม กำรดำเนินงำนของ บุคลำกรสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในปี ๒๕๖๔ จัดทำ จำนวน ๒๗๗ ครั้ง

2.2 จดหมายข่ า ว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จั ง หวั ด นครพนม เป็ น กำรรวบรวมข่ ำ ว กิ จ กรรม กำรดำเนินงำนของหน่วยงำนในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในจังหวัดนครพนม เพื่อประชำสัมพันธ์และ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 71 ๒.๓ ทาเนียบส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส ำนั ก งำนฯ ได้ จั ด ท ำ ท ำเนี ย บส่ ว นรำชกำร สั งกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในจังหวัดนครพนม ซึ่งประกอบด้วย ชื่อ – สกุล รูปภำพ เบอร์โทรศัพท์ โทรสำร อีเมล ของหัวหน้ำส่วนรำชกำร และ ชื่อสกุล เบอร์ โทรศัพท์ ของบุคลำกรในหน่วยงำนสังกัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เพื่ อ ใช้ ในกำรติ ดต่ อประสำนงำน จำนวน ๓๒ เล่ม ๔. สื่อกิจกรรมอื่น ๆ เช่น การจัดนิทรรศการ สำนักงำนฯ ได้มีจัดนิทรรศกำร ใน “โครงกำรจังหวัด เคลื่อนที่” เป็นประจำทุกเดือน โดยให้บริกำรในเรื่อง ของกองทุ น หมุ น เวี ย นเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรและผู้ ยำกจน

การประชุมผ่านระบบออนไลน์ Web Conference/Application Zoom การประชุมผ่านระบบออนไลน์ Web Conference / Application Zoom 12 10 8 6

4 2 0 ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

มกราคม

กุมภาพันธ์

มีนาคม

เมษายน

พฤษภาคม

มิถน ุ ายน

กรกฎาคม

สิงหาคม

กันยายน

สานักงานเกษตรและสหกรณ์มีการจังหวัดนครพนม มีการประชุมผ่านระบบออนไลน์ รวมทั้งสิ้น ๖๒ ครั้ง

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

72 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ โครงการตามแผนการตรวจราชการ ของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๖๔ มีกำรประชุมตำมแผนกำรตรวจ ปีงบประมำณ ๒๕๖๔ จำนวน ๒ ครั้ง และกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระบบออนไลน์ ด้วยโปรแกรม Zoom Cloud Meeting จำนวน ๓ ครั้ง แผนกำรตรวจรำชกำรและกำรขับเคลื่อนแบบบูรณำกำรในพื้นที่ของผู้ตรวจรำชกำรกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.๒๕๖๔ ดังนี้ ๑. การตรวจตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (๑) นโยบำยสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (๑.๑) กำรบริหำรจัดกำรแหล่งน้ำทั้งระบบ (๑.๒) ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน (๑.๓) ระบบตลำดนำกำรผลิต (๑.๔) ลดต้นทุนกำรผลิต (๑.๕) กำรบริหำรจัดกำรประมงอย่ำงยั่งยืน (๑.๖) กำรแก้ปัญหำเฉพำะหน้ำให้เกษตรกร (๑.๗) จัดทำข้อมูลสำรสนเทศด้ำนกำรเกษตร (๑.๘) ศูนย์เรียนรู้กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร (๑.๙) กำรขับเคลื่อนศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม (Agritech and Innovation Center : AIC) (๑.๑๐) โครงกำรอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมำย (๒) โครงกำรเพื่อขอใช้จ่ำยเงินกู้ภำยใต้แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่ได้รับผลกระทบจำกไวรัส โควิด-๑๙ ด้ำนกำรเกษตร (๒.๑) โครงกำร ๑ ตำบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ (๒.๒) โครงกำรอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมำย (๓) โครงกำรสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจำกโรคพิษสุนัขบ้ำ ตำมประปณิธำนศำสตรำจำรย์ ดร.สมเด็จเจ้ำฟ้ำฯ กรมพระศรีสว่ำงควัฒน วรขัติยรำชนำรี ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๔ (๔) กำรตรวจรำชกำรตำมเหตุกำรณ์ กำรเฝ้ำระวังสถำนกำรณ์กำรระบำดของโรคพืชและสัตว์ที่มีผลกระทบต่อ เกษตรกร ภัยพิบัติด้ำนกำรเกษตร และกำรแก้ไขปัญหำหนี้สินของเกษตรกร หรือตำมที่ได้รับคำสั่งจำกผู้บังคับบัญชำ ๒. การตรวจราชการแบบบู ร ณาการ ประจ าปี ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ร่ ว มกั บ ผู้ ต รวจรำชกำรส ำนั ก นำยกรัฐมนตรีและผู้ตรวจรำชกำรกระทรวงต่ำง ๆ ภำยใต้ประเด็นนโยบำยเร่งด่วนของรัฐบำล (Hot Issue) และ นโยบำยสำคัญของรัฐบำล (Issue) ตำมประเด็นที่สำนักนำยกรัฐมนตรีกำหนด ๓. การตรวจราชการในส่วนภูมิภาคร่วมกับนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ๔. การขับเคลื่อนแบบบูรณาการในระดับพื้นที่ (๑) กำรขั บ เคลื่ อ นแผนงำนบู ร ณำกำรพั ฒ นำพื้ น ที่ ร ะดั บ ภำคกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และตำมคำสั่ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่เกี่ยวข้อง (๒) กำรขับเคลื่อนแบบบูรณำกำรในระดับพื้นที่ ประจำเขตตรวจรำชกำรที่ ๑-๑๘ และส่วนกลำงของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ และตำมคำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่เกี่ยวข้อง

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 73 ประชุมตามแผนการตรวจราชการฯ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (โปรแกรม ZOOM) วันอังคารที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔

ประชุมตามแผนการตรวจราชการฯ ผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ (โปรแกรม ZOOM) วันอังคารที่ ๒ มีนาคม ๒๕๖๔

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

74 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ประชุมตามแผนการตรวจราชการฯ วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๔

ประชุมตำมแผนกำร ตรวจรำชกำรฯ วันที่ ๒๓ มีนำคม ๒๕๖๔

ประชุมตามแผนการตรวจราชการฯ ผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ (โปรแกรม ZOOM) วันอังคารที่ ๒ มิถนุ ายน ๒๕๖๔

ประชุมตามแผนการตรวจราชการฯ วันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 75

งานสารบรรณ งำนที่ปฏิบัติ

จำนวน ๑,๗๕๗ ๙๕๑ ๒๗ ๕

รับหนังสือ ส่งหนังสือ ออกเลขคำสั่ง จัดทำรำยงำนกำรประชุมสำนักงำน

หน่วย เรื่อง เรื่อง เรื่อง ครั้ง

งานพัสดุ งำนที่ปฏิบัติ กำรจัดซื้อจัดจ้ำงตำมระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี จัดทำระเบีบยรับ-จ่ำยพัสดุ ลงบัญชีครุภัณฑ์ จัดทำประวัติซ่อมบำรุงยำนพำหนะ จดและต่อทะเบียนยำนพำหนะ

จำนวน ๑๗๔ ๒๕ ๖ ๑๔ ๔

หน่วย เรื่อง รำยกำร ครั้ง ครั้ง ครั้ง

จำนวน ๔๘๑ ๔ ๔

หน่วย ครั้ง ครั้ง ครั้ง ครั้ง

งานการเงินและบัญชี งำนที่ปฏิบัติ วำงฎีกำเงินงบประมำณและเงินนอกงบประมำณ เบิกค่ำรักษำพยำบำล ยืมเงินงบประมำณ ยืมเงินทดรองรำชกำร

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

76 รายงานประจาปี ๒๕๖๔

ส่วนที่ 3

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 77

งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 งบบุคลากร แผนงาน บุคลำกรภำครัฐ กิจกรรม ค่ำใช้จ่ำยบุคลำกรภำครัฐ ได้รับการจัดสรร (บาท)

ใช้ไป (บาท)

คงเหลือ (บาท)

งบบุคลากร

๑,๒๖๙,๒๑๙.๖๗

๑,๒๖๙,๒๑๙.๖๗

-

รวม

๑,๒๖๙,๒๑๙.๖๗

๑,๒๖๙,๒๑๙.๖๗

-

งบดาเนินงาน แผนงาน พื้นฐำนด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน ผลผลิตอำนวยกำรและบริหำรจัดกำรด้ำน กำรเกษตร กิจกรรม กำรบูรณำกำรงำนในส่วนภูมิภำค ได้รับการจัดสรร (บาท)

ใช้ไป (บาท)

คงเหลือ (บาท)

๑,๒๔๗,๙๔๓.๐๐

๑,๒๔๗,๙๔๓.๐๐

๐.๙๔

๒๔๖,๐๐๐.๐๐

๒๔๖,๐๐๐.๐๐

-

๑.๒ เงินสมทบประกันสังคม

๓๒,๒๘๓.๐๐

๓๒,๒๘๓.๐๐

-

๒.งบบูรณาการส่วนภูมิภาค - คณะอนุฯ - ค่าสาธารณูปโภค - IT - ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ

๙๖๙,๖๖๐.๐๐

๙๖๙,๖๕๙.๐๖

๐.๙๔

๑,๒๔๗,๙๔๓.๐๐

๑,๒๔๗,๙๔๒.๐๖

๐.๙๔

งบดาเนินงาน ๑. งบดาเนินงานภายใต้งบ บุคลากร (ค่าเช่าบ้าน ,ประกันสังคม) ๑.๑ ค่าเช่าบ้าน

รวม

๒๗๘,๒๘๓.๐๐

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

78 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ งบบริหารกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยมื แก่เกษตรกรและผู้ยากจน รายการงบประมาณ

ได้รับการจัดสรร (บาท)

ใช้ไป (บาท)

คงเหลือ (บาท)

๘๒๘,๗๒๐

๖๔๐,๗๒๕

๑๘๗,๙๙๕

งบรายจ่ายอื่น โครงการ

ได้รับการจัดสรร (บาท)

ใช้ไป (บาท)

คงเหลือ (บาท)

โครงกำรอันเนื่องมำจำกพระรำชดำริ

๒๐,๐๐๐.๐๐

๒๐,๐๐๐.๐๐

-

โครงกำรพัฒนำกำรเกษตรฯ (ค่ำจ้ำงจ้ำงเหมำ ปรำชญ์ ,กำรรวมกลุ่ม)

๑๓๐,๗๐๐.๐๐

๑๓๐,๗๐๐.๐๐

-

โครงกำรส่งเสริมแนวทำงเกษตรทฤษฎีใหม่ฯ

๘๘,๒๕๓.๐๐

๘๘,๒๕๓.๐๐

-

ได้รับการจัดสรร (บาท)

ใช้ไป (บาท)

คงเหลือ (บาท)

โครงกำรฝนหลวง

๔๐,๐๐๐

๔๐,๐๐๐

-

โครงกำรร้ำนอำหำรวัตถุดิบปลอดภัย

๒๑,๑๖๐

๒๑,๑๖๐

-

โครงกำรส่งเสริมกำรบริโภคเลือกใช้สินค้ำ Q

๒๔,๐๐๐

๒๔,๐๐๐

-

งบเบิกแทนกัน โครงการ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 79 เงินกู้ (Covid-19)

ได้รับการจัดสรร (บาท)

ใช้ไป (บาท) ๑๕,๕๕๕,๑๒๒.๓๓

๓,๕๐๖,๕๔๓.๑๘

ได้รับการจัดสรร (บาท)

ใช้ไป (บาท)

คงเหลือ (บาท)/คืนเงิน

- กล้อง webcam

๖,๐๐๐

๖,๐๐๐

-

- ลาโพงพร้อมไมโครโฟน

๙,๐๐๐

๙,๐๐๐

-

- โต๊ะประชุม เก้าอี้

๘๔,๕๐๐

๘๔,๕๐๐

-

- เครื่องสแกนเนอร์

๒๙,๐๐๐

๒๙,๐๐๐

-

๑๒๘,๕๐๐

๑๒๘,๕๐๐

โครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุ่มเกษตร ทฤษฎีใหม่

๑๙,๐๖๑,๖๖๕.๘๔

คงเหลือ (บาท)/คืนเงิน

งบลงทุน รายการ

รวมทั้งสิ้น

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

80 รายงานประจาปี ๒๕๖๔

ส่วนที่ 4

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 81

กิจกรรมอืน่ ๆ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมวางพานพุม ่ ดอกไม้สด เพือ ่ ถวายราชสักการะเบือ ้ งหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เนื่องในวันยุทธหัตถี

วันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๓ เวลา ๐๘.๐๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม นาคณะหัวหน้าส่วน ราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในจังหวัดนครพนม ร่วมวางพานพุ่ม ดอกไม้สด เพื่อถวายราชสักการะเบื้องหน้าพระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จ พระนเรศวรมหาราช เนื่ อ งในวัน ยุ ท ธหั ตถี ข องสมเด็ จ พระนเรศวร มหาราช ประจาปี ๒๕๖๔ ณ บริเวณศาลาประชาคมยงใจยุทธ ศาลา

กลางจังหวัดนครพนม โดยมี นายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัด นครพนม เป็นประธานในพิธี นาคณะส่วนราชการ ทหาร ตารวจ ศาล และเหล่ากาชาด ประกอบพิธี เพื่อน้อมราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ลงพืน ้ ทีต ่ รวจติดตามโตรงการสนับสนุน การ ดาเนินงานตามพระราชดาริ

วันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๙.๐๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม มอบหมายให้ นางวราภรณ์ พรหมจักร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ นางสาวนฤดี มณีประกรณ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ และนางสาวระวีวรรณ กล่าสกุล เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป และเจ้าหน้าที่หน่วยตรวจสอบภายในจังหวัด นครพนม ลงพื้นที่ตรวจติดตามโตรงการสนับสนุนการดาเนินงานตาม พระราชดาริ ณ โรงเรียนบ้านถาวร อาเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม และในเวลา ๑๓.๓๐ น. ลงพื้นที่ตรวจติดตามโตรงการตามพระราชดาริ ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรอาเภอเรณูนคร บ้านเนินน้าคา อาเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

82 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ กิจกรรม หน้าบ้าน น่ามอง นครพนมสวย เราช่วยกัน

วันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ เวลา ๑๕.๐๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครพนม มอบหมายให้ นางสาวปภาสร บุญเทียม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ หัวหน้ากลุ่ม หน้าบ้าน น่ามอง นครพนมสวย เราช่วยกัน โดยช่วยกันทาความสะอาด ณ บริเวณ หน้าโรงเรียนเทศบาล ๒ตาม ถนนบารุงเมือง จนถึงสามแยกร้านอาเหลียงโภชนา โดยกิจกรรมนี้จัดขึ้นทุกวันพุธของสัปดาห์ งานวันสหกรณ์แห่งชาติ ประจาปี ๒๕๖๔

วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตร และสหกรณ์จังหวัดนครพนม พร้ อ มด้วย นางสาวอรอนงค์ วงศ์ดี นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ หัวหน้ากลุ่มสารสนเทศ การเกษตร ร่วมพิธีเปิดงานวันสหกรณ์แห่งชาติ ปี ๖๔ โดยมีนายธวัช ชัย รอดงาม รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม เป็นประธานในพิธี และนายประสิทธิ์ชัย บุระเนตร สหกรณ์จังหวัดนครพนม หัวหน้า ส่วนราชการ ร่วมกับขบวนการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

ในจังหวัด

นครพนม ร่ ว มให้ ก ารต้อ นรั บ ซึ่ ง การจั ด งานวัน สหกรณ์ แห่งชาติ ประจาปี ๒๕๖๔ จัดขึ้นเพื่อเป็นการน้อมราลึกถึงพระกรุณาธิคุณของ พระราชวรวงศ์ เ ธอกรมหมื่ น พิ ท ยา ลงกรณ์ “พระบิ ด าแห่งการ สหกรณ์ไทย” เพื่อให้เห็นถึงความสาคัญของการสหกรณ์ ในฐานะ เป็นกลไกอันสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 83 ประชุมปรึกษาหารือการดาเนินงานโครงการสร้างความมัน ่ คงด้านอาหาร ให้แก่ผไู้ ด้รบ ั ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชือ ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙

วันที่๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ เวลา ๐๙.๓๐น. นางสาวไพรวัลย์ ปัช ชามาตร เกษตรและสหกรณ์ จังหวัดนครพนม มอบหมายให้ นางณัฐริกา ส่งศรีบุญสิทธิ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญ การพิเศษ หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์พัฒนาการเกษตร และนางสาวนฤ ดี มณี ป ระกรณ์ นั ก วิ เ คราะห์น โยบายและแผนช านาญการ ร่ ว ม ประชุมปรึกษาหารือการดาเนินงานโครงการสร้างความมั่นคงด้าน อาหารให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติด เชื้ อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โดยมีนายธวัชชัย รอดงาม รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม เป็นประธานในการประชุม และ นายประพันธ์ศักดิ์ บุตรรัตน์ ปลัดอาเภอเมืองนครพนม หัวหน้าส่วน ราชการระดั บ อ าเภอ ก านั น ผู้ ใ หญ่ บ้ า น เข้ า ร่ ว มประชุ ม ณ ห้ อ ง ประชุ ม ที่ ว่ า การอ าเภอเมื อ งนครพนม และหลั ง การประชุ ม คณะท างานได้ ล งพื้ น ที่ แ ปลงแบ่ ง ปั น ต าบลดงขวาง อ าเภอเมื อ ง นครพนม ในเวลา ๑๔.๐๐ น. คณะทางานฯได้ประชุมปรึกษาหารือ การดาเนินงานโครงการฯ ณ ห้อ งประชุมที่ว่าการอาเภอเรณูนคร และลงพื้นที่แปลงแบ่งปัน โดยมีปลัดอาเภอเรณูนคร และหัวหน้าส่วน ราชการระดับอาเภอ และกานัน ผู้ใหญ่บ้าน เข้าร่วมประชุม

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

84 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ คลินิกเกษตรเคลือ ่ นทีจ ่ งั หวัดนครพนม

วันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๐.๐๐ น.นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครพนม มอบหมายให้ นางสาวอรอนงค์ วงศ์ดี นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ หัวหน้ากลุ่ม สารสนเทศการเกษตร ร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ณ โรงเรียนบ้านอูนนา ตาบลนางัว อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม โดยมีนายธวัชชัย รอดงาม รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม เป็นประธานเปิดงาน สาหรับ กิจกรรมภายในงาน ประกอบด้วย การจัดแสดงนิทรรศการและการให้บริการด้านการเกษตรแบบครบวงจร เน้นการให้ความรู้คาแนะนาด้านการเกษตรกับเกษตรกร โดยมีบริการคลินิกด้านการเกษตร ได้แก่ คลินิกพืช คลินิกดิน คลินิกปศุสัตว์ คลินิกประมง คลินิกบัญชี คลินิกสหกรณ์ คลินิก ส.ป.ก. คลินิกยางพารา คลินิกข้าว ในส่วนของสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ได้ให้บริการคลินิกแก้จน บริการให้คาแนะนาด้าน การแก้ไขปัญหาหนี้สิน ให้กับประชาชนผู้สนใจ ร่วมรับ-ส่ง พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ผูแ ้ ทนพระองค์ มาเปิดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ

โรงเรียนในพระราชูปถัมภ์ ฯ รวมใจ เทิดไท้องค์ราชัน

วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๗.๓๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปั ชชามาตร เกษตรและสหกรณ์ จ งั หวัดนครพนม ร่ว มรับ -ส่ง พลเอกดาว์พงษ์ รัต นสุว รรณ องคมนตรี เป็ น ผู้แทนพระองค์ มาเปิ ดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ“โรงเรียนในพระราชูปถัมภ์ฯ รวมใจเทิดไท้องค์ราชัน ”และชมการแสดงผลงานของนักเรียน กลุ่มโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ ประจาปี การศึกษา ๒๕๖๓ ณ โรงเรีย นมัธ ยมพัช รกิติย าภา ๑ นครพนม ต าบลหนองฮี อาเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม ในการนี้เกษตรและสหกรณ์ จังหวัดนครพนมได้เข้ารับเข็มที่ระลึกผู้ทาคุณประโยชน์ ให้แก่ กลุ่มโรงเรียนในพระราชูปถัมภ์ จากผูแ้ ทนพระองค์ สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 85 การประชุมชีแ ้ จงแนวทางการดาเนินงาน โครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุม ่ เกษตรทฤษฎีใหม่ ผ่านระบบทางไกลออนไลน์ Application Zoom

วันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๔ นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและ สหกรณ์ จั ง หวั ด นครพนม พร้ อ มด้ ว ยหั ว หน้ า ส่ ว นราชการและ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ เข้าร่วมประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน โครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุ่ ม เกษตรทฤษฎี ใหม่ ผ่ า นระบบทางไกลออนไลน์ Application Zoomณ ห้องประชุมสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม โดยมีนายสาราญ สาราบรรณ์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานการประชุม

ลงพืน ้ ทีต ่ ิดตามและรายงานความก้าวหน้าการดาเนินงาน โครงการสระน้าไร่นา ประชารัฐสามัคคีจงั หวัดนครพนม

วั น ที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๔ เวลา ๑๓.๓๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัช ชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครพนม ร่วมลงพื้นที่ติดตามและรายงานความก้าวหน้า การด าเนิ น งานโครงการสระน้ าไร่ น าประชารั ฐ สามั ค คี จังหวัดนครพนม โดยมีนายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการ จังหวัดนครพนม เป็นหัวหน้าคณะ นาคณะทางานลงพื้นที่ ณ แปลงเกษตรกรต้นแบบ นายไพจิตร สุพร หมู่ ที่ ๖บ้าน ดอนกลาง ต าบลหนองแวง อ าเภอบ้ า นแพง จั ง หวั ด นครพนม สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

86 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ลงพืน ้ ทีต ่ ิดตามและรายงานความก้าวหน้าการดาเนินงาน โครงการสระน้าไร่นา ประชารัฐสามัคคีจงั หวัดนครพนม

วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๓.๓๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัช ชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครพนม พร้อมด้วย นางสาวปภาสร บุญเทียม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ หัวหน้ากลุ่มช่วยเหลือ เกษตรกรและโครงการพิเศษ ร่วมงาน Kick off การรณรงค์ ป้องกัน ควบคุมโรคลัมปี สกิน ในโค-กระบือ จังหวัด นครพนม ณ ตลาดชุ มชน หมู่ที่ ๑๓ ตาบลบ้านผึ้ ง อ.เมือ งนครพนม จ.นครพนม โดยนายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม เป็นประธานเปิดการ Kick off ปล่อยขบวนอาสาปศุสัตว์ และขบวนรถรถฉีดพ่นน้ายา

ฆ่าเชื้อ และพ่นหมอกควัน โดยอาสาปศุ สัตว์จะดาเนินการ ฉีดพ่นน้ายาฆ่าเชื้อและพ่นหมอกควันให้กับเกษตรกร ผู้เลี้ยงโค- กระบือ เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรค ลงพืน ้ ทีส ่ นับสนุนปัจจัยการผลิต แปลงโคกหนองนาโมเดล และเกษตรกรโครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุม ่ เกษตรทฤษฎีใหม่

วั น ที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๐.๐๐ น. นางสาวไพรวัล ย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ร่วมกับสานักงานปศุสัตว์ จังหวัดนครพนม ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าจืดนครพนม ลงพื้นที่สนับสนุนปัจจัยการผลิต แปลงโคกหนองนาโมเดล และเกษตรกร โครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุ่ มเกษตรทฤษฎีใหม่ แปลง นายนิรุ ติ ส่ งเสริม ตาบลอุ่มเหม้า อาเภอธาตุพนม เพื่อเตรียมความพร้อมการลงพื้นที่ติดตาม งานของ รองเลขาธิการสานักพระราชวัง

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 87 จังหวัดนครพนม เชิญชวน เลือกซือ ้ สินค้าเกษตร ช่วยเหลือพีน ่ ้องเกษตรกรจังหวัดนครพนม ทีได้รบ ั ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ ้ ไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (Covid-๑๙)

วั น ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๔.๐๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม พร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมเปิดจุดจาหน่ายสินค้าเกษตรของเกษตรกรจังหวัดนครพนม ที่ ได้รับความเดือนร้อนจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (Covid—๑๙) ณ บริเวณหน้าสวนชมโขง เทศบาลเมื อ งนครพนม โดยมี น ายธวั ช ชั ย รอดงาม รองผู้ ว่ า ราชการจังหวัดนครพนม เป็นประธานเปิดจุดจาหน่าย ซึ่งในการ เปิดจุดจาหน่ายสินค้าเกษตร มีจุดประสงค์เพื่อช่วยบรรเทาความ เดือดร้อนให้กับเกษตรกรที่ได้รับความเดือดร้อน จากสถานการณ์ การแพร่ ร ะบาดของไวรั ส Covid-๑๙ โดยเป็ น การจั ด พื้ น ที่ ใ ห้ เกษตรกรมาจาหน่ายโดยตรง ไม่ผ่ านพ่ อ ค้าคนกลาง สิ นค้าที่มี จาหน่าย ประกอบด้วย สับปะรด จาหน่ายในราคา กิโลกรัมละ ๑๒ บาท , ฟั กทอง จาหน่ายในราคากิโลกรั มละ ๕ บาท และ ปลานิล จาหน่ายกิโลกรัมละ ๕๕ บาท ปลานิลชาแหละ กิโลกรัม ละ ๖๐ บาท โดยจะจาหน่ายในระหว่างวันที่ ๒๑ พฤษภาคม - ๔ มิถุนายน ๒๕๖๔ ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ น เป็นต้นไป

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

88 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ลงนามถวายพระพรชัยมงคล เนือ ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสุทด ิ า พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี

วั น ที่ ๔ มิ ถุ น า ย น ๒ ๕ ๖ ๔ เ ว ล า ๐ ๙ . ๐ ๐ น . นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม นาคณะข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง สานักงานเกษตรและสหกรณ์

จังหวัดนครพนม ลงนามถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสวัน เฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี บริเวณหน้าสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครพนม ศาลากลางจังหวัดนครพนม ชั้น ๑ (หลังเก่า) เพื่อเป็น การแสดงความจงรักภักดีและสานึกในพระมหากรุณาธิคุณ

เกษตรและสหกรณ์จงั หวัดนครพนจัดกิจกรรมวันต้นไม้ประจาปีของชาติ พ.ศ.๒๕๖๔

วันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๖๔ เวลา ๐๙.๓๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปั ช ชามาตร เกษตรและสหกรณ์ จั ง หวั ด นครพนม น าคณะ ข้าราชการ พนักงาน ลู กจ้าง จัดกิจกรรมวันต้นไม้แห่ง ชาติ ประจ าปี ๒๕๖๔ โดยร่ ว มกั น ปลู ก ต้ น ไม้ ณ บริ เ วณ ประตู ระบายน้าห้วยบังกอ บ้านหนองเซา ตาบลท่าค้อ อาเภอเมือง จังหวัดนครพนม ซี่งได้รับการสนับสนุนพันธุ์กล้าไม้จากสถานี

เพาะชากล้าไม้จังหวัดนครพนม จานวน ๔๐๐ ต้น เพื่อนามา ปลูกในสถานที่ต่าง ๆ ตามโครงการปลูกต้นไม้และปลูกป่าเฉลิม พระเกี ย รติ เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิ ธี บรม ราชาภิเษก ภายใต้ชื่อ “รวมใจไทย ปลูกต้นไม้ เพื่อแผ่นดิน ” สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 89 รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นางสาวมนัญญา ไทยเศรษฐ์) ลงพืน ้ ทีต ่ รวจราชการ ตามนโยบายและกระทรวงเกษตรและหกรณ์ พืน ้ ทีจ ่ งั หวัด นครพนม

วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๖๔ นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ร่วมต้อนรับ รัฐมนตรีช่วย ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นางสาวมนัญญา ไทยเศรษฐ์ ลงพื้นที่อาเภอเมืองนครพนม อ าเภอนาแก และอ าเภอศรีสงคราม ตรวจราชการตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และให้การ ช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคลัมปี สกิน ในโค - กระบือ ซึ่งปัจจุบันจังหวัด นครพนมมีการตรวจพบโค – กระบือที่ป่วยติดเชื้อแล้ว ๓,๖๕๒ ตัว ป่วยตาย ๙๕ ตัว รักษาหาย ๑,๒๘๙ ตัว โดยพื้นที่ที่มีการระบาดมากสุดคือ อาเภอเมืองนครพนม อาเภอนาแก อาเภอศรีสงคราม และอาเภอนาหว้า ทั้งนี้สถานการณ์การระบาดในพื้นที่เริ่มมีแนวโน้มคลีคลายลงเนื่องจากเจ้าหน้าที่มีมาตรการควบคุมโรคด้วย การรักษาสัตว์ป่วย การทาลายแหล่งเพาะพันธุ์แมลงดูดเลือดที่เป็นพาหะของโรค รวมถึงห้ามเคลื่อนย้ายสัตว์ ป่วยและสัตว์ร่วมฝูง โดย รมช.ได้มอบเวชภัณฑ์ ให้แก่เกษตรกร และปล่อยขบวนรถพ่นน้ายาฆ่าเชื้อเพื่อฉีดพ่น ในพื้นที่ต่าง ๆ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

90 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงติดตามการดาเนินงานโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชน ในถิ่นทุรกันดาร ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ออนไลน์) โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนคอนราด เฮงเคล อาเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม

วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ นางสาวไพรวัลย์ ปัช ชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม มอบหมายให้นางวราภรณ์ พรหมจักร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ กลุ่มยุทธศาสตร์พัฒนาการ เกษตร ลงพื้นที่จัดอบรมเกษตรกร หลักสูตรการขับเคลื่อนภาคการเกษตร ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ เกษตรทฤษฎีใหม่ ภายใต้โครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวัดนครพนม ณ ศพก. ตาบลโคกศรี อาเภอวังยาง จังหวัดนครพนม ประธานพิธีเปิดงานโดยนางนัยนา คนครอง เกษตรอาเภอวังยาง

เกษตรและสหกรณ์จงั หวัดนครพนมจัดอบรมเกษตกร

หลักสูตรการขับเคลือ ่ นภาคการเกษตร ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

และเกษตรทฤษฎีใหม่ภายใต้โครงการ ๑ ตาบล ๑ กลุม ่ เกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวัดนครพนม

วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๔ เวลา นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครพนม ร่วมรับเสด็จสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงติดตามการดาเนินงานโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชน ในถิ่นทุรกันดาร ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ออนไลน์) โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนคอนราด เฮงเคล อาเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 91 กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาชุมชนเอามือ ้ สามัคคี เฉลิมพระเกียรติเนือ ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวิชราลงกรณ์ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห ่ ัว

วันที่ ๒๗กรกฎาคม๒๕๖๔ เวลา ๑๐.๓๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครพนม มอบหมายให้ นางสาวปภาสร บุญเทียม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ หัวหน้ากลุ่ม ช่วยเหลือเกษตรกรและโครงการพิเศษ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและโครงการพิเศษ

ร่วม

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาชุมชนเอามื้อสามัคคี เฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวิชราลงกรณ์ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ พื้นที่ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต ตามโครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ ต้ น แบบการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ตามหลั ก ทฤษฎี ใ หม่ ประยุ ก ต์ สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” แปลงนางพัชรินทร์ หารู้ ม.๔ ตาบลเวินพระบาท อาเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม โดยมีนายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม เป็นประธาน

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

92 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ จิตอาสาพัฒนาชุมชนเฉลิมพระเกียรติ ต้านภัยโควิด-๑๙ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สมเด็จพระนางเจ้าสิรก ิ ต ิ ิ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพน ั ปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหา ๒๕๖๔

วันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๕.๐๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์ จังหวัดนครพนม เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาชุมชนเฉลิมพระเกียรติ ต้านภัยโควิด ๑๙ เพื่อถวายเป็น พระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาส มหามงคล เฉลิ มพระชนมพรรษา ๑๒ สิ งหา ๒๕๖๔ ณ ห้ว ยคาหมากแปป หมู่ที่ ๑๑ บ้านนาราชควาย อาเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม โดยนายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม เป็นประธาน

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 93 การประชุมคณะอนุกรรมการความร่วมมือระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กรกอ.) ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครัง้ ที่ ๑/๒๕๖๔ ผ่านระบบออนไลน์ Application Zoom

วั น ที่ ๒๖ สิ ง หาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๔.๐๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครพนม พร้ อ มด้ ว ย นางณั ฐ ริ ก า ส่ ง ศรี บุ ญ สิ ท ธิ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ หัวหน้า กลุ่ม ยุทธศาสตร์พัฒนาการเกษตร นางสาวอรอนงค์ วงศ์ดี นักวิเ คราะห์นโยบายและแผนช านาญการ หัว หน้ากลุ่ม สารสนเทศการเกษตร นางสาวนฤดี มณี ป ระกรณ์ นักวิเ คราะห์นโยบายและแผนช านาญการ เข้าร่ ว มการ ป ร ะ ชุ ม คณ ะ อ นุ ก ร ร มกา ร ควา มร่ ว มมื อ ร ะห ว่า ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย(กรกอ.) ระดับ ภาคตะวัน ออกเฉีย งเหนือ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๔ ผ่านระบบออนไลน์ Application Zoom ณ ห้ อ งประชุ ม ส านัก งานเกษตรและสหกรณ์จ ัง หวัด นครพนม ศาลากลางจังหวัดนครพนม ชั้น ๑

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

94 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ กิจกรรมเคารพธงชาติและร้องเพลงชาติ เนื่องในวันพระราชทานธงชาติไทย ๒๘ กันยายน ประจาปี ๒๕๖๔

วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๖๔ เวลา ๐๘.๐๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ สานักงานฯ เข้าร่วมกิจกรรมเคารพธงชาติและร้องเพลงชาติ เนื่องในวัน พระราชทานธงชาติไทย ๒๘ กันยายน ประจาปี ๒๕๖๔ ณ บริเวณหน้า เสาธง ศาลากลางจัง หวัด นครพนม โดยมีน ายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม นาคณะหั วหน้าส่วนราชการเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติ

สานักงานเกษตรและ สหกรณ์ จังหวัดนครพนม Big Cleaning Day

วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๔ สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ดาเนินการทาความสะอาด พ่นน้ายาฆ่าเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid- ๑๙) ตามแผนปฏิบัติการ โครงการ “ลดความเสี่ยง สร้างความ มั่นใจ ปลอดภัยจากโควิด - ๑๙” โดยทาการทาความสะอาดพ่นน้ายาฆ่าเชื้อบริเวณภายในอาคารสานักงาน เพื่อป้องกันการแพร่ระบาด และการกระจายของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid- ๑๙) และสร้างความมั่นใจ ในการปฏิบัติงานแก่บุคลากรและผู้ที่มาติดต่อประสานงานราชการ ณ สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครพนมอาเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 95 หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมวางพวงมาลาน้อมราลึก ในพระมหากรุณาธิคณ ุ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ ัว รัชกาลที่ ๕

วันที่ ๒๓ ตุล าคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๗.๓๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัช ชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครพนม มอบหมายให้ นางวรวรรณ อุคาพันธ์ เจ้าพนักงานธุรการอาวุโส หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป ร่วมพิธีวางพวง มาลาน้อมราลึกพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ซึ่งหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นาโดยนางสาวกัญณฐา อภินนท์ธนา เกษตรจังหวัด นครพนม นาคณะส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วางพวงมาลาน้อมราลึกพระมหากรุณาธิคุณ โดยมีนายชาธิป รุจนเสรี ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม เป็นประธาน สานักงานเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดนครพนม จัดกิจกรรมทาบุญ ตักบาตร เนื่องในวันออกพรรษา และบารุงรักษาต้นไม้ เนื่องในวันรักต้นไม้ประจาปีของชาติ พ.ศ. ๒๕๖๔

วันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๗.๐๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม พร้อมด้วย นางวรวรรณ อุคาพันธ์ เจ้าพนักงาน ธุรการอาวุโส หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป นางสาวอรอนงค์ วงศ์ดี นักวิเคราะห์นโยบาย และแผนชานาญการ หัวหน้ากลุ่ม สารสนเทศการเกษตร นางสาวปภาสร บุญเทียม นักวิเ คราะห์นโยบายและแผนชานาญการ หัว หน้ากลุ่ มช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรและ โครงการพิ เ ศษ และเจ้ า หน้ า ที่ สานั ก งานเกษตรและสหกรณ์ จั ง หวั ด นครพนม ร่วมจัดกิจกรรมทาบุญตักบาตร เนื่องในวันออกพรรษา และบารุงรักษาต้นไม้ ด้วย การพรวนดิ น ใส่ ปุ๋ ย และรดน้ าต้น ไม้ เนื ่อ งในวัน รัก ต้น ไม้ป ระจ าปีข องชาติ พ.ศ. ๒๕๖๔ ณ สานักสงฆ์ บ.นาหัวแฮดต.โพธิ์ตาก อ.เมือง จ.นครพนม สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

96 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ สานักงานเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดนครพนมร่วมกิจกรร Kick Off น้อมนาแนวพระราชดาริ ของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปลูกผักสวนครัว เพือ ่ สร้างความมั่นคงทางอาหาร ประจาปี ๒๕๖๕

วั น ที่ ๒๗ ตุ ล าคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๖.๐๐ น. นางสาวไพรวัล ย์ ปัช ชามาตร เกษตรและสหกรณ์จัง หวัด นครพนม พร้ อ มด้ว ยนางสาวอรอนงค์ วงศ์ดี นักวิเ คราะห์ นโยบายและแผนช านาญการ หั ว หน้ า กลุ่ ม สารสน เทศ การเกษตร ร่วมกิจกรรม Kick Off น้อ มนาแนวพระราชดาริ ของ สมเด็จ พระกนิษ ฐาธิร าชเจ้า กรมสมเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปลูกผักสวนครัว เพื่อสร้าง ความมั่ น คงทางอาหาร ประจ าปี ๒๕๖๕ ภายใต้ ค าขวั ญ “ผู้ว่าฯพาปลูกผักและพืชสมุนไพร สร้างความมั่นคงทางอาหาร” เพื่ อ เป็ น ต้ น แบบให้ กั บ ข้ า ราชการ เจ้ า หน้ า ที่ ในการเป็ น ต้นแบบให้กับประชาชน ณ จวนผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม โดยมี น ายชาธิ ป รุ จ นเสรี ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด นครพนม เป็นประธานเปิดกิจกรรม

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 97 หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมวางพวงมาลาน้อมราลึก ในพระมหากรุณาธิคณ ุ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ ัว รัชกาลที่ ๕

วันที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๗.๓๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม มอบหมายให้ นางวรวรรณ อุคาพันธ์ เจ้าพนัก งานธุร การอาวุโส หัว หน้าฝ่ายบริหารทั่ว ไป ร่วมพิธีวางพวงมาลา น้อมราลึกพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ซึ่งหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นาโดยนางสาวกัญณฐา อภินนท์ธนา เกษตรจังหวัดนครพนม นาคณะส่ ว นราชการในสั งกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วางพวงมาลาน้อ มร าลึ กพระมหากรุ ณ าธิ คุณ โดยมี นายชาธิป รุจนเสรี ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม เป็นประธานนาคณะหัวหน้าส่วนราชการวางพวงมาลาเพื่อ น้อ ม ร าลึก ในพระมหากรุณ าธิค ุณ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้าอยู่หัว ที่ได้ทรงปฏิ บัติพระราชกรณียกิจเป็น อเนกอนันต์เพื่อพสกนิกรชาวไทย

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

98 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ พิธวี างพานพุม ่ ดอกไม้สดถวายราชสักการะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพ ิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในวันพระบิดาแห่งฝนหลวง ประจาปี ๒๕๖๔

วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ เวลา ๐๘.๓๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์ จังหวัดนครพนม พร้อมด้วยข้าราชการและเจ้าหน้าที่สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม จัดพิธี วางพานพุ่มดอกไม้สดถวายราชสักการะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในวันพระบิดาแห่งฝนหลวง ประจาปี ๒๕๖๔ โดยมีนายชาธิป รุจนเสรี ผู้ว่าราชการ จังหวัดนครพนม เป็นประธาน นาคณะหัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทั้ง ๑๒ หน่วยงาน เหล่ากาชาดจังหวัดนครพนม ประชาสัมพันธ์จังหวัดนครพนมถวายความเคารพและวางพานพุ่ม ดอกไม้ส ดหน้าพระบรมฉายาลั กษณ์ ณ หอเฉลิ มพระเกียรติพ ระราชวงศ์ จั กรี ศูนย์วิทยาศาสตร์ เ พื่ อ การศึกษานครพนม ตาบลหนองญาติ อาเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 99 กิจกรรม "นครพนมยามเช้า" ประจาเดือนพฤศจิกายน ๒๔๖๔

วันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ เวลา ๐๖.๓๐ น.นางสาวไพรวัลย์ ปัช ชามาตร เกษตรและสหกรณ์ จังหวัดนครพนม เข้าร่ ว มกิจกรรม "นครพนมยามเช้ า " ประจ าเดื อ นพฤศจิ ก ายน ๒๔๖๔ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น เวที แ ลกเปลี่ ย นรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น และ ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาจังหวัดและแก้ไขร่วมกันระหว่าง ส่ ว นราชการหน่ ว ยงานรั ฐ วิ ส าหกิ จ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม ซึ่งผลั ดเปลี่ ยนหมุนเวียนกันเป็น เจ้าภาพ ภายใต้มาตรการป้องกันโรคตามที่ราชการกาหนดในการเฝ้า ระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)ณ จวนผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม โดยมีนายชาธิป รุจนเสรี ผู้ว่า ราชการจังหวัดนครพนมและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย เป็นเจ้าภาพในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ “ผ้าไทยใส่ให้สนุก” ตามพระราชดาริสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรวิ ณ ั ณวรี นารีรต ั นราชกัญญา

วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ เวลา ๑๕.๐๐ น. นางสาวไพร วั ล ย์ ปั ช ชามาตรเกษตรและสหกรณ์ จั ง หวั ด นครพนม ร่ ว มงาน ประชาสัมพันธ์ “ผ้าไทยใส่ให้สนุก” ตามพระราชดาริสมเด็จพระเจ้าลูก เธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา และส่งเสริม สนับสนุนการใช้ และสวมผ้าไทยตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๖๓ เพื่อ เผยแพร่พระอัจฉริยภาพด้าการออกแบบเครื่องแต่งกายและการอนุรักษ์ ศิล ปหัตถกรรมจากภู มิปัญ ญาพื้ นถิ่นของไทย ณ หมู่บ้านชนเผ่ ริ มฝั่ ง แม่ น้ าโขง อ าเมื อ ง จั ง หวั ด นครพนม โดยมี น ายชาธิป รุ จ นเสรี ผู้ ว่ า ราชการจังหวัดนครพนมนาคณะหัวหน้าส่วนราชการสวมผ้าไทยแบบ ลายพระราชทานเพื่อเป็นต้นแบบและพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าให้ กับ ผลิตภัณฑ์ผ้าพื้นถิ่นต่อไป สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

100 รายงานประจาปี ๒๕๖๔ กิจกรรมเนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพ ิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ ๕ ธันวาคม ๒๕๖๔ พิธวี างพานพุม ่ ดอกไม้และพิธถ ี วายบังคม

วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๖๔ นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม พร้อมด้วยหัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย ข้าราชการและเจ้าหน้าที่สานักงาน ร่วมกิจกรรมเนื่องในวันคล้ายวันพระบรม ราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ ๕ ธันวาคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๖.๓๐ น. นายชาธิป รุจนเสรี ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม เป็นประธาน นาข้าราชการ ตุลาการ ศาล ทหาร ตารวจ สมาชิกเหล่ากาชาดจังหวัดนครพนม ตลอดจน ประชาชนจังหวัดนครพนมและนักท่องเที่ยว ร่วมกันประกอบพิธีบาเพ็ญกุศล ทาบุญตักบาตร พระสงฆ์ จานวน ๕๐ รูป เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล ณ วัดมหาธาตุ ริมฝั่งแม่น้าโขง อาเภอเมือง จังหวัดนครพน และในเวลา ๐๙.๐๐ นร่วมพิธีวางพานพุ่มดอกไม้และพิธีถวายบังคมหน้าพระฉายาลักษณ์ เพื่อน้อม ราลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ณ ศาลาประชาคมยงใจยุทธ บริเวณศาลากลางจังหวัดนครพนม

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ 101 กิจกรรมวันดินโลก ปี ๒๕๖๔ จังหวัดนครพนม ในหัวข้อ Halt soil salinization, boost soil productivity : พิชต ิ ดินเค็ม เติมเต็มผลผลิต สร้างชีวต ิ เกษตรกร

วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๙.๓๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์ จั ง หวั ด นครพนม นางสาวปภาสร บุ ญ เที ย ม นั ก วิ เ คราะห์ น โยบายและแผนช านาญการ หั ว หน้ า กลุ่ ม ช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรและโครงการพิเศษ พร้ อ มด้ว ยหน่วยงานในสังกัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ร่วมกิจกรรมวันดินโลก ปี ๒๕๖๔ จังหวัดนครพนม ในหั ว ข้ อ Halt soil salinization, boost soil productivity : พิ ชิ ต ดิ น เค็ ม เติ ม เต็ ม ผลผลิ ต สร้ า งชี วิ ต เกษตรกร ซึ่ ง ภายในงานมี ก ารจั ด นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ทรงเป็นนักวิทยาศาสตร์ดิน เพื่อมนุษยธรรม ตลอดทั้งนิทรรศการด้านการเกษตรและฐานเรียนรู้ด้าน การพัฒนาที่ดิน ณ สถานีพัฒนาที่ดินนครพนม โดยมีนายชาญชัย คงทัน รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม เป็นประธาน พิธเี ปิดงาน Nakhonphanom Winter Festival ๒๐๒๒ ตอน สายลมแห่งความทรงจา

วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๘.๐๐ น. นางสาวไพรวัลย์ ปัชชามาตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม ร่วมพิธีเปิดงาน Nakhonphanom Winter Festival ๒๐๒๒ ตอน สายลมแห่งความทรงจา ณ บริเวณริมฝัง่ แม่น้าโขง เวทีหมู่บ้านชนเผ่า ถนนสวรรค์ชายโขง โดยมีนายชาธิป รุจนเสรี ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม เป็นประธานในพิธี ภายในบริเวณงานมีการออกร้านและจาหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน สินค้า OTOP สินค้า ทางการเกษตร ของดี ๑๒ อาเภอ และสินค้าราคาประหยัด เพื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวฤดูหนาว เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจและสร้างรายได้ให้กับชุมชน

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔

คณะผู้จัดทำ ที่ปรึกษำ นางสาวไพรวัลย์

ปัชชามาตร

เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

นางณัฐริกา นางวรวรรณ นางสาวอรอนงค์ นางสาวปภาสร นางวราภรณ์ นางสาวนฤดี นางอรณิชชา นางกรรณิกา นางสาวสหัธยา นางสาวมิ่งขวัญ นางสาวศรัณย์รัชต์

ส่งศรีบุญสิทธิ์ อุคาพันธ์ วงศ์ดี บุญเทียม พรหมจักร มณีประกรณ์ ประทุมทอง คะษาวงศ์ รมย์รส รูปดี แก้วสีคร้าม

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ เจ้าพนักงานธุรการอาวุโส นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล

ผู้เรียบเรียง นางสาวอรอนงค์ นางสาวมิ่งขวัญ นางสาวกนกนิตย์

วงศ์ดี รูปดี แก้วก่า

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

คณะผู้จัดทำ

สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม

จั ด ทำ โ ด ย ก ลุ่ ม ส า ร ส น เ ท ศ ก า ร เ ก ษ ต ร

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.