ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพะเยา ปี 2565 และแนวโน้มเศรษฐกิจ ปี 2566 ณ เดือนกันยายน 2565 Flipbook PDF

ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพะเยา ปี 2565 และแนวโน้มเศรษฐกิจ ปี 2566 ณ เดือนกันยายน 2565

111 downloads 115 Views 12MB Size

Recommend Stories


DECRETO 2565 DE 1969 (octubre 9) Diario Oficial No de 26 de febrero de 1969
DECRETO 2565 DE 1969 (octubre 9) Diario Oficial No. 32.721 de 26 de febrero de 1969 Por el cual se reorganiza el Ministerio de Defensa Nacional y se

Decreto 2566 de Septiembre 10 de 2003
Decreto 2566 de Septiembre 10 de 2003 Por el cual se establecen las condiciones mínimas de calidad y demás requisitos para el ofrecimiento y desarroll

Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

Story Transcript

. e-mail : [email protected]


รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพะเยา ปี 2565 และปี 2566 “เศรษฐกิจจังหวัดพะเยา ในปี2565 คาดว่าขยายตัวร้อยละ 2.4 และขยายตัวในปี 2566 ร้อยละ 3.4” 1. เศรษฐกิจจังหวัดพะเยา ในปี 2565 ส านักงานคลังจังหวัดพะเยา คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจจังหวัดพะเยา ในปี 2565 ขยายตัวร้อยละ 2.4 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.9 -2.9ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 2.0) ตามการขยายตัวของด้านอุปทานและด้านอุปสงค์ โดย ด้านอุปทาน คาดว่าขยายตัวจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 1.2 จากการขยายตัวของการผลิตในภาคบริการ ภาคเกษตร และภาคอุตสาหกรรม ด้านอุปสงค์คาดว่าขยายตัวร้อยละ 2.0 จากการบริโภคภาคเอกชน การลงทุนภาคเอกชน และมูลค่าการค้าชายแดน โดยการใช้จ่ายภาครัฐ ยังคงเป็นแรง ขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่ส าคัญ ด้านรายได้เกษตรกร คาดว่าขยายตัวจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 3.6 ตามราคาผลผลิตพืช ที่ส าคัญ เช่น ลิ้นจี่ ล าไย ข้าวเหนียว และยางพารา เป็นส าคัญ ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไป คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 5.5 มีการจ้างงานทั้งสิ้น 214,195คน เพิ่มขึ้น 4,414คน คิดเป็นร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับปีก่อน โดยมีรายละเอียดดังนี้ ด้านอุปทาน (การผลิต) ในปี 2565 คาดว่าขยายตัวร้อยละ 1.2 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.7 - 1.7 ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 0.8) เป็นผลมาจากภาคบริการ ขยายตัว ร้อยละ 1.4 ตามการเพิ่มขึ้นของจ านวนผู้โดยสารผ่านสถานีขนส่ง จ านวนนักท่องเที่ยว และยอดขายหมวดขายส่ง ขายปลีกฯ เป็นส าคัญ ภาคเกษตร ขยายตัวร้อยละ 1.0 จากการเพิ่มขึ้นของปริมาณผลผลิตพืชที่ส าคัญ เช่น ล าไย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวเหนียว และข้าวเจ้า เป็นส าคัญ ภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 0.8 จากการเพิ่มขึ้น ของจ านวนโรงงานอุตสาหกรรม และปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ เป็นส าคัญ ด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) ในปี 2565คาดว่าขยายตัวร้อยละ 2.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.5 -2.5 ต่อปี) ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 1.9) โดย การใช้จ่ายภาครัฐ ยังคงเป็นแรง ขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่ส าคัญในการสนับสนุนเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง การบริโภคภาคเอกชน คาดว่าขยายตัวร้อยละ 1.7 ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณการใช้ไฟฟ้าของครัวเรือน และภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดขายส่งขายปลีกฯ ที่เพิ่มขึ้น ส าหรับเครื่องชี้อื่น ๆ เช่น จ านวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าขยายตัวร้อยละ 1.1 ตามการเพิ่มขึ้นของพื้นที่อนุญาตก่อสร้างรวม และภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดการก่อสร้าง ส่งผลให้การลงทุนภาคเอกชนในภาพรวมมีแนวโน้มขยายตัว มูลค่าการค้าชายแดน คาดว่าสามารถขยายตัวร้อยละ 2.2 ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องจากการเปิดการเดินทางเข้า –ออกของบุคคลและพาหนะ และมีการผ่อนปรนให้มีการน าเข้า หินปูนบด สินค้าเกษตร เช่น ลูกเดือย เมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผ้าปักทอ เป็นต้น และมีการส่งออกสินค้าประเภท น้ ามันเชื้อเพลิง (ทั้งชนิดเบนซิน/ดีเซล) สินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าประเภทวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้น ผ่านจุดผ่านแดนถาวร บ้านฮวก อ าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพะเยา ส านักงานคลังจังหวัดพะเยา ศาลากลางจังหวัดพะเยา ต.บ้านต๋อม อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา 56000 โทรศัพท์ 0 5444 9564-5 ต่อ 304 โทรสาร 0 54 44 9563 https://klang.cgd.go.th/pyd


2 ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ด้านระดับราคา ในปี 2565 คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 5.5 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ ที่ร้อยละ 5.0 –6.0ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 5.0 ต่อปี) โดยมีปัจจัย จากสถานการณ์ราคาสินค้าอุปโภคบริโภค กลุ่มพลังงาน น้ ามันชื้อเพลิง สินค้าในหมวดอาหาร และเครื่องดื่ม ไม่มีแอลกอฮอล์ ปรับสูงขึ้นตามต้นทุนการผลิตและราคาวัตถุดิบ ด้านการจ้างงาน ในปี 2565 คาดว่ามีการจ้างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.7 – 2.5 ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 1.3) เนื่องจากการฟื้นตัว ของภาคการท่องเที่ยว ประกอบกับด้านตลาดแรงงานปรับตัวดีขึ้นสอดคล้องกับเศรษฐกิจ โดยจ านวนผู้ว่างงาน และเสมือนว่างงานปรับลดลงเข้าใกล้ระดับก่อนที่จะเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มากขึ้น 2. เศรษฐกิจจังหวัดพะเยา ในปี 2566 ส านักงานคลังจังหวัดพะเยา คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจจังหวัดพะเยา ในปี 2566 ขยายตัวร้อยละ 3.4 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.9 - 3.9 ต่อปี) ขยายตัวจากปีก่อน ตามการขยายตัวของด้านอุปทานและด้านอุปสงค์ โดย ด้านอุปทาน คาดว่าขยายตัวจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 2.2 จากการขยายตัวของการผลิตในภาคบริการ ภาคเกษตร และภาคอุตสาหกรรม ด้านอุปสงค์ คาดว่าขยายตัวร้อยละ 3.0จากการบริโภคภาคเอกชน การลงทุนภาคเอกชน และมูลค่าการค้าชายแดน โดยการใช้จ่ายภาครัฐ ยังคงเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่ส าคัญ ด้านรายได้เกษตรกร คาดว่าขยายตัวจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 5.8 ตามราคาผลผลิตพืชหลักที่ส าคัญ เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ข้าวเหนียว ข้าวเจ้า ล าไย และยางพารา เป็นส าคัญ ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปคาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 5.0 มีการจ้างงานทั้งสิ้น 220,443 คน เพิ่มขึ้น 6,248 คน คิดเป็นร้อยละ 2.9 เมื่อเทียบกับปีก่อน โดยมีรายละเอียดดังนี้ ด้านอุปทาน (การผลิต) ในปี 2566 คาดว่าขยายตัวร้อยละ 2.2 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.7 - 2.7 ต่อปี) ขยายตัวจากปีก่อน เป็นผลมาจากภาคบริการ ขยายตัวร้อยละ 2.2ตามการเพิ่มขึ้นของจ านวนผู้โดยสารผ่านสถานีขนส่ง จ านวนนักท่องเที่ยว และยอดขายหมวดขายส่ง ขายปลีกฯ เป็นส าคัญ ภาคเกษตร ขยายตัวร้อยละ 2.1 จากการเพิ่มขึ้น ของปริมาณผลผลิตพืชหลักที่ส าคัญ เช่น ล าไย ลิ้นจี่ ข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และยางพารา โดยคาดว่าสภาพอากาศและปริมาณน้ ามีความใกล้เคียงกับปีก่อน ภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 2.0จากการเพิ่มขึ้น ของจ านวนทุนจดทะเบียนโรงงานอุตสาหกรรม จ านวนโรงงานอุตสาหกรรม และปริมาณการใช้ไฟฟ้า ภาคอุตสาหกรรม เป็นส าคัญ ด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) ในปี 2565คาดว่าขยายตัวร้อยละ 3.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.5 -3.5 ต่อปี) ขยายตัวจากปีก่อน โดย การใช้จ่ายภาครัฐ ยังคงเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่ส าคัญในการสนับสนุนเศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่อง การบริโภคภาคเอกชน คาดว่าขยายตัวร้อยละ 3.3 ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณการจ าหน่ายสุรา และเบียร์ ปริมาณการใช้ไฟฟ้าของครัวเรือน และจ านวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ที่เพิ่มขึ้น ส าหรับเครื่องชี้อื่น ๆ เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดขายส่ง ขายปลีกฯ และจ านวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าขยายตัวร้อยละ 2.2 ตามการเพิ่มขึ้นของจ านวนรถยนต์พาณิชย์จดทะเบียนใหม่ พื้นที่อนุญาตก่อสร้างรวม และภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดการก่อสร้าง ส่งผลให้การลงทุนภาคเอกชนในภาพรวม มีแนวโน้มขยายตัว มูลค่าการค้าชายแดน คาดว่าสามารถขยายตัวร้อยละ 2.8 ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องจากการเปิด การเดินทางเข้า –ออกของบุคคลและพาหนะ และมีการผ่อนปรนให้มีการน าเข้าหินปูนบด สินค้าเกษตร เช่น ลูกเดือย เมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผ้าปักทอ เป็นต้น และมีการส่งออกสินค้าประเภทน้ ามันเชื้อเพลิง (ทั้งชนิดเบนซิน/ดีเซล) สินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าประเภทวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้น ผ่านจุดผ่านแดนถาวรบ้านฮวก อ าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา


3 ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ด้านระดับราคา ในปี 2566 คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 5.0 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.5–5.5ต่อปี) โดยประเมินว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะค่อยๆ ปรับตัวลดลง หากราคาน้ ามันเริ่มมีเสถียรภาพมากขึ้น ด้านการจ้างงาน ในปี 2566 คาดว่ามีการจ้างงานเพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 2.9 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ที่ ร้อยละ 2.5 – 3.4 ต่อปี) ตามการขยายตัวของการผลิตภาคบริการ ภาคเกษตร และภาคอุตสาหกรรม ปัจจัยเสี่ยงเศรษฐกิจ ปี 2565 และปี 2566 ของจังหวัดพะเยา 1. ความไม่แน่นอนของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั้งสายพันธุ์ที่ระบาดในปัจจุบันและที่อาจเกิดขึ้นใหม่ในอนาคต 2. ความแปรปรวนของสภาพอากาศ ความเสี่ยงจากภัยทางธรรมชาติเช่น ภัยแล้ง และอุทกภัย ส่งผลกระทบต่อภาคเกษตร ซึ่งเป็นโครงสร้างหลักของจังหวัด 3. ความยืดเยื้อของสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ส่งผลกระทบต่อราคาพลังงาน และสินค้าโภคภัณฑ์ ซึ่งส่งผ่านไปยังต้นทุนของภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจ 4. ภาระหนี้สินภาคครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูงกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชน และภาวะเศรษฐกิจ ของจังหวัด 5. ความผันผวนของเศรษฐกิจและการเงิน ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในภาพรวม ปัจจัยสนับสนุนเศรษฐกิจ ปี 2565 และปี 2566 ของจังหวัดพะเยา 1. มาตรการทางการคลังของภาครัฐ เช่น โครงการคนละครึ่ง โครงการช้อปดีมีคืน โครงการเพิ่มก าลังซื้อ ให้แก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ และโครงการเพิ่มก าลังซื้อให้แก่ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ 2. นโยบายการสนับสนุนภาคการท่องเที่ยวของรัฐบาล เช่น โครงการเราเที่ยวด้วยกัน และการผ่อนปรน มาตรการการเดินทางระหว่างประเทศ และยกเลิกระบบ Thailand Pass ส าหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ 3. โครงการประกันรายได้ปีการผลิต 2564/65 ส าหรับเกษตรกรที่ปลูกพืชเกษตร 3 ชนิด ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และมันส าปะหลัง พร้อมมาตรการช่วยเหลือคู่ขนาน 4. การเปิดจุดผ่านแดนถาวรบ้านฮวก อ าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ให้บุคคล ยานพาหนะ และสิ่งของ ที่เกี่ยวข้องผ่านเข้า-ออกได้ตามปกติ 5. การผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท าให้ประชาชนกลับมาใช้ชีวิตและประกอบอาชีพได้ตามปกติ


4


สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพะเยา 1. ด้านอุปทาน (การผลิต) ในปี 2565 คาดว่าขยายตัวร้อยละ 1.2(ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.7-1.7ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 0.8) เป็นผลมาจากภาคบริการ ขยายตัวร้อยละ 1.4 ตามการเพิ่มขึ้นของจ านวนผู้โดยสารผ่านสถานีขนส่ง จ านวนนักท่องเที่ยว และยอดขาย หมวดขายส่ง ขายปลีกฯ เป็นส าคัญ ภาคเกษตร ขยายตัวร้อยละ 1.0 จากการเพิ่มขึ้นของปริมาณผลผลิตพืชหลัก ที่ส าคัญ เช่น ล าไย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เป็นส าคัญ เนื่องจากปริมาณน้ าที่มีเพียงพอและสภาพอากาศที่เหมาะสม อย่างไรก็ดี ปัญหาน้ าท่วมยังคงส่งผลกระทบกับภาคเกษตรท าให้พื้นที่การเพาะปลูกพืชหลัก เช่น ข้าวเจ้า และข้าวเหนียว เกิดน้ าท่วมได้รับความเสียหาย ภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 0.8 จากการเพิ่มขึ้นของจ านวนโรงงาน อุตสาหกรรมและปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ เป็นต้น ส าหรับปี 2566 คาดว่าขยายตัวร้อยละ 2.2 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.7 - 2.7 ต่อปี) ขยายตัวจาก ปีก่อน เป็นผลมาจากภาคบริการ ขยายตัวร้อยละ 2.2 ตามการเพิ่มขึ้นของจ านวนผู้โดยสารผ่านสถานีขนส่ง จ านวนนักท่องเที่ยว และยอดขายหมวดขายส่ง ขายปลีกฯ เป็นส าคัญ ภาคเกษตร ขยายตัวร้อยละ 2.1 ตามการเพิ่มขึ้น ของปริมาณผลผลิตพืชหลักที่ส าคัญ เช่น ล าไย ลิ้นจี่ ข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และยางพารา โดยคาดว่าสภาพอากาศและปริมาณน้ ามีความใกล้เคียงกับปีก่อน ภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 2.0 ตามการเพิ่มขึ้นของจ านวนทุนจดทะเบียนโรงงานอุตสาหกรรม จ านวนโรงงานอุตสาหกรรม และปริมาณการใช้ไฟฟ้า ภาคอุตสาหกรรม เป็นส าคัญ 1.1 ปริมาณผลผลิตข้าวเจ้า ในปี 2565 คาดว่าปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 1.3 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.8- 1.8ต่อปีปรับลดลงจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 1.5) เนื่องจากปริมาณน้ าฝนที่มาก ท าให้พื้นที่การเพาะปลูกเกิดน้ าท่วมได้รับความเสียหาย ส าหรับปี 2566 คาดว่า ปริมาณผลผลิตข้าวเจ้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.0 - 4.0 ต่อปี) อัตราการขยายตัวของปริมาณผลผลิตข้าวเจ้า (ร้อยละ) -12.7 14.4 2.6 11.8 14.5 33.3 -43.7 -23.9 -7.6 15.4 -22.9 46.9 5.8 1.5 1.3 3.5


6 1.2 ปริมาณผลผลิตข้าวเหนียว ในปี 2565คาดว่าปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 1.7 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.2 - 2.2 ต่อปีปรับลดลงจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 2.2) เนื่องจากปริมาณน้ าฝนที่มาก ท าให้พื้นที่การเพาะปลูกเกิดน้ าท่วมได้รับความเสียหาย ส าหรับปี 2566 คาดว่า ปริมาณผลผลิตข้าวเหนียวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.5 - 3.5 ต่อปี) อัตราการขยายตัวของปริมาณผลผลิตข้าวเหนียว (ร้อยละ) 1.3 ปริมาณผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในปี 2565 คาดว่าปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นจากปีก่อน อยู่ที่ร้อยละ 2.5 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.0 - 3.0 ต่อปีปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 2.0) เนื่องจากปริมาณน้ าฝนเหมาะสมและปริมาณน้ าในแหล่งกักเก็บมีเพียงพอต่อการเพาะปลูก เกษตรกรมีความช านาญในการก าจัดโรคและแมลงศัตรูพืชมากขึ้น ส าหรับปี 2566 คาดว่าปริมาณผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.5 - 3.5 ต่อปี) อัตราการขยายตัวของปริมาณผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์(ร้อยละ) -38.8 -3.7 -19.6 -29.6 66.1 -86.9 499.0 7.2 47.7 0.8 -24.1 22.5 -16.6 2.2 1.7 3.0 25.4 -19.0 16.5 -7.6 1.1 -7.4 -5.0 8.7 -22.8 -9.4 -23.4 90.9 23.0 2.0 2.5 3.0


7 1.4 ปริมาณผลผลิตล าไย ในปี 2565 คาดว่าปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 4.5 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.0-5.0ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 4.0) เนื่องจากต้นล าไยที่ปลูกในปี 2562 ซึ่งภาครัฐมีโครงการส่งเสริมให้เกษตรกรขยายพื้นที่ปลูกเริ่มให้ผลผลิตได้ในปีนี้ ประกอบกับสภาพภูมิอากาศหนาวเย็นต่อเนื่องส่งผลให้ล าไยออกดอกดี รวมทั้งปริมาณน้ าเพียงพอในช่วงออกดอก และช่วงติดผลอ่อน ส าหรับปี 2566 คาดว่าปริมาณผลผลิตล าไยเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 5.5 -6.5ต่อปี) อัตราการขยายตัวของปริมาณผลผลิตล าไย (ร้อยละ) 1.5 ปริมาณผลผลิตลิ้นจี่ ในปี 2565 ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 0.5 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.0–1.0ต่อปีปรับลดลงจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 5.0) เนื่องจากเกิดการระบาดของหนอนเจาะขั้วท าให้ผลร่วงเสียหาย ส าหรับปี 2566 คาดว่าปริมาณผลผลิตลิ้นจี่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.5 - 5.5 ต่อปี) อัตราการขยายตัวของปริมาณผลผลิตลิ้นจี่ (ร้อยละ) 76.3 -46.7 56.9 144.0 -62.7 25.3 -2.0 -22.4 117.2 -39.7 -7.8 34.0 -6.2 4.0 4.5 6.0 49.5 26.5 -64.6 25.2 -10.3 67.0 -29.6 -54.6 116.3 40.7 -74.6 417.6 -95.2 5.0 0.5 5.0


8 1.6 ปริมาณผลผลิตยางพารา ในปี 2565 คาดว่าปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 0.8 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.3–1.3ต่อปีปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 0.3) เนื่องจากการขยายพื้นที่เพาะปลูกใหม่เมื่อปี 2559 เริ่มให้ผลผลิตได้ในปีนี้ ส าหรับผลผลิตต่อเนื้อที่กรีดได้ส่วนใหญ่ อยู่ในช่วงอายุที่ให้ผลผลิตสูง ประกอบกับปีนี้ฝนมาเร็วและปริมาณน้ าฝนเพียงพอต่อการเจริญเติบโตท าให้น้ ายางเพิ่มมากขึ้น ส าหรับปี 2566 คาดว่าปริมาณผลผลิตยางพาราเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.4 - 2.4 ต่อปี) อัตราการขยายตัวของปริมาณผลผลิตยางพารา (ร้อยละ) 1.7 จ านวนทุนจดทะเบียนโรงงานอุตสาหกรรม ในปี 2565 คาดว่ามีจ านวนทุนจดทะเบียน โรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งสิ้น 5,076.7ล้านบาท (ช่วงคาดการณ์ที่ 5,051.5- 5,102.0ล้านบาท ปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อย จากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ 5,056.5 ล้านบาท) ขยายตัวต่อเนื่องจากปีก่อนเล็กน้อย ส าหรับปี 2566 คาดว่ามีจ านวนทุนจดทะเบียนโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งสิ้น 5,178.2ล้านบาท (ช่วงคาดการณ์ที่ 5,152.9-5,203.6ล้านบาท จ านวนทุนจดทะเบียนโรงงานอุตสาหกรรม (ล้านบาท) 200.2 21.4 113.7 194.8 94.3 198.9 -2.3 1.1 4.7 7.3 1.6 -2.0 -38.7 0.3 0.8 1.9 2,837.8 2,892.6 2,999.9 3,398.8 3,908.7 4,262.2 4,513.7 4,694.9 4,825.2 4,860.5 4,871.4 4,933.5 5,051.5 5,056.5 5,076.7 5,178.2


9 1.8 จ านวนโรงงานอุตสาหกรรม ในปี 2565 คาดว่ามีโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งสิ้น 200 โรง (ช่วงคาดการณ์ จ านวน 199 - 201 โรง) โดยส่วนใหญ่เป็นโรงงานแปรรูปวัตถุดิบทางการเกษตรทั้งขนาดกลาง และขนาดเล็ก เช่น โรงสีข้าว และโรงเก็บเมล็ดพืชผลทางการเกษตร (ไซโล) เป็นต้น ส าหรับปี 2566 คาดว่า มีโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งสิ้น 204 โรง (ช่วงคาดการณ์ จ านวน 203 - 205 โรง) จ านวนโรงงานอุตสาหกรรม (โรง) 1.9 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม ในปี 2565คาดว่าปริมาณการใช้ไฟฟ้าลดลงจากปีก่อน อยู่ที่ร้อยละ 1.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.5 - 1.5 ต่อปีปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 0.5) เนื่องจากมีการใช้ปริมาณไฟฟ้าในการก่อสร้างและปรับปรุงถนนหลายสาย เช่น ถนนพหลโยธิน ส าหรับปี 2566 คาดว่าปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 2.5 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.0 – 3.0 ต่อปี) อัตราการขยายตัวของปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม (ร้อยละ) 220 223 224 239 258 266 267 269 269 270 251 186 198 198 200 204 14.7 -2.2 5.2 12.7 12.6 -0.7 8.7 5.4 -0.9 -2.3 3.0 2.0 2.1 0.5 1.0 2.5


10 1.10 ยอดขายหมวดขายส่ง ขายปลีกฯ ในปี 2565 คาดว่ามีมูลค่ารวมทั้งสิ้น 12,808.3 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 3.3 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.8 - 3.8ต่อปี เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 3.0) เนื่องจากประชาชนจับจ่ายใช้สอยกลุ่มสินค้าในชีวิตประจ าวันเพิ่มขึ้น ส่วนหนึ่งจาก มาตรการกระตุ้นก าลังซื้อการบริโภคภายในประเทศของภาครัฐ เช่น โครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 5 โครงการเพิ่ม ก าลังซื้อให้แก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ระยะที่ 5และโครงการเพิ่มก าลังซื้อให้แก่ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ระยะที่ 3 จูงใจท าให้เกิดการจับจ่ายใช้สอยภายในประเทศเพิ่มมากขึ้น ส าหรับปี 2566 คาดว่ายอดขายหมวดขายส่ง ขายปลีกฯ เพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 4.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.5 - 4.5 ต่อปี) อัตราการขยายตัวของยอดขายหมวดขายส่ง ขายปลีกฯ (ร้อยละ) 1.11 ปริมาณเงินฝากรวม ในปี2565 คาดว่ามีจ านวนเงินฝากรวมทั้งสิ้น 41,762.0 ล้านบาท ขยายตัวจากปีก่อนร้อยละ 1.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.5 – 1.5 ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 0.4) เนื่องจากความต้องการรักษาสภาพคล่องของผู้ฝาก ส าหรับปี 2566 คาดว่ามีจ านวนเงินฝากรวมทั้งสิ้น 42,785.2ล้านบาท เพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 2.5(ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.0–3.0ต่อปี) อัตราการขยายตัวของปริมาณเงินฝากรวม (ร้อยละ) 10.4 10.4 12.4 17.3 9.3 2.8 5.4 5.4 2.3 6.7 7.0 8.0 8.6 0.4 1.0 2.5 3.9 21.8 4.4 -0.7 22.2 -13.9 -2.6 0.9 4.1 4.2 2.1 -10.4 15.5 3.0 3.3 4.0


11 1.12 จ านวนนักท่องเที่ยว ในปี2565 คาดว่ามีจ านวนทั้งสิ้น 135,610 คน (เพิ่มขึ้นจาก ที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่ามีนักท่องเที่ยว จ านวนทั้งสิ้น 134,955 คน) เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ที่มีจ านวนนักท่องเที่ยวทั้งสิ้น 131,024 คน เนื่องจากภาครัฐมีนโยบายการสนับสนุนภาคการท่องเที่ยว เช่น โครงการเราเที่ยวด้วยกันเฟส 4 และการผ่อนปรนมาตรการเดินทางระหว่างประเทศ และยกเลิกระบบ Thailand Pass ส าหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เป็นต้นไป ส าหรับปี 2566 คาดว่า มีจ านวนนักท่องเที่ยว จ านวนทั้งสิ้น 142,390 คน จ านวนนักท่องเที่ยว (คน) 1.13 ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรมและภัตตาคาร ในปี 2565 คาดว่าขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 2.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.5 - 2.5 ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ ร้อยละ 1.0) เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนจากมาตรการกระตุ้นส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศ และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ธุรกิจโรงแรมและภัตตาคารขยายตัวได้ ส าหรับปี 2566 คาดว่าภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรมและภัตตาคารขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 3.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.5 - 3.5ต่อปี) อัตราการขยายตัวของภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรมและภัตตาคาร (ร้อยละ) 25,736 45,893 124,514 148,535 215,162 223,852 239,922 263,349 272,015 287,007 287,647 186,555 131,024 134,955 135,610 142,390 0.5 -6.4 3.2 2.1 5.5 -7.8 -15.7 2.5 12.0 -24.5 23.7 -55.1 303.4 1.0 2.0 3.0


12 1.14 จ านวนผู้โดยสารผ่านสถานีขนส่ง ในปี2565 คาดว่ามีจ านวนทั้งสิ้น 156,556 คน เพิ่มขึ้น จากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ 129,629 คน) จากปีก่อนที่มีผู้โดยสารผ่านสถานีขนส่ง ทั้งสิ้น 125,245คน เนื่องจากประชาชนผ่อนคลายความกังวลเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนจากมาตรการกระตุ้นส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศและมาตรการกระตุ้น เศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ได้ ส าหรับปี 2566 คาดว่าจ านวนผู้โดยสารผ่านสถานีขนส่งมีจ านวนทั้งสิ้น 195,695 คน จ านวนผู้โดยสารผ่านสถานีขนส่ง (คน) 2,371,664 2,418,606 2,354,298 2,420,191 2,238,497 1,778,184 1,341,704 834,904 804,892 478,799 417,206 337,908 125,245 129,629 156,556 195,695


13 2. ด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) ในปี 2565คาดว่าขยายตัวร้อยละ 2.0(ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.5-2.5ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 1.9) โดยการใช้จ่ายภาครัฐ ยังคงเป็น แรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่ส าคัญในการสนับสนุนเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง การบริโภคภาคเอกชน คาดว่าขยายตัว ร้อยละ 1.7 ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณการใช้ไฟฟ้าของครัวเรือน และภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดขายส่ง ขายปลีกฯ ที่เพิ่มขึ้น ส าหรับเครื่องชี้อื่น ๆ เช่น จ านวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าขยายตัวร้อยละ 1.1 ตามการเพิ่มขึ้นของพื้นที่อนุญาตก่อสร้างรวม ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดการก่อสร้าง ส่งผลให้การลงทุนภาคเอกชนในภาพรวมมีแนวโน้มขยายตัว มูลค่าการค้าชายแดน คาดว่าสามารถขยายตัว ร้อยละ 2.2 ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องจากการเปิดการเดินทางเข้า – ออกของบุคคลและพาหนะและมีการผ่อนปรน ให้มีการน าเข้าหินปูนบด สินค้าเกษตร เช่น ลูกเดือย เมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ผ้าปักทอ เป็นต้น และมีการส่งออกสินค้า ประเภทน้ ามันเชื้อเพลิง (ทั้งชนิดเบนซิน/ดีเซล) สินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าประเภทวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้น ผ่านจุดผ่านแดนถาวรบ้านฮวก อ าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ส าหรับปี 2566 คาดว่าขยายตัวร้อยละ 3.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.5 - 3.5 ต่อปี) ขยายตัวจากปีก่อน เป็นผลมาจากการใช้จ่ายภาครัฐ ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง การบริโภคภาคเอกชน คาดว่า ขยายตัวร้อยละ 3.3 ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณการจ าหน่ายสุรา ปริมาณการจ าหน่ายเบียร์ ปริมาณการใช้ไฟฟ้า ของครัวเรือน และจ านวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ที่เพิ่มขึ้น ส าหรับเครื่องชี้อื่น ๆ เช่น จ านวนรถจักรยานยนต์ จดทะเบียนใหม่ และภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดขายส่ง ขายปลีกฯ ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าขยายตัวร้อยละ 2.2 ตามการเพิ่มขึ้นของจ านวนรถยนต์พาณิชย์จดทะเบียนใหม่ และพื้นที่อนุญาตก่อสร้างรวม ส่งผลให้การลงทุนภาคเอกชนในภาพรวมมีแนวโน้มขยายตัว มูลค่าการค้าชายแดน คาดว่าสามารถขยายตัว ร้อยละ 2.8 ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องจากการเปิดการเดินทางเข้า – ออกของบุคคลและพาหนะและมีการผ่อนปรน ให้มีการน าเข้าหินปูนบด สินค้าเกษตร เช่น ลูกเดือย เมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ผ้าปักทอ เป็นต้น และมีการส่งออกสินค้า ประเภทน้ ามันเชื้อเพลิง (ทั้งชนิดเบนซิน/ดีเซล) สินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าประเภทวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้น ผ่านจุดผ่านแดนถาวรบ้านฮวก อ าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา 2.1 การใช้จ่ายภาครัฐ ในปี 2565 คาดว่าขยายตัวจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 2.2 (ช่วงคาดการณ์ ที่ร้อยละ 1.7-2.7ต่อปี) โดยเฉพาะการขับเคลื่อนของมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายและการใช้จ่ายภาครัฐ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ทั้งนี้ รายจ่ายประจ ายังคงเป็นปัจจัยหลักในการขยายตัว โดยเฉพาะการเบิกจ่ายรายจ่ายประจ า รายการค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐของมหาวิทยาลัยพะเยา และการเบิกจ่ายงบลงทุนรายการโครงการพัฒนา หนองเล็งทราย ต าบลแม่ใจ อ าเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา ของโครงการชลประทานพะเยา เป็นส าคัญ ส าหรับ ปี 2566 คาดว่าการใช้จ่ายภาครัฐขยายตัวในอัตราใกล้เคียงกับปีก่อน อัตราการขยายตัวของการใช้จ่ายภาครัฐ (ร้อยละ) 11.5 15.6 -5.8 25.3 -20.1 3.4 24.8 7.2 14.3 -16.4 10.7 7.2 2.4 2.8 2.2 2.8


14 อัตราการขยายตัวของการใช้งบประมาณรายจ่ายประจ า (ร้อยละ) อัตราการขยายตัวของการใช้จ่ายรายจ่ายลงทุน (ร้อยละ) อัตราการขยายตัวของการใช้จ่ายเงินเหลื่อมปี (ร้อยละ) 6.2 27.7 -10.4 37.3 -17.5 -3.2 18.0 6.6 24.5 -18.2 14.4 5.2 3.2 3.0 2.5 4.5 40.5 -33.8 30.5 -50.7 -30.0 114.5 87.4 -0.6 -16.9 -9.7 -9.2 21.2 -18.0 2.0 2.0 3.5 77.7 16.1 -0.6 73.3 -68.8 59.2 -26.7 38.0 74.9 1.0 1.5 2.0


2) 12,054.511 11,064.605 91.79 ที่มา : รายงาน MIS ระบบจัดการข้อมูลสารสนเทศ (NEW GFMIS Thai) ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565


16 กราฟผลการเบิกจ่ายผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่ายสะสม ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือนสิงหาคม 2565 ที่มา : รายงาน MIS ระบบจัดการข้อมูลสารสนเทศ (NEW GFMIS Thai) ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565 กราฟผลการเบิกจ่ายผลการเบิกจ่ายงบประมาณงบลงทุน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่ายสะสม ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือนสิงหาคม 2565 ที่มา : รายงาน MIS ระบบจัดการข้อมูลสารสนเทศ (NEW GFMIS Thai) ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565 26.18 58.34 63.23 68.21 72.08 76.37 79.61 86.16 87.17 88.86 92.07 30.00 51.00 72.00 93.00 0 25 50 75 100 ผลการเบิกจ่าย เป้าหมายการเบิกจ่าย 0.22 23.19 22.92 24.72 26.99 34.02 41.60 53.17 63.09 68.90 76.45 13.00 29.00 46.00 75.00 0 25 50 75 100 ผลการเบิกจ่าย เป้าหมายการเบิกจ่าย


17 2.2 จ านวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ ในปี 2565 คาดว่ามีจ านวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ รวมทั้งสิ้น 1,852 คัน (เท่ากับที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่ามีจ านวนทั้งสิ้น 1,852 คัน) เนื่องจาก ปัญหาภาวะเงินเฟ้อและราคาพลังที่ปรับตัวสูงขึ้นส่งผลต่อก าลังซื้อของผู้บริโภค ส าหรับปี 2566 คาดว่ามีจ านวน รถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ รวมทั้งสิ้น 1,926 คัน จ านวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (คัน) 2.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดขายส่ง ขายปลีกฯ ในปี 2565 คาดว่าสามารถจัดเก็บภาษีเงินได้ เพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 2.3 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.8 - 2.8ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 อยู่ที่ร้อยละ 2.2) เนื่องจากประชาชนจับจ่ายใช้สอยกลุ่มสินค้าในชีวิตประจ าวันเพิ่มขึ้น ส่วนหนึ่งจากมาตรการ กระตุ้นก าลังซื้อการบริโภคภายในประเทศของภาครัฐ เช่น โครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 5 โครงการเพิ่มก าลังซื้อ ให้แก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ระยะที่ 5 และโครงการเพิ่มก าลังซื้อให้แก่ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ระยะที่ 3 จูงใจท าให้เกิดการจับจ่ายใช้สอยภายในประเทศเพิ่มมากขึ้น ส าหรับปี 2566 คาดว่าภาษีมูลค่าเพิ่มหมวด ขายส่ง ขายปลีกฯ เพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 2.5 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.0 - 3.0 ต่อปี) อัตราการขยายตัวของภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดขายส่ง ขายปลีกฯ (ร้อยละ) 956 1,519 1,631 2,677 3,150 2,022 1,796 1,952 2,071 2,485 2,397 1,971 1,850 1,852 1,852 1,926 9.3 6.7 14.2 7.4 7.6 -4.1 0.9 12.3 14.9 -11.6 18.8 6.6 7.4 2.2 2.3 2.5


18 2.4 จ านวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ในปี 2565 คาดว่ามีจ านวนรถจักรยานยนต์ จดทะเบียนใหม่ รวมทั้งสิ้น 10,821 คัน (ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่า มีจ านวนทั้งสิ้น 10,778 คัน) เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปีก่อนที่มีจ านวนทั้งสิ้น 10,767 คัน เนื่องจากการขยายตัวของ ธุรกิจ delivery และรายได้เกษตรกรที่ปรับตัวดีขึ้นส่งผลให้มีก าลังซื้อเพิ่มขึ้น ส าหรับปี 2566 คาดว่ามีจ านวน รถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ รวมทั้งสิ้น 11,145 คัน จ านวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (คัน) 2.5 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน ในปี 2565 คาดว่าปริมาณการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเล็กน้อย จากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 4.3 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.8 - 4.8 ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 4.2) เนื่องจากสอดคล้องกับเศรษฐกิจของประเทศที่เริ่มปรับตัวดีขึ้น จากการผ่อนคลายมาตรการต่าง ๆ เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 ประกอบกับสภาพภูมิอากาศที่ร้อนขึ้น ท าให้ประชาชนใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ส าหรับปี 2566 คาดว่าปริมาณการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 5.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.5 - 5.5 ต่อปี) อัตราการขยายตัวของปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน (ร้อยละ) 11,656 13,873 14,030 14,816 13,830 11,117 11,689 10,964 11,235 11,519 11,058 9,876 10,767 10,778 10,821 11,145 7.7 10.7 0.3 6.4 3.0 -0.8 6.6 5.4 1.4 1.1 8.1 8.1 4.5 4.2 4.3 5.0


19 2.6 ปริมาณสินเชื่อเพื่อการลงทุน ในปี 2565 คาดว่ามีปริมาณสินเชื่อเพื่อการลงทุนรวมทั้งสิ้น 4,490.6 ล้านบาท ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 1.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.5 - 1.5 ต่อปี) เนื่องจากภาครัฐมีมาตรการ การเงินการคลังเพื่อสนับสนุนการลงทุนในประเทศ ผู้ประกอบการเริ่มคลายความกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์ การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และระบบธนาคารมีความเข้มแข็ง โดยมีเงินกองทุนเงินส ารอง และสภาพคล่องอยู่ในระดับสูงที่เป็นกลไกส าคัญในการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อรองรับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ส าหรับปี 2566 คาดว่ามีปริมาณสินเชื่อเพื่อการลงทุนรวมทั้งสิ้น 4,587.1 ล้านบาท ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 2.1 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.7 - 2.7 ต่อปี) ปริมาณสินเชื่อเพื่อการลงทุน (ล้านบาท) 2.7 พื้นที่อนุญาตก่อสร้างรวม ในปี 2565 คาดว่าพื้นที่อนุญาตก่อสร้างรวม อยู่ที่ร้อยละ 3.5 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.0 - 4.0 ต่อปี ลดลงจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 4.3) ส าหรับปี 2566 คาดว่าพื้นที่อนุญาตก่อสร้างรวม อยู่ที่ร้อยละ 4.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.5 - 4.5ต่อปี อัตราการขยายตัวของพื้นที่อนุญาตก่อสร้างรวม (ร้อยละ) 1,939.3 2,247.6 2,585.2 3,148.1 3,863.8 4,247.6 4,415.1 4,352.1 4,264.4 4,082.8 4,240.9 4,337.9 4,446.1 4,483.9 4,490.6 4,587.1 -43.2 55.1 17.7 10.6 -7.5 41.2 -16.4 51.8 -3.3 -22.0 30.0 -34.1 29.1 4.3 3.5 4.0


20 2.8 จ านวนรถยนต์พาณิชย์จดทะเบียนใหม่ ในปี 2565 คาดว่ามีจ านวนรถยนต์พาณิชย์ จดทะเบียนใหม่ รวมทั้งสิ้น 550คัน (ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่จ านวน 542คัน) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่มีจ านวน 539 คัน ส าหรับปี 2566 คาดว่ามีจ านวนรถยนต์พาณิชย์จดทะเบียนใหม่ รวมทั้งสิ้น 577 คัน จ านวนรถยนต์พาณิชย์จดทะเบียนใหม่ (คัน) 2.9 จ านวนทุนจดทะเบียนธุรกิจนิติบุคคลใหม่ ในปี 2565 คาดว่ามีจ านวนทุนจดทะเบียน รวมทั้งสิ้น 318.5 ล้านบาท (ช่วงคาดการณ์ที่ 317.0 – 320.1 ล้านบาท ปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่จ านวน 313.8 ล้านบาท) เนื่องจากภาครัฐมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีนโยบายสนับสนุนผู้ประกอบการ SMEs ให้เข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ า ส าหรับปี 2566 คาดว่ามีจ านวนทุนจดทะเบียน รวมทั้งสิ้น 328.1 ล้านบาท (ช่วงคาดการณ์ที่ 326.5 –329.7 ล้านบาท) จ านวนทุนจดทะเบียนธุรกิจนิติบุคคลใหม่ (ล้านบาท) 294 170 175 121 247 229 109 88 204 188 487 498 539 542 550 577 53.2 99.1 88.5 370.9 159.7 99.2 122.2 207.7 398.1 205.4 218.9 203.8 312.3 313.8 318.5 328.1


21 2.10 ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดการก่อสร้าง ในปี 2565 คาดว่าขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 2.9 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.4 - 3.4 ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565) เนื่องจากโครงการ ลงทุนของภาครัฐในโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การคมนาคม การพัฒนาแหล่งน้ า และแหล่งท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง ส าหรับปี 2566 คาดว่าภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดการก่อสร้างขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 3.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.5-3.5ต่อปี) อัตราการขยายตัวของภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดการก่อสร้าง (ร้อยละ) 2.11 มูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย ในปี 2565 คาดว่ามูลค่าการค้าชายแดนผ่านจุดผ่านแดน ถาวรบ้านฮวก ขยายตัวจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 2.2 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.7 - 2.7 ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้น จากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 2.1) คาดว่า ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจาก จังหวัดพะเยาได้มีการเปิดการเดินทางเข้า – ออกของบุคคลและพาหนะ และมีการผ่อนปรนให้มีการน าเข้าหินปูนบด สินค้าเกษตร เช่น ลูกเดือย เมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผ้าปักทอ เป็นต้น และมีการส่งออกสินค้าประเภทน้ ามันเชื้อเพลิง (ทั้งชนิดเบนซิน/ดีเซล) สินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าประเภทวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้น ผ่านจุดผ่านแดนถาวรบ้านฮวก อ าเภอภูซาง จังหวัดพะเยาส าหรับปี 2566 คาดว่าขยายตัวจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 2.8 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.3 –3.3 ต่อปี) อัตราการขยายตัวของมูลค่าการค้าชายแดนเฉลี่ย (ร้อยละ) -1.7 20.0 -11.8 10.9 -3.9 12.5 21.7 21.4 -17.4 -33.3 12.6 -3.7 26.8 2.7 2.9 3.0 -33.6 -5.5 46.9 337.6 -1.4 27.9 53.9 -4.5 -14.9 -50.0 14.1 19.7 251.6 2.1 2.2 2.8


22 3. ด้านรายได้เกษตรกร ในปี 2565 คาดว่าขยายตัวจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 3.6 (ช่วงคาดการณ์ ที่ร้อยละ 2.6 – 4.7 ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 2.9) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนตามราคาผลผลิตพืชหลักที่ส าคัญ เช่น ลิ้นจี่ล าไยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ข้าวเหนียว และยางพารา เป็นส าคัญ เนื่องจากภาครัฐมีการผ่อนคลายมาตรการควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ท าให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่เริ่มกลับมาด าเนินการได้ปกติ แต่ปัญหาของต้นทุนการผลิตโดยเฉพาะ ค่าปุ๋ยเคมี ยังส่งผลกระทบต่อรายได้เกษตรกรเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ดีภาครัฐได้มีนโยบายจากมาตรการช่วยเหลือ เกษตรกร โครงการประกันรายได้ปีการผลิต 2564/65 ส าหรับเกษตรกรที่ปลูกพืชเกษตร 3 ชนิด ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และมันส าปะหลัง พร้อมมาตรการช่วยเหลือคู่ขนาน ส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มมากขึ้น โดยมีรายละเอียดดังนี้ 3.1 ราคาข้าวเจ้าเฉลี่ย ในปี 2565 คาดว่าอยู่ที่ 8,847 บาทต่อตัน (ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าราคาอยู่ที่ 8,739 บาทต่อตัน) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 8,653 บาทต่อตัน เนื่องจากการผ่อนคลายมาตรการต่าง ๆ การส่งเสริมการท่องเที่ยวและบริการ ความต้องการจากตลาดต่างประเทศ ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าวของรัฐบาล และการผลักดันการส่งออกข้าว ไปต่างประเทศ และนโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับโครงการให้ความช่วยเหลือช่วยเหลือเกษตรกร โครงการประกัน รายได้ปีการผลิต 2564/65 ส าหรับเกษตรกรที่ปลูกพืชเกษตร 3 ชนิด ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และมันส าปะหลัง พร้อมมาตรการช่วยเหลือคู่ขนาน ส าหรับปี 2566 คาดว่าราคาข้าวเจ้าเฉลี่ยอยู่ที่ 9,113 บาทต่อตัน ราคาข้าวเจ้าเฉลี่ย (บาท/ตัน) 16,159 12,607 16,400 15,553 15,151 10,384 9,522 8,918 10,616 12,407 11,025 10,786 8,653 8,739 8,847 9,113


23 3.2 ราคาข้าวเหนียวเฉลี่ย ในปี 2565 คาดว ่าอยู ่ที ่ 7,419 บาทต ่อตัน (ปรับเพิ่มขึ้นจาก ที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าราคาอยู่ที่ 7,383 บาทต่อตัน) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 7,346 บาทต่อตัน) เนื่องจากการผ่อนคลายมาตรการต่าง ๆ การส่งเสริมการท่องเที่ยวและบริการ ความต้องการ จากตลาดต่างประเทศยังคงมีอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าวของรัฐบาล และการผลักดัน การส่งออกข้าวไปต่างประเทศ และนโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับโครงการให้ความช่วยเหลือช่วยเหลือเกษตรกร โครงการประกันรายได้ปีการผลิต 2564/65 ส าหรับเกษตรกรที่ปลูกพืชเกษตร 3 ชนิด ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และมันส าปะหลัง พร้อมมาตรการช่วยเหลือคู่ขนาน ส าหรับปี 2566 คาดว่าราคาข้าวเหนียวเฉลี่ยอยู่ที่ 7,679 บาทต่อตัน ราคาข้าวเหนียวเฉลี่ย (บาท/ตัน) 3.3 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย ในปี 2565 คาดว่าอยู่ที่ 6,779 บาทต่อตัน (ปรับเพิ่มขึ้น จากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าราคาอยู่ที่ 6,762 บาทต่อตัน) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่ราคาเฉลี่ย อยู่ที่ 6,598 บาทต่อตัน เนื่องจากความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากการขยายตัว ของภาคอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ ประกอบกับสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย - ยูเครน ส่งผลให้ราคา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และวัตถุดิบอาหารสัตว์อื่น ๆ มีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย ส าหรับปี 2566 คาดว่าราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เฉลี่ยอยู่ที่ 7,050 บาทต่อตัน ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย (บาท/ตัน) 7,308 7,200 7,209 13,804 13,215 10,077 8,817 9,292 6,541 8,077 12,998 9,928 7,346 7,383 7,419 7,679 5,306 8,204 5,852 5,992 4,846 5,223 6,168 4,506 4,391 5,825 5,313 5,671 6,598 6,762 6,779 7,050


24 3.4 ราคาล าไยเฉลี่ย ในปี 2565 คาดว่าอยู่ที่ 14,064 บาทต่อตัน (ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าราคาอยู่ที่ 14,030 บาทต่อตัน) ปรับเพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 13,621 บาทต่อตัน เนื่องจากภาครัฐมีมาตรการช่วยเหลือในการกระจายและควบคุมคุณภาพสินค้าเกษตร เช่น เพิ่มช่องทางการจัดจ าหน่ายสินค้าเกษตรเพื่อกระจายผลผลิตออกนอกแหล่งผลิต โดยขอความร่วมมือไปรษณีย์ไทย มาช่วยในการจัดส่งผลไม้ฟรีหรือราคาที่ประหยัดการผลักดันให้น าผลไม้จ าหน่ายบนแพลตฟอร์มออนไลน์ส าหรับ ปี 2566 คาดว่าราคาล าไยเฉลี่ยอยู่ที่ 14,486 บาทต่อตัน ราคาล าไยเฉลี่ย (บาท/ตัน) 3.5 ราคาลิ้นจี่เฉลี่ย ในปี 2565 คาดว่าอยู่ที่ 24,242 บาทต่อตัน ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าราคาอยู่ที่ 24,127 บาทต่อตัน) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 23,088 บาทต่อตัน เป็นผลมาจากภาครัฐมีมาตรการช่วยเหลือในการกระจายและควบคุมคุณภาพสินค้าเกษตร เช่น เพิ่มช่องทาง การจัดจ าหน่ายสินค้าเกษตร เพื่อกระจายผลผลิตออกนอกแหล่งผลิต โดยขอความร่วมมือไปรษณีย์ไทยมาช่วย ในการจัดส่งผลไม้ฟรีหรือราคาที่ประหยัด การผลักดันให้น าผลไม้จ าหน่ายบนแพลตฟอร์มออนไลน์ รวมทั้งจังหวัด มีการวางแผนผลิตและการตลาดที่ดี และเกษตรกรผลิตลิ้นจี่คุณภาพมากขึ้น (ลิ้นจี่ห่อ) ตามแผนบริหารจัดการ และแผนปฏิบัติงานลิ้นจี่ ปี 2565 จังหวัดพะเยา ส าหรับปี 2566 คาดว่าราคาลิ้นจี่เฉลี่ยอยู่ที่ 24,848 บาทต่อตัน ราคาลิ้นจี่เฉลี่ย (บาท/ตัน) 5,488 18,125 11,873 17,658 17,390 9,613 26,896 21,709 9,548 17,689 16,048 16,048 13,621 14,030 14,064 14,486 3,971 13,114 14,953 19,960 41,178 16,887 29,169 38,000 24,243 19,033 40,000 26,959 23,088 24,127 24,242 24,848


25 3.6 ราคายางพาราเฉลี่ย ในปี 2565 คาดว่าอยู่ที่ 23,806 บาทต่อตัน (ปรับเพิ่มขึ้นจาก ที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าราคาอยู่ที่ 23,399 บาทต่อตัน) สูงกว่าปีก่อนที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 23,225 บาทต่อตัน จากมาตรการการแก้ไขปัญหาราคายางเร่งด่วนที่ยังคงด าเนินการอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ โครงการประกันรายได้ชาวสวนยางเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยาง (เจ้าของสวน ผู้เช่า ผู้ท า และคนกรีดยาง) การเพิ่มปริมาณการใช้ยางพาราในการแปรรูปยางพาราเป็นผลิตภัณฑ์หรือที่ใช้เป็นส่วนผสมต่าง ๆ ใช้ในประเทศ เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออก และช่วยลดผลกระทบจากความผันผวนของระดับราคายาง เช่น โครงการสนับสนุน สินเชื่อผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง โครงการสนับสนุนสินเชื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนแก่ผู้ประกอบกิจการยาง (ยางแห้ง) โครงการสนับสนุนสินเชื่อเงินทุนหมุนเวียนแก่สถาบันเกษตรกรเพื่อรวบรวมยาง ส าหรับปี 2566 คาดว่า ราคายางพาราเฉลี่ยอยู่ที่ 24,520 บาทต่อตัน ราคายางพาราเฉลี่ย (บาทต่อตัน) 79,292 96,242 75,197 81,004 44,831 28,000 22,057 21,567 25,890 16,641 19,062 17,382 23,225 23,399 23,806 24,520


26 4. ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจจังหวัดพะเยา ด้านระดับราคา ในปี 2565 คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 5.5 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ ที่ร้อยละ 5.0 –6.0ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 5.0 ต่อปี) โดยมีปัจจัย จากสถานการณ์ราคาสินค้าอุปโภคบริโภค กลุ่มพลังงาน น้ ามันชื้อเพลิง สินค้าในหมวดอาหาร และเครื่องดื่ม ไม่มีแอลกอฮอล์ ปรับสูงขึ้นตามต้นทุนการผลิตและราคาวัตถุดิบ ส าหรับปี 2566 คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ ร้อยละ 5.0 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.5 –5.5 ต่อปี) อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (ร้อยละ) ด้านการจ้างงาน ในปี 2565 คาดว่ามีการจ้างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ ที่ร้อยละ 1.7 – 2.5 ต่อปี ปรับเพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ ณ เดือนมิถุนายน 2565 ที่คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 1.3) เนื่องจากการฟื้นตัวของภาคท่องเที่ยว ประกอบกับด้านตลาดแรงงานปรับตัวดีขึ้นสอดคล้องกับเศรษฐกิจ โดย จ านวนผู้ว่างงานและเสมือนว่างงานปรับลดลงเข้าใกล้ระดับก่อนสถานการณ์โควิด – 19 มากขึ้น ส าหรับปี 2566 คาดว่ามีการจ้างงานเพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 2.9 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.5 – 3.4 ต่อปี) ตามการขยายตัว ของการผลิตภาคบริการ ภาคเกษตร และภาคอุตสาหกรรม อัตราการจ้างงาน (ร้อยละ) 6.4 -0.3 0.4 -1.8 -23.7 -2.0 -6.2 0.4 4.7 0.2 -2.5 -5.7 1.0 1.3 2.1 2.9 0.8 10.3 7.5 5.3 4.4 1.5 -0.4 2.1 0.9 -0.5 1.1 -0.8 -0.5 5.0 5.5 5.0


27


นิยามตัวแปรและการคำนวณในแบบจำลองเศรษฐกิจจังหวัดพะเยา GPP constant price หมายถึง ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐาน GPP current prices หมายถึง ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีปัจจุบัน GPPS หมายถึง ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐาน ด้านอุปทาน GPPD หมายถึง ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐาน ด้านอุปสงค์ API หมายถึง ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคเกษตร IPI หมายถึง ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคอุตสาหกรรม SI หมายถึง ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคบริการ Cp Index หมายถึง ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน Ip Index หมายถึง ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน G Index หมายถึง ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐบาล Xm Index หมายถึง ดัชนีมูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย GPP Deflator หมายถึง ระดับราคาเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดพะเยา CPI หมายถึง ดัชนีราคาผู้บริโภคจังหวัดพะเยา PPI หมายถึง ดัชนีราคาผู้ผลิตระดับประเทศ Inflation rate หมายถึง อัตราเงินเฟ้อจังหวัดพะเยา Farm Income Index หมายถึง ดัชนีรายได้เกษตรกร Population หมายถึง จำนวนประชากรของจังหวัดพะเยา Employment หมายถึง จำนวนผู้มีงานทำของจังหวัดพะเยา %yoy หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน Base year หมายถึง ปีฐาน (2548 = 100) Min หมายถึง สถานการณ์ที่คาดว่าเลวร้ายที่สุด Consensus หมายถึง สถานการณ์ที่คาดว่าจะเป็นได้มากที่สุด Max หมายถึง สถานการณ์ที่คาดว่าดีที่สุด การคำนวณดัชนี ดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจด้านอุปทาน (Supply Side หรือ Production Side : GPPS) ประกอบด้วย 3 ดัชนีได้แก่ (1) ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคบริการ (SI) น้ำหนัก 0.62416 (2) ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคเกษตร (API) น้ำหนัก 0.30605 (3) ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (IPI) น้ำหนัก 0.06979


29 น้ำหนักของแต่ละดัชนีมาจากการหาสัดส่วนมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาปีปัจจุบัน ของเครื่องชี้เศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตร) เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม (สาขาเหมืองแร่สาขาการผลิต สาขาไฟฟ้า และสาขาการจัดหาน้ำฯ) และเครื่องชี้เศรษฐกิจภาคบริการ (14 สาขา ตั้งแต่สาขาก่อสร้าง ถึง สาขากิจกรรมบริการด้านอื่นๆ) จากข้อมูล GPP แบบ Top down (สศช.) เทียบกับ GPP รวม ณ ราคาปีปัจจุบัน (สศช.) จัดทำขึ้นเพื่อใช้คาดการณ์ภาวะการผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ ของจังหวัดพะเยา เป็นรายเดือน โดยคำนวณจากดัชนีปริมาณผลผลิตภาคเกษตรกรรม : API (Q) ภาคอุตสาหกรรม : IPI (Q) และ ภาคบริการ : SI (Q) อนุกรมเวลาย้อนหลังไปถึงปี พ.ศ. 2548 (ปีฐาน) ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคเกษตรกรรม (Agriculture Production Index : API (Q)) • ประกอบไปด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 9 ตัว คือ - ปริมาณผลผลิตข้าวเจ้าเฉลี่ย น้ำหนัก 0.35619 - ปริมาณผลผลิตข้าวเหนียวเฉลี่ย น้ำหนัก 0.21191 - ปริมาณผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย น้ำหนัก 0.18592 - ปริมาณผลผลิตยางพาราเฉลี่ย น้ำหนัก 0.10704 - ปริมาณผลผลิตลำไยเฉลี่ย น้ำหนัก 0.07383 - ปริมาณผลผลิตลิ้นจี่เฉลี่ย น้ำหนัก 0.01383 - ปริมาณผลผลิตโคเฉลี่ย น้ำหนัก 0.01740 - ปริมาณผลผลิตสุกรเฉลี่ย น้ำหนัก 0.03120 - ปริมาณผลผลิตปลานิลเฉลี่ย น้ำหนัก 0.00268 • โดยเครื่องชี้ทุกตัวได้ปรับฤดูกาล (Seasonal Adjusted : SA) แล้ว การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ API (Q) ให้น้ำหนักของเครื่องชี้จากสัดส่วนมูลค่าเพิ่มจาก เครื่องชี้ ณ ราคาปัจจุบัน กับข้อมูลพืชเศรษฐกิจจากสำนักงานเกษตรจังหวัดพะเยา และสัตว์เศรษฐกิจจากสำนักงาน ปศุสัตว์จังหวัดพะเยา ถ่วงน้ำหนักตามคู่มือการจัดทำ MC ของสำนักงานคลังเขต 5 ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production Index : IPI) • ประกอบไปด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 3 ตัว คือ - ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม น้ำหนัก 0.36330 - จำนวนทุนจดทะเบียนโรงงานอุตสาหกรรม น้ำหนัก 0.32793 - จำนวนโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัด น้ำหนัก 0.30876


30 น้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ IPI มาจากการหาค่าเฉลี่ยของเครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรมรายปี และ GPP แบบ Top down (สศช.) ณ ราคาปัจจุบัน ภาคอุตสาหกรรม (สาขาเหมืองแร่ สาขาการผลิต สาขาไฟฟ้า และสาขา การจัดหาน้ำฯ) จากนั้นหาสัดส่วนเครื่องชี้เทียบกับ GPP ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคบริการ (Service Index : SI) • ประกอบไปด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 6 ตัว คือ - ผลการเบิกจ่ายงบบุคลากร กระทรวงศึกษา พะเยา น้ำหนัก 0.37632 - ยอดขายหมวดขายส่ง ขายปลีกฯ น้ำหนัก 0.32551 - ปริมาณเงินฝากรวม น้ำหนัก 0.22982 - จำนวนผู้โดยสารผ่านสถานีขนส่ง น้ำหนัก 0.05652 - ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรมและภัตตาคาร น้ำหนัก 0.00591 - จำนวนนักท่องเที่ยว น้ำหนัก 0.00591 น้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ SI มาจากการหาสัดส่วนของ GPP สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขา กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย และสาขาการศึกษา ณ ราคาปีปัจจุบัน (สศช.) เทียบกับ GPP รวมภาคบริการ ณ ราคาปีปัจจุบัน (สศช.) หารด้วยจำนวนเครื่องชี้ในด้านนั้นๆ ดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจด้านอุปสงค์(Demand Side : GPPD) • ประกอบไปด้วย 4 ดัชนีได้แก่ - ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน (CPI) น้ำหนัก 0.27577 - ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน (IPI) น้ำหนัก 0.26667 - ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐ (G) น้ำหนัก 0.25977 - ดัชนีมูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย (XM) น้ำหนัก 0.19780 น้ำหนักของแต่ละดัชนี มาจากการหาค่าเฉลี่ยของแต่ละดัชนี เทียบกับ GPP แบบ Top down ณ ราคาปัจจุบัน (สศช.) จัดทำขึ้นเพื่อใช้คาดการณ์ภาวะการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชน การลงทุน การใช้จ่ายภาครัฐ และมูลค่า การค้าชายแดนเฉลี่ยเป็นรายเดือน โดยคำนวณจากดัชนีภาวะการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชน : Cp Index การลงทุน : Ip Index การใช้จ่ายภาครัฐ : G Index และมูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย : Xm Index อนุกรมเวลา ย้อนหลังไปถึงปี พ.ศ. 2548 (ปีฐาน)


31 ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน (Private Consumption Index : Cp Index) • ประกอบไปด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 6 ตัว คือ - ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดการขายส่ง ขายปลีกฯ น้ำหนัก 0.31148 - ปริมาณรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ น้ำหนัก 0.27781 - ปริมาณการจำหน่ายเบียร์ น้ำหนัก 0.16254 - ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ น้ำหนัก 0.10911 - ปริมาณการใช้ไฟฟ้าของครัวเรือน น้ำหนัก 0.09084 - ปริมาณการจำหน่ายสุรา น้ำหนัก 0.04823 น้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ Cp Index มาจากการหาค่าเฉลี่ยที่แปลงค่าเป็นหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วใช้สัดส่วนมูลค่าเครื่องชี้ฯ เทียบกับมูลค่ารวมของเครื่องชี้ทั้งหมด ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน (Private Investment Index : Ip Index) • ประกอบไปด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 5 ตัว คือ - ปริมาณสินเชื่อเพื่อการลงทุน น้ำหนัก 0.95511 - พื้นที่อนุญาตก่อสร้างรวม น้ำหนัก 0.02501 - ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดการก่อสร้าง น้ำหนัก 0.00945 - ปริมาณรถยนต์เพื่อการพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ น้ำหนัก 0.00589 - ทุนจดทะเบียนธุรกิจนิติบุคคลใหม่ น้ำหนัก 0.00455 น้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ Ip Index มาจากการหาค่าเฉลี่ยที่แปลงค่าเป็นหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วใช้สัดส่วนมูลค่าเครื่องชี้ฯ เทียบกับมูลค่ารวมของเครื่องชี้ทั้งหมด ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐ (Government Expenditure Index : G Index) • ประกอบไปด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 3 ตัว คือ - รายจ่ายประจำ น้ำหนัก 0.75761 - รายจ่ายลงทุน น้ำหนัก 0.20269 - รายจ่ายเหลื่อมปี น้ำหนัก 0.03970 น้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ G Index มาจากการหาค่าเฉลี่ยที่แปลงค่าเป็นหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วใช้สัดส่วนมูลค่าเครื่องชี้ฯ เทียบกับมูลค่ารวมของเครื่องชี้ทั้งหมด


(ln(GPP)) โดยที่ Emp = จำนวนผู้มีงานทำจำแนกตามอุตสาหกรรมและเพศของจังหวัดพะเยา (ข้อมูล Website สำนักงานสถิติแห่งชาติซึ่งใช้ปี2548 – 2561) GPP = ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาคงที่ข้อมูลจาก สศช. ซึ่งใช้ปี2548 – 2562 หน่วยงานผู้สนับสนุนข้อมูลในการประมาณการเศรษฐกิจประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนในจังหวัด จังหวัดพะเยาขอขอบคุณหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนข้อมูล


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.