รายงานประจำปี 2565 Flipbook PDF


48 downloads 103 Views 11MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

สารจากสานักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย ส ำนั ก งำนสหก รณ์ จั ง ห วั ด ห นอง ค ำย จั ด ท ำ ร ำ ย ง ำ น ผ ล ก ำ ร ป ฏิ บั ติ ง ำน ป ร ะจ ำ ปี งบประมำณ พ .ศ.2565 เพื่ อรำย งำนผลก ำร ด ำเนิ น กำรปฏิ บั ติ ง ำนตำมภำรกิ จ ในกำรก ำกั บ ดู แ ล ตรวจสอบ แนะน ำส่ ง เสริ ม และพั ฒนำกำร ด ำเนิ น งำน ขอ งส ห กร ณ์ แ ล ะก ลุ่ ม เก ษ ต ร ก ร ให้ มี ค วำมเข้ ม แข็ ง เป็ น ศู น ย์ ก ลำงกำรให้ บ ริ ก ำร เป็ น ที่ พึ่ งพำแก่ ม วลสมำชิ ก และสร้ ำ งกำรรั บ รู้ บทบำทหน้ำ ที่ ภำรกิ จ ของกรมส่ ง เสริม สหกรณ์ นโยบำยสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แ ละง ำน ต ำมยุ ท ธ ศ ำส ต ร์ จั ง ห วั ด ห น อง ค ำย แ ก่ ห น่ ว ย ง ำน ภ ำค รั ฐ อ ง ค์ ก ร เอ ก ช น แ ล ะ ปร ะชำชนทั่ ว ไป ให้ รั บ รู้ แ ละเข้ ำ ใจ ใน ห ลั ก ก ำร อุ ด ม ก ำ ร ณ์ แ ล ะ วิ ธี ก ำ ร ส ห ก ร ณ์ ภ ำ ย ใต้ สถำนกำรณ์ทีเ่ ปลี่ยนแปลง Next Normal จำกสถำนกำรณ์ กำรแพร่ ร ะบำดของโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนำ 2019 (Covid–19) ได้ส่งผลกระทบต่อกำรปฏิบัติงำนของสำนักงำนสหกรณ์จังหวัดหนองคำยอยู่บ้ำง แต่ผลกำร ปฏิ บั ติ ง ำนในรอบปี ที่ ผ่ ำ นมำ งำนส่ ง เสริ ม สหกรณ์ แ ละ กำรปฏิ บั ติ ง ำนตำมแผนปฏิ บั ติ ง ำน ประสบผลสำเร็จตำมแผนเป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้ ด้วยควำมเสียสละ ควำมวิริยะ อุตสำหะ ร่วมมื อ ร่วมใจ สมัค รสมำนสำมั คคี ของข้ำรำชกำร ลูก จ้ำงและพนักงำนรำชกำรทุ กคน ได้ด ำเนิ นกำร พั ฒ นำตน พั ฒ นำงำน เพื่ อให้ ง ำนที่ ไ ด้ รั บ มอบหมำยส ำเร็ จ และเพื่ อให้ ส ถำบั น เกษตรกร ในจังหวัดหนองคำยเป็นกลไกลขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมในระดับฐำนรำกอย่ำงแท้จริง ขอขอบคุ ณ ทุ ก ท่ำน รวมทั้ งหน่ว ยงำนที่เกี่ ยวข้อ งที่ไ ด้ ให้ ก ำรสนับ สนุ น และมี ส่ วนร่ว ม ในกำรผลั ก ดั น งำนของส ำนั ก งำนสหกรณ์ จั ง ห วั ด หนองคำยและกรมส่ ง เสริ ม สหกรณ์ เป็ น อย่ ำ งดี ทั้ ง นี้ เ พื่ อควำมเข้ ม แข็ ง ของสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรเพื่ อเป็ น ที่ พึ่ งของ มวลสมำชิกได้อย่ำงยั่งยืน

นำงวนิดำ อำมำตย์ทัศน์ สหกรณ์จังหวัดหนองคำย มกรำคม 2565

บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) รำยงำนผลกำรด ำเนิ น งำนของส ำนั ก งำนสหกรณ์ จั ง หวั ด หนองคำย ได้ จั ดท ำขึ้ น เพื่ อแสดงผลกำรดำเนินงำนในรอบปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 โดยแสดงถึงผลกำรดำเนินงำน ภำยใต้นโยบำยของกรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นโยบำยรัฐบำล และ นโยบำยของจั งหวั ดหนองคำย เพื่ อขับ เคลื่อนสหกรณ์ และกลุ่ม เกษตรกรให้ มีค วำมเข้ม แข็ ง สมำชิกมีรำยได้และคุณภำพชีวิตที่ดีขึ้น สำนักงำนสหกรณ์ จังหวัดหนองคำย มีอัตรำกำลัง จำนวน 52 รำย ได้แก่ ข้ำรำชกำร จำนวน 23 รำย ลู กจ้ ำงประจำ จำนวน 5 รำย พนั ก งำนรำชกำร จ ำนวน 17 รำย พนั กงำน จ้ำงเหมำบริกำร จำนวน 5 รำย และพนักงำนรักษำควำมปลอดภั ย 2 รำย ซึ่ งกำรขับเคลื่อ น กำรด ำเนิ น งำนแผนงำนและโครงกำร ประกอบด้ ว ย 1) กลุ่ ม จั ด ตั้ ง และส่ ง เสริ ม สหกรณ์ 2) กลุ่มส่งเสริม และพั ฒ นำกำรบริหำรกำรจัด กำรสหกรณ์ 3) กลุ่ มส่งเสริมและพั ฒนำธุรกิ จ สห ก รณ์ 4) กลุ่ มต รว จก ำร สห ก รณ์ 5) ฝ่ ำย บริ ห ำร ทั่ ว ไป 6) กลุ่ มส่ ง เสริ ม สห กร ณ์ จำนวน 2 กลุม ่ คือ (1) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 รับผิดชอบพื้ นที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง หนองคำย อำเภอโพนพิ สั ย อำเภอเฝ้ ำ ไร่ และอ ำเภอรั ต นวำปี (2) กลุ่ ม ส่ ง เสริ ม สหกรณ์ 2 รั บ ผิ ด ชอบพื้ นที่ 5 อ ำเภอ ได้ แ ก่ อ ำเภอศรี เชี ย งใหม่ อ ำเภอท่ ำ บ่ อ อ ำเภอสระใคร อ ำเภอ รัตนวำปี และอำเภอสังคม ทั้ง นี้ได้ ด ำเนิ นงำนตำมโครงกำรส ำคั ญ ตำมแผนกำรปฏิบั ติ ง ำน จ ำนวน 6 แผนงำน ได้แก่ 1. แผนงำนบุคลำกำรภำครัฐ ➢ สนั บ สนุ น กำรปฏิ บั ติ ง ำนแนะน ำ ส่ ง เสริ ม พั ฒ นำและก ำกั บ สหกรณ์ / ก ลุ่ ม เก ษ ต ร ก ร ให้ เข้ มแ ข็ ง ร ว ม ทั้ ง ขั บ เค ลื่ อน ง ำน ต ำม ภ ำร กิ จ ฯให้ มี ประสิทธิภำพและประสิทธิผล 2. แผนงำนพื้ นฐำนด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน ➢ ส่งเสริมและพั ฒนำสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3. แผนงำนยุทธศำสตร์เสริมสร้ำงพลังทำงสังคม ➢ โครงกำรขั บ เคลื่ อ นปรัช ญำของเศรษฐกิ จ พอเพี ยง ในสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร ➢ โครงกำร ส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมสหกรณ์ นั ก เรี ย นในโรงเรี ย นเพี ยงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนรำชกัญญำ สิริวัฒนำพรรณวดี ➢ โค ร ง ก ำ ร ส่ ง เส ริ ม กิ จ ก ร ร ม ส ห ก ร ณ์ นั ก เรี ย น ต ำ ม พ ร ะร ำ ช ด ำ ริ ส ม เด็ จ พ ร ะก นิ ษ ฐ ำธิ ร ำช เจ้ ำ ก ร ม ส ม เด็ จ พ ร ะเท พ รั ต น ร ำช สุ ด ำ ฯ สยำมบรมรำชกุมำรี โครงกำรคลินิก...

➢ โครงกำรคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระรำชำนุเครำะห์ สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำชฯ สยำมมกุฎรำชกุมำร ➢ เงินอุดหนุนก่อสร้ำงอำคำรกิจกรรมนักเรียนฯโรงเรียนเพี ยงหลวง 13 ➢ เงินอุดหนุนปรับปรุงอำคำรกิจกรรมนักเรียนอำโอยำม่ำ 2 4. แผนงำนบูรณำกำรพั ฒนำและส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำก ➢ โครงกำรส่งเสริมและพั ฒนำอำชีพเพื่ อแก้ไขปัญหำที่ดินทำกินของเกษตรกร ➢ โครงกำรส่งเสริมกำรพั ฒนำระบบตลำดภำยในสำหรับสินค้ำเกษตร 5. แผนงำนยุ ท ธศำสตร์ เพื่ อสนั บ สนุ น ด้ ำนกำรสร้ ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำง สังคม ➢ โครงกำรช่วยเหลื่อด้ำนหนี้สินสมำชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ➢ โครงกำรพั ฒนำทักษะในกำรประกอบอำชีพเพื่ อสร้ำงรำยได้ 6. แผนงำนยุทธศำสตร์กำรเกษตรสร้ำงมูลค่ำ ➢ โครงกำรพั ฒนำศักยภำพกำรดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและ ธุรกิจชุมชน ทั้งนี้ ผลกำรขับเคลื่อนต้ องดำเนินไปตำมหลักเกณฑ์และเกิดสิ่งที่ดีต่อสหกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกร และรวมถึ ง กำรร่ ว มแรงร่ ว มใจในกำรท ำงำนของเจ้ ำ หน้ ำที่ ส่ ง เสริ ม สหกรณ์ บุ ค ลำกรของหน่ ว ยงำนทุ ก ท่ ำนตลอดจน กำรบู ร ณำกำรในกำรปฏิ บั ติ ง ำนกั บ ทุ ก ภำคส่ ว น จำกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร เครือข่ำยสหกรณ์ กลุ่มอำชีพ หน่วยงำนภำครัฐ และภำคเอกชน ได้เป็นอย่ำงดี โดยอำศัยหลักกำร วิธีกำร อุดมกำรณ์สหกรณ์ มุ่งเน้นส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรให้เข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกัน ทันต่อกำรควำมเปลี่ยนแปลงอย่ำงยั่งยืน รวมทั้ง เพื่ อเป็นพลัง สำคัญในกำรพั ฒนำประเทศต่อไป

สารบัญ สำรผู้บริหำรหน่วยงำน ทำเนียบบุคลำกร บทสรุปผู้บริหำร สารบัญ ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1.1 วิสัยทัศ พั นธกิจ อำนำจหน้ำที่

2

1.2 แนวทำงกำรขับเคลื่อนงำน/โครงกำรที่สอดคล้องกับแผนระดับ 3 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์

3

1.3 โครงสร้ำงและกรอบอัตรำกำลังประจำปี 2565

4

1.4 งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

5

1.5 สรุปข้อมูลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอำชีพในสังกัดสหกรณ์ ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน

9 17

2.1 ผลกำรดำเนินงำนตำมแผนปฏิบัติงำนและงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2565 และงบประมำณอื่นที่หน่วยงำนได้รับ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้ นฐำนด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน แผนยุทธศำสตร์กำรเกษตรสร้ำงมูลค่ำ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน

23 54

ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนยุทธศำสตร์เสริมสร้ำงพลังทำงสังคม แผนยุทธศำสตร์เพื่ อสนับสนุนด้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก แผนบูรณำกำรและส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำก 2.2 ผลกำรดำเนินงำน/โครงกำรตำมนโยบำยสำคัญ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

57 63 66 68

2.3 รำงวัลที่หน่วยงำนได้รับจำกหน่วยงำนภำคส่วนต่ำงๆ ภำยนอก ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพั นธ์งานสหกรณ์ฯ และสร้างภาพลักษณ์หรือวัฒนธรรมองค์กร ส่วนที่ 4 รายงานข้อมูลงบการเงิน (ณ วันที่ 30 กันยายน 2565)

72 74 80

ส่วนที่ 5 ภาคผนวก

88

ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

2

วิสัยทัศ พั นธกิจ อานาจหน้าที่ วิสัยทัศน์ (Vision) “ส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรทั่วไปรู้จก ั การรวมกลุม ่ เพื่ อให้เกิดความเข้มแข็งแลเพิ่ มช่องทางการตลาด”

พั นธกิจ (Mission) เสริมสร้างความรู้

สนับสนุนเชื่อมโยง

ด้านการรวมกลุ่ม เพื่ อพั ฒนาเกษตรกร

ภาคเอกชนและสถาบัน

เครือข่ายระหว่าง

เพิ่ มช่องทางการตลาด ของสินค้าเกษตร

เกษตรกร

อานาจหน้าที่ (Authority)

1 2 3

ดำเนินกำรตำมกฎหมำยว่ำด้วยสหกรณ์ กฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดซื้อที่ดินเพื่ อกำรครอง ชีพ และกฎหมำยอื่นที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมและพั ฒนำสหกรณ์ทุกประเภท กลุ่มสหกรณ์ และกลุ่มลักษณะอื่น ส่งเสริมเผยแพร่และให้ควำมรูเ้ กี่ยวกับอุดมกำรณ์ หลักกำร และวิธีกำรสหกรณ์ให้แก่ บุคลำกร สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชำชนทัว ่ ไป

4

ส่งเสริมและพั ฒนำธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มลักษณะอื่น

5

ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ ได้รับมอบหมำย

6

ศึกษำ วิเครำะห์ วิจัย เพื่ อพั ฒนำระบบสหกรณ์

7

ส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองระบบสหกรณ์

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

3

แนวทางการขับเคลื่อนงาน/ โครงการที่สอดคล้องกับ แผนระดับ3 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ รวมถึ งนโยบาย และทิศทางการพั ฒนาจังหวัดในระดับพื้ นที่

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

4

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

5

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

โครงสร้างและกรอบอัตรากาลัง ประจาปี 2565

6

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

7

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

8

งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบประมาณรายจ่าย งบประมาณ งบประมาณ (แยกตามยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณ) ที่ได้รับโอน ทีเ่ บิกจ่าย ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร ➢ แผนงานบุคลากร 4,886,581.80 4,886,581.80 ➢ แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการ 2,838,900.20 2,838,900.20 แข่งขัน ➢ แผนยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า 118,700.00 118,700.00 ยุทธศาสตร์ชาติด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม ➢ แผนยุทธศาสตร์ด้านเสริมสร้างพลังทางสังคม 682,600.00 682,600.00 ➢ แผนยุทธศาสตร์เพื่ อสนับ สนุน ด้านการสร้างโอกาส 2,151,529.70 2,151,529.70 และความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก ➢ แผนบู รณาการพั ฒนาพัฒ นาและส่งเสริม เศรษฐกิ จ 26,145.00 25,590.00 ฐานราก รวมงบประมาณทั้งหมด 10,704,456.70 10,703,901.70

คิดเป็น ร้อยละ

100.00 100.00 100.00

100.00 100.00

97.88 99.99

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

9

สรุปข้อมูลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพ ประจาปี พ.ศ. 2565 ข้อมูลสหกรณ์ จานวนสหกรณ์และจานวนสมาชิกสหกรณ์ จำนวนสหกรณ์ (แห่ง)

ประเภทสหกรณ์ 1. สหกรณ์การเกษตร 2. สหกรณ์ประมง 3. สหกรณ์นิคม 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 5. สหกรณ์ร้านค้า 6. สหกรณ์บริการ 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน รวม

58 1 5 4 1 4 73

สมาชิกทั้งหมด (คน) 57,760 14,631 914 90 3,233 76,628

จำนวนสมาชิก สมาชิกสามัญ สมาชิกสมทบ (คน) (คน) 55,552 2,208 13,664 967 817 97 90 3,233 73,356 3,272

ที่มา : กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มส่งเสริมพัฒนาธุรกิจสหกรณ์

สถานะของสหกรณ์ จำนวนสหกรณ์ (แห่ง) ประเภทสหกรณ์

ดำเนินงาน/ ธุรกิจ

1. สหกรณ์การเกษตร 2. สหกรณ์ประมง 3. สหกรณ์นิคม 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 5. สหกรณ์ร้านค้า 6. สหกรณ์บริการ 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน รวม

(1) 49 5 3 1 4 62

ที่มา : กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์

หยุด ดำเนินงาน/ ธุรกิจ (2) -

เลิก /ชำระบัญชี

จัดตั้งใหม่

(3) 9 1 1 11

(4) -

จำนวนสหกรณ์ ทั้งหมด (1)+(2)+(3)+(4) 58 1 5 4 1 4 73

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

10

สถานะทางการเงินของสหกรณ์ สถานะทั่วไปทางการเงินของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ทุนดำเนินงาน ทุนเรือนหุ้น สินทรัพย์ หนี้สิน ทุนของสหกรณ์

ประเภทสหกรณ์ 1.สหกรณ์การเกษตร 2.สหกรณ์ประมง 3.สหกรณ์นิคม 4.สหกรณ์ออมทรัพย์ 5.สหกรณ์ร้านค้า 6.สหกรณ์บริการ 7.สหกรณ์เครดิตยูเนีย่ น รวมทั้งสิ้น

391,888,150.00 6,807,163,410.00 10,856,330.00 398,300.00 44,767,237.00

1,404,995,612.42 15,824,221,728.25 17,295,987.45 6,109,963.79 102,576,312.53

912,096,680.61 7,550,983,228.39 4,432,053.75 5,851,845.84 54,470,873.00

7,255,073,427.00

17,355,199,604.44

8,527,834,681.59

492,898,931.81 8,273,238,499.86 12,863,933.70 258,117.95 48,105,439.53 8,827,364,922.85

ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ ประเภท สหกรณ์

ปริมาณ ธุรกิจ ของ สหกรณ์ (แห่ง)

1.สหกรณ์ การเกษตร 2.สหกรณ์ ประมง 3.สหกรณ์ นิคม 4.สหกรณ์ออม ทรัพย์ 5.สหกรณ์ ร้านค้า 6.สหกรณ์ บริการ 7.สหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน

49

รวมทั้งสิ้น

62

0 0 5 3 1 4

ปริมาณธุรกิจแยกตามประเภทการให้บริการ (บาท)

รับฝากเงิน

ให้เงินกู้

จัดหาสินค้ามา จำหน่าย

รวบรวม ผลผลิต

แปรรูป ผลผลิต

บริการ/อื่น ๆ

รวมทั้งสิ้น

698,225,986.02

776,259,550.92

410,452,558.79

2,404,994,376.19

47,403,401.40

12,461,080.65

4,349,796,953.97

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

2,946,949,765.81

6,852,966,059.27

-

-

-

-

9,799,915,825.08

-

-

18,616,117.68

-

6,168,336.49

349,039.00

25,133,493.17

-

-

-

-

-

-

-

27,689,634.37

121,500,510.06

-

-

-

94,500.00

149,284,644.43

3,672,865,386.20

7,750,726,120.25

429,068,676.47

2,404,994,376.19

53,571,737.89

12,904,619.65

14,324,130,916.65

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

11

ผลการดาเนินงานของสหกรณ์ ผลการดำเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทสหกรณ์

1.สหกรณ์ การเกษตร 2.สหกรณ์ ประมง 3.สหกรณ์ นิคม 4.สหกรณ์ออม ทรัพย์ 5.สหกรณ์ ร้านค้า 6.สหกรณ์ บริการ 7.สหกรณ์เครดิต ยูเนีย่ น รวมทั้งสิ้น

ผลการดำเนินงานในภาพรวม จำนวน สหกรณ์ (แห่ง) 49 0 0 5 3 1 4 62

รายได้ (บาท)

การดำเนินงานมีกำไร จำนวน สหกรณ์ กำไร (บาท) (แห่ง)

ค่าใช้จ่าย (บาท)

การดำเนินงานขาดทุน จำนวน สหกรณ์ ขาดทุน (บาท) (แห่ง)

ภาพรวม กำไร(ขาดทุน) สุทธิ(บาท)

1,070,059,551.21

1,130,032,242.95

43

33,960,264.19

6

61,084,100.13

(27,176,948.87)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

966,901,078.21

385,267,494.28

5

581,633,583.93

-

-

581,633,583.93

24,312,675.77

23,938,297.40

2

376,615.05

1

43,469.05

333,146.00

495,906.53

1,016,295.02

1

520,388.49

(520,388.49)

7,564,951.54

6,940,695.82

3

884.012.26

1

218,380.20

624,255.72

2,063,028,486.55

1,508,134,838.26

53

615,970,463.17

9

61,866,337.87

554,893,648.29

ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ เปรียบเทียบ 3 ปี (ปี 2563 – 2565) ระดับชั้น ระดับชั้น ระดับชั้น ระดับชั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 ณ วันที่ 30 กันยายน ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 (แห่ง/ร้อยละ) 2564 (แห่ง/ร้อยละ) (แห่ง/ร้อยละ) 7 แห่ง/ร้อยละ 10.14 6 แห่ง/ร้อยละ 8.22 9 แห่ง/ร้อยละ 12.33 ชั้น 1 48 แห่ง/ร้อยละ 69.57 55 แห่ง/ร้อยละ 75.34 52 แห่ง/ร้อยละ 71.23 ชั้น 2 4 แห่ง/ร้อยละ 5.80 2 แห่ง/ร้อยละ 2.74 1แห่ง/ร้อยละ 1.37 ชั้น 3 10 แห่ง/ร้อยละ 14.49 10 แห่ง/ร้อยละ 13.70 11 แห่ง/ร้อยละ 15.07 ชั้น 4 69 แห่ง/ร้อยละ 100 73 แห่ง/ร้อยละ 100 73 แห่ง/ร้อยละ 100 รวม ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

12

ข้อมูลกลุ่มเกษตรกร จานวนกลุ่มเกษตรกรและจานวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร จำนวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง)

จำนวนสมาชิก จำนวนสมาชิกที่มี รวม สมาชิก สมาชิก ส่วนร่วมในการ ดำเนินธุรกิจ ประเภทกลุ่มเกษตรกร สมาชิก สามัญ สมทบ (คน) ทั้งหมด (คน) (คน) (คน) 1. กลุ่มเกษตรกรทำนา 11 2,214 2,214 633 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 4 479 479 86 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 208 208 53 4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ 6 574 574 214 23 3,475 3,475 รวม 986 ที่มา : กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มส่งเสริมพัฒนาธุรกิจสหกรณ์

ร้อยละ 28.59 17.95 25.48 37.28 28.37

สถานะกลุ่มเกษตรกร จำนวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) ดำเนินงาน/ หยุด เลิก ประเภทกลุ่มเกษตรกร ธุรกิจ ดำเนินงาน/ /ชำระบัญชี ธุรกิจ (1) (2) (3) 1. กลุ่มเกษตรกรทำนา 11 5 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 4 1 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 1 4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ 6 2 5. กลุ่มเกษตรกรทำประมง 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ) รวม 23 ที่มา : กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์

-

9

จัดตั้งใหม่

จำนวนกลุ่ม เกษตรกรทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4)

(4) -

16 5 3 8 32

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

13

ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร ปริมาณธุรกิจแยกตามประเภทการให้บริการ (บาท) ประเภท กลุ่มเกษตรกร 1.กลุ่มเกษตรกร ทำนา 2.กลุ่มเกษตรกร ทำสวน 3.กลุ่มเกษตรกร เลี้ยงสัตว์ 4.กลุ่มเกษตรกร ทำไร่ 5.กลุ่มเกษตรกร ทำประมง 6.กลุ่มเกษตรกร อื่นๆ รวมทั้งสิ้น

ปริมาณธุรกิจของ กลุ่มเกษตรกร (แห่ง)

รับ ฝาก เงิน

จัดหาสินค้ามา จำหน่าย

ให้เงินกู้

รวบรวม ผลผลิต

แปรรูป ผลผลิต

บริการและ อื่น ๆ

รวมทั้งสิ้น

11

-

5,029,000.00

1,031,250.00

-

-

-

6,060,250.00

4

-

1,622,000.00

-

-

-

-

1,622,000.00

2

-

1,805,000.00

411,655.00

-

-

2,960.00

2,219,615.00

6

-

5,845,000.00

-

-

-

-

5,845,000.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

23

- 14,301,000.00

1,442,905.00

-

-

2,960.00 15,746,865.00

ผลการดาเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ผลการดำเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ประเภทกลุ่ม เกษตรกร

1. กลุ่มเกษตรกรทำ นา 2. กลุ่มเกษตรกรทำ สวน 3. กลุ่มเกษตรกร เลี้ยงสัตว์ 4. กลุ่มเกษตรกรทำ ไร่ 5. กลุ่มเกษตรกรทำ ประมง 6. กลุ่มเกษตรกร อื่น ๆ (ระบุ) รวมทั้งสิ้น

ผลการดำเนินงานในภาพรวม

การดำเนินงานมีกำไร จำนวน กลุ่ม กำไร(บาท) เกษตรกร (แห่ง)

การดำเนินงานขาดทุน จำนวน กลุ่ม ขาดทุน เกษตรกร (บาท) (แห่ง)

ภาพรวม กำไร(ขาดทุน)สุทธิ (บาท)

จำนวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง)

รายได้(บาท)

ค่าใช้จ่าย (บาท)

12

1,208,034.75

1,023,167.82

11

193,391.99

1

8,525.06

184,866.93

3

48,028.23

142,933.07

2

43,658.27

1

138,563.11

(94,904.84)

2

303,856.32

279,816.48

2

24,039.84

-

-

24,039.84

6

135,751.09

18,930.59

5

74,257.13

1

42,563.37

60,839.52

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

23

1,695,670.39

1,464,847.96

189,651.54

174,841.45

20

335,347.23

3

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

14

ผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกรจาแนกตามประเภท ประเภทสหกรณ์ 1. กลุ่มเกษตรกรทำนา 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ 5. กลุ่มเกษตรกรทำประมง 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ) รวม

กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 1 -

กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 2 11 4 2 6 23

กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 3 -

กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 4 5 1 1 2 9

กราฟแสดงผลการจัดระดับชั้นกลุม่ เกษตรกร ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565

รวม 16 5 3 8 32

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I

15

ข้อมูลกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ จานวนสมาชิกกลุ่มอาชีพภายในจังหวัดหนองคาย ที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

อำเภอ เมือง สระใคร ท่าบ่อ ศรีเชียงใหม่ สังคม โพธิ์ตาก โพนพิสัย เฝ้าไร่ รัตนวาปี รวมทั้งสิ้น

จำนวน กลุ่ม อาชีพ 7 1 3 3 2 1 1 4 2 24

จดทะเบียน วิสาหกิจ ชุมชน (แห่ง) 5 1 3 2 1 3 2 17

จำนวน สมาชิก (ราย)

อาหาร

200 25 107 118 70 17 65 124 93 819

4 1 2 3 2 1 1 14

ประเภทผลิตภัณฑ์ ของใช้ ผ้าและ และของ สมุนไพร เครื่องแต่งกาย ตกแต่ง 1 2 1 1 3 1 5 4

อื่นๆ 1 1

ผลิตภัณฑ์ จากตารางแสดงให้เห็นว่า จำนวนกลุ่มอาชีพในจังหวัดหนองคายแยกออกเป็น 9 อำเภอปัจจุบัน มีกลุ่มอาชีพที่ดำเนินธุรกิจจำนวน 24 กลุ่ม มีสมาชิกทั้งหมด 819 ราย การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนมีก ลุ่ม อาชีพที่จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนทั้งหมด 17 กลุ่มโดยแยกเป็นอำเภอที่จดทะเบียนวิสาหกิจ ชุมชนมาก ที่สุดคืออำเภอเมืองหนองคาย จำนวน 5 กลุ่มคิดเป็นร้อยละ 29.14 รองลงมาคืออำเภอท่อบ่อและอำเภอเฝ้าไร่ จำนวน 3 กลุ่มคิดเป็นร้อยละ 17.64 และอำเภอศรีเชียงใหม่และอำเภอรัตนวาปี จำนวน 2 กลุ่มคิดเป็นร้อยละ 11.76 ในส่วนของการแยกประเภทผลิตภัณฑ์ประเภทอาหารมีจำนวนกลุ่มอาชีพมากที่สุดคือ 14 กลุ่มคิดเป็น ร้อยละ 58.33 รองลงมาคือประเภทผ้าและเครื่องแต่งกายจำนวน 5 กลุ่มคิดเป็นร้อยละ 20.83 และประเภท ของใช้และของตกแต่งจำนวน 4 กลุ่มคิดเป็นร้อยละ 16.66

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 16

ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธิข ์ องการปฏิบัติงาน

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 17

ผลการด าเนิ น งานตามแผนปฏิ บั ติ ง านและงบประมาณ รายจ่ ายประจ าปี ง บประมาณ พ.ศ. 2565 และงบประมาณ อื่นที่หน่วยงานได้รับ

แผนงาน/ผลผลิต/ กิจกรรม

เป้าหมาย (หน่วยนับ)

ผลการ ดำเนินงาน หน่วยนับ

ร้อยละ

งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร+ โอนเพิ่ม บาท

ผลการเบิกจ่าย บาท

หมายเหตุ

ร้อยละ

1.แผนงาน : บุคลากรภาครัฐ ผลผลิต : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นกลไกการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชุมชน กิจกรรมหลัก ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ กิ จ กรรมรองบุ ค ลากร 31 31 100 4,886,581.80 4,886,581.80 100 ภ า ค รั ฐ ก ร ม ส่ ง เ ส ริ ม อัตรา อัตรา สหกรณ์ 2.แผนงาน : แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต: สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก: ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิ จ กรรมรอง ส่ ง เสริ ม 85 85 100 2,828,900.00 2,828,900.00 100 และพั ฒ นาสหกรณ์ / กลุ่ ม แห่ง แห่ง เก ษ ต ร ก ร ใ ห้ มี ค ว า ม เข้มแข็งตามศักยภาพ 3.แผนงานยุทธศาสตร์แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการ พัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลัก ส่งเสริมเกษตรแปรรูปในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง พัฒนาศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่า กิ จ กรรมที่ 1 ส่ ง เสริ ม 1 1 100 118,700.00 118,700.00 100 และสนั บสนุ นให้ สหกรณ์ / แห่ง แห่ง ก ลุ่ ม เ ก ษ ต ร ก ร น ำ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม การแปรรูปสินค้าเกษตรมา ใช้ ใ นการแปรรู ป ผลผลิ ต สร้างความหลากหลายของ สิ น ค้ า รวมทั้ ง การพั ฒ นา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ค ว า ม ต้องการของตลาด

รำยงำนประจำปี 2565

แผนงาน/ผลผลิต/ กิจกรรม

Annual Report 2022 I 18

เป้าหมาย (หน่วยนับ)

ผลการ ดำเนินงาน หน่วยนับ

ร้อยละ

งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร+ โอนเพิ่ม บาท

ผลการเบิกจ่าย บาท

กิ จ กรรมที่ 2 พั ฒ นา 4 4 ศั ก ยภาพและเพิ่ ม ทั ก ษะ แห่ง แห่ง ด้านการผลิต การรวบรวม การแปรรู ป รวมทั้ ง การ บริหารจัดการการผลิตและ การตลาดแก่สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร/กลุ่มอาชีพ 4.แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอั นเนื่องมาจากพระราชดำริ กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์อันเนื่องมาจากพระราชดำริ 1 .ง า น / โ ค ร ง ก า ร 1 1 100 10,300.00 10,300.00 ส่ ง เสริ ม กิ จกรรมสหกรณ์ โรงเรียน โรงเรียน นั ก เรี ย นในโรงเรี ย นเพี ย ง หลวง ในทู ลกระหม่ อ ม หญิ ง อุ บ ลรั ต นราชกั ญ ญา สิริวัฒนาพรรณวดี 2 .โค ร งก าร ค ลิ ก นิ ก 4 4 100 9,100.00 9,100.00 เ ก ษ ต ร เ ค ลื่ อ น ที่ ใ น ครั้ง ครั้ง พระราชานุเคราะห์ สมเด็จ พ ระบ รมโอรส าธิ ร าช ฯ สยามมกุฏราชกุมาร 3. งาน/โครงการ 1 1 100 9,620,.00 9,620,.00 กิจกรรม ส่งเสริมการ โรงเรียน โรงเรียน ดำเนินโครงการส่งเสริม กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ในโรงเรียนภายใต้โครงการ พัฒนาเด็กและเยาวชนใน ถิ่นทุรกันดาร ตาม พระราชดำริสมเด็จพระ กนิษฐาธิราชเจ้ากรม สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี(กพด.) 4.โครงการขับเคลื่อน 5 5 100 1,900.00 1,900.00 ปรัชญาของเศรษฐกิจ แห่ง แห่ง พอเพียง ในสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร 5 .โค ร งก าร ส่ งเส ริ ม 81 81 100 การเกษตรตามแนวทาง ราย ราย ทฤษฎีใหม่ในสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร

หมายเหตุ

ร้อยละ

100

100

100

100

-

-

รำยงำนประจำปี 2565

แผนงาน/ผลผลิต/ กิจกรรม

Annual Report 2022 I 19

เป้าหมาย (หน่วยนับ)

ผลการ ดำเนินงาน หน่วยนับ

6. เงินอุด หนุ นก่อสร้าง อาคารกิ จกรรมนั กเรี ย นฯ โรงเรียนเพียงหลวง 13 7.เงินอุ ดหนุ นปรับ ปรุ ง อาคารกิจกรรมนั กเรียนอา โอยาม่า 2

ร้อยละ

งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร+ โอนเพิ่ม บาท

ผลการเบิกจ่าย บาท

1 โรงเรียน

1 โรงเรียน

450,000.00

450,000.00

1 โรงเรียน

1 โรงเรียน

200,000.00

200,000.00

หมายเหตุ

ร้อยละ

5.แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 1.โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตกร กิจกรรมหลัก: ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิ จ ก ร ร ม เ บิ ก แห่ง/ราย 7 แห่ง 100 2,124,689.70 2,124,689.70 100 จ่ า ยเงิ น อุ ด หนุ น เพื่ อ 4,874ราย ชดเชยดอกเบี้ ย ให้ แ ก่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เฉพาะเป้าหมาย 2.โครงการพั ฒ นาทั กษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้ างรายได้ (นำลูกหลานเกษตรกรกลับ บ้าน สานต่ ออาชีพ การเกษตร) กิจกรรมหลัก นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร กิจกรรม ส่งเสริม 18 18 100 2,560.00 2,560.00 100 ผู้เข้าร่วมโครงการ ราย ราย สามารถพัฒนาทักษะ ในการประกอบอาชีพ การเกษตรได้ เข้าถึง องค์ความรู้ด้านการ ผลิต สามารถสร้าง อาชีพการเกษตรอย่าง ยั่งยืน ให้เกิดความ มั่นคงในการประกอบ อาชีพการเกษตร

รำยงำนประจำปี 2565

แผนงาน/ผลผลิต/ กิจกรรม

Annual Report 2022 I 20

เป้าหมาย (หน่วยนับ)

ผลการ ดำเนินงาน หน่วยนับ

ร้อยละ

งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร+ โอนเพิ่ม บาท

ผลการเบิกจ่าย บาท

หมายเหตุ

ร้อยละ

6.แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินทำกินของเกษตรกร กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร กิ จ ก รรม ส่ งเส ริ ม 2 2 100 8,700.00 8,175.00 93.96 สมาชิ ก สหกรณ์ /กลุ่ ม พื้นที่ พื้นที่ เก ษต รก ร เพื่ อ แก้ ไ ข ปั ญ หาที่ ดิ น ทำกิ น ของ เกษตรกร โครงการ ส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก พัฒนากลไกการตลาดเพื่อเพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิ จ ก ร ร ม ก า ร 3 3 100 5,100.00 5,100.00 100 แ น ะ น ำ ส่ ง เ ส ริ ม แห่ง แห่ง สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ ผ่ าน ก ารวิ เ คราะ ห์ ศั ก ยภาพและมี ค วาม พร้ อ มในด้ า นการผลิ ต และการตลาดเพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการบริหาร จั ด ก า ร ต ล า ด สิ น ค้ า เกษตรและการเชื่อมโยง เครือข่าย เพื่อให้เกิดการ ขับ เคลื่ อ น จากการจั ด ประชุมเชิงปฏิบัติการ ฯ ครั้งที่ 2 กิจกรรม จัดประชุม 3 3 100 12,900.00 12,870.00 99.76 เชิงปฎิบัติการวางระบบ แห่ง แห่ง บริหารจัดการผลผลิต การเกษตรระดับจังหวัด

คืนงบฯ 525.-

คื น งบ ฯ 30.-

รำยงำนประจำปี 2565

แผนงาน/ผลผลิต/ กิจกรรม

Annual Report 2022 I 21

เป้าหมาย (หน่วยนับ)

ผลการ ดำเนินงาน หน่วยนับ

ร้อยละ

งบประมาณ ทีไ่ ด้รับจัดสรร+ โอนเพิ่ม บาท

ผลการเบิกจ่าย บาท

ร้อยละ

โครงการตามนโยบายที่สำคัญ 1 .โ ค ร ง ก า ร 3 3 100 - สนับ สนุนการรวบรวม หน่วยงาน หน่วยงาน และการกระจายผลไม้ เพื่อยกระดับราคาฯ 2.โครงการส่งเสริม 8 แห่ง 8 แห่ง 100 2,800.00 2,800.00 100 เกษตรแปลงใหญ่ ข อง กรมส่งเสริมสหกรณ์ 3 .เงิ น กู้ ก อ ง ทุ น แห่ง/ราย 26 100 35,628,000.00 35,628,000.00 100 พัฒนาสหกรณ์ แห่ง 683 ราย ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 ที่มา ฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย

หมายเหตุ

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 22

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 23

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 1. งานแนะนำส่งเสริม พัฒนาและกำกับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ อำเภอเมื อ ง ,อำเภอโพนพิ สัย ,อำเภอเฝ้าไร่,อำเภอรัต นวาปี ) จำนวน 52 แห่ ง จำนวนสหกรณ์ 37 แห่ ง และกลุ่มเกษตรกร 15 แห่ง งบประมาณที่ได้รับ 232,400.00 บาท ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด หน่วยนับ 1.สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1และ 2 อย่างน้อยร้อยละ 90 แห่ง 2.กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 25 แห่ง 3.สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แห่ง 4.กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แห่ง 5.กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 แห่ง 6.อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร แห่ง กิจกรรมที่ดำเนินการ 1.แนะนำ ส่งเสริม และพั ฒ นาสหกรณ์ และกลุ่ม เกษตรกรตาม แห่ง แผนการแนะนำส่งเสริม พั ฒ นา และกำกับ ดูแลสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชีเดือน ส.ค.64แห่ง ก.ค.65 ปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี ระหว่างเดือน แห่ง มี.ค.64- ก.พ.65 ประชุมใหญ่สามัญ ภายใน 150 วัน กิจกรรมกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1.เข้าแนะนำ ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ แห่ง 2.การตรวจการสหกรณ์ แห่ง งานพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.ส่งเสริมด้านความสามารถในการให้บริการสมาชิก แห่ง 2.ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ แห่ง 3.ส่ง เสริม ด้ านประสิท ธิ ภ าพการจัด การองค์ก ร (การควบคุ ม แห่ง ภายใน) 4. ส่ ง เสริ ม ด้ า นประสิ ท ธิ ภ าพของการบริ ห ารงาน แก้ ไ ข แห่ง ข้อบกพร่องของสหกรณ์

แผน ผล 34 37 4 30 34 13 14 3 3 +15.2

ร้อยละ 108.80 0 113 108 -

52

52

100

52

52

100

52

52

100

37 37

37 37

100 100

52 52 52

30 36 20

57.69 69.23 38.46

52

49

44.28

รำยงำนประจำปี 2565

ผลที่คาดว่าจะได้รับ สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 (อำเภอ เมื องหนองคาย อำเภอโพนพิ สัย อำเภอเฝ้าไร่แ ละ อำเภอรัตนวาปี) มีสมาชิกสหกรณ์ 63,205 คน โดย ที่ ส มาชิ ก มี ส่ ว นร่ ว มในการดำเนิ น ธุ ร กิ จ จำนวน 35,003 คน คิดเป็นร้อยละ 55.39 สหกรณ์มีผลกำไร จำนวน 598,489,671.61 บาท และสหกรณ์สามารถ แก้ไขข้อบกพร่องได้แล้วเสร็จ จำนวน 1 แห่ง มูลค่า ความเสียหายที่สามารถแก้ไขได้ จำนวน 86,813.42 บาท สหกรณ์ มี ค วามเข้ ม แข็ ง อยู่ ใ นระดั บ ชั้ น 1 จำนวน 7 แห่ ง แยกเป็ นสหกรณ์ ภ าคการเกษตร จำนวน 2 แห่ง คือสหกรณ์การเกษตรเมืองหนองคาย จำกั ด และสหกรณ์ ก ารเกษตรสร้า งนาขาว – ทุ่ ง หลวง จำกัด สหกรณ์นอกภาค จำนวน 4 แห่งคือ 1.สหกรณ์ออมทรัพย์ครูหนองคาย จำกัด 2.สหกรณ์ ออมทรัพย์สาธารณสุขหนองคาย จำกั ด 3.สหกรณ์ ออมทรัพ ย์ตำรวจภู ธรหนองคาย จำกั ด 4.สหกรณ์ ออมทรัพ ย์โรงพยาบาลหนองคาย จำกัด สหกรณ์มี ความเข้มแข็งอยู่ในระดับชั้นที่ 2 จำนวน 30 แห่ง

Annual Report 2022 I 24

กลุ่ ม เกษตรกรในพื้ น ที่ ก ลุ่ ม ส่ ง เสริม สหกรณ์ 1 (อำเภอเมืองหนองคาย อำเภอโพนพิสัย อำเภอเฝ้าไร่ และอำเภอรัตนวาปี) มีกลุ่มเกษตร จำนวน 15 แห่ง มี สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 2,500 คน โดยที่สมาชิกมีส่วน ร่วมในการดำเนินธุร กิ จ จำนวน 1,230 คน คิดเป็ น ร้ อ ยละ 49.22 กลุ่ ม เกษตรกรมี ผ ลกำไร จำนวน 252,815.09 บาท และผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน จำนวน 14 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 93.33 ปริมาณธุรกิจเพิ่มร้อย ละ 15.2 กลุ่มเกษตรมีความเข้มแข็ง ตามศักยภาพ 4 ด้ า น โดยกลุ่ ม เกษตรกรนเขตพื้ น ที่ มี ผ ลการจั ด ระดั บ ชั้ น ความเข็ ม แข็ ง ให้ มี ค วามเข้ ม แข็ ง อยู่ ใ น ระดับชั้น 2 ทั้ง 15 แห่ง

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์ขาดเล็ก เงินทุนในการดำเนินธุรกิจ ไม่เพียงพอ การเข้าถึงแหล่งเงินภายนอกมีข้อจำกัดมาก ทำให้สหกรณ์ไม่มีทุนมากพอในการดำเนินธุรกิจ 2. การเพิ่ ม ปริม าณธุร กิ จ ในสหกรณ์ ข นาดเล็ก ทำได้ ยาก เนื่อ งจากสหกรณ์ มี ข้อ จำกั ด เรื่อ งการ บริหารงานของคณะกรรมการ เข้าถึงแหล่งเงินทุน ไม่มีเจ้าหน้าที่ จัดทำบัญชี 2. คณะกรรมการดำเนินการ ยังขาดความรู้ ความสามารถในการบริหารงานสหกรณ์ และยังไม่เข้าใจ ในบทบาท หน้าที่ของตนเอง 3. การดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ส่วนใหญ่มี เพียง ธุรกิจเดียวคือธุรกิจสินเชื่อ เมื่อเกิดสถานการณ์แพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 19 (COVID - 19) ส่งผลต่อรายได้ของสมาชิก สมาชิกไม่สามารถมาชำระหนี้กับ สหกรณ์ ส่งผลให้สหกรณ์มีหนี้ค้างชำระ ส่งผลให้สหกรณ์มีกำไรน้อยลง 4. ผู้ตรวจสอบกิจการ ไม่ได้ปฏิบัติงานตรวจสอบและจัดทำรายงานผลจาการตรวจสอบกิจการให้ที่ ประชุม เนื่องจากผู้ตรวจสอบกิจการยังขาดทักษะด้านการเขียนรายการตรวจสอบกิจการ 5. สมาชิกขาดความรู้ความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกสหกรณ์ 6. ปัญหาจากสภาพแวดล้อมภายนอก และสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 19 (COVID - 19)

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 25

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. แนะนำ ส่ง เสริม คณะกรรมการสหกรณ์ และกลุ่ม เกษตรกรให้ ป ฏิ บัติ ตามข้ อบั ง คับ ระเบี ย บ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง และกำหนดระเบียบให้ครอบคลุมการปฏิบัติงาน ให้มีการรายงานและติดตามผลการ ดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในที่ประชุมประจำเดือนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไป ตามแผนที่กำหนดไว้ 2. แนะนำ ให้คณะกรรมการ และฝ่ายจัดการ เข้ารับการฝึกอบรม กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในด้าน การ บริหารงาน การบริหารธุรกิจ และการตลาดของสหกรณ์ เพื่อให้คณะกรรมการและฝ่า ยจัดการ มีองค์ ความรู้ และทราบถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน 3. แนะนำ ส่งเสริม ให้สหกรณ์มีการดำเนินธุรกิจให้ครอบคลุม สมารถตอบสนองความต้ องการของ สมาชิก เพื่อสามารถ ให้บริการสมาชิกได้ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 4. แนะนำ ส่งเสริม การอบรมให้สมาชิกได้ทราบถึงหลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ บทบาทหน้าที่ ของการเป็นสมาชิกที่ดีเพื่อให้สมาชิกมีความเข้าใจในสหกรณ์มากเพิ่มขึ้น 5. แนะนำ ให้ผู้ตรวจสอบกิจการปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจสอบกิจการ เข้าตรวจสอบการ ดำเนินงานตามขั้นตอนและบันทึ กรายละเอียดเป็นลายลัก ษณ์อัก ษร เพื่อนำเสนอที่ ประชุมคณะกรรมการ ดำเนินการประจำเดือนรับทราบพร้อมทำการแก้ไขและเสนอที่ป ระชุมใหญ่ของสหกรณ์ 6.สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ใช้เป็นตัวอย่างหรือต้นแบบของการใช้แผนแนะนำส่งเสริมฯ ปี 2565 มาใช้ ในการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดหนองคาย จำกัด

กิจกรรมประชุมใหญ่สามัญประจำปีสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดหนองคาย จำกัด สหกรณ์ออมทรัพ ย์ตำรวจภูธรจังหวัดหนองคาย จำกัด จัดตั้งเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2520 ปัจ จุบัน มีสมาชิก 1,271 คน มีทุนดำเนินงาน 763,066,023.74 บาท มี กำไรสุทธิ 34,511,053.12 บาทมีปริมาณธุรกิจ รวมทั้งสิ้น 372,303,968.96 บาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.ธุรกิจสินเชื่อ สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดหนองคาย จำกัด ให้บริการเงินเชื่อแก่สมาชิก 2 ประเภท ได้แก่ เงินกู้สามัญ ร้อยละ 90.06 และเงินกู้ฉุกเฉิน ร้อยละ 9.94 ในระหว่างปีบัญชี สหกรณ์ได้จ่าย เงินกู้ให้สมาชิก จำนวน 340,458,874.65 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ 55.94 2.ธุรกิจเงินรับฝาก สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดหนองคาย จำกัด ให้บริการเงินฝากแก่สมาชิก 2 รูปแบบ ได้แก่ เงินรับฝากออมทรัพย์ จำนวน 32,416,452.23 บาท และเงินรับฝากออมทรัพย์พิเศษ จำนวน 53,623,499.22 บาท รางวัลล่าสุด : สหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่มีผลงานดีเด่น ระดับจังหวัด ประจำปี 2565

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 26

กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ (อำเภอสังคม,อำเภอท่าบ่อ,อำเภอโพธิ์ตาก,อำเภอศรีเชียงใหม่) จำนวน 52 แห่ง จำนวนสหกรณ์ 25 แห่ง และ กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง งบประมาณที่ได้รับ 106,080.00 บาท ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด หน่วยนับ 1.สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1และ 2 อย่างน้อยร้อยละ 90 แห่ง 2.สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แห่ง 4.กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 แห่ง 5.อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ ร้อยละ 6.อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ กิจกรรมที่ดำเนินการ 1.แนะนำ ส่ ง เสริม และพั ฒ นาสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรตาม แห่ง แผนการแนะนำส่ง เสริม พั ฒ นา และกำกั บ ดูแ ลสหกรณ์ /กลุ่ ม เกษตรกรประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชีเดือน ส.ค.64- แห่ง ก.ค.65 ปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญ ชี ระหว่างเดือน แห่ง มี.ค.64- ก.พ.65 ประชุมใหญ่สามัญ ภายใน 150 วัน กิจกรรมกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1.เข้าแนะนำ ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ แห่ง 2.การตรวจการสหกรณ์ แห่ง งานพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.ส่งเสริมด้านความสามารถในการให้บริการสมาชิก แห่ง 2.ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ แห่ง 3.ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) แห่ง 4. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพของการบริหารงาน แก้ไขข้อบกพร่อง แห่ง ของสหกรณ์

แผน 2 23 8 3 3

ผล ร้อยละ 2 100 20 87 7 88 -3.34 31.01

33

33

100

33

32

97

33

32

97

25 25

25 25

100 100

33 33 33 25

33 33 33 25

100 100 100 100

1. สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 (อำเภอศรีเชียงใหม่ อำเภอท่าบ่อ อำเภอสระใคร อำเภอโพธิ์ ตาก และอำเภอสังคม) มี สมาชิก สหกรณ์ 13,748 คน โดยที่ ส มาชิ ก มี ส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิ จ จำนวน 8,380 คน คิดเป็นร้อยละ 61 มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จำนวน 1,790 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 59.27 มีผล กำไรสุท ธิจำนวน 18,650,811.34 บาท และสหกรณ์สามารถแก้ ไขข้อ บกพร่องได้แล้วเสร็จ จำนวน 2 แห่ง สหกรณ์มี ความเข้ม แข็งอยู่ในระดับ ชั้ น 1 จำนวน 3 แห่ง เป็นสหกรณ์ภาคการเกษตร จำนวน 3 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรอ่างเก็บน้ำห้วยบังพวน จำกัด สหกรณ์การเกษตรท่าบ่อ จำกัด และสหกรณ์สวนยางตำบล แก้งไก่ จำกัด สหกรณ์มีความเข้มแข็งอยู่ในระดับชั้นที่ 2 จำนวน 22 แห่ง สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการ ควบคุม ภายในระดับ พอใช้ขึ้นไป จำนวน 12 แห่ง สหกรณ์ มี ป ระสิท ธิภาพในการดำเนินธุร กิ จอยู่ในระดับ มาตรฐานขึ้นไป จำนวน 20 แห่ง สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 19 แห่ง

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 27

2. กลุ่ม เกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริม สหกรณ์ 2 (อำเภอศรีเชียงใหม่ อำเภอท่าบ่อ อำเภอสระใคร อำเภอโพธิ์ตาก และอำเภอสังคม) มีกลุ่มเกษตร จำนวน 8 แห่ง มีสมาชิกกลุ่มเกษตรกรจำนวน 971 คน โดยที่ สมาชิกมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจ จำนวน 241 คน คิด เป็นร้อยละ 24.82 กลุ่มเกษตรกรมี ปริมาณธุรกิ จ จำนวน 9,661,315 บาท ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจำนวน 5,190,000 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 53.76มีผลกำไร สุทธิ จำนวน 155,521.46 บาท กลุ่มเกษตรกรมีผ ลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช้ขึ้นไป จำนวน 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกรมีประสิท ธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ใ นระดับมาตรฐานขึ้นไป จำนวน 7 แห่ง และกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 87.5 ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์ขาดเล็ก เงินทุนในการดำเนินธุรกิจ ไม่เพียงพอ การเข้าถึงแหล่งเงินภายนอกมีข้อจำกัดมาก ทำให้สหกรณ์ไม่มีทุนมากพอในการดำเนินธุรกิจ 2. การเพิ่ ม ปริม าณธุร กิ จ ในสหกรณ์ ข นาดเล็ก ทำได้ ยาก เนื่อ งจากสหกรณ์ มี ข้อ จำกั ด เรื่อ งการ บริหารงานของคณะกรรมการ เข้าถึงแหล่งเงินทุน ไม่มีเจ้าหน้าที่จัดทำบัญชี 2. คณะกรรมการดำเนินการ ยังขาดความรู้ ความสามารถในการบริหารงานสหกรณ์ และยังไม่เข้าใจ ในบทบาท หน้าที่ของตนเอง 3. การดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ส่วนใหญ่มีเพียง ธุรกิจเดียวคือธุรกิจสิน เชื่อ เมื่อเกิดสถานการณ์แพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 19 (COVID - 19) ส่งผลต่อรายได้ของสมาชิก สมาชิกไม่สามารถมาชำระหนี้กับ สหกรณ์ ส่งผลให้สหกรณ์มีหนี้ค้างชำระ ส่งผลให้สหกรณ์มีกำไรน้อยลง 4. ผู้ตรวจสอบกิจการ ไม่ได้ปฏิบัติงานตรวจสอบและจัดทำรายงานผลจาการตรวจสอบกิจการให้ที่ ประชุม เนื่องจากผู้ตรวจสอบกิจการยังขาดทักษะด้านการเขียนรายการตรวจสอบกิจการ 5. สมาชิกขาดความรู้ความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของการเป็นสมาชิกสหกรณ์ 6. ปัญหาจากสภาพแวดล้อมภายนอก และสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 19 (COVID - 19) ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. แนะนำ ส่ง เสริม คณะกรรมการสหกรณ์ และกลุ่ม เกษตรกรให้ ป ฏิ บัติ ตามข้ อบั ง คับ ระเบี ย บ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง และกำหนดระเบียบให้ครอบคลุมการปฏิบัติงาน ให้มีการรายงานและติดตามผลการ ดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในที่ประชุมประจำเดือนอย่ างต่อเนื่อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไป ตามแผนที่กำหนดไว้ 2. แนะนำ ให้คณะกรรมการ และฝ่ายจัดการ เข้ารับการฝึกอบรม กับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ในด้าน การ บริหารงาน การบริหารธุรกิจ และการตลาดของสหกรณ์ เพื่อให้คณะกรรมการและฝ่ายจัดการ มีองค์ ความรู้ และทราบถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน 3. แนะนำ ส่งเสริม ให้สหกรณ์มีการดำเนินธุรกิจให้ครอบคลุ ม สมารถตอบสนองความต้องการของ สมาชิก เพื่อสามารถ ให้บริการสมาชิกได้ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 4. แนะนำ ส่งเสริม การอบรมให้สมาชิกได้ทราบถึงหลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ บทบาทหน้าที่ ของการเป็นสมาชิกที่ดีเพื่อให้สมาชิกมีความเข้าใจในสหกรณ์มากเพิ่มขึ้น 5. แนะนำ ให้ผู้ตรวจสอบกิจการปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจสอบกิจการ เข้าตรวจสอบการ ดำเนินงานตามขั้นตอนและบันทึ กรายละเอียดเป็นลายลัก ษณ์อัก ษร เพื่อนำเสนอที่ ประชุมคณะก รรมการ ดำเนินการประจำเดือนรับทราบพร้อมทำการแก้ไขและเสนอที่ประชุมใหญ่ของสหกรณ์

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 28

สหกรณ์ /กลุ่ม เกษตรกรที่ใช้ เป็ นตัวอย่ า งหรือต้นแบบของการช้ า แผนแนะนำส่งเสริ ม ฯ ปี พ.ศ. 2565 มาใช้ในการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สหกรณ์ภาคเกษตรประจำอำเภอท่าบ่อ “สหกรณ์การเกษตรท่าบ่อ จำกัด”

กิจกรรมประชุมใหญ่สามัญประจำปีสหกรณ์การเกษตรท่าบ่อ จำกัด

กิจกรรมการประชุมประจำเดือนสหกรณ์การเกษตรท่าบ่อ จำกัด

สหกรณ์การเกษตรท่าบ่อ จำกัด นำเงินไปฝากกับสหกรณ์เลีย้ งผึ้งโพรงป่าตำบลพระพุทธบาท จำกัด เป็นการเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างสหกรณ์ในการดำเนินธุรกิจการรวบรวมน้ำผึง้ แก่สหกรณ์ที่ตั้งใหม่และช่วยเหลือ ด้านเงินทุนระหว่างสหกรณ์

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 29

สหกรณ์การเกษตรท่าบ่อ จำกัด ต้อนรับรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่านมนัญญา ไทยเศรษฐ์ ในโอกาสเดินทางมาตรวจราชการ ติดตามการดำเนินงานของสหกรณ์การเกษตรท่าบ่อ จำกัด และชมความสำเร็จของเกษตรกรในโครงการนำลูกหลานเกษตรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร สหกรณ์เกษตรท่าบ่ อ จำกัด ตั้งอยู่เลขที่ 305 หมู่ 6 ถนนมิตรภาพ ตำบลท่าบ่อ อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย 43110 ได้จดทะเบียนจั ดตั้งเป็นสหกรณ์การเกษตรตาม พ.ร.บ สหกรณ์ พ.ศ. 2511 ตาม ทะเบียนที่ กสก.67/2518 เมื่อวันที่ 8 สิ งหาคม 2518 ข้อมูลสหกรณ์สำหรับ ปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มี นาคม 2565ณ ปัจ จุบันสหกรณ์ มี สมาชิกทั้งสิ้นจำนวน 5,788 คน สหกรณ์มี สินทรัพย์ 508,858,074.97 บาท หนี้สิน 312,991,783.14 บาท และทุ นของสหกรณ์ 195,866,291.83 บาท สหกรณ์มี วงเงินกู้ ยืม หรือค้ำประกั น ประจำปี 2566 จำนวน 500,000,000.00 บาท (ห้าร้อยล้านบาทถ้วน) ระหว่างปีสหกรณ์ดำเนินธุรกิจ 5 ด้าน ซึ่งมีป ริมาณธุร กิ จรวมทั้ งสิ้น จำนวน 447,704,389.05 บาท ประกอบด้วย ธุรกิ จสินเชื่อ ธุ รกิจจัดหาสินค้า มาจำหน่าย และธุรกิจรวบรวมผลิตผล และธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตร ธุรกิจเงินรับ ฝาก ดังนี้

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 30

1. ธุรกิจสินเชื่อ สหกรณ์จ่ายเงินกู้ให้ แก่สมาชิกจำนวน 204,722,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 45.73 ของปริมาณธุรกิจทั้งสิ้น ณ วันสิ้นปีบัญชีสหกรณ์มีลูกหนี้เงินให้กู้คงเหลือ จำนวน 334,218,156.47 บาท ลูกหนี้สามารถชำระหนี้ได้ตามกำหนดร้อยละ 80.60 ของต้นเงินถึงกำหนดชำระหว่างปี มีดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้าง รับจำนวน 12,431,303.39 และค่าปรับเงินให้กู้ค้างรับจำนวน 1,419,995.29 มีลูกหนี้ที่ชำระไม่ได้ตามกำหนด คิดเป็นร้อยละ 19.40 ผลการดำเนินงานมีกำไรเฉพาะธุรกิจ จำนวน 20,412,417.33 บาท 2. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ระหว่างปีสหกรณ์จำหน่ายสินค้า ปุ๋ย เมล็ดพันธุ์ อาหารสัตว์ เป็น เงิน 11,482,976.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.56 ของปริมาณธุรกิ จทั้ งสิ้น ผลการดำเนินงานมี กำไรเฉพาะธุรกิ จ จำนวน 232,373.12 บาท 3. ธุ ร กิ จ รวบรวมผลิ ต ผล ระหว่ า งปี ส หกรณ์ ร วบรวมข้ า วเปลื อ กจากสมาชิ ก จำนวน 2,689,415.00 กิโลกรัม เป็นเงิน 16,815,056.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.76 ของปริมาณธุรกิจทั้งสิ้น ผลการ ดำเนินงานขาดทุนเฉพาะธุรกิจ จำนวน 91,065.83 บาท 4. ธุรกิจแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร ระหว่างปีสหกรณ์ดำเนินธุรกิจแปรรูปข้าวเปลือกเป็นการ คัดแยกข้าวเปลือกเพื่อปรับปรุงเมล็ดพันธ์ จำนวน 10,053.00 กิโลกรัม เป็นเงิน 154,980.00 บาท คิดเป็นร้อย ละ 0.03 ของปริมาณธุรกิจทั้งสิ้น ผลการดำเนินงานมีกำไรเฉพาะธุรกิจ จำนวน 45,947.80 บาท 5. ธุ ร กิ จ เงิ น รั บ ฝาก ระหว่ า งปี ส หกรณ์ รั บ ฝากเงิ น จากสมาชิ ก และสหกรณ์ อื่ น จำนวน 214,529,376.80 บาท บาท คิดเป็นร้อยละ 47.92 ของปริมาณธุรกิจทั้ งสิ้น ณ วันสิ้นปีมีเงินรับ ฝากคงเหลือ จำนวน 4,175 บัญชี เป็นเงินจำนวน 276,177,395.66 บาท ซึ่งเงินรับฝากเป็นแหล่งเงินทุนที่สหกรณ์ใช้เป็นทุน เพื่อดำเนินธุรกิจมากที่สุด • ผลการดำเนินงานสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2565 มีกำไรสุทธิ จำนวน 15,126,227.49 บาท • ระดับชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ระดับ ดี • สหกรณ์ผ่านมาตรฐาน ปี 2565 ระดับ ดีเลิศ /สหกรณ์ขนาดใหญ่พิเศษ • โครงสร้างพื้นฐานของสหกรณ์ : มีอปุ กรณ์ทางการตลาดทีย่ ังสามารถใช้ประโยชน์ได้ สหกรณ์การเกษตรท่าบ่อ จำกัด ได้รับการคัดเลือกให้เป็นสหกรณ์ทมี่ ีผลงานดีเด่นระดับจังหวัด ประเภทสหกรณ์การเกษตร ประจำปี พ.ศ. 2565 โดยมีผลการให้คะแนน ดังนี้ (1) ความคิดริเริ่ม 96.33 คะแนน (2) ความสามารถในการบริหารและการจัดการสหกรณ์ 289 คะแนน (3) บทบาทและการมีส่วนร่วมของสมาชิกต่อสหกรณ์ 216 คะแนน (4) ความมั่นคงและฐานะทางเศรษฐกิจของสหกรณ์ 126 คะแนน (5) การทำกิจกรรมด้านสาธารณะประโยชน์ 150 คะแนน และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 31

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 2. การแนะนำ ส่งเสริม และผลักดันสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริม สหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1) เพื่ อ ส่ ง เสริม สหกรณ์ และกลุ่ ม เกษตรกร ให้ มี มาตรฐานเป็ นองค์ก รที่ มี ค วามเข้ม แข็ ง เป็ น ที่ ยอมรับ ของสมาชิกและสังคมได้อย่างยั่งยืน 2) เพื่อกำกับ และส่งเสริมการบริห ารงานสหกรณ์ และกลุ่ม เกษตรกรให้มี ธรรมภิบ าลโปร่งใสและ ตรวจสอบได้

กลุ่มเป้าหมาย 1) สหกรณ์ภาคการเกษตร (นำมาจัดมาตรฐาน 49 แห่ง) 2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร (นำมาจัดมาตรฐาน 13 แห่ง) 3) กลุ่มเกษตรกร (นำมาจัดมาตรฐาน 23 แห่ง)

ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1) สหกรณ์ ภ าคการเกษตรผ่ านเกณฑ์ ม าตรฐาน สหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) สหกรณ์ น อกภาคการเกษตรกรผ่ า นเกณฑ์ มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 82 3) กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานกลุม่ เกษตรกร ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 82

ผลการดำเนินงาน เชิงคุณภาพ : เจ้าหน้าทีส่ ำนักงานสหกรณ์จังหวัด หนองคาย มีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางการพัฒนา และส่งเสริมสหกรณ์ให้ผา่ นหลักเกณฑ์มาตรฐาน สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร เชิงปริมาณ : สหกรณ์ภาคการเกษตรผ่านมาตรฐานสหกรณ์ 44 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 89.80 สหกรณ์นอกภาคการเกษตรผ่านมาตรฐานสหกรณ์ 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 76.92 กลุ่มเกษตรกรผ่านมาตรฐานสหกรณ์ 21 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 91.63

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 32

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3. การแนะนำ ส่งเสริม เกณฑ์ความเข้มแข็ง การมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจกับสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. สมาชิกมี ส่วนร่วมในการใช้บ ริการ/ดำเนินกิจ กรรมร่วมกับ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ของจำนวนสมาชิก 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งและสามารถยกระดับชั้นได้ กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1) สหกรณ์ภาคการเกษตร 49 แห่ง 2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 13 แห่ง 3) กลุ่มเกษตรกร 23 แห่ง ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานตามโครงการ สมาชิก มี ส่วนร่วมในการใช้บ ริก าร/ดำเนิ น กิ จ กรรมร่วมกั บ สหกรณ์ และกลุ่ ม เกษตรกร ไม่ น้ อ ยกว่ า ร้อยละ 60 ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งและสามารถยกระดับชั้นได้ ผลการดำเนินงานตามโครงการ เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ดำเนินกิจกรรมร่วมกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ไม่น้อยกว่าร้อย ละ 60 ของจำนวนสมาชิก 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งและสามารถยกระดับชั้นได้ เชิงปริมาณ สมาชิ ก มี ส่ วนร่ วมในการใช้ บ ริก าร/ดำเนิน กิ จ กรรมร่วมกั บ สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรไม่ น้ อ ยกว่ า ร้อยละ 60 ของจำนวนสมาชิก 1) สหกรณ์ภาคการเกษตร จำนวน 49 แห่ง ทำได้ 33 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 67.35 2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จำนวน 13 แห่ง ทำได้ 12 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 92.31 3) กลุ่มเกษตรกร จำนวน 23 แห่ง ทำได้ 6 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 26.09

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 33

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 4. การแนะนำ ส่งเสริม เกณฑ์ความเข้มแข็ง ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีผลด้านการพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1. สหกรณ์ จำนวน 62 แห่ง 2.กลุ่มเกษตรกร จำนวน 23 แห่ง รวมจำนวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรทั้งหมด 85 แห่ง ตัวชี้วัดความสำเร็จ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีผลด้านการพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจไม่ต่ำกว่าระดับมั่นคงตาม มาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ สหกรณ์มีความเข้มแข็งสามารถยกระดับชั้นได้ การดำเนินงานตามโครงการ 1.จั ดทำฐานข้อ มู ล ของสหกรณ์ /กลุ่ม เกษตรกร เพื่อ เป็น ข้อมู ล พื้ นฐานในการเข้าแนะน ำส่ งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในด้านการพัฒนาประสิทธิภาพและใช้ในการติดตามการรายงานผลฯ 2. แนะนำ ส่ งเสริม สหกรณ์ ให้ได้รับ การพัฒ นาความเข้ม แข็งด้านการพัฒ นาประสิท ธิภาพในการ ดำเนินธุรกิจของสหกรณ์เป้าหมายตามตัวชี้วัดไม่ต่ำกว่าระดับมั่นคงตามมาตรฐาน 3. แนะนำ ส่งเสริม กลุ่มเกษตรกรให้ได้รับการพัฒนาความเข้มแข็งด้านการพัฒนาประสิทธิภาพในการ ดำเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายตามตัวชี้วัดไม่ต่ำกว่าระดับมั่นคงตามมาตรฐาน 4. ติดตามและรายงานแผนการส่งเสริมและพัฒนาความเข้มแข็งด้านการพัฒนาประสิทธิภาพในการ ดำเนินธุรกิจ และรายงานผลในที่ประชุมทราบทุกเดือน ผลการดำเนินงานตามโครงการ เชิงคุณ ภาพ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรมีความเข้ม แข็งด้ านการพัฒ นาประสิท ธิภาพในการดำเนิน ธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ไม่ต่ำกว่าระดับมั่นคงตามมาตรฐาน เชิงปริมาณ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีผลด้านการพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ 3 แห่ง เพิ่มขึ้นร้อยละ3.53 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 34

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 5. การแนะนำ ส่งเสริม เกณฑ์ความเข้มแข็ง ประสิทธิภาพในจัดการองค์กร (การจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร) วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื่อกำกั บ และส่ง เสริม การบริห ารงานของสหกรณ์ และกลุ่ ม เกษตรกรให้มี ธรรมาภิบ าลโปร่ง ใสและ ตรวจสอบ กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1) สหกรณ์ภาคการเกษตร จำนวน 49 แห่ง 2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จำนวน 13 แห่ง 3) กลุ่มเกษตรกร จำนวน 23 แห่ง ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1) รักษาสถานะภาพสหกรณ์สหกรณ์ภาคการเกษตรที่ไม่มีข้อบกพร่อง 45 แห่ง 2) รักษาสถานะภาพสหกรณ์สหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่ไม่มีข้อบกพร่อง 13 แห่ง 3) รักษากลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่อง 24 แห่ง ผลการดำเนินงานตามโครงการ เชิงคุณภาพ : สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพองค์กรให้มีความเข้มแข็งมีธรรมาภิบาล โปร่งใสและตรวจสอบได้ เชิงปริมาณ : สหกรณ์(ผ่านเกณฑ์การจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในพอใช้ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของ จำนวนสหกรณ์ 56 แห่ง

รูปภาพการร่วมประชุมงานการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ร่วมกับสำนักงานตรวจบัญชีจังหวัดหนองคาย

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 35

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 6. การแนะนำ ส่งเสริม เกณฑ์ความเข้มแข็ง ประสิทธิภาพของการบริหารงาน วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื่อกำกับและส่งเสริมการบริหารงานของคณะกรรมการ กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1) สหกรณ์ภาคการเกษตร จำนวน 49 แห่ง 2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จำนวน 13 แห่ง 3) กลุ่มเกษตรกร จำนวน 23 แห่ง ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1) รักษาสถานะภาพสหกรณ์ภาคการเกษตรที่ไม่มีข้อบกพร่อง 45 แห่ง 2) รักษาสถานะภาพสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่ไม่มีข้อบกพร่อง 12 แห่ง 3) ผลักดันสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่มีข้อบกพร่องให้แก้ไขให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ 1 แห่ง 4) รักษาสถานะกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่อง 23 แห่ง ผลการดำเนินงานตามโครงการ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ 1. รักษาสถานะภาพสหกรณ์ภาคการเกษตรที่ไม่มีข้อบกพร่อง 45 แห่ง 2. รักษาสถานะภาพสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่ไม่มีข้อบกพร่อง 13 แห่ง 3. ผลักดันสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่มีข้อบกพร่องให้แก้ไขให้แล้วเสร็จ สมบูรณ์ 1 แห่ง 4. รักษาสถานะกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่อง 23 แห่ง

หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ แห่ง 45 45 100 แห่ง แห่ง

12 1

12 0

100 0

แห่ง

23

23

100

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 36

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 7. งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง กรมส่งเสริมสหกรณ์มี ภารกิจหลักในการให้คำแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่ม เกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง และเป็นที่พึ่งของสมาชิก ซึ่งโครงสร้างของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรประกอบด้ วย สมาชิก คณะกรรมการ ดำเนินการสหกรณ์และเจ้าหน้าที่ โดยคณะกรรมการดำเนินการเป็นผู้กำหนดนโยบายและบริหารงารนเพื่อ สนองความต้องการของสมาชิก ธุรกิจที่ให้บริการตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งได้แก่ การให้เงินกู้ การจัดหา สินค้ามาจำหน่าย การรับฝากเงิน การรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร การแปรรูปและการให้บริการด้านต่างๆ ตามความต้องการของสมาชิก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย 1) เพื่ อ ยกระดั บ ความเข้ ม แข็ ง ของสหกรณ์ ภ าค สหกรณ์ภาคการเกษตรที่อยู่ในระดับชั้นความเข้มแข็ง การเกษตรและกลุ่มเกษตรกร ชั้น 2 สู่ระดับชั้น 1 จำนวน 6 แห่ง ดังนี้ 2) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาภาคการเกษตรและกลุ่ม 1) สหกรณ์การเกษตรเมืองหนองคาย จำกัด เกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 2) สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ตาก 3) สหกรณ์การเกษตรสร้างนาขาว-ทุ่งหลวง จำกัด ตัวชี้วัดความสำเร็จ 4) สหกรณ์การเกษตรน้ำเย็น จำกัด 1) สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรได้รับ 5) สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านซอย 12 การพั ฒ น าศั ก ยภาพ ให้ มี ค วามเข้ ม แข็ ง ใน จำกัด ระดั บ ชั้ น 2 สู่ชั้ น 1 จำนวน 7 แห่ ง (สหกรณ์ 6) สหกรณ์สวนยางตำบลแก้งไก่ จำกัด 6 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง) กลุ่ม เกษตรกรที่ อยู่ในระดับ ชั้น ความเข้ม แข็ง ชั้น 2 2) สหกรณ์ภาคการเกษตรได้รับการส่งเสริมพัฒนา สู่ระดับชั้น 1 จำนวน 1 แห่ง ดังนี้ ศั ก ยภาพและผลั ก ดั น ให้ ค วามเข้ ม แข็ ง จาก 1) กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านผือ ระดับชั้น 3 สู่ชั้น 2 จำนวน 1 แห่ง ผลการดำเนินงาน เชิงคุณภาพ : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ยกระดับชั้น ตามเป้าหมาย หรือคงที่ในระดับเดิม เชิงปริมาณ : สหกรณ์มีความเข้มแข็งระดับ 1 และ ระดั บ 2 รวมกั น ไม่ น้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 90 กลุ่ ม เกษตรกรมีความเข็มแข็งระดับ 1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 37

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 8. โครงการรับจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อเสนอนายทะเบียน สหกรณ์ นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจำจังหวัด วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้กำหนดระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการจัดทำข้อบังคับสหกรณ์เพื่อใช้ในการ จดทะเบียน พ.ศ. 2545 ขึ้นถือใช้ และคู่มือการขอจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับสหกรณ์ คำแนะนำของ นายทะเบียนสหกรณ์ เพื่อให้การจัดทำข้อบังคับสหกรณ์เป็นไปในรูปแบบเดียวกันและเหมาะสมในการอ้างอิง ทำธุ ร กิ จ ของสหกรณ์ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิท ธิภ าพในการจดทะเบี ย นแก้ ไขเพิ่ ม เติม ข้อ บั ง คับ ของสหกรณ์ และ ลดระยะเวลาในการ จดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับสหกรณ์ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย กลุ่มเป้าหมาย สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในเขตความรับผิดชอบของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย ตัวชี้วัดความสำเร็จ สำนัก งานสหกรณ์ จัง หวัดหนองคาย สามารถรับ จดทะเบี ยนแก้ ไขเพิ่ม เติม ข้อบัง คับ สหกรณ์ และกลุ่ม เกษตรกรได้ตามกำหนด ผลการดำเนินงาน เชิงคุณภาพ : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเข้าใจแนวทางการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรโดยไม่ขัด ต่อกฎหมาย เชิงปริมาณ : รับจดทะเบียนแก้ไขเพิ่ มเติมข้อบังคับ สหกรณ์ จำนวน 36 แห่ง รับจดทะเบีย นแก้ไขเพิ่มเติม ข้อบังคับกลุ่มเกษตรกร จำนวน 4 แห่ง

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 38

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 9. งานชำระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ 2565 กลุ่มเป้าหมาย สหกรณ์ภาคการเกษตรที่อยู่ระหว่างชำระบัญชี ขั้นตอนที่ 3 - 4

ผล ณ ปี 2565 อยู่ในขั้นตอนที่

สหกรณ์การเกษตรปฏิรปู ที่ดินโพนพิสัยหนึ่ง จำกัด

3

ชุมนุมสหกรณ์จังหวัดหนองคาย จำกัด

2

สหกรณ์การเกษตรรัตนวาปี จำกัด

3

สหกรณ์การเกษตรปฏิรปู ที่ดินโพนพิสัยสอง จำกัด สหกรณ์การเกษตรเฝ้าไร่ จำกัด

3 3

สหกรณ์ประมงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำบ้านกองนาง จำกัด

6

กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างชำระบัญชี ขั้นตอนที่ 3 - 4

ผล ณ ปี 2565 อยู่ในขั้นตอนที่

กลุ่มเกษตรกรทำนาเซิม

6

กลุ่มเกษตรกรทำนาโพธิ์ตาก กลุ่มเกษตรกรทำนาค่ายบกหวาน กลุ่มเกษตรกรทำนาสร้างนางขาว

3 4 4

หมายเหตุ

หมายเหตุ

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรทั้งหมดทีอ่ ยู่ระหว่างชำระบัญชี ไม่รวมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ ในขั้นตอนที่ 6 (คดี) สามารถถอนชื่อได้ ร้อยละ 25 (สำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย สมารถถอนชื่อได้ตามเป้าหมาย) รายชื่อสหกรณ์ที่ชำระบัญชี 1.สหกรณ์กองทุนสวนยางนางิ้ว จำกัด 2.สหกรณ์กองสวนยางลุ่มน้ำทอน จำกัด

ผลการชำระบัญชี ถอนชื่อ ถอนชื่อ

ถอนชื่อตามคำสั่ง นค 26/2564 ลว 4 ต.ค. 64 นค 25/2564 ลว 4 ต.ค. 64

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 39

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 10. โครงการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น วัตถุประสงค์ 1) พัฒนาส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น 2) คัด เลื อ กสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรที่ มี ผ ลการ ดำเนิน งานดีเด่น ตามหลัก เกณฑ์ และวิธีก ารที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด

กลุ่มเป้าหมาย สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 6 แห่ง ประกอบด้วย สหกรณ์ภาคการเกษตรจำนวน 2 แห่ง 1) สหกรณ์การเกษตรเมืองหนองคาย จำกัด 2) สหกรณ์การเกษตรท่าบ่อ จำกัด สหกรณ์นอกภาคการเกษตรจำนวน 2 แห่ง 1) สหกรณ์ อ อมทรัพ ย์ตำรวจภู ธรจัง หวัดหนองคาย จำกัด 2) สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลหนองคาย จำกัด กลุ่มเกษตรกร จำนวน 2 แห่ง 1) กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านผือ 2) กลุ่มเกษตรกรทำไร่หนองปลาปาก

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผลการดำเนินงาน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ เชิ งคุณ ภาพ : สหกรณ์ และกลุ่ม เกษตรกรได้รับ การ สนับสนุนการดำเนินงาน ส่งเสริมและสนับ สนุนการดำเนินงาน พัฒ นาเพื่อเข้าสู่ การคั ด เลื อ กเป็ น สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรดี เ ด่ น แห่งชาติ เชิงปริมาณ : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับคัดเลือก เข้าสู่การคัดเลือกเป็นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น ระดับภาค จำนวน 3 แห่ง 1) สหกรณ์การเกษตรท่าบ่อ จำกัด 2) สหกรณ์ อ อมทรัพย์ ตำรวจภู ธรจั งหวัด หนองคาย จำกัด 3) กลุ่มเกษตรกรทำไร่หนองปลาปาก

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 40

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 11. การแนะนำส่งเสริม ประชุมใหญ่ 150 วัน และการปิดบัญชีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื่อส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้สามารถปิดบัญชีและประชุมใหญ่ได้ภายใน 150 วัน กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์ จำนวน 62 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จำนวน 23 แห่ง ตัวชี้วดั ความสำเร็จ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรประชุมใหญ่สามัญประจำปีได้ภายใน 150 วัน ทั้งหมด 85 แห่ง ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสามารถปิดบัญชีและประชุมใหญ่ได้ภายใน 150 วัน ผลการดำเนินงาน เชิงคุณภาพ : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับส่งเสริมการดำเนินงาน ให้สามารถปิดบัญชีและ ประชุมใหญ่ได้ภายใน 150 วัน เชิงปริมาณ : สหกรณ์ จำนวน 62 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 23 แห่ง สามารถปิดบัญชีและ ประชุมใหญ่ได้ภายใน 150 วัน ครบทุกแห่ง

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 41

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 12. งานการกำกับ ดูแล การแก้ไขข้อบกพร้องสหกรณ์และงานตรวจการสหกรณ์ กิจกรรมการจัดประชุมซักซ้อมตรวจการสหกรณ์ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พืน้ ที่ดำเนินงานโครงการ สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดหนองคายได้กำหนดแผนงาน การจัดประชุมซักซ้อมตรวจการสหกรณ์ ประจำปี พ.ศ. 2565 โดยมีวัตถุประสงค์ด้งนี้ 1.เพื่อให้ผู้ตรวจการสหกรณ์และผู้ช่วยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ มีแนวทางและวิธีการในการปฏิบัติงาน ตรวจการสหกรณ์ที่มีประสิทธิภาพ 2.เพื่อให้ผู้ตรวจการสหกรณ์และผู้ช่วยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ มีการปฏิบัติงานตรวจการสหกรณ์ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 3.เพื่อให้ผู้ตรวจการสหกรณ์และผู้ช่วยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ เข้าใจระบบการตรวจการสหกรณ์ 4. เพื่ อ ให้ผู้ตรวจการสหกรณ์ และผู้ช่วยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ได้ท ราบสถานภาพของสหกรณ์ ข้อสังเกตจากการสอบบัญชี การตรวจการสหกรณ์ที่ผ่านมาและความเสี่ยงของสหกรณ์ เพื่อใช้เป็นแนวทางใน การตรวจการสหกรณ์ 5. เพื่อกำหนดเป้าหมาย คัดเลือกสหกรณ์ที่จะตรวจการสหกรณ์ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ กลุ่มเป้าหมาย : ผู้ตรวจการสหกรณ์และผู้ช่วยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ งบประมาณที่ได้รับ 4,000 บาท การดำเนินงาน กลุ่มตรวจการสหกรณ์จัดประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2565 โดยมีผู้ตรวจการสหกรณ์ ผู้ช่วยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์เข้าร่วมประชุม จำนวน 31 คน ประเด็นต่างๆ ดังนี้ 1. ชี้แจงระบบการตรวจการสหกรณ์ 2. แจ้งคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ที่ (พบ) 25/2563 ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2563 3. รายงานผลการวิเคราะห์สถานภาพ/ความเสี่ยงของสหกรณ์ 4. ข้อ สังเกตตามรายงานการสอบบัญ ชี /ข้อสังเกตที่ ตรวจพบจากการสอบบัญ ชี /ผลการตรวจการ สหกรณ์ที่ผ่านมา 5. คัดเลือกสหกรณ์เป้าหมายที่จะตรวจการสหกรณ์ โดยพิจารณาให้ความสำคัญเรียงลำดับ ดังนี้ 5.1) สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดการทุจริต 5.2) สหกรณ์ที่มีเรื่องร้องเรียน 5.3) สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดข้อบกพร่อง 6. วิธีการรายงานผลการตรวจการสหกรณ์ ผลการดำเนินงานโครงการ เชิงปริมาณ : 1) จัดประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ จำนวน 1 ครั้ง 2) มีผู้เข้าประชุม จำนวน 31 คน เชิงคุณภาพ : 1) ผู้ตรวจการสหกรณ์ ได้รับทราบระบบการตรวจการสหกรณ์ 2) ได้ท ราบข้อ มู ล สหกรณ์ จ ากการวิเคราะห์ส ถานภาพ/ความเสี่ย ง และข้อสั งเกตต่ างๆ สามารถนำมากำหนดแนวทางการตรวจการสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 42

กิจกรรมตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัดฯ วัตถุประสงค์โครงการ 1. เพื่อกำกับ ดูแล และตรวจสอบการดำเนินงานของสหกรณ์ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อป้องกันปัญหาข้อบกพร่องที่อาจเกิดขึ้น กลุ่มเป้าหมาย สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนที่ มีทุ นดำเนินงานเรียงลำดับ จากมากไปหาน้อยก่อน ถ้าจำนวนสหกรณ์ ไม่ ครบเป้าหมาย ร้อ ยละ 25 จึง ตรวจสหกรณ์ ป ระเภทอื่นตามลำดับ จำนวน 16 แห่ ง จากสหกรณ์ทั้งหมด 63 แห่ง งบประมาณที่ได้รับ 28,000 บาท การดำเนินงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย มอบหมายกลุ่มตรวจการสหกรณ์ รับผิดชอบการตรวจการสหกรณ์ โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด ซึ่งได้ดำเนินการดังนี้ 1สำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคายจัดทีมตรวจสอบสหกรณ์ในรูปแบบคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ประจำจังหวัด 2 คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติ การตรวจสอบสหกรณ์เป้าหมาย ตามที่นายทะเบียนสหกรณ์กำหนด 3 คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัเข้าตรวจสอบสหกรณ์ตามแผนที่กำหนด โดยการเข้าตรวจสอบ แต่ละครั้งตรวจสอบครบทุกประเด็นตามรายการที่กำหนดในแนวทางการตรวจการสหกรณ์ ใช้ระยะเวลาในการ ตรวจสอบเฉลี่ยสหกรณ์ละ 3 วัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของสหกรณ์ 4 เมื่อ ตรวจสอบเสร็จแล้ ว สรุป ข้อเท็ จจริง และรายงานผลการตรวจสอบสหกรณ์ต่อนายทะเบียน สหกรณ์ผ่านกลุ่มตรวจการสหกรณ์ เพื่อวิเคราะห์รายงานการตรวจสอบก่อนนำเสนอ นายทะเบียนสหกรณ์ พิจารณา ผลการดำเนินงานโครงการ เชิงปริมาณ : จำนวนสหกรณ์ที่ได้รับการตรวจสอบโดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด จำนวน 16 แห่ง เชิงคุณภาพ : สหกรณ์ที่ได้รับการตรวจสอบ ได้รับคำแนะนำสามารถแก้ไขปัญหาข้อพกพร่องและข้อสังเกต ได้อ ย่างมีป ระสิท ธิภาพ และมี ก ารดำเนินงานที่ เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ สหกรณ์ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 43

กิจกรรมการตรวจการตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ (ร้อยละ 15) วัตถุประสงค์ 1.เพื่อกำกับ ดูแล และตรวจสอบการดำเนินงานของสหกรณ์ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2.เพื่อป้องกันปัญหาข้อบกพร่องที่อาจเกิดขึ้น 3.เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงเมื่อเกิดเหตุผิดปกติ กลุ่มเป้าหมาย : 10 แห่ง (ร้อยละ 15 ของจำนวนสหกรณ์ที่ดำเนินธุรกิจ) งบประมาณที่ได้รับ 13,300 บาท การดำเนินงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย มอบหมายกลุ่มตรวจการสหกรณ์ รับผิดชอบการตรวจ การสหกรณ์ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ร้อยละ 15 ซึ่งได้ดำเนินการดังนี้ 3.1 สหกรณ์จังหวัดหนองคายในฐานะรองนายทะเบียนสหกรณ์ ปฏิบัติการแทนนายทะเบียนสหกรณ์ มอบหมายคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ตรวจสอบสหกรณ์เป็นกรณีพิเศษ ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ทั้งหมด โดย พิจารณาจาก -สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดการทุจริต -สหกรณ์ที่มีเรื่องร้องเรียน -สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดข้อบกพร่อง 3.2 คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดหนองคาย เข้าตรวจตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์และเมื่อ ตรวจสอบสหกรณ์เสร็จแล้ว ได้สรุปข้อเท็จจริงและรายงานผลการตรวจการสหกรณ์ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ พิจารณา จำนวน 10 แห่งดังนี้ 1)สหกรณ์การเกษตรเมืองหนองคาย จำกัด 2)สหกรณ์มิตรภาพมั่นคงหนองคาย จำกัด 3)สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านไผ่สีทอง จำกัด 4)สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ตำบลเวียงคุก จำกัด 5)สหกรณ์การเกษตรเซิม จำกัด 6)สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านซอย 12 จำกัด 7)สหกรณ์ผู้ใช้น้ำสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าโพนสา จำกัด 8)สหกรณ์สวนยางตำบลแก้งไก่ จำกัด 9)สหกรณ์ ส.ก.ย.สาวแลรวมเกษตร จำกัด 10)สหกรณ์แปรรูปยางพารานางิ้ว-วังมน จำกัด ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ : สหกรณ์ที่ได้รับการตรวจการสหกรณ์ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์จำนวน 10 แห่ง เชิงคุณภาพ : เมื่อมีเหตุผิดปกติในสหกรณ์ ผู้ตรวจการสหกรณ์ /คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ได้เข้าตรวจสอบ โดยเร็ว ทำให้ได้ท ราบข้อมู ลผิดปกติ ทราบมู ลค่าความเสียหาย ผู้ กระทำผิด และสามารถ ดำเนินการตามกฎหมายได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงได้มีการชี้แจงเหตุที่เกิดขึ้นให้สมาชิกเกิดความ เข้าใจ

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 44

กิจกรรมการจัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขข้อบกพร่อง (จกบ.) วัตถุประสงค์ 1.เพื่ อ กำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญ หาข้อบกพร่อง เรื่องร้องเรียนของสหกรณ์ให้ส อดคล้องตาม ข้อกำหนดของกรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงแนวทางในการดำเนินคดีตามกฎหมายกับผู้กระทำผิดต่อสหกรณ์ 2.เพื่อผลักดันให้สหกรณ์สามารถแก้ไขปัญหาข้อบกพร่อง ข้อร้องเรียนต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ กลุ่มเป้าหมาย : จัดประชุมคณะทำงานฯ จำนวน 4 ครั้ง (ไตรมาสละครั้ง) งบประมาณที่ได้รับ 11,400 บาท ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ 1. มีการดำเนินการประชุม จำนวน 4 ครั้ง 2. มีสหกรณ์ทเี่ ข้าร่วมประชุมจำนวน 5 สหกรณ์ เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ได้รับแนวทาง คำแนะนำในการดำเนินคดีตามกฏหมายทั้งทางอาญาและทางแพ่ง การสืบ ทรัพย์บังคับคดี การดำเนินการตามกฏหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง คำแนะนำในการดำเนินงานของสหกรณ์ให้เป็นไป ตามระเบียบ ข้อบังคับ รวมไปถึงการได้รับการประสานงาน ความช่วยเหลือจากเจ้าพนักงานสอบสวน อัยการ ให้การดำเนินคดีตามกฏหมายเป้นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว 2. ในระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สหกรณ์ ส ามารถแก้ ไขปัญ หาข้อบกพร่ องได้เสร็จ สมบูรณ์ จำนวน 1 แห่ง 3. การรายงานผลการแก้ไขข้อบกพร่อง ผู้รับผิดชอบมีการรายงานความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่อง ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตร ให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบทั้งการรายงานผ่านระบบการจัดการข้อบกพร่องของ สหกรณ์ทางเว็บไซด์กรมส่งเสริมสหกรณ์และรายงานตามแบบที่ กรมกำหนดได้ตามระยะเวลาที่กรมกำหนด

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 45

ศึกษา วิเคราะห์ งานร้องเรียน/ ร้องขอความเป็นธรรมเกี่ยวกับการดำเนินงานของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร และตอบข้อหารือในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานที่รับผิดชอบ วัตถุประสงค์ เป็นตัวกลางในการประสานงานการแก้ ไขปัญ หาความเดือดร้อนให้แก่ สหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกร สมาชิก สหกรณ์และสมาชิกกลุ่มเกษตรกร กลุ่มเป้าหมาย สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกสหกรณ์และสมาชิกกลุ่มเกษตรกร งบประมาณที่ได้รบั ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้มีการตอบข้อร้องเรียน ปัญหา ข้อหารือของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรภายในจังหวัดจำนวน 5 เรื่อง 2 สหกรณ์ เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีการร้องเรียนได้รับการแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึ้นและ พึงพอใจ ในการแก้ไขปัญหา ทุกแห่ง

การกำกับ ดูแ ล สหกรณ์ อ อมทรัพย์ แ ละเครดิตยูเนี่ยนได้รับการแนะนำ ส่งเสริม เพื่ อ เตรียม ความพร้อมเข้าสู่เกณฑ์การกำกับ ดูแล ตามมาตรา 89/2 ผลการดำเนินงาน จังหวัดหนองคาย มีสหกรณ์ประเภทออมทรัพย์ จำนวน 5 แห่ง และเครดิตยูเนี่ยน จำนวน 4 แห่ง รวมทั้งหมด 9 แห่ง โดยแบ่งเป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ 1 ได้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูหนองคาย จำกัด สหกรณ์ ขนาดเล็ก 8 แห่ง ได้แก่ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดหนองคาย จำกัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลหนองคาย จำกัด 3. สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขหนองคาย จำกัด 4. สหกรณ์ออมทรัพย์เสมาหนองคาย จำกัด 5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนจังหวัดหนองคาย จำกัด 6. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนชุมชนสระใคร จำกัด 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนนักบุญตำบลพระบาทนาสิงห์ จำกัด 8. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนโพนสว่าง จำกัด ซึ่งสามารถปฏิบัติตามกฎกระทรวง และการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 ได้ทุกข้อ แต่ก็มีบางข้อที่สหกรณ์จะต้องดำเนินการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับกับปัญหาที่อาจจะ เกิดขึ้นได้ในอนาคต

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 46

โครงการศึกษาอบรมหลักสูตร “เพิ่มทักษะกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์” โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “เพิ่ม ทั กษะกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ให้แก่ เจ้าหน้าที่ผู้ป ฏิบั ติงานกรม ส่งเสริมสหกรณ์” กลุ่มเป้าหมายคือข้าราชการในตำแหน่งนิติกร ผู้อำนวยการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ และข้าราชการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 กรกฎาคม 2565 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มทักษะและสร้างศักยภาพให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดหนองคาย มีผเู้ ข้ารับการอบรม จำนวน 2 ราย ดังนี้ 1. นายณัฐวุฒิ พรธนเดช นิติกรปฏิบัติการ 2. นางสาววิสา สิงห์วิสุทธิ์ นิติกร สาระสำคัญของเนื้อหาของหลักสูตรที่อบรม 1. คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ รูปแบบคำสัง่ ทางปกครอง การพิจารณาอุทธรณ์ 2. การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ ผลที่ได้รับ จากการอบรม ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจและมี ทักษะเรื่องกฎหมายเพื่อการ ปฏิบัติงานที่ถูกต้องมีความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ และสามารถรายงานต่อผู้บังคับบัญชาเพื่อพิจารณาสั่งการ ภายใต้ขอบเขตอำนาจหน้าที่ ตามกฎหมายได้อย่ างถูกต้อง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนส่งผลให้ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ดำเนินกิจการเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 13. งานติดตาม เร่งรัด ดำเนินคดี สหกรณ์ผิดนัดชำระหนี้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ จำนวน 2 แห่ง 1. สหกรณ์การเกษตรเฝ้าไร่ จำกัด ได้กู้เงินกองทุนพัฒ นาสหกรณ์ จำนวน 1,000,000 บาท (หนึ่งล้านบาทถ้วน) สัญ ญาเลขที่ 1/2549 ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2548 สิ้นสุดสัญ ญาวันที่ 7 กร กฎาคม 2549 ปัจจุบันมีหนี้คงเหลือ ต้นเงินค้างชำระจำนวน 507,514.10 บาท สำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย ได้ ดำเนินการทำหนังสือ ขอความอนุเคราะห์ตรวจสอบทรัพย์สินเพื่อดำเนินการเกี่ยวกับ บังคับ คดี ต่ออัยการ จังหวัดคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวั ดหนองคาย และได้รับหนังสือเมื่อวันที่ 9 พฤศจิก ายน 2565 แจ้งผลการสืบทรัพย์และให้ยื่นคำร้องขออายัดทรัพย์กับเจ้าพนักงานบังคดี สำนักงาน สหกรณ์จังหวัดหนองคายได้ดำเนินการยื่นคำร้องต่อเจ้าพนักงานบังคับคดีตามที่สืบ ทรัพย์เจอ เจ้าพนัก งาน บังคับคดีได้ยกคำร้องขออายัด เนื่องจากพ้นระยะ เวลาพ้นระยะเวลาตามที่กฎหมายกำหนด (ครบ 10 ปี 8 ก.ย. 65) จึงไม่สามารถยึดทรัพย์ได้ 2. สหกรณ์การเกษตรเซิม จำกัด อ.โพนพิสัย จ.หนองคาย กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ สัญญา เลขที่ นค. 63-000010 ลงวันที่ 27 เมษายน 2563 สิ้นสุดสัญญาวันที่ 24 มีนาคม 2564 จำนวน 1,800,000 บาท อัตราดอกเบี้ ย ร้อยละ 3 ต่อ ปี ค่าปรับ ร้อยละ 6 ต่อปี ปัจ จุ บันมีหนี้ คงเหลือ ต้นเงินค้างชำระจำนวน 842,429.85 บาท สำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคายได้ดำเนินการส่งหนังสือพร้อมเอกสารที่ เกี่ยวข้อง ให้ สำนักงานอัยการจังหวัดหนองคายดำเนินการฟ้องร้องคดีแล้ว กำหนดยื่นฟ้องสหกรณ์ในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2565 จัดเอกสารประกอบคำฟ้อง สหกรณ์การเกษตรเซิม จำกัด ณ สำนักงานอัยการจังหวัด ส

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 47

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 14. โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและ การตลาด วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่ อ ส่ง เสริม และพั ฒ นาการดำเนิน งานของสหกรณ์ /กลุ่ม เกษตรกรให้มี ความเข้ม แข็งเพื่ อพัฒ นา ศักยภาพสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและพัฒนาสู่มาตรฐานและเกิดการยอมรับของสมาชิกและสังคม เป้าหมายของโครงการ กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดหนองคาย งบประมาณที่ได้รบั 6,850,000 บาท ผลการดำเนินงาน กลุ่มเกษตรกรสามารถเข้าถึงแหล่งเงินในการผลิตและการตลาด ปลอดดอกเบี้ย ให้มีการนำเงินกู้ไปใช้ ตรงตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ : สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมี เงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ การเกษตร ปลอดดอกเบี้ย จำนวน 8 แห่ง สมาชิก 255 ราย เป็นเงิน 6,850,000.-บาท เชิงคุณภาพ : กลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนในการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินธุรกิจได้อย่างกว้ างขวางสามารถ จัดหาวัสดุอุปกรณ์การผลิตทั้งพืชและสัตว์มาบริการสมาชิกได้อย่างทั่วถึงสอดคล้องกับความ ต้องการ

ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้ โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กบั กลุม่ เกษตรเพือ่ เข้าถึงแหล่ง เงินทุนในการผลิตและการตลาด ระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 48

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 15. โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ำนำไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะที่ 2 วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื่ อ สร้างโอการในการทำเกษตรกรรม และลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนน้ำ เพื่อส่ง เสริม การ จัด ระบบไร่น าของเกษตรกรให้ มี ค วามยั่ง ยื น มี แหล่ ง น้ ำ ในฟาร์ม ของตนเองลดการพึ่ ง พาน้ ำจากระบบ ชลประทานและแหล่งน้ำธรรมชาติ เป้าหมาย สถาบันเกษตรกรในจังหวัดหนองคาย งบประมาณที่ได้รบั 9,610,000 บาท ผลการดำเนินงานโครงการ เชิ ง ปริ ม าณ : สมาชิ ก สถาบั น เกษตรกร 11 แห่ ง สมาชิ ก สถาบั น เกษตรกร มี ส ระเก็ บ กั ก น้ ำ 64 ราย และบ่ อ บาดาลพร้อ มอุ ป กรณ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง จำนวน 130 ราย รวมเป็ น 193 ราย เป็ น เงิ น 9,610,000.- บาท เชิงคุณภาพ : สมาชิกสถาบันการเกษตรกรลดความเสี่ยงจากวิกฤตการขาดแคลนน้ำ เนื่องจากธรรมชาติ เปลี่ ย น และเกิ ด การขาดแคลนน้ ำ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ลดภาระหนี้ ที่ มี ค วามเสี่ ย งจากการ ทำการเกษตรตามระบบธรรมชาติ เป็นการเกษตรที่มีระบบน้ำในพื้นที่การเกษตรของตนเอง

ออกพื้นทีจ่ ับพิกัดและติดตามการใช้เงินกู้โครงการสนับสนุนเงินทุนเพือ่ สร้างระบบน้ำในไร่นา ของสมาชิกสถานบันเกษตรกร ระยะที่ 2

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 49

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 16. โครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสหกรณ์ วัตถุประสงค์โครงการ 1.1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์การเกษตรให้มีศักยภาพในการดำเนินธุรกิจให้ครอบคลุมทุกธุรกิจ 1.2 เพื่อกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเป้าหมาย สถาบันเกษตรกรในจังหวัดหนองคาย การดำเนินงาน จำนวน สหกรณ์ที่ เข้าร่วมโครงการแก้ไขปั ญ หาหนี้ค้างชำระของสหกรณ์ จำนวน 6 แห่ง สมาชิก สหกรณ์ ที่ มี ความประสงค์เข้าร่วมโครงการแก้ ไขปัญ หาหนี้ค้างชำระของสมาชิก สหกรณ์ 1,562 ราย และสมาชิก (กลุ่มนำร่อง) และผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 27 คน ผลการดำเนินงานตามโครงการ เชิงปริมาณ : สมาชิกสหกรณ์สามารถลดจำนวนหนี้ค้างชำระ 1,562 ราย คงเหลือ 904 ราย ลดลง 658 ราย เชิงคุณภาพ : สหกรณ์ดำเนินการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระสมาชิกสหกรณ์ สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ มีหนี้ ลดลง

ร่วมประชุมโครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสหกรณ์

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 50

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 17. งานส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ ในปัจจุบันจากการดำเนินธุรกิจ รวบรวมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและแปรรูป ผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่า สินค้าแต่บุคลากรของสหกรณ์ยังขาดการพัฒนาองค์ความรู้ในการพัฒนาการผลิตผลผลิตทางการเกษตรซึ่งเป็น วัตถุดิบในการแปรรูปให้เข้าสู่มาตรฐาน การใช้อุปกรณ์การตลาด เทคโนโลยีการเกษตรที่เหมาะสมในการผลิต วัตถุดิบของสมาชิกให้ได้ม าตรฐาน องค์ ความรู้ในการแปรรูป นวัตกรรมการแปรรูป สร้างมูล ค่าเพิ่ม รวมทั้ ง พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์สร้างความหลากหลายผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์เพื่อให้สอดคล้องกับความ ต้องการตลาดในปัจจุบัน กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์ในจังหวัดหนองคาย จำนวน 4 สหกรณ์ ดังนี้ - สกหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. หนองคาย จำกัด - สหกรณ์การเกษตรโพนพิสัย จำกัด - สหกรณ์การเกษตรศรีเชียงใหม่ จำกัด - สหกรณ์การเกษตรสังคม จำกัด ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรแปรรูป 2. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อให้กับสินค้า ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร การดำเนินงานตามโครงการ สหกรณ์ที่มีอุปกรณ์การตลาด สามารถนำอุปกรณ์การตลาดมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อให้ส มาชิก สหกรณ์ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ผลการดำเนินงานตามโครงการ เชิงคุณภาพ : สหกรณ์สามารถใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดได้ เชิงปริมาณ : สหกรณ์มีการดำเนินงานเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์การตลาด มากขึ้น ร้อยละ 10 ซึ่งทำให้ปริมาณ ธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 เช่น สกต.หนองคาย จำกัด ใช้อุปกรณ์การตลาดในการรวบรวมข้าว นาปี เพื่ อ เข้าโครงการชะลอสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าว สหกรณ์ก ารเกษตรท่าบ่อ จำกัด ใช้ อุปกรณ์การตลาดในการรวบรวมจำหน่ายข้าวเปลือก โดยมีปริมาณการรวบรวมและจำหน่าย เพิ่มขึ้นจากที่ 2564 ร้อยละ 10

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 51

สรุปข้อมูลอุปกรณ์การตลาด/สิ่งก่อสร้าง/เครื่องจักรกลการเกษตร สถานะการใช้งาน อุปกรณ์การตลาด ลำดับ

สิ่งก่อสร้าง เครื่องจักรกลการเกษตร

ใช้งานได้

ใช้งานไม่ได้

ขายไปแล้ว

รวม

(ไม่มีหนี้ค้างชำระ)

1

ฉาง

7

1

0

8

2

โรงงานคัดเมล็ดพันธุ์

0

1

0

1

3

เครื่องชั่ง

3

1

0

4

4

ลานตาก

3

1

0

4

5

อุปกรณ์อบแห้งลดความชื้น

0

1

1

2

6

โรงสี

0

1

0

1

7

รถตัก

1

0

1

2

8 รถยก ข้อมูล ณ มกราคม 2566

1

0

0

1

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 52

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 18. โครงการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซุปเปอร์มาร์เกตสหกรณ์ วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อพัฒนาการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ 2. เพื่อมีการเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต และร้านสหกรณ์ 3. เพื่อขยายโอกาสทางการตลาดสินค้าสหกรณ์ผ่านซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ ร้านสหกรณ์สวัสดิการ รพร.ท่าบ่อ จำกัด ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. ร้านค้าสหกรณ์มียอดจำหน่ายในปี 2565 เพิ่มขึ้นจากปี 2564 คิดเป็นร้อยละ 33.95 2. ร้านค้าสหกรณ์มีการเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ขยายโอกาสทางการตลาดสินค้าสหกรณ์ ผ่านซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 2. ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตได้รับรู้พฤติกรรมผู้บริโภค สามารถผลิตสินค้าให้สอดคล้อง กับความต้องการตลาด ผลการดำเนินงานตามโครงการ เชิงคุณภาพ ร้านค้าสหกรณ์มีการเชื่อมโยงนำสินค้าจากเครือข่าย สถาบันเกษตรกร 5 แห่ง 1. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส. หนองคาย จำกัด 2. กลุ่มผู้ปลูกไม้ผล (กลุ่มสังคมโกโก้)ผลิตภัณฑ์แปรรูปโกโก้ ขนมบราวนี่ 3. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านศูนย์กลาง (ร้านภูผาฟาร์ม) 4. สมาชิกลูกหลานฯ 1 ราย 5. สมาชิกสหกรณ์ 21 ราย เชิงปริมาณ ร้านค้าสหกรณ์มียอดจำหน่าย ปี 2564 732,948 บาท ปี 2565 981,823 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนคิด เป็นร้อยละ 33.95

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 53

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพืน้ ฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 19. งานการแนะนำส่งเสริมการเพิ่มปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เพื่อ ให้ ส หกรณ์ /กลุ่ ม เกษตรกรมี ป ริม าณธุร กิ จ สหกรณ์ จำนวน 63 แห่ง เพิ่มขึ้น กลุม่ เกษตรกร จำนวน 23 แห่ง ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผลการดำเนินงาน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุร กิจเพิ่มขึ้น เชิ ง คุ ณ ภาพ : สหกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกรมี ธุ ร กิ จ ที่ ไม่น้อยร้อยละ 3 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา หลากหลาย ทำให้ ส มาชิ ก มาใช้ บ ริ ก ารเพิ่ ม มากขึ้ น ทำให้มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น เชิ งปริม าณ : กลุ่ม เกษตรกรมี ป ริม าณธุร กิ จ เพิ่ม ขึ้ น 3,727,672 บาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 31.01 เมื่อเทียบกับปีที่ ผ่านมา

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 20. โครงการการส่งเสริมการออมและการลดหนี้สินของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย 1) ส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการ 1)สหกรณ์ภาคการเกษตร ออมเงินเพิ่มขึ้น 2)สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 2) สนั บ สนุ น การประกอบอาชี พ เสริม ของสมาชิ ก 3)กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อสร้างรายได้ 3) ส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีวินัย ผลการดำเนินงาน เชิงคุณ ภาพ สมาชิก สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรมี ทางการเงิน ลดรายจ่ายที่เกินความจำเป็น รายได้ และมีเงินออมเพิ่มขึ้น สามารถชำระหนี้ ตั ว ชี้ วั ด ความสำเร็ จ จำนวนสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม ได้ตามกำหนด เกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สิน เชิ งป ริ ม า ณ ส ห ก รณ์ แ ล ะ ก ลุ่ ม เก ษ ต ร ก ร ของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 62 มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิก ของจำนวนสหกรณ์ และกลุ่ ม เกษตรกรทั้ ง หมด 81 เพิ่มขึ้น แห่ง จากปีก่อน 50 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 62

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 54

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนพื้นฐานด้านการเกษตรสร้างมูลค่า 1. โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจ กรรมพั ฒ นาศั กยภาพสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรให้ เข้ า สู่ร ะบบการผลิต เกษตรแปรรู ป เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้แก่คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ สมาชิก สหกรณ์ เกี่ยวกับ นวัตกรรม เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์และการ วางแผนการตลาด 2. เพื่ อ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ข องสหกรณ์ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของตลาด กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1. บุคลากรสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.หนองคาย จำกัด (คณะกรรมการสหกรณ์, สมาชิกสหกรณ์,เจ้าหน้าที่สหกรณ์) จำนวน 25 คน 2. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย จำนวน 5 คน งบประมาณ จำนวน 68,700 บาท ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. สหกรณ์เป้าหมายได้รับการส่งเสริมการทำการเกษตรแปรรูป 2. อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปขยายตัวร้อยละ 3 ผลการดำเนินงานตามโครงการ เชิงคุณภาพ สหกรณ์ได้แปรรูปสินค้า(ข้าว)ที่มีคุณภาพ เชิงปริมาณ การขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ3.34 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา

โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมพัฒนา ศักยภาพสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 55

โครงการพัฒนาต่อยอดกิจกรรมภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (กิจกรรมการทดสอบตลาด Event marketing) วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อให้ผู้ผลิตได้รับการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ให้มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย เป็นที่ต้องการของตลาด เพิ่มมูลค่าและรายได้ 2. เพื่อประชาสัมพันธ์สินค้าเกษตรของสหกรณ์ให้เป็นทีร่ จู้ ักแพร่หลาย 3. เพือ่ เพิม่ ช่องทางการตลาด เรียนรู้การบริหารจัดการด้านการตลาด ส่งผลให้สหกรณ์มรี ายได้เพิม่ ขึ้น กลุ่มเป้าหมาย บุคลากรสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.หนองคาย จำกั ด (คณะกรรมการสหกรณ์, สมาชิกสหกรณ์,เจ้าหน้าที่สหกรณ์) จำนวน 15 คน งบประมาณ จำนวน 50,000.-บาท ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานตามโครงการ 1. สินค้าข้าวแปรรูปของสหกรณ์มียอดจำหน่ายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 2 สินค้าข้าวแปรรูปของสหกรณ์ได้รับการพัฒนาส่งเสริมด้านการตลาดและด้านการส่งเสริมการขาย ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. สินค้าเกษตรแปรรูปของสหกรณ์ มียอดจำหน่ายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 2.สหกรณ์ได้รบั การพัฒนาส่งเสริมด้านการตลาดและการส่งเสริมการขาย 3. สินค้าเกษตรแปรรูปของสหกรณ์เป็นทีร่ ู้จกั มากขึ้น 4. สหกรณ์มีช่องทางการจำหน่ายสินค้าเพิม่ ขึ้น การดำเนินงานตามโครงการ จัดบูธแสดงสินค้าและจำหน่ายสินค้า ณ ห้างโลตัสสาขาหนองคาย ในวันที่ 5 – 9 กันยายน 2565 ผลการดำเนินงานตามโครงการ เชิงคุณภาพ สินค้าแปรรูปข้าวของสหกรณ์ ได้รับการพัฒนาส่งเสริมด้านการตลาดและการส่งเสริมการขาย เป็นที่รู้จักมากขึ้น เชิงปริมาณ การขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ3.2

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 56

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 57

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 1. โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อปลูกฝังให้เด็กนักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและสร้างประสบการณ์ ด้านการสหกรณ์ เข้าใน หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ พร้อมทั้งนำไปประยุกต์ ใช้ได้อย่างถูกต้อง และเห็นความสำคัญของ การออม 2. เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนเข้าใจใน ระบบ การทำงานของสหกรณ์ เป็นการเพิ่มพูนทักษะการปฏิบัติงาน กลุ่มเป้ าหมาย ประกอบด้วย คณะกรรมการกิจ กรรมสหกรณ์นักเรียนและครูผู้ รับผิดชอบ ของโรงเรีย น โรงเรียนอาโอยาม่า 2 จำนวน 15 คน งบประมาณที่ได้รับ งบดำเนินงาน 9,620 บาท งบอุดหนุนปรับปรุงอาคาร 200,000 บาท ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ นักเรียน คณะครูและผู้ปกครอง โรงเรียนอาโอยาม่า 2 จำนวน 20 คนมีความรู้ด้านสหกรณ์ เชิงคุณภาพ นักเรียน คณะครูและผู้ปกครอง ได้ความรู้และแลกเปลีย่ นประสบการณ์เกี่ยวกับการบริหารงาน รูป แบบสหกรณ์ และนำไปปรับ ใช้ในกิ จ กรรมสหกรณ์นัก เรียนในโรงเรียน เสริม สร้างความ สามัคคีในหมู่คณะและการทำกิจกรรมร่วมกัน

ภาพการดำเนินการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

ภาพอาคารสหกรณ์นักเรียนที่ปรับปรุงเรียบร้อยแล้ว

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 58

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 2. โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวงในทูลกระหม่อ มหญิง อุบลรัตน์ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อกระตุ้นให้โรงเรียนมีส่วนร่วมกับกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 2. เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติ และสร้างขวัญก าลังใจในการท างานให้กับคณะกรรมการดำเนินการ กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนโรงเรียนเพียง หลวง 13 (ประชาบำรุงฯ) และผู้สังเกตการณ์ รวม 15 คน และเจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย งบประมาณที่ได้รับ งบดำเนินงาน 10,300 บาท งบอุดหนุนปรับปรุงอาคาร 450,000 บาท ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ นักเรียน คณะครูและผู้ป กครอง โรงเรียนเพียงหลวง 13 (ประชาบำรุงฯ) จำนวน 20 คน มีความรู้ด้านสหกรณ์ เชิงคุณภาพ นักเรียน คณะครูและผู้ปกครอง ได้ความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับการบริหารงาน รูปแบบสหกรณ์ และนำไปปรับใช้ในกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน เสริมสร้างความสามัคคี ในหมู่คณะและการทำกิจกรรมร่วมกัน

กิจกรรมสหกรณ์นกั เรียน ในโรงเรียนเพียงหลวงในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวฒ ั นาพรรณวดี

ภาพอาคารที่ได้รับเงินอุดหนุน

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 59

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 3. โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็ดพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมาร วัตถุประสงค์ - เพื่อให้ประชาชน ได้รับความรู้ ด้านการสหกรณ์เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ในการพัฒนาให้มี ความเป็นอยู่ที่ดี - เพื่ อ เสริม สร้างความรู้ ทั กษะด้านการสหกรณ์ และสร้างลัก ษณะนิสัยที่ สอดคล้องกั บ อุดมการณ์ สหกรณ์สร้างจิตสานึกในการทางานร่วมกันให้ประชาชน จนสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ - เพื่อให้ประชาชนได้มีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้ครอบครัว - เพื่ อสนับ สนุนให้เกษตรกร มี ความรู้ความเข้าใจ เกี่ ยวกั บ สหกรณ์ และสามารถนำไปปรับ ใช้เพื่ อ ประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรและประชาชนทั่วไปในเขตพื้นที่จังหวัดหนองคาย งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 91,000 บาท ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไปรู้และเข้าใจในหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ และสามารถนำไปปรับ ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เชิงคุณภาพ - ประชาชนผู้เข้าชมนิทรรศการ มีความรู้และเข้าใจในหลักการ อุดมการณ์ วิธีการ - ประชาชนสนใจและสมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่ได้รับบริการ

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 60

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 4. โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่ อ คัดเลือ กสหกรณ์ แ ละกลุ่ม เกษตรกร ที่ นำแนวคิ ดตามปรัช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ยงไป ประยุกต์ใช้ในการบริหารองค์กรได้อย่างโดดเด่น และสามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่น นำไปประยุกต์ใช้ในองค์กรได้ 1.2 เพื่อเป็นการเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริม กระตุ้นและสร้า งแรงจูงใจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร นำแนวทางตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1) กลุ่มเกษตรกรทำนาวัดธาตุ 2) สหกรณ์การเกษตรนิคมฯโพนพิสัย จำกัด 3) สหกรณ์การเกษตรสังคม จำกัด 4) สหกรณ์กองทุนสวนยางกุดบงยางพารา จำกัด 5) สหกรณ์กองทุนสวนยางห้วยรายคำ-บ้านผือ จำกัด งบประมาณที่ได้รับ 1,900 บาท ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ มีการกําหนดแผนในการประยุกต์ใช้ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ทั้งในระดับองค์กรและระดับสมาชิก ในด้านความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน เงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรม และแผนครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง แห่ง ละ 10 คน รวมทั้งสิ้น 50 คน ในด้านของการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ การออม การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการองค์กร และสมาชิก ทําให้สถาบันเกษตรกรเกิดความเข้มแข็ง และสามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของสมาชิ กได้ เชิงคุณภาพ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั้ง 5 แห่ง ได้เล็งเห็นความสําคัญของการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเป็นส่วนหนึ่งที่มีความสําคัญที่จะขับเคลื่อนให้สมาชิกมีความยินดี อยู่ดี และสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีความเข้ม แข็งด้านการบริห ารงาน คณะกรรมการจึง ได้กํ าหนดนโยบายให้ทุ ก ภาคส่วนของสหกรณ์ กลุ่ม เกษตรกร ได้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการบริหารงานของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และสนับสนุนให้ สมาชิกมีการดําเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในการดํารงชีวิต - สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรได้ น ำปรัช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งไปประยุ ก ต์ ใช้ เ ป็ น แบบอย่ า งได้ จำนวน 2 แห่ง - สมาชิกสหกรณ์มีรายได้เพิ่มขึ้นจากอาชีพเสริม ตามโครงการของสหกรณ์

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 61

คลิปการติดตามโครงการเลี้ยงปลาบึก และให้ความรู้ อาชีพเสริม

ภาพการรายงานผลและนำเสนอ

ภาพการลดรายจ่ายและเพิม่ รายได้

ภาพกิจกรรมช่วยเหลือสังคม

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 62

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 5. โครงการส่งเสริมการเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่ในสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย ร่วมบูรณาการกับสำนัก งานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดหนองคาย ในการแนะนำส่งเสริมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน/กลุ่มอาชีพในพื้นที่โครงการ 1 ตำบล 1 เกษตรทฤษฎีใหม่ โดยได้รับ การส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์ ตามนโยบายกรมส่งเสริมสหกรณ์ โดยได้ประสานงาน ติดตาม และตรวจเยี่ยมการดำเนินโครงการส่งเสริ มการเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่ แนะนำส่งเสริมเกษตรที่ได้รับ การคัดเลือกเป็นจุดเรียนรู้ให้สามารถดำเนินกิจกรรมได้ตามวัตถุประสงค์จำนวน 5 แห่ง ผลการดำเนินงาน เชิ งปริ มาณ เกษตรกรที่ ร่วมโครงการดำเนิน งานและสามารถเป็ นจุ ดเรียนรู้ในการดำเนิ นกิ จ กรรมได้ ตามวัตถุประสงค์ เชิงคุณภาพ 1.เกษตรกรในพื้นที่ดำเนินงานฯได้รับการส่งเสริมการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ 2.บันทึกข้อมูลเกษตรกรเป้าหมายในระบบฐานข้อมูล ๕ ประสานฯ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน 3. เกษตรกรในพื้นที่ดำเนินการ มีแผนการพัฒ นาให้เป็นศูนย์เรียนรู้การเพิ่ มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร (ศพก.) จำนวน 5 ราย

ภาพแหล่งเรียนรู้การลดต้นทุนการผลิต

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 63

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคทางสังคม 1. โครงการช่วยเหลือหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร วัตถุป ระสงค์ เพื่ อ ลดดอกเบี้ยและลดต้นทุ น ในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่ ส มาชิก สหกรณ์ /กลุ่ ม เกษตรกร เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสนำเงินส่วนที่ได้รับการ ช่วยเหลือไปฟื้นฟูประกอบอาชีพตลอดจนมีเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน กลุ่มเป้าหมาย สหกรณ์ 7 แห่ง จำนวนเงิน 2,124,689.70 บาท ตัวชี้วัดความสำเร็จ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบี้ย 4,874 ราย จำนวนสหกรณ์ และกลุ่ม เกษตรกรที่ มี อัตราส่วนเงินออมสมาชิก ต่อหนี้ สินของสมาชิก เพิ่ ม ขึ้น ร้อยละ 62 ผลที่คาดว่าจะได้รบั สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทีป่ ระกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสนำเงินส่วนที่ได้รบั การช่วยเหลือไปฟื้นฟูประกอบอาชีพตลอดจนมีเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน ผลการดำเนินงาน เชิงคุณ ภาพ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่ มเกษตรกรได้รับความช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนด้านภาระหนี้สิน สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับโอกาสในการฟื้นฟูอาชีพตนเอง เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ มีหนี้เงินกู้เพื่อการเกษตรได้รับการลดดอกเบี้ย จำนวน 4,874 ราย สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้น 7 แห่ง

ออกตรวจและติดตามโครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 64

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคทางสังคม 2. โครงการศึ ก ษาดู งานในการเสริ ม สร้ างประสบการและการเพิ่ ม ศั ก ยภาพการทำเกษตร ผสมผสานของสมาชิก (โครงการลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพเกษตรกร) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสนับสนุนให้สมาชิกสหกรณ์ ลูกหลานสมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรทั่วไป ได้เพิ่มพูนความรู้ เสริมสร้าง ประสบการณ และพัฒนาศักยภาพในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร 2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์ ลูกหลานสมาชิกสหกรณ์ และเกษตรกรทั่วไป ได้สานต่ออาชีพเกษตรกรรมต่อจาก ครอบครัวและนำแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นำไปใช้ในการดำเนินธุรกิจหรือกิจกรรมต่าง กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วยสมาชิกสหกรณ์ ลูกหลานสมาชิก สหกรณ์ เกษตรกรทั่วไป ผู้สังเกตการณ์ และเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง 200 คน กิจกรรม กิจกรรมเยี่ยมชมนิทรรศการและการศึกษาดูงานรูปแบบการทำเกษตรผสมผสาน ของสมาชิกกรที่เข้า โครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตรโดยได้รับเกียรติจากรัฐมนตรีช่วยกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ (ท่านมนัญญา ไทยเศรษฐ์) เป็นประธานเปิดโครงการ พร้อมปาฐกถาพิเศษ ในโครงการนี้ด้วย ผลการดำเนินงาน 1. สมาชิกสหกรณ์ ลูกหลานสมาชิกสหกรณ์และเกษตรทั่วไป มีความรู้ และเพิ่ มพูนประสบการณ์การทำ เกษตรแบบผสมผสาน ตามแนวทางหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความคิดเห็นในการทำการเกษตรแบบผสมผสาน ระหว่าเกษตรกรรุ่นเก่า สู่รุ่นใหม่

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 65

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 66

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก แผนบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 1. โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร (คทช.) วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอาชีพและการตลาดในรูปแบบเศรษฐกิจชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียงในพื้นที่เป้าหมายการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนภายใต้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่เป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม บูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงาน และติดตามผลการ ดำเนินโครงการฯ ดังนี้ 1) ป่าพานพร้าวและป่าแก้งไก่ อ.สังคม จำนวน 380 ราย 2) นิ ค มสร้ า งตนเองโพนพิ สั ย ตำบลโพนแพง อำเภอรั ต นวาปี ตำบลกุ ด บง อำเภอโพนพิ สั ย จำนวน 75 ราย งบประมาณ 8,700.-บาท ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. ราษฎรในเขตพื้นที่เป้าหมายได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ 2. จัดทำฐานข้อมูลราษฎรในพื้นที่เป้าหมาย ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. มีการรวมกลุ่มและจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ในพื้นที่เป้าหมายการจัดที่ดินทำกินให้ ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล 2. การส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดให้เกษตรกรภายใต้การอนุรักษ์ดินและน้ำอย่างยั่น ยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ผลการดำเนินงาน เชิ งคุ ณ ภาพ สมาชิก สหกรณ์ และกลุ่ม เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการได้รับ การส่ง เสริม และพัฒ นาอาชีพ เกษตรกรรมและอาชีพเสริม สร้างรายได้ที่มั่นคง เชิงปริมาณ เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 10

โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร (คทช.)

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 67

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก แผนบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 2. โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินค้าเกษตร วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตร เชื่อมโยงเครือข่า ยคลัสเตอร์ของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1. สหกรณ์เพื่อการตลาดลูกค้าธ.ก.ส.หนองคายจำกัด 2. สหกรณ์การเกษตรนิคมฯโพนพิสัย จำกัด 3. สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ตำบลเวียงคุก จำกัด 4. กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านว่าน งบประมาณ 18,000 บาท ตัวชี้วดั ความสำเร็จ 1. สหกรณ์ และกลุ่ ม เกษตรกรได้ รั บ การส่ งเสริ ม และพั ฒนาการบริ ห ารจั ด การด้ านการตลาด การเชื่อมโยงเครือข่าย/คลัสเตอร์ 3 แห่ง 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้(ปริมาณธุรกิจ)เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ผลที่คาดว่าจะได้รับ กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 1. ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ครั้งที่ 1 2. Catalog สินค้า ในกลุ่มคลัสเตอร์ผู้ผลิตสินค้า ได้แก่ ข้าว ประมงและปศุสัตว์ อย่างน้อย 1 Catalog 3. รายชื่อ สหกรณ์ และ/หรือ กลุ่ม เกษตรกรแม่ ข่ายคลัส เตอร์สินค้ า และรายชื่อสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรลูกข่าย (ที่เข้าร่วมประชุมและที่ร่วมทำ Catalog เพิ่มเติม) กิจกรรมที่ 2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 2 1. ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ครั้งที่ 2 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ไม่น้อยกว่า 3 แห่ง สามารถตกลงเบื้องต้น(มีแผน การขับเคลือ่ นความ ร่วมมือในระยะเวลาต่อไป) อย่างน้อยแห่งละ 1 คู่ ผลการดำเนินงาน เชิงคุณภาพ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการด้านการตลาด การเชื่อมโยงเครือข่าย/คลัสเตอร์ 4 แห่ง เชิงปริมาณ สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 9,950,324.77 บาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.04 เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 68

ผลการดาเนินงาน/โครงการตามนโยบายสาคัญ ประจาปี พ.ศ. 2565

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 69

โครงการตามนโยบายสำคัญ ประจำปี พ.ศ. 2565 งานส่งเสริมและพัฒนา 1. โครงการสนั บสนุ นการรวบรวมและการกระจายผลไม้ เพื่ อ ยกระดับ ราคาไม่ให้ต กต่ำของ สถาบันเกษตรกร วัตถุประสงค์ การรวบรวมและกระจายผลไม้เพื่อยกระดับราคาไม่ให้ตกต่ำผ่านสถาบัน เกษตรกรและเครือข่าย สหกรณ์ เพื่ อ บรรเทาความ เดื อ ดร้ อ นของสมาชิ ก เกษตรกรจากสถานการณ์ การระบาดของโรค โควิด -19 และผลไม้ ล้นตลาดทำให้ร าคาตกต่ำ กรมส่งเสริม สหกรณ์ใช้ก ลไกสหกรณ์ เข้าช่วยเหลือสมาชิก สหกรณ์ 2 มาตรการ ได้แก่ มาตรการการปลกเปลี่ยนสินค้ากันระหว่างเครือข่ายสหกรณ์ เน้นข้าวสารแลกกับ ผลไม้ เนื่องจากเป็นสินค้าที่ได้รับผลกระทบเรื่องช่องทางการตลาดในขณะนี้ และอีกมาตรการคือการซื้อขาย โดยตรงระหว่างสหกรณ์ชวนสวนผลไม้กับสหกรณ์ผู้บ ริโภคในจังหวัดต่างๆ เป็นการกระจายผ่านเครือข่ายของ ศูนย์กระจายสินค้าสหกรณ์ ซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ และสหกรณ์ขนาดใหญ่ระดับอำเภอ เป็นอีกหนึ่งแนวทางใน การช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรผู้ผลิตผลไม้ ซึ่งใช้ขบวนการสหกรณ์เป็นกลไกในการ กระจายผลไม้ จากเกษตรกรและสมาชิกสหกรณ์ชาวสวนผลไม้ ส่งถึงมือผู้บริโภคโดยตรง กลุ่มเป้าหมาย สหกรณ์จังหวัดหนองคาย ได้ดำเนินการสำรวจสหกรณ์ระดับอำเภอ ที่มี ความพร้อมในการเป็น สหกรณ์ปลายทางเพื่อรองรับ การกระจายผลไม้ จากสหกรณ์ต้นทางผู้ผลิต สหกรณ์ที่มี ความพร้อมที่จะเป็น สหกรณ์ ป ลายทางจังหวั ดหนองคายในปี พ.ศ. 2565 คือ สหกรณ์ ก ารเกษตรท่ าบ่อ จำกั ด โดยช่วยเหลือ เกษตรกรผู้ปลูกลำไย สั่งซื้อลำไยสดจากสหกรณ์ผู้ปลูกลำไยจังหวัดลำพูน จำกัด จังหวัดลำพูน เพื่อกระจาย ลำไยให้กั บ สหกรณ์ ในจัง หวัดหนองคาย หน่ วยงานราชการ ภาคเอกชน และ ประชาชนทั่ วไปในจัง หวัด หนองคาย ตัวชี้วัดความสำเร็จ กระจายผลผลิตทางการเกษตรเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตมาถึงผู้บริ โภคได้ตาม วัตถุประสงค์ ผู้บริโภคปลายทางได้รับผลไม้ที่สดและมีคุณภาพ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้ช่วยเหลือผลผลิตเกษตรกรให้ได้ราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพของลำไย ผลการดำเนินงาน เชิงคุณภาพ สหกรณ์ปลายทาง และผู้บริโภค ได้บริโภคลำไยสด พันธุ์อีดอ คุณภาพ A+AA คุณภาพส่งออก เชิงปริมาณ มีการกระจายผลไม้ จำนวน 3 ตัน เป็นเงินมูลค่า 110,000 บาท

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 70

โครงการตามนโยบายสำคัญ ประจำปี พ.ศ. 2565 งานส่งเสริมและพัฒนา 2. โครงการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเข้าร่วมกับหน่วยงานอื่น เพื่อวางแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่ 2. เพื่อถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรแปลงใหญ่ ด้านการตลาด การรวมกลุ่ม 3. เพื่อติดตามการดำเนินงานแปลงใหญ่. กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 8 แปลง แปลงใหญ่ในความรับผิดชอบ 1 แปลง 1. แปลงใหญ่อ้อยโรงงาน ตำบลหนองนาง อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย (สกต.ธ.ก.ส.หนองคาย จำกัด) แปลงใหญ่ร่วมบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 7 แปลง 1. แปลงใหญ่ข้าวบ้านคุยลุมพุก 2. แปลงใหญ่ข้าวบ้านโพนทัน 3. แปลงใหญ่ข้าวบ้านโคกพัฒนา 4. แปลงใหญ่สบั ปะรด ตำบลรัตนวาปี อำเภอรัตนวาปี จังหวัดหนองคาย 5. แปลงใหญ่อ้อยโรงงานตำบลบ้านฝาง อำเภอสระใคร จังหวัดหนองคาย 6. แปลงใหญ่ยางพาราสหกรณ์กองทุนสวนยางกุดบงยางพารา จำกัด 7. แปลงใหญ่ปลาตะเพียรขาวศรีเชียงใหม่ งบประมาณที่ได้รบั เป็นเงิน จำนวน 2,800 บาท ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. จัดทำ MOU บริษัทน้ำตาลไทยอุดรธานี จำกัด 2. ประชุมวางแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรแปลงใหญ่ ด้านการตลาดการรวมกลุ่ม และติดตามการดำเนินงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกษตรกรมีตลาดรับซื้อผลผลิตที่แน่นอนและขายได้ในราคายุติธรรม ผลการดำเนินงานตามโครงการ เชิงคุณภาพ จัดทำ MOU กับบริษัทน้ำตาลไทยอุดรธานี จำกัด เชิงปริมาณ รวบรวมผลผลิตจากสมาชิกแปลงใหญ่ 35 ราย จำนวน 25,579,870 ตัน

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 71

โครงการตามนโยบายสำคัญ ประจำปี พ.ศ. 2565 งานส่งเสริมและพัฒนา 3. เงินกู้ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื่อให้สหกรณ์ผู้ใช้บ ริการเข้าถึงแหล่งทุ นในการขับเคลื่อนเศรษฐกิ จของสมาชิกและชุมชน และพัฒนา ทักษะของทรัพ ยากรบุคคลในกองทุ นฯให้มีความเชี่ยวชาญ เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนเป็นไปอย่า งมี ประสิทธิภาพ และเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการ กลุ่มเป้าหมาย สหกรณ์ทุกประเภทในจังหวัดหนองคาย งบประมาณที่ได้รับ 35,628,000 บาท ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ สหกรณ์กู้เงินกองทุนพัฒ นาสหกรณ์โครงการปกติและโครงการพิ เศษ จำนวนเงิน 35,628,000 บาท จำนวน 26 แห่ง สมาชิกจำนวน 683 ราย ชำระหนี้ได้ตามกำหนดระยะเวลา เชิงคุณภาพ สหกรณ์เข้าถึงแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ำ สมาชิกสหกรณ์ ได้รับเงินทุนเพื่อนำไปหมุนเวียนใน การประกอบอาชีพและสามารถชำระหนี้ได้ตามระยะเวลาที่กำหนด

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2565

ตรวจติดตามการใช้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์โครงการปกติ/โครงการพิเศษ

ไถ่ถอนจำนองที่ดินให้สหกรณ์การเกษตรโพนพิสัย จำกัด (กู้เงินกพส.เพือ่ สร้างอาคารสำนักงาน)

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 72

รางวัลที่หน่วยงานได้รับจากหน่วยงานภาคส่วนต่างๆ ภายนอก (ถ้ามี) รับรำงวัลองค์กรต้นแบบด้ำนกำรส่งเสริมกำรแต่งกำยด้วยผ้ำไทย ประจำปีงบประมำณ 2565 จำกกำรคัดเลือกของสำนักงำนวัฒนธรรมจังหวัดหนองคำย ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สำนัก งานสหกรณ์ จัง หวัดหนองคายได้เข้าร่วมกิ จ กรรมที่ ดำเนินงาน เกี่ยวกับการส่งเสริมการแต่งกายด้วยผ้าไทยหรือผ้าพื้นเมือง และได้รับรางวัล รางวัลองค์กรต้นแบบด้านการ ส่งเสริมการแต่งกายด้วยผ้าไทย ประจำปีงบประมาณ 2565 จากการคัดเลือกของ สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด หนองคาย กิจกรรมที่ดำเนินงานเกี่ยวกับการส่งเสริมการแต่งกายด้วยผ้าไทยหรือผ้าพื้นเมือง ดังนี้ 1. กิจกรรมนุง่ ผ้าไทยใส่บาตรริมแม่น้ำโขง บุคลาการสำนักงานสหกรณ์จงั หวัดหนองคาย ร่วมใจนุง่ ผ้าไทย ใส่บาตรริมแม่น้ำโขง ณ บริเวณท่าน้ำท่าเสด็จ อ.เมือง ทุกวันอังคารที่ 3 ของเดือน

รูปใบประกาศที่ได้รับ

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 73

รับใบประกำศนียบัตรสำหรับหน่วยงำนที่มีกำรพั ฒนำเชิงประจักษ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จากผลการประเมิ นการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดและสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์ กรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กรมส่งเสริมสหกรณ์มีการประเมินผลให้ หน่วยงาน ได้รับใบประกาศนียบัตรสำหรับหน่ วยงานที่มีการพัฒ นา เชิงประจักษ์

นางวนิดา อามาตย์ทัศน์ สหกรณ์จังหวัดหนองคาย รับรางวัล หน่วยงานที่มกี ารที่มีการพัฒนาเชิงประจักษ์

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 74

ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพั นธ์งานสหกรณ์ และ สร้างภาพลักษณ์หรือวัฒนธรรมของ หน่วยงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 75

งานบูรณาการกับหน่วยงานภาคส่วนอื่น

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 76

งานวันสหกรณ์

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 77

งานวันสถาปนากรมส่งเสริมสหกร์ ครบรอบ 50 ปี วันที่ 28 กันยายน 2565 ถึง วันที่ 1 ตุลาคม 2565 นางวนิดา อามาตย์ทัศน์ สหกรณ์จังหวัดหนองคาย เข้าร่วมโครงการจัดงานเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปี 2565 ณ โรงแรมปริ๊น พาเลซ ถ.กรุงเกษม กรุงเทพฯ โดยในงานมี การสัมมนาวิชาการ การจัด นิทรรศการด้านผลงานวิชาการ การ แสดงมุ ฑิ ตาจิตผู้เกษียณอายุร าชการ การมอบของที่ ร ะลึก และเข้าร่วมกิจ กรรมวันคล้ายวันสถาปนากรม ส่งเสริมสหกรณ์ ครบ 50 ปี ในวันที่ 1 ตุลาคม 2565

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 78

กิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับจังหวัด

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 79

กิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับสหกรณ์/กลุม ่ เกษตรกร

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 80

ส่วนที่ 4 รายงานข้อมูลงบการเงิน (ณ วันที่ 30 กันยายน 2565)

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 81

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย งบแสดงสถานะทางการเงิน สำหรับปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 รายการ

หมายเหตุ

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินฝากคลัง ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ ค้างรับจาก บก. รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อาคาร อุปกรณ์ (สุทธิ) รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

2

ปี 2565 (บาท)

30,000.00 86,742.90 116,742.90

17,4000.00 24,810.00 420.00 42,630.00

3,126,772.25 3,126,772.25 3,243,515.15

3,827,828.69 3,827,828.69 3,870,458.69

26,200.00 6,000.00 41,052.00 5,374.48 3,800.00 82,426.48

420.00 17,400.00 188,530.00 41,052.00 7,895.93 255,297.93

3,159,910.00 455,257.76 (454,079.09) 3,161,088.67

3,159,910.00 1,665,513.24 (1,210,262.48) 3,615,160.76

หนี้สินและทุนของสำนักงาน ใบสำคัญค้างจ่าย เงินประกันอื่น เจ้าหนี้การค้าภายนอก เจ้าหนี้ อื่น-หน่วยงานรัฐ ร/ด รอรับรู้ เงินรับฝากอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน ทุนของสำนักงาน ทุน รายได้สูงต่ำค่าใช้จ่ายสะสม รายได้/ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น รวมทุน

ปี 2564 (บาท)

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงิน (ลงชื่อ)

วนิดา อามาตย์ทัศน์ (นางวนิดา อามาตย์ทัศน์) สหกรณ์จังหวัดหนองคาย

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 82

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย งบรายได้และค่าใช้จ่าย สำหรับปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 หมายเหตุ รายได้จากการดำเนินงาน รายได้ค่าธรรมเนียมอื่น รายได้ค่าปรับอื่น รายได้เหลือจ่าย รายรับจากขายครุภัณฑ์ รายได้จากการบริจาค TR-รับงบบุคลากร TR-รับงบลงทุน TR-รับงบดำเนินงาน TR-รับงบอุดหนุน TR-รับงบกลาง TR-ส่วนราชการรับเงินนอก TR-ปรับเงินฝากคลัง รายได้ระหว่างกันในกรม รวมรายได้จากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายงบบุคลากร ค่าใช้จ่ายงบกลาง ค่าใช้จ่ายงบดำเนินงาน ค่าสาธารณูปโภค ค่าเสื่อมราคา ค่าใช้จ่ายอื่น อุดหนุน T/E เบิกเกินส่งคืน T/E โอนเงินให้ส่วนราชการ T/E โอนรายได้แผ่นดินให้ บก. T/E ปรับเงินฝากคลัง T/E ภายในกรมปรับหมวดรายจ่าย รวมค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน

รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน

3 4 5 6 7 8 9

ปี 2565 (บาท)

ปี 2564 (บาท)

112.00 4,670.00 32,721.45 4,197,574.80 382,400.00 3,707,192.67 2,775,689.70 191,016.75 24,000.00 36,600.00 44,159.98 11,396,137.35

3,609,206.36 3,043,425.61 239,495.00 37,200.00 24,000.00 11,026,959.98

4,937,853.80 139,116.75 2,472,766.75 369,502.02 936,624.31 80,146.13 2,775,689.70 65,393.07 36,600.00 4,782.00 24,000.00 7,741.91 11,850,216.44

4,760,480.50 239,495.00 2,476,175.11 385,040.09 1,041,562.93 122,850.84 3,042,425.61 104,755.00 24,000.00 3,237.38 37,200.00 12,237,222.46

(454,079.09) (ลงชื่อ)

51.00 2,721.38 465.00 13,170.83 4,057,224.80

(1,210,262.48)

วนิดา อามาตย์ทัศน์ (นางวนิดา อามาตย์ทัศน์) สหกรณ์จังหวัดหนองคาย

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 83

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2564 หมายเหตุที่ 1 – สรุปนโยบายการบัญชี 1.1 หลักเกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามเกณฑ์คงค้าง ซึ่งเป็นไปตามข้อกำหนดในหลักการและนโยบายบัญชีสำหรับหน่วยงาน ภาครัฐ ฉบับที่ 2 ตามประกาศกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2546 การจัดประเภทและการแสดง รายการในงบการเงินถือปฏิบัติตามหนังสือกรมบัญชีกลางเรื่องรูปแบบรายงานการเงินของหน่วยงานภาครัฐ สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ.2549 1.2 ขอบเขตของข้อมูลในรายงาน รายการที่ปรากฏในงบการเงิน รวมถึงสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นของรัฐบาลในภาพรวม แต่ ให้ ห น่ วยงานเป็ น ผู้ รับ ผิด ชอบในการดูแ ลรั ก ษาและบริห ารจั ด การให้ แ ก่ รั ฐบาลภายใต้อ ำนาจหน้า ที่ ตามกฎหมายและรวมถึงสินทรัพ ย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นของหน่วยงานที่ ใช้เพื่อประโยชน์ ในการดำเนินงานของหน่วยงานเองไม่ว่ารายการดังกล่าวจะเป็นรายการที่ เกิ ดจากเงินในงบประมาณหรือ เงินนอกงบประมาณซึ่งเป็นรายการที่เกิดขึ้นของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดหนองคาย 1.3 การรับรู้รายได้ 1) รายได้จากเงินงบประมาณรับรูเ้ มื่อได้รับอนุมัติคำขอเบิกเงินจากกรมบัญชีกลาง 2) รายได้เงินนอกงบประมาณรับรูเ้ มื่อเกิดรายได้ 3) รายได้แผ่นดินรับรู้เมื่อได้รบั เงิน 1.4 วัสดุคงเหลือ แสดงในราคาทุน และตีราคาวัสดุคงเหลือโดยวิธีเข้าก่อนออกก่อน 1.5 เงินลงทุนระยะสั้น แสดงในราคาทุน ส่วนใหญ่เป็นเงินฝากประจำที่มีระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี 1.6 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 1) ที่ดินแสดงในราคาประเมินส่วนใหญ่เป็นที่ดินราชพัสดุทอี่ ยู่ในความดูแลของกรมธนารักษ์ 2) อาคาร แสดงในราคาทุนหักค่าเสือ่ มราคาสะสม เป็นอาคารที่หน่วยงานมีกรรมสิทธิ์ 3) อุปกรณ์ แสดงในราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม 1.7 ค่าเสือ่ มราคา ค่าเสื่อมราคา คำนวณจากราคาทุนและอุปกรณ์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งาน โดยประมาณของสินทรัพย์ ดังนี้ 1) อาคารและสิง่ ปลูกสร้าง 15-40 ปี 2) อุปกรณ์ 2-12 ปี

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 84

หมายเหตุที่ 2 อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ) อาคารสำนักงาน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม อาคารสำนักงาน (สุทธิ) สิ่งปลูกสร้าง หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม สิ่งปลูกสร้าง (สุทธิ) อาคารไม่ระบุ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม อาคารไม่ระบุ (สุทธิ) ครุภัณฑ์สำนักงาน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ครุภัณฑ์สำนักงาน (สุทธิ) ครุภัณฑ์ยานพาหนะ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ครุภัณฑ์ยานพาหนะ (สุทธิ) ครุภัณฑ์ไฟฟ้า&วิทยุ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ครุภัณฑ์ไฟฟ้า&วิทยุ (สุทธิ) ครุภัณฑ์โฆษณา หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ครุภัณฑ์โฆษณา (สุทธิ) ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ (สุทธิ) ครุภัณฑ์บ้านครัว หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ครุภัณฑ์บ้านครัว (สุทธิ) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (สุทธิ) รวมที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ)

ปี 2565 (บาท) 60,000.00 48,076.71 11,923.29 854,175.00 737,280.42 116,894.58 4,877,800.00 4,120,658.67 757,141.33 1,370,499.08 1,079,867.64 290,631.44 5,086,500.00 3,445,478.10 1,641,021.90 34,265.00 14,576.77 19,688.23 368,480.00 350,396.63 18,083.37 1,033,740.83 825,057.01 208,683.82 26,850.00 26,847.00 3.00 79,190.00 16,488.71 62,701.29 3,126,772.25

ปี 2564 (บาท) 60,000.00 44,076.71 15,923.29 298,400.00 161,619.82 136,780.18 5,127,800.00 4,238,416.34 889,383.66 1,378,499.08 954,163.06 424,336.02 5,086,500.00 2,947,165.60 2,139,334.40 34,265.00 7,721.80 26,543.20 418,480.00 346,664.08 71,815.92 1,090,840.83 972,132.92 118,707.91 26,850.00 26,847.00 3.00 7,190.00 2,188.89 5,001.11 3,827,828.69

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 85

หมายเหตุที่ 3 ค่าใช้จ่ายงบบุคลากร ค่าตอบแทนพนักงานราชการ เงินค่าครองชีพ เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เงินสมทบกองทุนเงินทดแทน ค่าเช่าบ้าน

ปี 2565 (บาท) 4,161,154.80 36,420.00 106,779.00 6,200.00 627,300.00 4,937,853.80

ปี 2564 (บาท) 4,018,864.80 38,360.00 94,642.00 7,200.00 601,413.70 4,760,480.50

หมายเหตุที่ 4 ค่าใช้จ่ายงบกลาง เงินช่วยการศึกษาบุตร ค่ารักษา-นอก-รพ.รัฐ ค่ารักษาบำนาญใน-รัฐ

ปี 2565 (บาท) 99,806.75 23,260.00 16,050.00 139,116.75

ปี 2564 (บาท) 124,735.00 82,650.00 32,110.00 239,495.00

หมายเหตุที่ 5 ค่าใช้จ่ายงบดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการอบรมในประเทศ ค่าใช้จ่ายอบรม-ภายนอก ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก ค่าใช้จ่ายเดินทางอื่นในประเทศ ค่าวัสดุ ค่าซ่อมแซม&บำรุงฯ ค่าเชื้อเพลิง ค่าจ้างเหมาบริการ-ภายนอก ค่าจ้างเหมาบริการ-ภายรัฐ ค่าใช้จ่ายในการประชุม ค่าเช่าอสังหา-นอก ค่าเช่าเบ็ตเตล็ด-นอก

ปี 2565 (บาท) 23,180.00 192,910.00 246,770.00 36,460.00 169,797.99 112,162.00 206,229.52 50,600.00 1,274,142.24 3,600.00 84,915.00 72,000.00 2,472,766.75

ปี 2564 (บาท) 16,150.00 213,220.00 283,445.00 28,960.00 243,330.02 196,922.00 112,123.35 31,200.00 1,170,874.74 109,950.00 69,400.00 600.00 2,476,175.11

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 86

หมายเหตุที่ 6 ค่าสาธารณูปโภค ค่าไฟฟ้า ค่าประปา&น้ำบาดาล ค่าโทรศัพท์ ค่าสื่อสาร&โทรคมนาคม ค่าไปรษณีย์โทรเลข

ปี 2565 (บาท) 191,992.37 26,692.82 76,504.53 23,529.30 50,783.00 369,502.02

ปี 2564 (บาท) 190,340.71 27,078.93 74,949.99 23,767.46 68,903.00 385,040.09

หมายเหตุที่ 7 ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคา-อาคารอื่น ค่าเสื่อมราคา-สิ่งปลูกสร้าง ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์สำนักงาน ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์ยานพาหนะ ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์ไฟฟ้า ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์โฆษณา ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์บ้านครัว ค่าเสื่อมราคา-อาคารไม่ระบุฯ

ปี 2565 (บาท) 4,000.00 19,893.60 142,891.56 498,312.50 6,854.97 53,609.26 78,821.09 132,241.33 936,624.31

ปี 2564 (บาท) 4,000.00 19,893.59 213,804.50 498,312.50 4,667.98 55,398.03 71,275.20 9,092.13 165,119.00 1,041,562.93

ปี 2565 (บาท) 4,407.00 40,300.00 14,299.82 18,200.00 2,813.02 123.29 1.00 2.00 80,146.13

ปี 2564 (บาท) 4,407.00 40,500.00 1,600.00 1,438.46 72,155.00 2,721.38 1.00 25.00 3.00 122,850.84

หมายเหตุที่ 8 ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าประชาสัมพันธ์ ค่าใช้สอยอื่นๆ ตัดจำหน่าย-software จัดหาสินทรัพย์ต่ำกว่าเกณฑ์ ค่าใช้จ่ายผลัดส่งรายได้/แผ่นดิน จำหน่ายครุภัณฑ์ สนง. จำหน่ายครุภัณฑ์โฆษณา จำหน่ายครุภัณฑ์ไม่ระบุฯ จำหน่ายคอมฯ

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 87

หมายเหตุที่ 9 งบอุดหนุน อุดหนุนดำเนินงานธุรกิจอื่น อุดหนุนลงทุนอื่น

ปี 2565 (บาท)

ปี 2564 (บาท)

2,125,689.70

3,042,425.61

650,000.00

-

2,775,689.70

3,042,425.61

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 88

ส่วนที่ 5 ภาคผนวก สรุปผลสาเร็จตามตัวชี้วัดหลัก (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ของงาน/โครงการ ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจาปี (พ.ศ.2563-2565)

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 89

ส่วนที่ 5 สรุปผลสาเร็จตามตัวชี้วัดหลัก (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ของงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติ งานและงบประมาณรายจ่ายประจาปี (พ.ศ.2563-2565)

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 90

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 91

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 92

รำยงำนประจำปี 2565

Annual Report 2022 I 93

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.