รายงานประจำปี 2565 สมบูรณ์ Flipbook PDF


16 downloads 98 Views 12MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

รายงาน ผลการปฏิบัติงานประจำปี สำ นั ก ง า น ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด พั ง ง า ป ร ะ จำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 5

สำ นั ก ง า น ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด พั ง ง า มกราคม 2566 ก ร ม ส่ ง เ ส ริ ม ส ห ก ร ณ์

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

สารจากสหกรณ์จงั หวัด พังงา

สำนั ก งานสหกรณ์ จั ง หวั ด พั ง งา เป็ น หน่ ว ยงานราชการในสั ง กั ด กรมส่ ง เสริ ม สหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่บทบาทอำนาจหน้าที่ในการกำกับดูแล และแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ เกษตรกร และประชาชนทั่วไป ในการสร้างการรับรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักการ อุดมการณ์ และ วิธีการสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา ปฏิบัติงานแนะนำส่งเสริม สหกรณ์ จำนวน 35 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จำนวน 23 แห่ง และกลุ่มอาชีพจำนวน 11 แห่ง และ ปฏิบัติงานตามแผนงานประจำปีของกรมส่ งเสริมสหกรณ์ ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ และงานตามยุทธศาสตร์จังหวัดพังงา โดยในปีที่ผ่านมา เราได้เผชิญกับสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ส่งผลกระทบต่อวิถีการดำรงชีวิต และความ เป็ น อยู่ข องทุ ก คน รวมถึ ง การปฏิ บั ติงานของเจ้าหน้ าที่ ส่งเสริมสหกรณ์ ด้วยทำให้ ทุ กคนต้ อ ง ปรับเปลี่ยนไปสู่วิถีชีวิตปกติใหม่ ซึ่งเราก็สามารถปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือ ร่วมใจ สมัครสมานสามัคคี ในโอกาสนี้ ขอขอบพระคุณ ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา รองผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร หน่วยงานราชการ ต่ าง และหน่ ว ยงานภาคเอกชน ที่ มี ส่ ว นบู รณการ ขั บ เคลื่ อ น ช่ ว ยเหลื อ ส่ งเสริ ม ภารกิ จ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา ให้ประสบผลสำเร็จ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อมูลจากรายงานผลการ ดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา จะเป็นประโยชน์ สำหรับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ที่สนใจ และต้องขอขอบคุณคณะทำงานทุกท่าน ที่ร่วมแรง ร่วมใจ กันจัดทำรายงานฉบับนี้ ให้สำเร็จลุล่วงโดยดี

(นายสุทยุต พูลสมบัติ) สหกรณ์จังหวัดพังงา 30 กันยายน 2565 “WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร”



รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

“WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร”



รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

นางธัญชนก ศรีพุฒ หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป

นางสาวพิมลศรี นาคจินดา นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ

นายหยีใบ บิลโส๊ะ พนักงานขับรถยนต์

นางลลินทิพย์ แก้วไกร เจ้าพนักงานธุรการ

นางสาวจิรวรรณ ลิขิตโยธิน นักจัดการงานทั่วไป

นางสาววิภาณี พูนดี เจ้าพนักงานธุรการ

“WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร”

นางสาวทิพอาภา ทับศึก นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

นางวาศินี เทพเสนา เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี



รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

นางสาวฉวีวรรณ เกิดควน ผู้อำนวยการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์

นางสาวเจนจิรา โคกเคียน นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ

นายฉัตรชัย อุณพันธ์ พนักงานพิมพ์ ส4

นายณัฎฐชัย บุตรเดี้ยม นักวิชาการสหกรณ์

นางสาวอรอนงค์ จิตจำ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์

นายศักราช สะอาด นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ

นายเถลิงรัฐ รักษายศ นักวิชาการมาตรฐานสินค้า

“WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร”

นายเรืองยศ แก้วการจร เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์



รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

นายองอาจ สงวนพงษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์

นายนิพิชฌม์โชติ เพ็งสกุล นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ

นางสาวโฉมสอางค์ แก้วการจร นักวิชาการสหกรณ์

นางสาวณิชาภัทร์ สัญญี นักวิชาการสหกรณ์

นางสาววันดี ปิ่นแก้ว ผู้อำนวยการกลุ่มตรวจการสหกรณ์

นายอภิชาติ คชสวัสดิ์ นิติกรปฏิบัติการ

นางเอมอร บุญแต่ง นิติกร

“WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร”



รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

นายเอนก ภู่มาลา ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1

นางสาวเสาวนิตย์ ประคองสิน นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ

นายกัมพล ทองคำ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ

นางวิภารัตน์ มะมิง เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์

นางสาวปวีณา แรงกล้า เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์

นางสาวอำพร แสงงาม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2

นายภัทรายุทธ บุญอมร นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ

นางสาวสุนันทา มาศอรุณ นักวิชาการสหกรณ์

“WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร”

นางสาวปฐมาวดี พวงแก้ว เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์



รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

นางสาวสุรัสวดี สุวรรณรัตน์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4

นางสาวอลิสา หนูจีน นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ ปฏิบัติการปฏิบัติการ

นางสาวประภัสสร จินดารัตน์ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ

นางสมร เทียนงาม นักวิชาการสหกรณ์

“WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร”



รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

บทสรุปผูบ้ ริหาร สำนั ก งานสหกรณ์ จั งหวั ด พั งงา เป็ น หน่ ว ยงานราชการส่ ว นภู มิ ภ าค สั งกั ด กรมส่ ง เสริ ม สหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีภารกิจในการแนะนำส่งเสริม พัฒ นาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทุกประเภท ให้ ค วามรู้ เกี่ ย วกั บ อุ ด มการณ์ หลั ก การ และวิธี ก ารสหกรณ์ ให้ แ ก่ บุ ค ลากรสหกรณ์ กลุ่ ม เกษตรกร และ ประชาชนทั่วไปให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ มีประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร สามารถยกระดับการ ให้ บ ริ ก ารแก่ ส มาชิ ก และมี ป ระสิ ท ธิภ าพในการดำเนิ น ธุร กิ จและการบริ ห ารงาน โดยส่ งเสริม ให้ น ำหลั ก ธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารจัดการ พร้อมทั้งประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินงาน ปีประมาณ พ.ศ. 2565 มีอัตรากำลัง จำนวน 37 คน ประกอบด้วย ข้าราชการ 19 คน ลูกจ้างประจำ 2 คน และพนักงานราชการ 16 คน ตามโครงสร้างสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดพังงา ตามภารกิจในการขับเคลื่อน การดำเนินงานแผนงาน/โครงการ ตามยุทธศาสตร์ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน และยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสั งคม ประกอบด้ว ย 1) ฝ่ ายบริหารทั่วไป 2) กลุ่ มจัดตั้งและส่ งเสริม สหกรณ์ 3) กลุ่ มส่ งเสริม และพั ฒนาธุรกิจสหกรณ์ 4) กลุ่ มส่ งเสริมและพั ฒ นาการบริห ารการจัดการสหกรณ์ 5) กลุ่มตรวจการสหกรณ์ 6) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ จำนวน 4 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 รั บ ผิ ด ชอบ 2 อำเภอ ได้ แ ก่ อำเภอเมื อ งพั งงา และอำเภอทั บ ปุ ด 2) กลุ่ ม ส่ งเสริม สหกรณ์ 2 รั บ ผิ ด ชอบ 2 อำเภอ ได้แก่ อำเภอตะกั่วทุ่ง อำเภอท้ายเหมือง อำเภอเกาะยาว 3) กลุ่ มส่ งเสริมสหกรณ์ 4 รับผิดชอบ 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอตะกั่วป่า อำเภอกะปง และอำเภอคุระบุรี โดยได้ รั บ การอนุ มั ติ แ ผนปฏิ บั ติ ง าน จำนวน 6 แผนงาน 14 โครงการ และได้ รั บ การจั ด สรร งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 22,678,866.63 บาท ดังนี้ แผนงานบุคลากรภาครัฐ แผนงานบุคลากรภาครัฐ ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 1) โครงการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ 2) งานกำกับดูแล แก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์ และงานตรวจการ 3) โครงการส่งเสริมและผลักดันสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 4) โครงการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น 5) โครงการยกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร 6) โครงการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 7) โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.)

“WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร”



รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า 1) โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ (นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร) 2) โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน 3) โครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 1) โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร 2) โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินค้าเกษตร เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โครงการปรั บ โครงสร้ า งการผลิต การรวบรวม และการแปรรู ป ของสถาบั น เกษตรกร รองรั บ ผลผลิตทางการเกษตร (พรก.เงินกู้) ผลการเข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา มีสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ที่อยู่ในความรับผิดชอบแนะนำ ส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแล สหกรณ์ จำนวน 35 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จำนวน 23 แห่ง รวมจำนวน 58 แห่ง 1. ผลการดำเนินงาน สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจ จำนวน 5,128.96 ล้านบาท มีกำไรสุทธิ 362.53 บาท มีสมาชิก จำนวน 44,386 คน กลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจ จำนวน 91.37 ล้านบาท มีกำไรสุทธิ 1.86 บาท มีสมาชิก จำนวน 3,375 คน 2. ผลการจัดระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดังนี้ 1. สหกรณ์ระดับชั้น 1 จำนวน 7 แห่ง 2. สหกรณ์ระดับชั้น 2 จำนวน 25 แห่ง 3. สหกรณ์ระดับชั้น 3 จำนวน 3 แห่ง 4. สหกรณ์ระดับชั้น 4 (ชำระบัญชี) จำนวน 3 แห่ง 5. กลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 1 ไม่มีกลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 1 6. กลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 2 จำนวน 19 แห่ง 7. กลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 3 จำนวน 3 แห่ง 8. กลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 4 (ชำระบัญชี) จำนวน 2 แห่ง

“WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร”



รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

3. ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1. สหกรณ์ จำนวน 35 แห่ ง สามารถผ่ า นเกณฑ์ ม าตรฐานของกรมส่ ง เสริ ม สหกรณ์ จำนวน 15 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 42.85 2. กลุ่ มเกษตรกร จำนวน 23 แห่ ง สามารถผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่ งเสริมสหกรณ์ จำนวน 16 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 69.56 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา มีผลการดำเนินงานตามกรอบการประเมิน การปฏิ บั ติร าชการของกรมส่ งเสริ มสหกรณ์ อยู่ในระดับ ที่ 30 ของประเทศ เมื่อเทียบกับ ปี ที่ผ่ านมาลำดั บ ผลการปฏิบัติราชการดีขึ้น ซึ่งปัจจัยสำคัญหลายประการในการปฏิบัติราชการ เพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ ทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม เป็นหลัก ตลอดจนการปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ ต่าง ๆ เป้ าหมายสำคัญ คื อ การส่ งเสริ มสหกรณ์ และกลุ่ มเกษตรกร ให้ มีค วามเข้ม แข็ ง ภู มิคุ้ ม กัน ทั น ต่ อ ความเปลี่ ย นแปลง ซึ่งต้องอาศัย การบู ร ณาการในการปฏิ บัติงานกับทุ กภาคส่ วน ตลอดจนการปฏิ บัติงาน ตามนโยบายต่าง ๆ ของรัฐบาลควบคู่ไปพร้อม ๆ กัน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา ได้รับความช่วยเหลือกำลัง แรงกาย แรงใจจากสหกรณ์ กลุ่ ม เกษตรกร เครื อ ข่ า ยสหกรณ์ ขบวนการสหกรณ์ ใ นจั ง หวั ด พั ง งา กลุ่ ม อาชี พ เกษตรกร ประชาชน ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ า วนเสี ย หน่ ว ยงานภาครั ฐ รั ฐ วิ ส าหกิ จ และภาคเอกชน ในการขับเคลื่อนให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งและยั่งยืน

“WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร”



รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

สารบัญ สารผู้บริหาร ทำเนียบบุคลากรในหน่ายงาน บทสรุปผู้บริหาร ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน ➢ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอำนาจหน้าที่ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา ➢ แนวทางการขับเคลื่อนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับแผนระดับ 3 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์รวมถึงนโยบายและทิศทางการพัฒนาจังหวัด ในระดับพื้นที่ ➢ โครงสร้างและอัตรากำลังของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา ➢ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ➢ สรุปข้อมูลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสังกัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ส่วนที่ 2 ผลสั มฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงาน/โครงการภายใต้แผนปฏิบัติ งานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณและงานโครงการสำคัญหรืองาน บูรณาการในพื้นที่ตามนโยบายของกรมและกระทรวงจากการใช้จ่ายงบประมาณ ของหน่วยงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565  แผนงานพื้นฐาน - แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน  แผนงานยุทธศาสตร์ - แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า - แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม - แผนงานยุ ท ธศาสตร์ เพื่ อ สนั บ สนุ น ด้ านการสร้า งโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม  แผนบูรณาการ - แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก  ผลการดำเนินงานโครงการตามนโยบายสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งานส่งเสริมและพัฒนา - โครงการสนับสนุนการรวบรวมและการกระจายผลไม้เพื่อยกระดับราคาไม่ให้ตกต่ำ ของสถาบันเกษตรกร - โครงการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565  เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565  กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565  โครงการปรั บ โครงสร้ า งการผลิ ต การรวบรวมและการแปรรู ป ของสถาบั น เกษตรกร รองรับผลผลิตทางการเกษตร (พรก.เงินกู้) WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า ก ข ซ 3

19

21 56

69 72

หน้า 1

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

สารบัญ (ต่อ) ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพันธ์งานสหกรณ์ฯ และสร้างภาพลักษณ์หรือวัฒนธรรมองค์ของ หน่วยงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ส่วนที่ 4 รายงานข้อมูลงบการเงิน (ณ วันที่ 30 กันยายน 2565) ส่ ว นที่ 5 ภาคผนวก สรุ ป ผลสำเร็ จ ตามตั ว ชี้ วั ด หลั ก (เชิ ง ปริ ม าณ และเชิ ง คุ ณ ภาพ) ของงาน/โครงการตามแผนปฏิ บั ติ ง านและงบประมาณ รายจ่ า ยประจำปี พ.ศ. 2563-2565 ส่วนที่ 6 บรรณานุกรม

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

81 86

99

หน้า 2

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 3

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 4

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 5

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

โครงสร้างและอัตรากาลังของสานักงานสหกรณ์จงั หวัดพังงา บุคลากรสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา มีทั้งหมด 37 คน ประกอบด้วย - สหกรณ์จังหวัด 1 คน - ข้าราชการ 18 คน - ลูกจ้างประจำ 2 คน - พนักงานราชการ 16 คน - ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565

สานักงานสหกรณ์จงั หวัดพังงา ฝ่ายบริหารทัว่ ไป ประกอบด้วย 8 คน ข้าราชการ 2 คน ลูกจ้างประจำ 1 คน พนักงานราชการ 5 คน

กลุม่ จัดตัง้ และ ส่งเสริมสหกรณ์ ประกอบด้วย 4 คน ข้าราชการ 2 คน ลูกจ้างประจำ 1 คน พนักงานราชการ 1 คน

กลุม่ ส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์

กลุม่ ส่งเสริมและพัฒนาการ บริหารการจัดการสหกรณ์

ประกอบด้วย 4 คน ข้าราชการ 2 คน พนักงานราชการ 2 คน

ประกอบด้วย 4 คน ข้าราชการ 2 คน พนักงานราชการ 2 คน

กลุม่ ตรวจการ สหกรณ์ ประกอบด้วย 3 คน ข้าราชการ 2 คน พนักงานราชการ 1 คน

กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์

กลุม่ ส่งเสริมสหกรณ์ 1

กลุม่ ส่งเสริมสหกรณ์ 2

กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4

ประกอบด้วย 5 คน ข้าราชการ 3 คน พนักงานราชการ 2 คน

ประกอบด้วย 4 คน ข้าราชการ 2 คน พนักงานราชการ 2 คน

ประกอบด้วย 4 คน ข้าราชการ 3 คน พนักงานราชการ 1 คน

รับผิดชอบ - อำเภอเมืองพังงา - อำเภอทับปุด

รับผิดชอบ - อำเภอท้ายเหมือง - อำเภอตะกั่วทุ่ง - อำเภอเกาะยาว

รับผิดชอบ - อำเภอกะปง - อำเภอตะกั่วป่า - อำเภอคุระบุรี

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 6

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ชื่อ 1

ชื่อ – สกุล

ตำแหน่ง

นายสุทยุต พูลสมบัติ สหกรณ์จังหวัดพังงา ฝ่ายบริหารทั่วไป 2 นางสาวธัญชนก ศรีพุฒ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ 3 นางสาวพิมลศรี นาคจินดา นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ 4 นายหยีใบ บิลโส๊ะ พนักงานขับรถยนต์ (ลูกจ้างประจำ) 5 นางสาวทิพอาภา ทับศึก นักวิเคราะห์นโยบายและแผน (พนักงานราชการ) 6 นางสาวจิรวรรณ ลิขิตโยธิน นักจัดการงานทั่วไป (พนักงานราชการ) 7 นางลลินทิพย์ แก้วไกร เจ้าพนักงานธุรการ (พนักงานราชการ) 8 นางสาววิภาณี พูนดี เจ้าพนักงานธุรการ (พนักงานราชการ) 9 นางวาศินี เทพเสนา เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี (พนักงานราชการ) กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ 10 นางสาวฉวีวรรณ เกิดควน ผอ.กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ 11 นางสาวเจนจิรา โคกเคียน นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ 12 นายฉัตรชัย อุณพันธ์ พนักงานพิมพ์ ส 4 (ลูกจ้างประจำ) 13 นายณัฏฐชัย บุตรเดี้ยม นักวิชาการสหกรณ์ (พนักงานราชการ) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ 14 นางสาวอรอนงค์ จิตจำ ผอ.กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ 15 นายศักราช สะอาด นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ 16 นายเถลิงรัฐ รักษายศ นักวิชาการมาตรฐานสินค้า (พนักงานราชการ) 17 นายเรืองยศ แก้วการจร เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ (พนักงานราชการ) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ 18 นายองอาจ สงวนพงษ์ ผอ.กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ 19 นายนิพิญชม์โชติ เพ็งสกุล นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ 20 นางสาวโฉมสอางค์ แก้วการจร นักวิชาการสหกรณ์ (พนักงานราชการ) 21 นางสาวณิชาภัทร สัญญี นักวิชาการสหกรณ์ (พนักงานราชการ) กลุ่มตรวจการสหกรณ์ 22 นางสาววันดี ปิ่นแก้ว ผอ.กลุ่มตรวจการสหกรณ์ 23 นายอภิชาติ คชสวัสดิ์ นิติกรปฏิบัติการ 24 นางเอมอร บุญแต่ง นิติกร (พนักงานราชการ)

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 7

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ชื่อ

ชื่อ – สกุล กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 25 นายเอนก 26 นางสาวเสาวนิตย์ 27 นายกัมพล 28 นางวิภารัตน์ 29 นางสาวปวีณา กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 30 นางสาวอัมพร 31 นายภัทรายุทธ์ 32 นางสาวสุนันทา 33 นางสาวปฐมาวดี กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 34 นางสาวสุรัสวดี 35 นางสาวอลิสา 36 นางสาวประภัสสร 37 นางสมร

ตำแหน่ง ภู่มาลา ประคองสิน ทองคำ มะมิง แรงกล้า

ผอ.กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ (พนักงานราชการ) เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ (พนักงานราชการ)

แสงงาม บุญอมร มาศอรุณ พวงแก้ว

ผอ.กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นักวิชาการสหกรณ์ (พนักงานราชการ) เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ (พนักงานราชการ)

สุวรรณรัตน์ หนูจีน จินดารัตน์ เทียนงาม

ผอ.กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นักวิชาการสหกรณ์ (พนักงานราชการ)

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 8

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 9

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ประเภทงบรายจ่าย รวมทั้งสิ้น งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น

ปี พ.ศ. 2563 21.16 4.37 3.62 1.78 1.37 10.02

ปี พ.ศ. 2563 20.16

ปี พ.ศ. 2564 16.13 4.77 4.09 0.24 0.01 7.02

ปี พ.ศ. 2564

ปี พ.ศ. 2565 22.69 4.87 3.96 3.98 0.01 9.87 หน่วย : ล้านบาท

ปี พ.ศ. 2565

22.69

16.13

4.374.774.87

3.624.093.96

3.98 1.78 0.24

10.02 9.87 7.02 1.370.010.01

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 10

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

สรุปข้อมูลสหกรณ์ กลุม่ เกษตรกร และกลุม่ อาชีพในสังกัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ณ 30 กันยายน 2565  ข้อมูลสถิติของสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565  จำนวนสหกรณ์และจำนวนสมาชิก จำนวนสมาชิก ประเภทสหกรณ์

จำนวน สหกรณ์ (แห่ง)

รวมสมาชิก ทั้งหมด (คน)

สมาชิก สามัญ (คน)

สมาชิก สมทบ (คน)

1. สหกรณ์การเกษตร 2. สหกรณ์ประมง 3. สหกรณ์ออมทรัพย์ 4. สหกรณ์บริการ รวม

26 1 4 4 35

34,660 62 9,164 500 44,386

33,839 62 7,823 498 42,222

821 0 1,341 2 2,164

จำนวนสมาชิกที่มี ส่วนร่วมในการ ดำเนินธุรกิจ (คน)

ร้อยละ

24,683 62 5,047 292 30,084

71.21 100 55.07 58.4 67.77

ที่มา : (กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา)  สถานะสหกรณ์ จำนวนสหกรณ์ (แห่ง) ประเภทสหกรณ์

ดำเนินงาน (1)

1. สหกรณ์การเกษตร 2. สหกรณ์ประมง 3. สหกรณ์ออมทรัพย์ 4. สหกรณ์บริการ รวม

26 1 4 4 35

หยุดดำเนินงาน เลิก/ชำระบัญชี (2) (3)

-

จัดตั้งใหม่ (4)

จำนวนสหกรณ์ ทั้งหมด (1)+(2)+(3)+(4)

-

27 1 5 4 37

1 1 2

ที่มา : (กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา)

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 11

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

 ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ(ล้านบาท) ประเภทสหกรณ์

ปริมาณ ธุรกิจ (แห่ง)

1. สหกรณ์การเกษตร 2. สหกรณ์ประมง 3. สหกรณ์ออมทรัพย์ 4. สหกรณ์บริการ รวม

26 1 4 4 35

รับฝาก เงิน

ให้เงินกู้

จัดหา สินค้ามา จำหน่าย 47.57 62.30 137.79 0 0 0.003 1,357 3,251 0 0 0.21 0.01 1,404.57 3,313.51 137.80

รวบรวม ผลผลิต

แปรรูป ผลผลิต

236.72 0 0 0 236.72

35.27 0 0 0 35.27

บริการ รวมทั้งสิ้น และอื่น ๆ 0.98 0 0 0.11 1.09

520.63 0.003 4,608 0.33 5,128.96

ที่มา : (กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา)  ผลการดำเนินงานของสหกรณ์ ผลการดำเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

กำไร (ขาดทุน) ผลการดำเนินงานในภาพรวม การดำเนินงานมีผลกำไร – ขาดทุน สุทธิใน จำนวน รายได้ ค่าใช้จ่าย สหกรณ์ที่มีผลกำไร สหกรณ์ที่ขาดทุน ภาพรวม ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ (ล้าน (ล้านบาท) จำนวน กำไร จำนวน ขาดทุน (แห่ง) บาท) สหกรณ์ (ล้านบาท) สหกรณ์ (ล้านบาท) (ล้านบาท) (แห่ง) (แห่ง) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (5) – (7) 1. สหกรณ์การเกษตร 26 428.01 421.51 18 9.79 8 (3.29) 6.50 2. สหกรณ์ประมง 1 0.02 0.02 0.10 0.09 1 3. สหกรณ์ออมทรัพย์ 4 355.96 355.96 556.52 200.56 4 4. สหกรณ์บริการ 4 0.17 1 (0.12) 0.05 0.64 0.59 3 รวม 35 985.27 622.75 26 365.94 9 (3.41) 362.53

ที่มา : (กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา)

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 12

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

 ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์จำแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 ประเภทสหกรณ์ 1. สหกรณ์การเกษตร 2. สหกรณ์ประมง 3. สหกรณ์ออมทรัพย์ 4. สหกรณ์บริการ รวม

สหกรณ์ชั้น 1 3 4 7

สหกรณ์ชั้น 2 22 1 2 25

สหกรณ์ชั้น 3 1 2 3

สหกรณ์ชั้น 4 1 1 2

รวม 27 1 5 4 37

ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน

กราฟแสดงผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 ผลการจัดชั้นสหกรณ์ 25

20 15 10 5 0

1. สหกรณ์การเกษตร

2. สหกรณ์ประมง

สหกรณ์ชั้น 1

3. สหกรณ์ออมทรัพย์

สหกรณ์ชั้น 2

4. สหกรณ์บริการ

สหกรณ์ชั้น 3

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

สหกรณ์ชั้น 4

หน้า 13

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

 ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ เปรียบเทียบ 3 ปี พ.ศ.2563-2565 ระดับชั้น

ระดับชั้น ณ 30 กันยายน 2563 (แห่ง/ร้อยละ)

ระดับชั้น ณ 30 กันยายน 2564 (แห่ง/ร้อยละ)

ระดับชั้น ณ 30 กันยายน 2565 (แห่ง/ร้อยละ)

ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4

7 แห่ง/ร้อยละ 18.42 27 แห่ง/ร้อยละ 71.05 1 แห่ง / ร้อยละ 2.63 3 แห่ง/ ร้อยละ 7.89

6 แห่ง/ร้อยละ 16.66 27 แห่ง/ร้อยละ 75 2 แห่ง/ร้อยละ 5.55 1 แห่ง/ร้อยละ 2.77

7 แห่ง/ร้อยละ 18.92 25 แห่ง/ร้อยละ 67.57 3 แห่ง/ ร้อยละ 8.11 2 แห่ง /ร้อยละ 5.41

รวม

38 แห่ง/ ร้อยละ 100

36 แห่ง/ ร้อยละ 100

37 แห่ง/ ร้อยละ 100

กราฟแสดงผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ เปรียบเทียบ 3 ปี พ.ศ.2563-2565 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 ระดับชั้นสหกรณ์ ปี 2563 27

ปี 2564

ปี 2565

27 25

7

6

7 1

ชัน้ 1

ชัน้ 2

2

3

ชัน้ 3

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

3 1

2

ชัน้ 4

หน้า 14

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

 ข้อมูลสถิติของกลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จำนวนกลุ่มเกษตรกรและจำนวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร จำนวนสมาชิก

ประเภทกลุ่มเกษตรกร 1. กลุ่มเกษตรกรทำนา 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 3. กลุ่มเกษตรกรทำประมง รวม

จำนวนสมาชิก จำนวน รวมสมาชิก สมาชิกสามัญ สมาชิกสมทบ ที่มีส่วนร่วมใน กลุ่ม การดำเนิน ทั้งหมด (คน) (คน) (คน) เกษตรกร ธุรกิจ (คน) (แห่ง) 3 323 323 0 85 19 1,383 2,996 2,996 0 1 36 56 56 0 23 3,375 3,375 0 1,504

ร้อยละ 26.31 46.16 64.28 44.56

ที่มา : (กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา) สถานะกลุ่มเกษตรกร จำนวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) ประเภทกลุ่มเกษตรกร 1. กลุ่มเกษตรกรทำนา 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 3. กลุ่มเกษตรกรทำประมง รวม

ดำเนินงาน หยุดดำเนินงาน เลิก/ชำระบัญชี (1) (2) (3) 3 18 3 1 22 3

จัดตั้งใหม่ (4) 1 1

จำนวนกลุ่มเกษตรกร ทั้งหมด (1)+(2)+(3)+(4) 3 22 1 26

ที่มา : (กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา) ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ(ล้านบาท) ประเภทกลุ่มเกษตรกร

ปริมาณ ธุรกิจ (แห่ง)

รับฝาก เงิน

ให้เงินกู้

1. กลุ่มเกษตรกรทำนา 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 3. กลุ่มเกษตรกรทำประมง รวม

3 19 1 23

0.009 2.40 0 2.40

0.07 20.91 0.03 21.01

จัดหา รวบรวม สินค้ามา ผลผลิต จำหน่าย 0.09 3.35 0.002 3.44

0 56.55 0 56.55

แปรรูป ผลผลิต

บริการ และอื่น ๆ

รวม ทั้งสิ้น

0 3.23 0 3.23

0 0.002 0 0.002

0.18 91.16 0.032 91.37

ที่มา : (กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา)

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 15

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ผลการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ผลการดำเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ประเภทกลุ่มเกษตรกร

1. กลุ่มเกษตรกรทำนา 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 3. กลุ่มเกษตรกรทำประมง รวม

กำไร การดำเนินงานมีผลกำไร – ขาดทุน กลุ่มเกษตรกรที่มี กลุ่มเกษตรกรขาดทุน (ขาดทุน) สุทธิใน ผลกำไร จำนวน กำไร จำนวน ขาดทุน ภาพรวม (ล้าน กลุ่ม (ล้าน กลุ่ม (ล้าน บาท) เกษตรกร บาท) เกษตรกร บาท) (แห่ง) (แห่ง) (4) (5) (6) (7) (5) – (7) 1 0.01 2 (0.01) (0.01) 2.38 3 (0.51) 1.87 15 1 (0.01) (0.01) 16 2.39 6 (0.53) 1.86

ผลการดำเนินงานในภาพรวม จำนวน รายได้ ค่าใช้จ่าย กลุ่ม (ล้าน (ล้าน เกษตรกร บาท) บาท) (แห่ง)

3 19 1 23

(2)

(3)

0.15 82.82 0.01 82.98

0.15 80.95 0.01 81.11

ที่มา : (กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา) ผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกรจำแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 ผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 ประเภทกลุ่มเกษตรกร 1. กลุ่มเกษตรกรทำนา 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 3. กลุ่มเกษตรกรทำประมง รวม

กลุ่มเกษตรกรชั้น 1 -

กลุ่มเกษตรกร ชั้น 2 1 17 1 19

กลุ่มเกษตรกร ชั้น 3 2 1 3

กลุ่มเกษตรกร ชั้น 4 2 2

รวม 3 20 1 24

ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองพัฒนาสหกรณ์ ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร กราฟแสดงผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 ระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร 19 2

3

19

ชั้น 1

ชั้น 2

ชั้น 3

ชั้น 4

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 16

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

 ผลการจัดชั้นกลุ่มเกษตรกรเปรียบเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ.2563 – 2565) ระดับชั้น

ระดับชั้น ระดับชั้น ระดับชั้น ณ 30 กันยายน 2563 ณ 30 กันยายน 2564 ณ 30 กันยายน 2565 (แห่ง/ร้อยละ) (แห่ง/ร้อยละ) (แห่ง/ร้อยละ) ชั้น 1 ชั้น 2 22 แห่ง/ร้อยละ 100 20 แห่ง/ร้อยละ 90.90 19แห่ง/ร้อยละ 79.16 ชั้น 3 2แห่ง/ร้อยละ 9.09 3 แห่ง/ร้อยละ12.5 ชั้น 4 2/8.33 รวม 22 22 24 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกรเปรียบเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ.2563 – 2565) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร

ผลการจัดชั้นกลุ่มเกษตรกร 25 20 15 10

5 0 ชัน้ 1

ชัน้ 2 ปี 2563

ชัน้ 3 ปี 2564

ชัน้ 4

ปี 2565

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 17

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ข้อมูลกลุ่มอาชีพ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ชื่อกลุ่มอาชีพ

จำนวน มาตรฐาน สมาชิก สินค้าที่ ได้รับ

สินค้าหลัก

สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สังกัด

หมวกใบร่มข้าว ตะกร้าไม้ไผ่ ขนมบ้าบิ่น จำหน่ายสินค้า อุปโภคบริโภค เครื่องแกง

สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านปากพู่ จำกัด

27

มผช.

สหกรณ์การเกษตร กนช.เกาะยาว จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบางวัน จำกัด

10 105

อย.

สหกรณ์การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด

28

5. กลุ่มสตรีเพื่อการส่งเสริมอาชีพบ้านโคกไคร อาหารทะเล แปรรูป 6. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านเขาตำหนอน เครื่องแกง, ขมิ้นผง

สหกรณ์การเกษตรทับปุด จำกัด

48

สหกรณ์การเกษตรทับปุด จำกัด

25

7. กลุ่มทำขนมพื้นบ้านไสเสียด (พืน้ ฐาน) 8. กลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านตีนเป็ด 9. กลุ่มสตรีมุกเกาะปันหยี

ขนมพื้นบ้าน กาละแม เครื่องประดับมุก

10 30 15

10. กลุ่มสตรีสหกรณ์ประมงบ้านบางพัฒน์

ปลาแดดเดียว กะปิ กุ้งเสียบ ปลาหมึกแห้ง ผลไม้แปรรูป

สหกรณ์การเกษตรทับปุด จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านตีนเป็ด จำกัด สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส.พังงา จำกัด สหกรณ์ประมงบ้านบางพัฒน์ จำกัด

มผช. , ฮาลาล, อย. มผช. , Q, สมส. มผช. , ฮาลาล อย. ,Q , สมส อย. มผช. มผช.

20

-

กลุ่มเกษตรกรทำสวนบางนายสีพฒ ั นา

20

-

1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านปากพู่ร่วมใจ 2. กลุ่มทำขนมบ้าบิ่นมะพร้าวพรุใน 3. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอาชีพอวนบ้านทุ่งรัก2 4. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านบางมรวน

11. กลุ่มอาชีพแปรรูปผลไม้บางนายสี

-

ที่มา : (กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา)

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 18

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 19

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 20

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน

➢ งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข็มแข็ง กลุม่ ส่งเสริมสหกรณ์ 1 1. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองพังงา อำเภอทับปุด จำนวนสหกรณ์ 11 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย ดำเนินงาน

งบประมาณทีไ่ ด้รบั 57,360

ผลการเบิกจ่าย 57,360

ร้อยละ 100

3. ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูผลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัดการขับเคลื่อนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 1. รักษาระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในระดับชั้น 1 แห่ง 3 3 100 2. ยกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจากระดับชั้น 2 สู่ชั้นที่ 1 แห่ง 15 1 6.66 3. ยกระดับ ชั้น ความเข้ม แข็งสหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกรจากระดับ ชั้น 3 สู่ชั้น ที่ 2 แห่ง 1 0 0 หรือชั้นที่ 1 ตัวชี้วัดด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน 1.1 สหกรณ์ ผ่ า นการประเมิ น การจั ด ชั้ น คุ ณ ภาพการควบคุ ม ภายในระดั บ พอใช้ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - รักษาให้อยู่ในระดับดีและดีมาก แห่ง 5 4 80 - ยกระดับจากระดับพอใช้ไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ แห่ง 4 3 75 - ยกระดับจากระดับต้องปรับปรุง/ไม่มีการควบคุมภายในขึ้นไปอย่างน้อยหนึ่ ง แห่ง 2 1 50 ระดับ 1.2 กลุ่มเกษตรกรผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับ ดีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 - ยกระดับจากระดับพอใช้ไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ แห่ง 0 0 0 - ยกระดับจากระดับต้องปรับปรุง/ไม่มีการควบคุมภายในขึ้นไปอย่างน้อยระดับดี แห่ง 8 0 0

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 21

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ตัวชี้วัด

หน่วยนับ

2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐานผ่านเกณฑ์มาตรฐาน กรมส่งเสริมสหกรณ์สหกรณ์ 2.1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - จำนวนที่นำมาจัด แห่ง - รักษาเป้าหมาย แห่ง - ผลักดันทีไ่ ม่ผา่ นให้ผ่าน แห่ง 2.2 กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 - จำนวนที่นำมาจัด แห่ง - รักษาเป้าหมาย แห่ง - ผลักดันทีไ่ ม่ผา่ นให้ผ่าน แห่ง 3. ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมสหกรณ์เพื่อคัดเลือกเป็นสหกรณ์ดีเด่น แห่งชาติ - สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมายเพื่อเสนอเข้ารับการคัดเลือก แห่ง - จำนวนที่พิจารณาคัดเลือกและส่งรายชื่อเพื่อคัดเลือกเป็นสหกรณ์/ แห่ง กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ 4. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถจัดทำงบการเงินและ ร้อยละ ปิดบัญชีประจำปีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี 5. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ในปี 2565 สามารถดำเนินกิจการได้ ร้อยละ อย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาธุรกิจ 1. การมีส่วนร่วมของสมาชิกในการให้บริการ/ดำเนินกิจกรรมร่วมกับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 สมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของจำนวนสมาชิก - รักษาสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 แห่ง - รักษาหรือยกระดับสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ ร้อยละ 60-69 แห่ง ให้มาใช้บริการเพิ่มขึ้น - ยกระดับสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ น้อยกว่า ร้อยละ 60 ให้ แห่ง มาใช้บริการเพิ่มขึ้น 1.2 สมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการกลุ่มเกษตรกรไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ของจำนวนสมาชิก - รักษาสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 แห่ง - ยกระดับสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ น้อยกว่าร้อยละ 70 ให้มา แห่ง ใช้บริการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 70 - ยกระดับสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ให้ แห่ง มาใช้บริการเพิ่มขึ้น

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

แผน

ผล

ร้อยละ

11 4 7

5 4 1

45.45 100 14.28

8 5 3

6 4 2

75 80 66.66

3 3

3 1

100 33.33

100

94.73 94.73

100

-

-

4 1

4 0

100 0

6

2

33.33

1 -

0 -

0 -

7

0

0

หน้า 22

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ตัวชี้วัด 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจาก ปีก่อน (ปี 2564) 2.1 สหกรณ์ 2.2 กลุ่มเกษตรกร 3. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับ มาตรฐานขึน้ ไป 3.1 สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐานขึน้ ไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - รักษาให้อยู่ในระดับมั่นคงดี และมั่นคงดีมาก - รักษาหรือยกระดับที่อยู่ระดับมั่นคงตามมาตรฐานให้สูงขึน้ - ยกระดับที่อยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐานให้สูงขึน้ 3.2 กลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับ มาตรฐานขึน้ ไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 - รักษาให้อยู่ในระดับมั่นคงดี และมั่นคงดีมาก - รักษาหรือยกระดับที่อยู่ระดับมั่นคงตามมาตรฐานให้สูงขึน้ - ยกระดับที่อยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐานให้สูงขึน้ อย่างน้อยระดับ มาตรฐาน 4. จำนวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของ สมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 4.1 สหกรณ์ 4.2 กลุ่มเกษตรกร 5. ผลการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีกำไรประจำปี ตัวชี้วัดด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. ประสิทธิภาพของการบริหารงาน (การแก้ไขปัญหาในการดำเนินกิจการ/ การบริหารงานของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร) 1.1 สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - รักษาสถานะภาพสหกรณ์ที่ไม่มีข้อบกพร่อง 1.2 กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 - รักษาสถานะภาพกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่อง - ผลักดันกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องให้แก้ไขแล้วเสร็จสมบูรณ์ 2. ร้อยละของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เกิดขึ้นก่อนปี พ.ศ. 2565 ไม่มี การทุจริต ตัวชี้วัดด้านการติดตามและสนับสนุนนโยบายที่สำคัญ 1. ติดตามการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด/สิง่ ก่อสร้าง ที่สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรได้รับการสนับสนุนจากกรมฯ 2. ติดตามงบประมาณเงินอุดหนุนทีส่ หกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับจากกรมให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

แห่ง แห่ง

11 8

3 3

27.27 37.50

แห่ง แห่ง แห่ง

5 1 5

5 1 1

100 100 20

แห่ง แห่ง แห่ง

4 2 2

2 1 1

50 50 50

แห่ง แห่ง ร้อยละ

11 8 100

แห่ง

7

7

100

แห่ง แห่ง ร้อยละ

8 100

8 100

100 100

ใช้ ประโยชน์ ร้อยละ ร้อยละ

100

100

100

100

100

100

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

7 63.63 4 100 73.38 73.38

หน้า 23

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ตัวชี้วัด 3. ติดตามการดำเนินโครงการลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพ เกษตร 4. ติดตามการดำเนินโครงการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ใน รูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 5. ติดตามการดำเนินงานการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ในระบบสหกรณ์และ โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 6. ติดตามการดำเนินโครงการช่วยเหลือด้านหนี้สนิ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร 7. ติดตามการดำเนินโครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหา ที่ดินทำกินของเกษตรกร

หน่วยนับ แห่ง

แผน 2

ผล 2

ร้อยละ 100

แห่ง

1

1

100

แห่ง

5

5

100

แห่ง

2

2

100

แห่ง

1

1

100

4. ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากการดำเนินงาน 1. สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 มีสมาชิกทั้งหมด 33,474 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการ ดำเนิ น ธุร กิจกับ สหกรณ์ 25,501 คน หรือคิดเป็ นร้อยละ76.18 มี ปริม าณธุรกิจลดลงจากปี 2564 จำนวน 782,156,847.54 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 14.26 มีผลกำไร จำนวน 355,880,517.16 บาท สหกรณ์สามารถ แก้ไขข้อบกพร่องแล้วจำนวน 4 แห่ง มูลค่าความเสียหายที่แก้ไขได้ จำนวน 202,858 บาท สหกรณ์มีผลการ จัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช้ขึ้นไป จำนวน 7 แห่ง สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ อยู่ในระดับมาตรฐานขึ้นไป จำนวน 6 แห่ง มี สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 5 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 45.45 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 10 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 90.90 2. กลุ่ มเกษตรกรในพื้ น ที่กลุ่มส่ งเสริมสหกรณ์ 1 มีส มาชิกทั้งหมด 636 คน โดยมีส มาชิกมีส่ วนร่ว ม ในการดำเนินธุรกิจกับ กลุ่ มเกษตรกร 243 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 38.21 มีปริมาณธุรกิจลดลงจากปี 2564 จำนวน 651,525 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 24.12 มีผลกำไร จำนวน 145,708.88 บาท กลุ่มเกษตรกรไม่มี ข้อบกพร่อง ไม่มีกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในระดับการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช้ ระดับดีและดี มาก กลุ่มเกษตรกรผ่ านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 6 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 75 โดยมีประสิทธิภ าพในการ ดำเนิ น ธุร กิจ อยู่ ในระดับ มาตรฐานขึ้น ไป จำนวน 3 แห่ ง มีกลุ่ มเกษตรกรอยู่ในระดับชั้น 2 จำนวน 6 แห่ ง หรือคิดเป็นร้อยละ 75 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่และสิทธิของตนเองหรือฝ่ายจัดการสหกรณ์ บางแห่งขาดความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน 2. สมาชิ ก สหกรณ์ และกลุ่ ม เกษตรกรยั ง ขาดการมี ส่ ว นร่ ว มในการทำธุ ร กิ จ กั บ สหกรณ์ และ กลุ่มเกษตรกร 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรหลายแห่ง ไม่สามารถติดตามเรียกเก็บหนี้สินจากสมาชิกซึ่งเป็นหนี้ค้าง นานได้ ประกอบกับคณะกรรมการดำเนินงานไม่มีการเร่งรัดติดตามหนี้และไม่มีการจัดทำแผนการติดตาม ทวงถามหนี้ 4. กลุ่ ม เกษตรกรในพื้ น ที่ คณะกรรมการดำเนิ น งานส่ ว นใหญ่ เป็ น ผู้ สู งอายุ ป ระกอบกับ ขาดเงิน ทุ น หมุนเวียนในกลุ่มไม่มีเงินทุนในการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี ซึ่งได้รับความช่วยเหลือการปิดบัญชีจากเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมสหกรณ์

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 24

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. จั ด เวที ป ระชุ ม ให้ ค วามรู้ ค ณะกรรมการสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร ด้ า นการบริ ห ารจั ด การ การควบคุมภายในเพื่อให้คณะกรรมการดำเนินงานให้เป็นตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ 2. แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้ความรู้สมาชิกให้เข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิก ส่งเสริมการมีส่วนรวมกับการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ 3. แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดำเนิน/เพิ่มธุรกิจให้ตรงกับความต้องการของสมาชิก 4. ประชุมร่วมกันระหว่างกลุ่มงาน เจ้าหน้าที่ส่งเสริม คณะกรรมการดำเนินงานและฝ่ายจัดการของ สหกรณ์เพื่อติดตามแก้ไขปัญหาหนี้ค้างนาน รับทราบปัญหาและอุปสรรคต่างๆมีการจัดทำแผนประชุมเพื่อสอบ ทานหนี้สินเงินกู้ เงินรับฝากของสมาชิกเพื่อยืนยันยอดระหว่างสมาชิกกับข้อมูลของสหกรณ์ 5. สนับสนุนเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรและเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรได้กู้เงิน ปลอดดอกเบี้ย/ดอกเบี้ยต่ำมาใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน 6. ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจัดทำแผนการติดตามทวงถามหนี้และเร่งรัดดำเนินการติดตาม หนี้ให้เป็นไปตามแผนที่ตั้งไว้ 7. สหกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกรที่ ใ ช้ เป็ น ตั ว อย่ า งหรื อ ต้ น แบบของการใช้ แ ผนแนะนำส่ ง เสริ ม ฯ ปี 2565 มาใช้ในการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565  สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพังงา จำกัด สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพังงา จำกัด จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2502 ปัจจุบันมีสมาชิก 5,334 คน มีทุนดำเนินงาน จำนวน 6483.59 ล้านบาท มีกำไรสุทธิ จำนวน 196.03 ล้านบาท มีมูลค่าธุรกิจรวมทั้งสิ้น จำนวน 2547.81 ล้านบาท โดยมีธุรกิจให้บริการแก่สมาชิก ดังนี้ 1. ธุรกิจสินเชื่อ ให้บริการเงินกู้แก่สมาชิก 3 ประเภท ได้แก่ เงินกู้ฉุกเฉิน เงินกู้สามัญ และเงินกู้พิเศษ จำนวน 1,339.08 ล้านบาท 2. ธุรกิจรับฝากเงิน ได้แก่ เงินรับฝากออมทรัพย์ จำนวน 1,118.37 ล้านบาท สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพังงา จำกัด ยังมีการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์สมาชิก ได้แก่ สวัสดิการ ด้านการศึกษา สวัสดิการด้านการสงเคราะห์ สวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล สวัสดิการด้านการประกันภัย นอกจากนี้สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพังงา จำกัด ได้รับคัดเลือกเป็นสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัดใน ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ โดยมีผลการให้คะแนน ดังนี้ 1. ความคิดริเริ่ม 97 คะแนน 2. ความสามารถในการบริหารและการจัดการสหกรณ์ 329.50 คะแนน 3. บทบาทและการมีส่วนร่วมของสมาชิกต่อสหกรณ์ 230 คะแนน 4. ความมั่งคงและฐานะทางเศรษฐกิจของสหกรณ์ 107 คะแนน 5. การทำกิจกรรมด้านสาธารณประโยชน์และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 150 คะแนน

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 25

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

กลุม่ ส่งเสริมสหกรณ์ 2 1. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองตะกั่วทุ่ง อำเภอท้ายเหมือง อำเภอเกาะยาว จำนวนสหกรณ์ 11 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย ดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ 80,800

ผลการเบิกจ่าย 80,800

ร้อยละ 100

3. ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูผลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดการขับเคลื่อนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 1. รักษาระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ใน ระดับชัน้ 1 2. ยกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจากระดับ ชั้น 2 สูช่ ั้นที่ 1 3. ยกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจากระดับ ชั้น 3 สูช่ ั้นที่ 2 หรือชั้นที่ 1 ตัวชี้วัดด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการ ควบคุมภายใน 1.1 สหกรณ์ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ระดับพอใช้ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - รักษาให้อยู่ในระดับดีและดีมาก - ยกระดับจากระดับพอใช้ไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ - ยกระดับจากระดับต้องปรับปรุง/ไม่มีการควบคุมภายในขึน้ ไป อย่างน้อยหนึ่งระดับ 1.2 กลุ่มเกษตรกรผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุม ภายในระดับดีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 - ยกระดับจากระดับพอใช้ไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ - ยกระดับจากระดับต้องปรับปรุง/ไม่มีการควบคุมภายในขึน้ ไป อย่างน้อยระดับดี

หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ แห่ง

1

1

100

แห่ง

16

1

6.25

แห่ง

1

1

100

แห่ง แห่ง แห่ง

4 3 4

4 1 2

100 33.33 50

แห่ง แห่ง

1 6

1 0

100 0

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 26

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ตัวชี้วัด 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐาน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกรมส่งเสริมสหกรณ์สหกรณ์ 2.1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - จำนวนที่นำมาจัด - รักษาเป้าหมาย - ผลักดันทีไ่ ม่ผา่ นให้ผ่าน 2.2 กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 - จำนวนที่นำมาจัด - รักษาเป้าหมาย - ผลักดันทีไ่ ม่ผา่ นให้ผ่าน 3. ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมสหกรณ์เพื่อคัดเลือกเป็น สหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติ - สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมายเพื่อเสนอเข้ารับ การคัดเลือก - จำนวนที่พิจารณาคัดเลือกและส่งรายชื่อเพื่อคัดเลือกเป็น สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ 4. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถจัดทำงบการเงินและ ปิดบัญชีประจำปีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี 5. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ในปี 2565 สามารถดำเนิน กิจการได้อย่างมีคุณภาพ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

แห่ง แห่ง แห่ง

11 5 6

5 4 1

45.45 80 16.66

แห่ง แห่ง แห่ง

7 3 4

3 2 1

42.85 66.66 25

แห่ง

1

1

100

แห่ง

1

0

0

ร้อยละ

100

94.73

94.73

ร้อยละ

100

100

100

แห่ง

4

3

75

แห่ง

1

1

100

แห่ง

6

1

16.66

แห่ง

3

0

0

แห่ง

1

0

0

ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาธุรกิจ 1. การมีส่วนร่วมของสมาชิกในการให้บริการ/ดำเนินกิจกรรม ร่วมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

1.1 สมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการสหกรณ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ของจำนวนสมาชิก - รักษาสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 - รักษาหรือยกระดับสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ ร้อย ละ 60-69 ให้มาใช้บริการเพิ่มขึ้น - ยกระดับสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ น้อยกว่า ร้อย ละ 60 ให้มาใช้บริการเพิ่มขึ้น 1.2 สมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการกลุ่มเกษตรกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของจำนวนสมาชิก - รักษาสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 - ยกระดับสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ น้อยกว่าร้อยละ 70 ให้มาใช้บริการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 70

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 27

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ตัวชี้วัด

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

- ยกระดับสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ให้มาใช้บริการเพิ่มขึ้น 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจ เพิ่มขึ้นจากปีก่อน (ปี 2564) 2.1 สหกรณ์ 2.2 กลุ่มเกษตรกร 3. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ใน ระดับมาตรฐานขึ้นไป 3.1 สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับ มาตรฐานขึน้ ไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - รักษาให้อยู่ในระดับมั่นคงดี และมั่นคงดีมาก - รักษาหรือยกระดับที่อยู่ระดับมั่นคงตามมาตรฐานให้สูงขึ้น - ยกระดับที่อยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐานให้สูงขึ้น 3.2 กลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับ มาตรฐานขึน้ ไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 - รักษาให้อยู่ในระดับมั่นคงดี และมั่นคงดีมาก - รักษาหรือยกระดับที่อยู่ระดับมั่นคงตามมาตรฐานให้สูงขึ้น - ยกระดับที่อยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐานให้สูงขึ้นอย่างน้อย ระดับมาตรฐาน 4. จำนวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราเงินออมของสมาชิกต่อ หนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 4.1 สหกรณ์ 4.2 กลุ่มเกษตรกร 5. ผลการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีกำไรประจำปี ตัวชี้วัดด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบ สหกรณ์ 1. ประสิทธิภาพของการบริหารงาน (การแก้ไขปัญหาในการดำเนิน กิจการ/การบริหารงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) 1.1 สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 - รักษาสถานะภาพสหกรณ์ที่ไม่มขี ้อบกพร่อง 1.2 กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 รักษาสถานะภาพกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่อง ผลักดันกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องให้แก้ไขแล้วเสร็จสมบูรณ์ 2. ร้อยละของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เกิดขึ้นก่อนปี พ.ศ. 2565 ไม่มีการทุจริต

แห่ง

3

1

33.33

แห่ง แห่ง

11 8

9 5

81.81 62.50

แห่ง แห่ง แห่ง

4 1 6

2 1 1

50 100 16.66

แห่ง แห่ง แห่ง

3 2 3

0 0 2

0 0 66.66

แห่ง แห่ง ร้อยละ

12 7 100

7 3 72.22

58.33 42.85 72.22

แห่ง

8

8

100

แห่ง แห่ง ร้อยละ

7 100

7 100

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

100 100

หน้า 28

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดด้านการติดตามและสนับสนุนนโยบายที่สำคัญ 1. ติดตามการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด/สิง่ ก่อสร้าง ที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการสนับสนุนจากกรมฯ 2. ติดตามงบประมาณเงินอุดหนุนทีส่ หกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ จากกรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 3. ติดตามการดำเนินโครงการลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่อ อาชีพเกษตร 4. ติดตามการดำเนินโครงการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้า สหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 5. ติดตามการดำเนินงานการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ในระบบ สหกรณ์และโครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร 6. ติดตามการดำเนินโครงการช่วยเหลือด้านหนี้สนิ สมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 7. ติดตามการดำเนินโครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไข ปัญหาที่ดนิ ทำกินของเกษตรกร

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

ใช้ ประโยชน์ ร้อยละ ร้อยละ

100

100

100

100

100

100

แห่ง

1

1

100

แห่ง

4

4

100

แห่ง

5

5

100

แห่ง

6

6

100

แห่ง

-

-

-

4. ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากการดำเนินงาน 1. สหกรณ์ ในพื้ น ที่ ก ลุ่ ม ส่ งเสริ ม สหกรณ์ 2 มี ส มาชิ ก ทั้ งหมด 4,740คน โดยมี ส มาชิ ก มี ส่ ว นร่ ว ม ในการดำเนิ น ธุร กิจ กั บ สหกรณ์ 2,860 คน หรือคิ ดเป็น ร้อยละ 60.34 มี ป ริม าณธุรกิจเพิ่ มขึ้น จากปี 2564 จำน วน 77,731,754.33 บ าท ห รื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 43.42 มี ผลก ำไร จำน วน 5,556,336.09 บ าท สหกรณ์สามารถแก้ไขข้อบกพร่องแล้ วจำนวน 3 แห่ ง มูลค่าความเสี ยหายที่แก้ไขได้ จำนวน 52,000 บาท สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช้ขึ้นไป จำนวน 5 แห่ง สหกรณ์มีประสิทธิภาพใน การดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐานขึ้นไป จำนวน 3 แห่ง มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 5 แห่ง หรือ คิดเป็นร้อยละ 45.45 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 10 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 90.90 2. กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 มีสมาชิกทั้งหมด 1,164คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมใน การดำเนินธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกร 529คน หรือคิดเป็นร้อยละ45.45 มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปี 2564จำนวน 2,762,433.54 บาท หรื อคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 4.61 มี ผ ลกำไร จำนวน 276,123.06 บาท กลุ่ ม เกษตรกรไม่ มี ข้อบกพร่อง กลุ่มเกษตรกรมีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช้ จำนวน 1 แห่ง และไม่มี กลุ่มที่อยู่ในระดับดีและดีมาก กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 3 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 42.85 โดยกลุ่ มเกษตรกรไม่มีป ระสิ ทธิภ าพในการดำเนิน ธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐานขึ้นไป มีกลุ่มเกษตรกรอยู่ใน ระดับชั้น 2 จำนวน 6 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 75 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน สหกรณ์ ในพื้น ที่ส่ วนใหญ่ ส ามารถบัน ทึกบั ญ ชีขั้นต้น จัดเก็บรายละเอียด และจัดทำงบการเงินได้ มีเพียงบางแห่ งที่ไม่ส ามารถจั ดเก็บ รายละเอียดเพื่อจัดทำงบการเงิน ต้องขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมสหกรณ์

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 29

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

กลุ่ ม เกษตรกรในพื้ น ที่ ที่ รั บ ผิ ดชอบ จำนวน 8 แห่ ง ไม่ มี เจ้ าหน้ าที่ ที่ จัด ทำบั ญ ชีขั้ น ต้น ร้อ ยละ 50 ของกลุ่มเกษตรกรทั้งหมด และในจำนวน 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ไม่สามารถจัดทำงบการเงินและปิดบัญชี ณ วันสิ้นปีทางบัญชีได้ ซึ่งกลุ่มเกษตรกรมีปีบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคมของทุกปี 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดหาสมาชิกหรือคณะกรรมการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เข้ามา ช่วยเหลือในการจัดทำบัญชี การจัดเก็บรายละเอียดทางบัญชี สามารถออกงบการเงินได้ โดยให้การสนับสนุน ในการอบรมให้ความรู้แก่สมาชิกหรือคณะกรรมการ ในเรื่องการจัดทำบัญชีและจัดทำงบการเงิน 7. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ใช้เป็นตัวอย่างหรือต้นแบบของการใช้แผนแนะนำส่งเสริมฯ ปี 2565 มาใช้ในการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565  สหกรณ์การเกษตรท้ายเหมือง จำกัด สหกรณ์การเกษตรท้ายเหมือง จำกัด จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2520 ปัจจุบันมีสมาชิก1,138 คน มีทุน ดำเนิ น งานจำนวน 103,173,517.35 บาท มีกำไรสุทธิ จำนวน 1,498,737.41 บาท มีมูลค่าธุรกิจรวม ทั้งสิ้น จำนวน96,986,057.44บาท โดยมีธุรกิจให้บริการแก่สมาชิก ดังนี้ 1. ธุร กิ จ สิ น เชื่ อในระหว่ างปี ส หกรณ์ ให้ เงิน กู้ จำนวน 17521470 บาท มี ลู กหนี้ เงิน ให้ กู้ค งเหลื อ 450 ราย เป็ น เงิน 63,974,144.23 บาท สหกรณ์ มี รายได้ รับ ดอกเบี้ ยทั้ งสิ้ น จำนวน 4,646,331.23 บาท ผลการดำเนินงานมีกำไรจำนวน 2,838,575.61 บาท 2. ธุร กิ จ จั ด หาสิ น ค้ ามาจำหน่ ายสหกรณ์ จั ด หาสิ น ค้ ามาจำหน่ าย จำนวน 23,328,470.37 บาท ผลการดำเนินงานมีกำไรจำนวน 669,383.64 บาท 3. ธุ รกิ จรวบรวมผลผลิ ตสหกรณ์ รวบรวมผลผลิ ตปาล์ มน้ ำมั นเพื่ อจำหน่ าย จำนวน 4,487,185 กิ โลกรั ม เป็นเงิน 36,021,572 บาทผลการดำเนินงานมีกำไรจำนวน 453,817.80 บาท 4. ธุ รกิ จผสมปุ๋ ยผสมในระหว่ างปี ขายปุ๋ ยผสม จำนวน 4,033 กระสอบ เป็ นจำนวนเงิ น 6,398,848.05 บาท ผลการดำเนินงานมีกำไร จำนวน 234,852.24 บาท 5. ธุ ร กิ จ รั บ ฝากเงิ น ในระหว่ า งปี ส หกรณ์ รั บ ฝากเงิ น จากสมาชิ ก สหกรณ์ อื่ น และอื่ น ๆ จำนวน 13,715,697.02 บาท สหกรณ์ มี เงิน รับ ฝากคงเหลื อ 1,188 บั ญ ชี เป็ นเงิน 66,707,498.04 บาท แยกเป็นเงินรับฝากจากสมาชิก จำนวน 64,502,984.55 บาท จากสหกรณ์อื่น จำนวน 1,588,499.43 บาท และจากสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ จำนวน 616,014.06 บาท

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 30

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

กลุม่ ส่งเสริมสหกรณ์ 4 1. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองตะกั่วป่า อำเภอกะปง อำเภอคุระบุรี จำนวนสหกรณ์ 13 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 7 แห่ง 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย ดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ 68,800

ผลการเบิกจ่าย 68,800

ร้อยละ 100

3. ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูผลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดการขับเคลื่อนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 1. รักษาระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ใน ระดับชัน้ 1 2. ยกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจากระดับชัน้ 2 สู่ชั้นที่ 1 3. ยกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจากระดับชัน้ 3 สู่ชั้นที่ 2 หรือชั้นที่ 1 ตัวชี้วัดด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการ ควบคุมภายใน 1.1 สหกรณ์ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุม ภายในระดับพอใช้ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - รักษาให้อยู่ในระดับดีและดีมาก - ยกระดับจากระดับพอใช้ไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ - ยกระดับจากระดับต้องปรับปรุง/ไม่มีการควบคุมภายในขึน้ ไป อย่างน้อยหนึ่งระดับ 1.2 กลุ่มเกษตรกรผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการ ควบคุมภายในระดับดีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 - ยกระดับจากระดับพอใช้ไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ - ยกระดับจากระดับต้องปรับปรุง/ไม่มีการควบคุมภายในขึน้ ไป อย่างน้อยระดับดี

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

แห่ง

2

1

50

แห่ง

16

0

0

แห่ง

2

1

50

แห่ง แห่ง แห่ง

6 1 6

5 1 1

83.33 100 16.66

แห่ง แห่ง

1 6

1 0

100 0

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 31

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ตัวชี้วัด หน่วยนับ 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐานผ่านเกณฑ์ มาตรฐานกรมส่งเสริมสหกรณ์สหกรณ์ 2.1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - จำนวนที่นำมาจัด แห่ง - รักษาเป้าหมาย แห่ง - ผลักดันที่ไม่ผ่านให้ผ่าน แห่ง 2.2 กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 - จำนวนที่นำมาจัด แห่ง - รักษาเป้าหมาย แห่ง - ผลักดันที่ไม่ผ่านให้ผ่าน แห่ง 3. ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมสหกรณ์เพื่อคัดเลือกเป็นสหกรณ์ ดีเด่นแห่งชาติ - สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมายเพื่อเสนอเข้ารับการคัดเลือก แห่ง - จำนวนที่พิจารณาคัดเลือกและส่งรายชื่อเพื่อคัดเลือกเป็นสหกรณ์/ แห่ง กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ 4. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถจัดทำงบการเงินและ ร้อยละ ปิดบัญชีประจำปีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี 5. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ในปี 2565 สามารถดำเนิน ร้อยละ กิจการได้อย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาธุรกิจ 1. การมีส่วนร่วมของสมาชิกในการให้บริการ/ดำเนินกิจกรรมร่วมกับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 สมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของจำนวนสมาชิก - รักษาสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 - รักษาหรือยกระดับสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ ร้อยละ 60-69 ให้มาใช้บริการเพิ่มขึ้น - ยกระดับสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ น้อยกว่า ร้อยละ 60 ให้มา ใช้บริการเพิ่มขึ้น 1.2 สมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการกลุ่มเกษตรกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของจำนวนสมาชิก - รักษาสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 - ยกระดับสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ น้อยกว่าร้อยละ 70 ให้มา ใช้บริการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 70 - ยกระดับสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ให้ มาใช้บริการเพิ่มขึ้น

แผน

ผล ร้อยละ

13 6 7

5 5 0

38.46 83.33 0

7 4 1

7 4 1

100 100 100

2 2

2 0

100 0

100

95

95

100

-

-

แห่ง แห่ง

7 1

3 1

42.85 100

แห่ง

5

1

20

แห่ง แห่ง

1 1

1 0

100 0

แห่ง

5

2

40

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 32

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ตัวชี้วัด 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจาก ปีก่อน (ปี 2564) 2.1 สหกรณ์ 2.2 กลุ่มเกษตรกร 3. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับ มาตรฐานขึน้ ไป 3.1 สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐานขึน้ ไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - รักษาให้อยู่ในระดับมั่นคงดี และมั่นคงดีมาก - รักษาหรือยกระดับที่อยู่ระดับมั่นคงตามมาตรฐานให้สูงขึน้ - ยกระดับที่อยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐานให้สูงขึน้ 3.2 กลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับ มาตรฐานขึน้ ไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 - รักษาให้อยู่ในระดับมั่นคงดี และมั่นคงดีมาก - รักษาหรือยกระดับที่อยู่ระดับมั่นคงตามมาตรฐานให้สูงขึน้ - ยกระดับที่อยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐานให้สูงขึน้ อย่างน้อยระดับ มาตรฐาน 4. จำนวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สิน ของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 4.1 สหกรณ์ 4.2 กลุ่มเกษตรกร 5. ผลการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีกำไรประจำปี ตัวชี้วัดด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. ประสิทธิภาพของการบริหารงาน (การแก้ไขปัญหาในการดำเนินกิจการ/ การบริหารงานของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร) 1.1 สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 - รักษาสถานะภาพสหกรณ์ที่ไม่มขี ้อบกพร่อง 1.2 กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25

- รักษาสถานะภาพกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่อง - ผลักดันกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องให้แก้ไขแล้วเสร็จสมบูรณ์ 2. ร้อยละของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เกิดขึ้นก่อนปี พ.ศ. 2565 ไม่มีการทุจริต ตัวชี้วัดด้านการติดตามและสนับสนุนนโยบายที่สำคัญ 1. ติดตามการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด/สิ่งก่อสร้าง ที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการสนับสนุนจากกรมฯ

หน่วยนับ

แผน

ผล ร้อยละ

แห่ง แห่ง

13 7

6 4

46.15 57.14

แห่ง แห่ง แห่ง

5 1 7

2 0 1

40 0 14.28

แห่ง แห่ง แห่ง

3 1 2

0 1 1

0 100 50

แห่ง แห่ง ร้อยละ

12 7 100

8 4 15

66.66 57.14 75

แห่ง

13

13

100

แห่ง แห่ง ร้อยละ

4 3 100

4 3 100

100 100 100

ใช้ ประโยชน์ ร้อยละ

100

100

100

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 33

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

ตัวชี้วัด

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

2. ติดตามงบประมาณเงินอุดหนุนที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับจาก กรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 3. ติดตามการดำเนินโครงการลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่อ อาชีพเกษตร 4. ติดตามการดำเนินโครงการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 5. ติดตามการดำเนินงานการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ในระบบ สหกรณ์และโครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า เกษตร 6. ติดตามการดำเนินโครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 7. ติดตามการดำเนินโครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไข ปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร

ร้อยละ

100

100

100

แห่ง

-

-

-

แห่ง

1

1

100

แห่ง

6

6

100

แห่ง

3

3

100

แห่ง

-

-

-

4. ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากการดำเนินงาน 1. สหกรณ์ ในพื้ น ที่ ก ลุ่ ม ส่ งเสริ ม สหกรณ์ 4 มี ส มาชิ ก ทั้ งหมด 3,893 คน โดยมี ส มาชิ ก มี ส่ ว นร่ ว ม ในการดำเนิ น ธุร กิ จ กั บ สหกรณ์ 2,446 คน หรือ คิ ด เป็ น ร้อ ยละ 62.83 มี ป ริม าณธุรกิ จ เพิ่ ม ขึ้ น จากปี 2564 จำนวน 16,379,109.95 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 10.59 มีผลกำไร จำนวน 1,089,710.92 บาท สหกรณ์ไม่มี ข้อบกพร่อง สหกรณ์ มีผลการจั ดชั้น คุณ ภาพการควบคุมภายในระดับพอใช้ขึ้นไป จำนวน 6 แห่ ง สหกรณ์ มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐานขึ้นไป จำนวน 2 แห่ง มีสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 5 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 38.46 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 12 แห่ง หรือคิดเป็น ร้อยละ 92.30 2. กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 มีสมาชิกทั้งหมด 1,375 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมใน การดำเนิน ธุรกิจ กับ กลุ่ มเกษตรกร 890 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 64.73 มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปี 2564 จำนวน 3,119,653.92 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 13.24 มีผลกำไร จำนวน 1,438,171.86 บาท กลุ่มเกษตรกรมี ข้ อ บกพร่ อ งจำนวน 2 แห่ ง ได้ ด ำเนิ น การแก้ ไขหาผู้ รั บ ผิ ด ชอบเรี ย บร้ อ ยแล้ ว อยู่ ร ะหว่ า งติ ด ตามชำระ ความเสียหาย มูลค่าความเสียหายที่แ ก้ไขได้ จำนวน 252,594.50 บาท กลุ่มเกษตรกรมีผลการจัดชั้นคุณภาพ การควบคุมภายในระดับพอใช้ จำนวน 1 แห่ง และไม่มีกลุ่มที่อยู่ในระดับดีและดีมาก กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน จำนวน 7 แห่ ง หรือคิดเป็ น ร้อยละ 100 โดยมีป ระสิ ทธิภ าพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับ ชั้น มาตรฐานขึ้นไป จำนวน 1 แห่ง มีกลุ่มเกษตรกรอยู่ในระดับชั้น 2 ทั้ง 7 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 100 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบส่วนใหญ่ ยังขาดเจ้าหน้าที่ผู้ รับผิดชอบในการจัดทำบัญชี ขั้นต้น จัดทำงบการเงิน และการปิดบัญชี ณ สิ้นปีบัญชีสหกรณ์ รวมถึงการจัดทำเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับสหกรณ์ ซึ่งต้องขอความช่วยเหลือในการจัดทำบัญชี และเอกสารดังกล่าว จากเจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์ จังหวัด

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 34

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา สนับสนุน และให้คำแนะนำสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในการจัดหาเจ้าหน้าที่ ที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ หรือคณะกรรมการดำเนิ น การของสหกรณ์ เข้ามาช่วยเหลื อในการจัดทำบัญ ชี และเอกสารหลั กฐานต่าง ๆ รวมถึงให้ความรู้และสนับสนุนในการอบรมการจัดทำบัญชีและจัดทำงบการเงินของสหกรณ์ 7. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ใช้เป็นตัวอย่างหรือต้นแบบของการใช้แผนแนะนำส่งเสริมฯ ปี 2565 มาใช้ใน การดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565  สหกรณ์กองทุนสวนยางบางวัน จำกัด

สหกรณ์กองทุนสวนยางบางวัน จำกัด จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2537 ปัจจุบันมีสมาชิก 779 คน มีทุนดำเนินงาน จำนวน 20,115,963.34 บาท มีกำไรสุทธิ จำนวน 681,254.48 บาท มีมูลค่าธุรกิจรวมทั้งสิ้น จำนวน 44,891,217.66 บาท โดยดำเนินธุรกิจ 4 ด้าน ดังนี้ 1. ธุร กิ จ จั ด หาสิ น ค้ ามาจำหน่ า ย ให้ แ ก่ ส มาชิ ก และเกษตรกรทั่ ว ไป ประเภทปั จ จั ย การผลิ ต ทางการเกษตร ได้ แ ก่ ปุ๋ ย เคมี ยาปราบศั ต รู พื ช จำนวน 16,469,511 บาท ผลการดำเนิ น งานมี ก ำไร จำนวน 684,870.78 บาท 2. ธุรกิจรวบรวมผลิตผล รวบรวมยางก้อนถ้วยจากสมาชิกและเกษตรกรทั่วไป จำนวน 415,184 กิโลกรัม เป็ น เงิน 11,222,072 บาท และรวบรวมน้ำยางพาราเพื่อขาย จำนวน 576.69 กิโลกรัม เป็นเงิน 28,105.16 บาท รวมเป็ น เงิ น ทั้ ง สิ้ น 1,1250,177.16 เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ก่ อ น จำนวน 4,803,806.51 บาท ห รื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 74.52 ผลการดำเนิ น งาน กำไรเฉพ าะธุ ร กิ จ จำน วน 1 22,272.87 บ าท 3. ธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตร a รวบรวมยางพาราเพื่อแปรรูป จากสมาชิกและเกษตรกรทั่วไป จำนวน 2,126.90 กิโลกรัม เป็นเงิน 103,713.50 บาท ผลการดำเนินงานกำไร จำนวน 6,681.48 บาท b ผลิ ต ปุ๋ ย ผสม สหกรณ์ ผลิ ต ปุ๋ ย ผสมเพื่ อ จำหน่ า ยให้ ส มาชิ ก และเกษตร กรทั่ ว ไป จำนวน 18,318 กระสอบ เป็นเงิน 15,761,990 บาท ผลการดำเนินงานมีกำไร จำนวน 1,081,858.49 บาท 4. ธุ ร กิ จ รั บ ฝากเงิ น จากสมาชิ ก ปี บั ญ ชี สิ้ น สุ ด 31 มี น าคม 2565 รั บ ฝากเงิ น จากสมาชิ ก จำนวน 1,305,826 บาท มีสมาชิกฝากเงิน จำนวน 102 ราย จำนวนเงินรวม 1,516,305.34 บาท

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 35

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

จากผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมาสหกรณ์มีปริมาณธุรกิจรวบรวมผลผลิตได้เพิ่มขึ้น แสดงให้ เห็นว่าสหกรณ์กองทุนสวนยางบางวัน จำกัด มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองค์กรและการดำเนินธุรกิจ สามารถสร้างความเชื่อมั่นและศรัทธาให้แก่สมาชิก สหกรณ์มีศักยภาพในการดำเนินธุรกิจรวบรวมโดย เป็น ตลาดกลางรวบรวมยางก้อนถ้วย และน้ำยางพาราเพื่อขาย โดยสหกรณ์พิจารณาเลือกคู่ค้าที่ให้ราคารับซื้อสูงกว่า ระหว่ า งจำหน่ า ยผลผลิ ต ยางพาราให้ กั บ พ่ อ ค้ า คนกลาง หรื อ จำหน่ า ยให้ ต ลาดกลางยางพาราจั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี เพื่อให้สมาชิกและเกษตรกรในพื้นที่ได้รับประโยชน์สูงสุด สหกรณ์มีการดำเนิน โครงการ ตาม นโยบายของรัฐบาลเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของสมาชิก ดังนี้ 1. เข้ าร่ วมโครงการยกระดั บการผลิ ตยางก้ อนถ้ วยเข้ าสู่ มาตรฐาน GAP กั บการยางแห่ งประเทศไทย ผลการดำเนิ นงานสหกรณ์ สามารถผลักดันให้สมาชิก จำนวน 26 ราย ยกระดับการผลิตยาง ก้อนถ้วยเข้าสู่ มาตรฐาน GAP จำนวน 26 แปลง ทำให้สามารถจำหน่ายผลผลิตยางก้อนถ้วย และขายยางพาราได้สูงกว่าราคา ผลผลิตทั่วไป 2. สนับสนุนให้สมาชิกเพิ่มคุณภาพยางก้อนถ้วยจากการใช้กรดฟอร์มิกทดแทนการใช้กรดซัลฟิวริก แบบเดิม ๆ ตามคำแนะนำและการให้การสนับสนุนจากการยางแห่งประเทศไทย 3. สหกรณ์ มี โ รงรวบรวมยางพาราที่ ได้ ม าตรฐานสามารถเข้ า ร่ ว มโครงการชะลอยางพารา เก็ บผลผลิ ตและจำหน่ ายในช่ วงที่ ราคาเหมาะสม ปี 2564 ชะลอยางพารา จำนวน 12.58 ตั น มู ลค่ า 288,244 บาท เพิ่มสภาพคล่องให้เกษตรกรชาวสวนยาง ทำให้สมาชิกได้จำหน่ายผลผลิตในราคาสูงและเป็นธรรม 4. สหกรณ์ ส่ งเสริ ม สมาชิ ก เข้ าร่ว มโครงการส่ งเสริม การเกษตรแปลงใหญ่ ย างพารา ปี 2563 ชื่อ “แปลงใหญ่ยางพาราสหกรณ์กองทุนสวนยางบางวัน จำกัด” จำนวน 30 ราย พื้นที่ 492 ไร่ การจัดสวัสดิการให้สมาชิก และการช่วยเหลือชุมชน 1. สหกรณ์มีการจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิก โดยการส่งเสริมด้านการศึกษาแก่บุตรหลานสมาชิก จัดเงินสงเคราะห์กรณีสมาชิกเสียชีวิต 2. สหกรณ์ มีการจั ดสรรเงิน ทุนสาธารณประโยชน์ เพื่อสนับสนุนให้แก่ชุมชนซึ่งเป็นสั งคมแบบ พหุวัฒนธรรมระหว่างไทยพุธ และไทยมุสลิม สนับสนุนกิจการศาสนาทั้ง 2 ศาสนา รางวัลที่ได้รับ 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้รับรางวัลโครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง สหกรณ์ดำเนินธุรกิจโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำกิจกรรมปลูกผักสวนครัวเพื่อเป็นสวัสดิการ ให้แก่สมาชิกและเจ้าหน้าที่ เพื่อช่วยลดรายจ่ายในครัวเรือน และสนับสนุนให้สมาชิกนำหลักเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในสถาบันครอบครัว 2. รางวัล สหกรณ์ระยะก้าวหน้าระดับเขต ประจำปี 2564/2565 จากการยางแห่งประเทศไทย เขตภาคใต้ตอนกลาง 3. รางวัล สถาบัน เกษตรกรชาวสวนยางยอดเยี่ยมแห่ งปี ระดับประเทศ ปี 2565 จากการยาง แห่งประเทศไทยเขตภาคใต้ตอนกลาง 4. ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 เข้าร่วมประกวดโครงการประกวดสหกรณ์ดีเด่น 5. เป็นสหกรณ์สามารถต้นแบบให้สหกรณ์อื่น ๆ ในตลาดเครือข่ายยางพาราเข้าศึกษาดูงาน

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 36

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

➢ โครงการส่งเสริมและผลักดันสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อให้ ก ารส่ งเสริ ม สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร เป็ น ไปตามแผนงาน ตัว ชี้ วัดของกรมส่ งเสริม สหกรณ์และแผนปฏิบัติงานของสำนักสหกรณ์จังหวัดพังงา 2. เพื่ อ จั ด ทำแผนพั ฒ นาสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรที่ ไม่ ผ่ านเกณฑ์ ม าตรฐานให้ ผ่ านมาตรฐาน และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์มีแนวทางในการส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เป้าหมาย : สหกรณ์ 35 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 22 แห่ง พื้นที่ดำเนินงาน : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดพังงา 2. งบประมาณที่ได้รับ (ไม่มีงบประมาณ) ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ -

-

ผลการเบิกจ่าย

ร้อยละ

-

-

3. ผลการดำเนินงาน 1. ประชุมร่วมกับกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มงานวิชาการที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ร่วมวิเคราะห์ แนวทาง การพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านเกณฑ์ให้สามารถผ่านเกณฑ์ได้ 2. จัดทำคู่มือแนวทางแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ให้กับกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เพื่อนำไปแนะนำส่งเสริมและ พัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานในปีต่อไป จำนวน สหกรณ์ 35 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 22 แห่ง 3. มีการติดตามผลในที่ ประชุ มประจำเดื อนของสำนั กงานสหกรณ์ จั งหวัดพั งงาทุ กเดือนเพื่ อร่วมกั น หาแนวทางในการพัฒนา 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์ประจำปี 2565 สหกรณ์ที่นำมาจัดมาตรฐานทั้งหมด จำนวน 35 แห่ง ผ่านมาตรฐาน จำนวน 15 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 42.86 ไม่ผ่านมาตรฐาน จำนวน 20 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 57.14 2. ผลการจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกรประจำปี 2565 กลุ่มเกษตรกรที่นำมาจัดมาตรฐานทั้งหมด จำนวน 22 แห่ ง ผ่านมาตรฐาน จำนวน 16 แห่ ง คิดเป็นร้อยละ 72.73 ไม่ผ่ านมาตรฐาน จำนวน 6 แห่ ง คิดเป็นร้อยละ 27.27 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์มีแผนในการส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านมาตรฐานที่ชัดเจน 5. ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางสถาบัน มีผลการดำเนินงานขาดทุนเนื่องจากสภาวะของราคาสินค้า เกษตรไม่คงที่ ส่งผลต่อธุรกิจโดยรวมของสหกรณ์ประสบภาวะขาดทุนไม่สามารถจัดสรรกำไรสุทธิได้ 2. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขาดการมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจ เนื่องจากสหกรณ์ขาดทุน ต่อเนื่องกันหลายปี

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 37

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน

➢ โครงการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานชั้นความเข้มแข็งในระดับ 1 และ มีเสถียรภาพทางการเงิน ตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป ได้รับคำแนะนำส่งเสริมให้ มีความรู้ความเข้าใจหลักเกณฑ์และ วิธีการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ 2. เพื่อคัดเลื อกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรที่มีคุณ สมบัติตามหลักเกณฑ์การคัดเลือกสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ส่งให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มเป้าหมาย 1. สหกรณ์ ก ารเกษตร 2 แห่ ง ได้ แ ก่ สหกรณ์ ก ารเกษตรท้ า ยเหมื อ ง จำกั ด และสหกรณ์ กองทุนสวนยางบางวัน จำกัด 2. สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดพังงา จำกัด และ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพังงา จำกัด 3. กลุ่มเกษตรกร 2 แห่ง ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรทำสวนทับปุด และกลุ่มเกษตรกรทำสวนบางวัน พื้นที่ดำเนินงาน 1. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 1 อำเภอเมืองพังงา ได้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัด พังงา จำกัด สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพังงา จำกัด และกลุ่มเกษตรกรทำสวนทับปุด 2. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 2 อำเภอท้ายเหมือง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรท้ายเหมือง จำกัด 3. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 4 อำเภอคุระบุรี ได้แก่ สหกรณ์กองทุนสวนยางบางวัน จำกัด และ กลุ่มเกษตรกรทำสวนยางบางวัน 2. งบประมาณที่ได้รับ (ไม่มีงบประมาณ) ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ -

-

ผลการเบิกจ่าย

ร้อยละ

-

-

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 38

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

3. ผลการดำเนินงาน 1. แนะนำส่ ง เสริ ม สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรเป้ าหมายให้ เข้ าใจลั ก เกณฑ์ แ ละการดำเนิ น งาน ตามแนวทางการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ 2. จั ด ประชุม คณะกรรมการคั ดเลื อกสหกรณ์ ดีเด่น ระดั บจั งหวัด และเสนอรายชื่อ สหกรณ์ และ กลุ่มเกษตรกรเพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ โดยคณะกรรมการคัดเลือกจำนวน 1 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพังงา จำกัด 4. ผลลัพธ์ ผลลั พ ธ์ เ ชิ ง ปริ ม าณ สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรได้ รั บ การแนะนำส่ ง เสริ ม ตามหลั ก เกณฑ์ จำนวน 6 แห่ง ผลลั พ ธ์ เชิ ง คุ ณ ภาพ สหกรณ์ อ อมทรั พ ย์ ค รู พั ง งา จำกั ด ได้ รั บ การคั ด เลื อ กเป็ น สหกรณ์ ดี เด่ น ระดับภาคของภาคใต้ ประจำปี พ.ศ. 2565 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. แบบเก็บข้อมูลและรูปเล่มควรใช้ไฟล์เดียวกัน เพื่อลดความซ้ำซ้อนและลดขั้นตอนในการเก็บข้อมูล 2. ควรมีไฟล์รูปแบบพาวเวอร์พ้อยที่ให้สหกรณ์นำเสนอเพื่อลดขั้นตอนการจัดทำ 3. ควรจั ด สรรงบประมาณที่ ใช้ ใ นโครงการส่ ง เสริ ม สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรดี เด่ น โดยตรง เนื่ อ งจากต้ อ งลงพื้ น ที่ ชี้ แ จงกลุ่ ม เป้ า หมายแต่ ล ะแห่ ง ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย คณะกรรมการและฝ่ า ยจั ด การ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และควรมีค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัด 4. ควรทบทวนหลักเกณฑ์การประกวดให้เหมาะสมตามประเภทของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 5. ควรแบ่งการประกวดสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามขนาดของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น \

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 39

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

งานการกำกับ ดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์ และงานตรวจการ ➢ การจัดประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ เพิ่มทักษะและประสบการณ์ผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. เพื่อให้ผู้ตรวจการสหกรณ์สามารถปฏิบัติงานได้ตามแนวทางที่นายทะเบียนสหกรณ์กำหนด เป้าหมาย : ผู้ตรวจการสหกรณ์ และผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ พื้นที่ดำเนินโครงการ : ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา 2. งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ 3,100

ผลเบิกจ่าย 3,100

ร้อยละ 100

3. ผลการดำเนินงาน ประชุ มโครงการประชุ มเชิ งปฏิ บั ติ การพั ฒนาศั กยภาพและซั กซ้ อมผู้ ตรวจการ ในวั นที่ 14 มี นาคม 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา โดยมีผู้ตรวจการสหกรณ์ และผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์เข้าร่วม โครงการ ฯ จำนวน 25 คน ในการประชุมมีการชี้แจงและพิจารณา ดังนี้ 1. การชี้แจงระบบการตรวจการสหกรณ์ และคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์แต่งตั้งผู้ตรวจการสหกรณ์ และคำสั่งตั้งคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ระดับจังหวัด 2. ผลการวิเคราะห์สถานภาพ/ความเสี่ยงของสหกรณ์ 3. ข้อสังเกตตามรายงานการสอบบัญชีประจำปี/ข้อสังเกตที่ตรวจพบจากการสอบบัญ ชี/ผลการ ตรวจการสหกรณ์ที่ผ่านมา 4. แนวทางการตรวจการสหกรณ์ ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ที่ 8/2559 สั่ง ณ วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2559 5. คัดเลื อกสหกรณ์ เป้ าหมายที่จะตรวจการสหกรณ์ ตามคำสั่ งนายทะเบียนสหกรณ์ ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ทั้งหมด โดยพิจารณาให้ความสำคัญเรียงลำดับ ดังนี้ 1. สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดทุจริต 2. สหกรณ์ที่มีเรื่องร้องเรียน 3. สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดข้อบกพร่อง 6. วิธีการรายงานผลการตรวจการสหกรณ์ 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. จัดประชุมซักซ้อมผู้ตรวจการสหกรณ์ ตามแผนปฏิบัติงาน ฯ จำนวน 1 ครั้ง 2. ผู้ตรวจการสหกรณ์และผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ เข้าร่วมโครงการ จำนวน 25 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. ผู้ ต รวจการสหกรณ์ ได้ รั บ ความรู้ ที่ ใช้ ใ นการเข้ า ตรวจสอบสหกรณ์ ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เป็นไปในแนวทางเดียวกัน 2. ผู้ ต รวจการสหกรณ์ ส ามารถเขี ย นรายงานการตรวจสอบ พร้ อ มให้ ค วามเห็ น /ข้ อ เสนอแนะ ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ เพื่อพิจารณาสั่งการตามอำนาจหน้าที่ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 40

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

5. ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการการจัดประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์

➢ ตรวจการตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อ กำกั บ ดู แ ล และตรวจสอบกิจ การและฐานะการเงิน ของสหกรณ์ ของสหกรณ์ ให้ เป็ น ไป ตามข้อบังคับ ระเบียบ กฎหมายสหกรณ์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อป้องกันข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ป้องกันไม่ให้สหกรณ์และสมาชิกได้รับความเสียหาย เป้าหมาย : จำนวน 5 แห่ง (ร้อยละ 15 ของจำนวนสหกรณ์ที่ดำเนินธุรกิจ) พื้นที่ดำเนินโครงการ พื้ นที่ กลุ่ มส่ งเสริ มเสริ มสหกรณ์ 1 อำเภอเมื องพั งงา อำเภอทั บปุ ด ได้ แก่ สหกรณ์ กองทุ นสวนยาง บ้านบ่อแสน จำกัด สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพังงา จำกัด สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจพังงา จำกัด สหกรณ์ออมทรัพย์ สาธารณสุขจังหวัดพังงา จำกัด 2. งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ 6,300

ผลเบิกจ่าย 6,300

ร้อยละ 100

3. ผลการดำเนินงาน ผู้ ตรวจการสหกรณ์ โดยกลุ่ มตรวจการสหกรณ์ เข้าตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของสหกรณ์ เป็ น กรณี พิเศษ ร้อยละ 15 ของจำนวนสหกรณ์ ที่ ดำเนินธุรกิจทั้งหมด ซึ่งได้ตรวจสอบสหกรณ์ ออมทรัพ ย์ เนื่องจากมีเหตุทุจริตในสหกรณ์ออมทรัพย์ขนาดใหญ่ในพื้นที่จังหวัดอื่น และตรวจสอบสหกรณ์ที่ได้รับรายงาน ข้อสังเกตผู้สอบบัญชีซึ่งเข้าตรวจสอบและทำให้สหกรณ์ได้รับความเสียหาย เมื่ อ ตรวจสอบสหกรณ์ เสร็ จ แล้ ว ได้ ส รุป และรายงานผลการตรวจสอบกิ จการและฐานะการเงิน ของสหกรณ์พิจารณา/ทราบ จำนวน 4 แห่ง ดังนี้ 1. สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบ่อแสน จำกัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพังงา จำกัด 3. สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจพังงา จำกัด 4. สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดพังงา จำกัด

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 41

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

4. ผลลัพธ์ ผลลั พ ธ์ เ ชิ ง ปริ ม าณ : สหกรณ์ ไ ด้ รั บ การตรวจการสหกรณ์ ตามคำสั่ ง นายทะเบี ย นสหกรณ์ จำนวน 4 สหกรณ์ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : ผู้ตรวจการสหกรณ์ สามารถเข้าตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของสหกรณ์ ทราบข้อมูล ความเสี่ยงของสหกรณ์ สามารถระงับเหตุได้รวดเร็ว ก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ที่ส่งผลให้สหกรณ์ และสมาชิกเกิดความเสียหาย 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการตรวจการตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์

➢ ตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ให้สหกรณ์ดำเนินกิจการให้เป็นไปตาม ข้อบังคับ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อป้ องกันปั ญหาข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้นกับสหกรณ์ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สหกรณ์ สมาชิกและสหกรณ์ เป้าหมาย 1. สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบ่อแสน จำกัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจพังงา จำกัด 3. สหกรณ์กองทุนสวนยางบางวัน จำกัด 4. สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดพังงา จำกัด 5. สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบางหลาม จำกัด 6. สหกรณ์ออมทรัพย์กำนันผู้ใหญ่บ้านท้ายเหมือง จำกัด 7. สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านตากแดด จำกัด 8. สหกรณ์กองทุนสวนยางในโตน จำกัด 9. สหกรณ์การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด 10. สหกรณ์การเกษตรท้ายเหมือง จำกัด 11. สหกรณ์การเกษตรเกาะยาว จำกัด 12. สหกรณ์การเกษตร กนช. เกาะยาว จำกัด WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 42

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

13. สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านปากพู่ จำกัด 14. สหกรณ์เคหสถานบ้านบางม่วงพัฒนา จำกัด 15. สหกรณ์การเกษตรตะกั่วทุ่ง จำกัด 16. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพังงา จำกัด 17. สหกรณ์กองทุนสวนยางลำแก่น จำกัด พื้นที่ดำเนินโครงการ 1. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 1 อำเภอเมืองพังงา อำเภอทับปุด ได้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจ พังงา จำกัด สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดพังงา จำกัด สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพังงา จำกัด สหกรณ์ กองทุนสวนยางบ้านตากแดด จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางในโตน จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบ่อแสน จำกัด 2. พื้ น ที่กลุ่ ม ส่ งเสริ มเสริ มสหกรณ์ 2 อำเภอท้ายเหมือง อำเภอตะกั่วทุ่ ง อำเภอเกาะยาว ได้แก่ สหกรณ์ ก องทุ น สวนยางบ้ า นบางหลาม จำกั ด สหกรณ์ อ อมทรั พ ย์ ก ำนั น ผู้ ใหญ่ บ้ า นท้ า ยเหมื อ ง จำกั ด สหกรณ์การเกษตรท้ายเหมือง จำกัด สหกรณ์การเกษตรเกาะยาว จำกัด สหกรณ์การเกษตร กนช. เกาะยาว จำกัด สหกรณ์การเกษตรตะกั่วทุ่ง จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางลำแก่น จำกัด 3. พื้ น ที่ ก ลุ่ ม ส่ ง เสริ ม เสริ ม สหกรณ์ 4 อำเภอคุ ร ะบุ รี อำเภอตะกั่ ว ป่ า อำเภอกะปง ได้ แ ก่ สหกรณ์กองทุนสวนยางบางวัน จำกัด สหกรณ์การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านปากพู่ จำกัด สหกรณ์เคหสถานบ้านบางม่วงพัฒนา จำกัด 2. งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 6,900 6,900 100 3. ผลการดำเนินงาน 1. จั ด ทำคำสั่ ง นายทะเบี ย นสหกรณ์ ตั้ ง คณะผู้ ต รวจการสหกรณ์ ร ะดั บ จั งหวั ด จำนวน 4 ชุ ด แต่ละชุด ประกอบด้วย ข้าราชการกลุ่มงานวิชาการ ข้าราชการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ โดยมีพนักงานราชการเป็น ผู้ช่วยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ จัดทำแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) ในการเข้าตรวจสอบกิจการและ ฐานะการเงินของสหกรณ์ ตามที่นายทะเบียนสหกรณ์กำหนด 3. คณะผู้ ต รวจการสหกรณ์ เข้ า ตรวจสอบกิ จ การและฐานะการเงิ น ของสหกรณ์ ครอบคลุ ม ตามคำสั่ ง นายทะเบี ย นสหกรณ์ ที่ 8/2559 สั่ ง ณ วั น ที่ 8 มี น าคม 2559 เมื่ อ เข้ า ตรวจการสหกรณ์ เสร็ จ สิ้ น แล้ ว สรุ ป ข้ อ เท็ จจริ ง และรายงาน ผลการตรวจการสห กรณ์ ให้ น า ยท ะเบี ยน สห กรณ์ ผ่านกลุ่มตรวจการสหกรณ์ เพื่อวิเคราะห์รายงานผลการตรวจก่อนนำเสนอนายทะเบียนสหกรณ์เพื่อพิจารณา หรือเพื่อทราบแล้วแต่กรณี 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ระดับจังหวัด จำนวน 4 ชุด เข้าตรวจสอบกิ จการและ ฐานะการเงินของสหกรณ์ จำนวน 17 แห่ง เป็นไปตามปฏิบัติงานที่ได้กำหนดไว้ ผลลั พ ธ์ เ ชิ ง คุ ณ ภาพ : สหกรณ์ ที่ ไ ด้ รั บ การตรวจสอบ ได้ รั บ คำแนะนำ สามารถดำเนิ น การ เป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบสหกรณ์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 43

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ข้าราชการส่ วนใหญ่ เป็ น ข้าราชที่ บ รรจุราชการระหว่าง 2 – 5 ปี ประสบการณ์ ในการตรวจการ สหกรณ์มีน้อย 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด

➢ จัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประมวลข้อบกพร่อง ข้อร้องเรียน และปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2. เพื่อพิจารณาข้อบกพร่อง ข้อร้องเรียน และปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3. เพื่ อกำหนดแนวทางในการแก้ ไขปั ญหาข้ อบกพร่ อง ข้ อร้ องเรี ยน ปั ญหาการดำเนิ นงานของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรและติดตามผลการแก้ไขข้อบกพร่องและข้อร้องเรียนเพื่อให้ได้ข้อยุติ เป้าหมาย : จัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการดำเนินงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่มขี ้อบกพร่อง (จกบ.) จำนวน 4 ครั้ง พื้นที่ดำเนินโครงการ : ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา 2. งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 11,400 11,400 100 3. ผลการดำเนินงาน จั ดประชุม คณะทำงานระดั บ จังหวัด แก้ไขปั ญ หาการดำเนิ น งานของสหกรณ์ และกลุ่ ม เกษตรกร ที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) จำนวน 4 ครั้ง เป็นไปตามปฏิบัติงานที่ได้กำหนดไว้ โดยกลุ่มตรวจการสหกรณ์ในฐานะ เลขานุการ ได้จัดให้มีการประชุม ไตรมาสละ 1 ครั้ง ดังนี้ ครัง้ ที่ 1 วันที่ 28 ธันวาคม 2565 ผู้เข้าประชุม จำนวน 20 คน ครั้งที่ 2 วันที่ 21 มีนาคม 2565 ผู้เข้าประชุม จำนวน 20 คน ครั้งที่ 3 วันที่ 20 มิถุนายน 2565 ผู้เข้าประชุม จำนวน 20 คน ครั้งที่ 4 วันที่ 22 สิงหาคม 2565 ผู้เข้าประชุม จำนวน 15 คน ผู้เข้าประชุม ประกอบด้วย ที่ปรึกษาคณะทำงาน ได้แก่ อัยการจังหวัดพังงา ผู้บังคับการตำรวจภูธรพังงา เกษตรและสหกรณ์ จังหวัดพังงา WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 44

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

คณะทำงาน ประกอบด้ ว ย สหกรณ์ จังหวัด พั งงา หั ว หน้ าสำนั ก งานตรวจบั ญ ชี ส หกรณ์ พั งงา ผู้ อ ำนวยการการยางแห่ ง ประเทศไทยจั ง หวั ด พั ง งา ผู้ อ ำนวยการสำนั ก งาน ธ.ก.ส. จั ง หวั ด พั ง งา ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดพังงา ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ผู้อำนวยการกลุ่มตรวจการ สหกรณ์ นิติกรปฏิบัติการ ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ และผู้แทนสหกรณ์ ระเบียบวาระการประชุม ฯ ที่สำคัญ ดังนี้ 1. ติดตามผลการแก้ไขข้อบกพร่องที่ยังแก้ไขไม่แล้วเสร็จ ของแต่ละสหกรณ์ 2. พิ จ ารณากำหนดแนวทางในการแก้ ไขข้ อ บกพร่ อ งของสหกรณ์ ให้ เป็ น ไปและสอดคล้ อ ง ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ข้อกำหนดของกรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร รวมถึงแนวทางในการดำเนินคดีตามกฎหมายกับผู้กระทำความผิดต่อสหกรณ์ 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : ประชุมคณะทำงาน ฯ จำนวน 4 ครั้ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ ได้ รั บ แนวทางคำแนะนำในการดำเนิ น คดี ต ามกฎหมายทั้ งทางอาญา และทางแพ่ ง รวมถึงการสืบทรัพย์บังคับคดี และการปฏิบัติตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. สหกรณ์ ในจั ง หวั ด พั งงาที่ มี ข้ อ บกพร่ อ ง จำนวน 7 สหกรณ์ มี 1 สหกรณ์ ที่ ได้ รั บ การแก้ ไข เสร็จสมบูรณ์ สหกรณ์ได้รับชดใช้ค่าเสียหายทั้งจำนวน ส่วนอีก 6 สหกรณ์ อยู่ในสถานะเสร็จต้องติดตาม 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ด้ว ยสถานการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาดของโรคโควิด – 19 เมื่ อมี การประชุ ม ฯ ผู้ แทนนสหกรณ์ บ างแห่ ง ซึ่งอยู่ในพื้นที่การแพร่กระจายของโรคระบาด ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการจัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการ ดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.)

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 45

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

➢ ติดตามประเมินผลความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ เพื่อติดตาม ผลั กดัน ให้ สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ให้ ส ามารถแก้ไขข้อบกพร่อง ได้เสร็จสมบู รณ์ สหกรณ์ ได้รับ การชดใช้ค่าเสียหายทั้งหมด สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรสามารถดำเนินการ เป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบสหกรณ์ ระเบียบ/คำสั่ง นายทะเบียนสหกรณ์ เป้าหมาย สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่อง จำนวน 7 แห่ง 1. สหกรณ์ประมงบ้านบางพัฒน์ จำกัด 2. สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านตากแดด จำกัด 3. สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบ่อแสน จำกัด 4. สหกรณ์การเกษตรทับปุด จำกัด 5. สหกรณ์การเกษตรท้ายเหมือง จำกัด 6. สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านตีนเป็ด จำกัด 7. สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านลำวะนอก จำกัด กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง จำนวน 3 แห่ง 1. กลุ่มเกษตรกรทำสวนยางบางวัน 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวนเหล 3. กลุ่มเกษตรกรทำสวนกะปง พื้นที่ดำเนินโครงการ 1. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 1 อำเภอเมืองพังงา ได้แก่ สหกรณ์ประมงบ้านบางพัฒน์ จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านตากแดด จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบ่อแสน จำกัด สหกรณ์การเกษตร ทับปุด จำกัด 2. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 2 อำเภอท้ายเหมือง อำเภอตะกั่วทุ่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตร ท้ายเหมือง จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านตีนเป็ด จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านลำวะนอก จำกัด 2. งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ 6,800

ผลเบิกจ่าย 6,800

ร้อยละ 100

3. ผลการดำเนินงาน 1. กลุ่ ม ตรวจการสหกรณ์ รายงานผลการแก้ ไ ขในระบบการจั ด การข้ อ บกพร่ อ งออนไลน์ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. กลุ่ ม ตรวจการสหกรณ์ ได้ ร่ ว มกั บ กลุ่ ม ส่ งเสริม สหกรณ์ ที่ รับ ผิ ด ชอบแนะนำส่ ง เสริ ม สหกรณ์ ที่ มี ข้ อ บกพร่ อ ง ลงพื้ น ที่ ติ ด ตามและให้ ค ำแนะนำแก่ ค ณะกรรมการดำเนิ น การในการแก้ ไขข้ อ บกพร่ อ ง ที่เกิดขึ้นกับสหกรณ์

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 46

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์ที่ได้รับติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง จำนวน 7 แห่ง 2. กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง จำนวน 3 แห่ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ ที่ มี ข้อ บกพร่ อง มีส ถานะผลการแก้ไขเสร็จต้อ งติ ดตาม จำนวน 6 แห่ ง และเสร็จ สมบูรณ์ จำนวน 1 แห่ง 2. กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง มีสถานะผลการแก้ไขเสร็จต้องติดตาม จำนวน 3 แห่ง 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ส่วนใหญ่เป็นบุคคลที่สูงอายุ ความรู้ความเข้าใจ ในเรื่ องกฎหมายค่อนข้างน้ อย สหกรณ์ และกลุ่ มเกษตรกรไม่ ส ามารถดำเนิ นการได้ เองในเรื่องที่เกี่ยวข้อ ง เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ต้องให้ความช่วยเหลือ 6. ภาพถ่ า ยแสดงการดำเนิ น กิ จ กรรมของงาน/โครงการติ ด ตามประเมิ น ผลความก้ า วหน้ า การแก้ ไ ข ข้อบกพร่องสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 47

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

➢ การชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ : เพื่อดำเนินงานการชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เป็นไปตามขั้นตอนแผนการ ปฏิบัติงาน เป้าหมาย : จำนวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการชำระบัญชี จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ 1. สหกรณ์การเกษตรคุระบุรี จำกัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์องค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา จำกัด 3. กลุ่มเกษตรกรทำสวนบางนายสี 4. กลุ่มเกษตรกรทำสวนเหมาะพัฒนาเหมาะ 5. กลุ่มเกษตรกรทำสวนท้ายเหมือง พื้นที่ดำเนินงาน 1. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 1 อำเภอเมืองพังงา ได้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์องค์การบริหารส่ วน จังหวัดพังงา จำกัด 2. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 2 อำเภอท้ายเหมือง ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรทำสวนท้ายเหมือง 3. พื้ น ที่ ก ลุ่ ม ส่ ง เสริ ม เสริ ม สหกรณ์ 4 อำเภอกะปง อำเภอตะกั่ ว ป่ า และอำเภอคุ ร ะบุ รี ได้ แ ก่ กลุ่มเกษตรกรทำสวนเหมาะพัฒนาเหมาะ กลุ่มเกษตรกรทำสวนบางนายสี และสหกรณ์การเกษตรคุระบุรี จำกัด 2. งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ

ผลการเบิกจ่าย

ร้อยละ

5,000

5,000

100

3. ผลการดำเนินงาน 1. ดำเนินการชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย 5 แห่ง 2. จัดประชุมติดตามความก้าวหน้าการชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อร่วมกันวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค ชี้แจงการดำเนินการชำระบัญชีแต่ละแห่ง และช่วยกันหาแนวทางการปฏิบัติงาน โดยร่วมกับ สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์พังงา 3. ติดตามการรายงานความเคลื่อนไหวการชำระบัญชีทุกๆ 6 เดือน 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : ผู้ชำระบัญชีรายงานความเคลื่อนไหวการชำระบัญชี 2 ครั้ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : ดำเนินการถอนชื่อกลุ่มเกษตรกรทำสวนบางนายสี แล้วเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2565 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. กลุ่ มเกษตรกรเหมาะพั ฒ นาเหมาะ มีปั ญ หาการจัด ทำงบการเงิน ตาม ม.80 เนื่ องจากเอกสาร ประกอบรายการไม่ครบถ้วน เนื่องจากกลุ่มเกษตรกรไม่สามารถปิดบัญชีได้ 20 ปี 2. สหกรณ์การเกษตรคุระบุรี จำกัด อยู่ระหว่างจัดการทรัพย์สินและหนี้สิน มีเจ้าหนี้รายใหญ่ 1 ราย คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ไม่มีทรัพย์สินเพียงพอที่จะชำระหนี้

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 48

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

3. กลุ่มเกษตรกรทำสวนท้ายเหมือง อยู่ระหว่างการฟ้องร้องของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร เนื่องจากค้างชำระหนี้เงินกู้มายาวนาน 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการการชำระบัญชีในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

➢ ขับเคลื่อนการส่งเสริมสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อเข้าสู่เกณฑ์การกำกับดูแลตามมาตรา 89/2 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (จัดทำแผนการส่งเสริมสหกรณ์ ออมทรัพย์) 1.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ : เพื่อกำกับแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ประเภทออมทรัพย์ ให้ดำเนินการ ปฏิบัติเป็นไปตาม กฎกระทรวง การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ 2564 เป้าหมาย : สหกรณ์ออมทรัพย์จำนวน 4 แห่ง 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพังงา จำกัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจพังงา จำกัด 3. สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดพังงา จำกัด 4. สหกรณ์ออมทรัพย์กำนันผู้ใหญ่บ้านท้ายเหมือง จำกัด พื้นที่ดำเนินโครงการ 1. พื้น ที่กลุ่ มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 1 อำเภอเมืองพั งงา ได้แก่ สหกรณ์ ออมทรัพย์ครูพังงา จำกัด สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจพังงา จำกัด สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดพังงา จำกัด 2. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 2 อำเภอท้ายเหมือง ได้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์กำนันผู้ใหญ่บ้าน ท้ายเหมือง จำกัด 2. งบประมาณ (ไม่มีงบประมาณ) ประเภทรายจ่าย -

งบประมาณที่ได้รับ

ผลการเบิกจ่าย

ร้อยละ

-

-

-

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 49

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

3. ผลการดำเนินงาน กลุ่มตรวจการสหกรณ์และกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ได้ดำเนินการจัดแผนการแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ ออมทรั พ ย์ ให้ ด ำเนิ น การตามกฎกระทรวง การดำเนิ น งานและการกำกั บ ดู แ ลสหกรณ์ อ อมทรั พ ย์ แ ละ สหกรณ์ เครดิ ต ยู เนี่ ย น พ.ศ. 2564 แยกเป็ น รายสหกรณ์ และเข้ าแนะนำส่ งเสริ ม ตามแผนงานที่ ก ำหนด โดยให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์รายงานผลการแนะนำส่งเสริมเป็นประจำทุกเดือน และกลุ่มตรวจการสหกรณ์ ได้สรุปผลการปฏิบัติของสหกรณ์รายงานให้กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงินและร้านค้า กรมส่งเสริมสหกรณ์ ทราบ ในเดือนสิงหาคม 2565 4. ผลลัพธ์ ผลลั พ ธ์ เ ชิ ง ปริ ม าณ : จั ด ทำแผนการเข้ า แนะนำส่ ง เสริ ม สหกรณ์ อ อมทรั พ ย์ ตามกฎกระทรวง การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 จำนวน 4 แห่ง ผลลั พ ธ์ เชิ ง คุ ณ ภาพ : สหกรณ์ อ อมทรัพ ย์ ทั้ ง 4 แห่ ง ได้ รั บ การแนะนำส่ งเสริ ม สามารถปฏิ บั ติ ตามกฎกระทรวง การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการการจัดทำแผนการส่งเสริมสหกรณ์ออมทรัพย์

➢ ยกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ : เพื่อส่งเสริมและพัฒ นาสหกรณ์ภ าคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง ได้ดำเนินการดังนี้ เป้าหมาย : สหกรณ์ 4 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง ประกอบด้วย สหกรณ์การเกษตร กนช.เกาะยาว จำกัด สหกรณ์การเกษตรเกาะยาว จำกัด สหกรณ์การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด สหกรณ์ก ารเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธกส.พังงา จำกัด และกลุ่มเกษตรกรทำสวนท่านา พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : 1. พื้น ที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 1 อำเภอเมืองพังงา สหกรณ์ การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส.พังงา 2. พื้น ที่กลุ่ มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 2 อำเภอเกาะยาว ได้แก่ สหกรณ์ การเกษตร กนช.เกาะยาว จำกัด สหกรณ์การเกษตรเกาะยาว จำกัด 3. พื้น ที่ กลุ่ ม ส่ งเสริม เสริ มสหกรณ์ 4 อำเภอตะกั่ วป่ า อำเภอกะปง ได้ แก่ สหกรณ์ ก ารเกษตร ตะกั่วป่า จำกัด กลุ่มเกษตรกรทำสวนท่านา WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 50

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ (บาท) 21,900

ผลการเบิกจ่าย 21,900

ร้อยละ 100

3. ผลการดำเนินงาน 1. ครั้ ง ที่ 1 ประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารส่ ง เสริ ม พั ฒ นา เพื่ อ ยกระดั บ ชั้ น ความเข้ ม แข็ ง สหกรณ์ ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร จากระดับชั้น 2 สู่ชั้นที่ 1 และระดับชั้น 3 สู่ชั้น 2 เพื่อกำหนดแนวทาง ขั้นตอน วิธีการในการยกระดับชั้นความเข้มแข็งตามบริบทของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประกอบด้วย ผู้แทน สหกรณ์การเกษตร กนช.เกาะยาว จำกัด สหกรณ์การเกษตรเกาะยาว จำกัด สหกรณ์การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้าธกส.พังงา จำกัด และกลุ่ มเกษตรกรทำสวนท่านา ข้าราชการ และ ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 34 คน 2. ครั้ งที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบั ติการส่ งเสริม พัฒ นา เพื่อยกระดับ ชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ ภ าค การเกษตรและกลุ่ ม เกษตรกร จากระดั บ ชั้ น 2 สู่ ชั้ น ที่ 1 เพื่ อ ติ ดตามความก้ าวหน้ า ปั ญ หาอุ ป สรรคและ พิ จ ารณ ากำหนดแนวทางแก้ ไ ข ประกอบด้ ว ย ผู้ แ ทนสหกรณ์ การเกษตร กนช.เกาะยาว จำกั ด สหกรณ์ การเกษตรเกาะยาว จำกัด สหกรณ์ การเกษตรตะกั่ วป่ า จำกัด สหกรณ์ ก ารเกษตรเพื่ อการตลาด ลูกค้าธกส.พังงา จำกัด และกลุ่มเกษตรกรทำสวนท่านา ข้าราชการ และผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 34 คน 3. แนะนำ ส่งเสริม และติดตามผลความก้าวหน้าของทุกกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 4. ผลลัพธ์ 1. สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒ นาศักยภาพให้มีความเข้มแข็งจากระดับชั้น 2 สู่ ชั้น 1 จำนวน 2 แห่ง และจากระดับชั้น 3 สู่ชั้น 2 จำนวน 1 แห่ง 2. สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรได้ รั บ การพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพตาม เกณฑ์ ก ารประเมิ น 4 ด้ า น ในระดับที่ดีขึ้น 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. จากสภาวะเศรษฐกิจทำให้สหกรณ์มีต้นทุนการดำเนินที่สูงขึ้นส่งผลกระทบต่อผลการดำเนินงาน ทำให้กำไรน้อยลง 2. สหกรณ์ มีพ่ อค้ าคนกลางที่ เป็ น คู่ ท างการตลาดในพื้ น ที่ ส่ งผลต่ อ สมาชิ ก สหกรณ์ มี ส่ ว นร่ ว มกั บ สหกรณ์น้อยลง 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/กิจกรรม ยกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 51

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

➢ โครงการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 2. เพื่อส่งเสริมการเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างร้านค้าสหกรณ์และเครือข่ายสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต 3. เพื่อนำโมเดลธุรกิจสำหรับซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ไปส่งเสริมพัฒนาร้านค้าสหกรณ์และส่งเสริม การเชื่อมโยงเครือข่าย 4. เพื่อเป็นเวทีในการแนะนำ ส่งเสริม พัฒนาการดำเนินงานซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ เป้าหมาย : สหกรณ์จำนวน 6 แห่ง 1. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.พังงา จำกัด 2. สหกรณ์กองทุนสวนยางลำแก่นพัฒนา จำกัด 3. สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบางทอง จำกัด 4. สหกรณ์การเกษตรเกาะยาว จำกัด 5. สหกรณ์การเกษตร กนช.เกาะยาว จำกัด 6. สหกรณ์การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด พื้นที่ดำเนินงาน 1. พื้น ที่ กลุ่ มส่ งเสริม เสริ มสหกรณ์ 1 อำเภอเมืองพังงา ได้แ ก่ สหกรณ์ ก ารเกษตรเพื่อ การตลาด ลูกค้า ธ.ก.ส.พังงา จำกัด 2. พื้ นที่ กลุ่ มส่ งเสริ มเสริ มสหกรณ์ 2 อำเภอท้ ายเหมื อง อำเภอเกาะยาว ได้ แก่ สหกรณ์ กองทุ นสวนยาง ลำแก่ น พั ฒ นา จำกั ด สหกรณ์ ก องทุ น สวนยางบ้ า นบางทอง จำกั ด สหกรณ์ ก ารเกษตรเกาะยาว จำกั ด สหกรณ์การเกษตร กนช.เกาะยาว จำกัด 3. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 4 อำเภอตะกั่วป่า ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด 2. งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ

ผลการเบิกจ่าย

ร้อยละ

5,700 บาท

5,700 บาท

100

3. ผลการดำเนินงาน 1. จัดโครงการประชุมเชื่อมโยงเครือข่ายและพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ ณ สำนั กงานสหกรณ์ จั งหวั ดพั งงา มี ผู้ เข้ าร่ วมประชุ ม จำนวน 31 คน ประกอบด้ วย ผู้ แทนสหกรณ์ จำนวน 24 คน และเจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา จำนวน 7 คน โดยใช่งบประมาณ จำนวน 5,700 บาท 2. ติดตาม ขับเคลื่อนการดำเนินการซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 3. รายงานผลการดำเนินงานตามแบบรายงานตามกำหนด

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 52

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ร้านค้าสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาและส่งเสริมการดำเนินธุรกิจ จำนวน 6 แห่ง 2. สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯมีการเชื่อมโยงนำสินค้าจากสมาชิกและเครือข่ายสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มอาชีพ มาจำหน่ายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 มูลค่า ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ได้รับความรู้ในการปรับปรุงพัฒนาร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 2. สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการมีการวางแผนพัฒนาร้านค้าสหกรณ์และเชื่อมโยงสินค้า สมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มอาชีพต่างๆ 3. มูลค่าธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่ายของสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. สินค้าเกษตร (ผัก,ผลไม้) สหกรณ์ไม่สามารถนำมาจำหน่ายในซูเปอร์มาร์เก็ตได้ต่อเนื่อง เนื่องจาก ระยะเวลาการเก็บรักษาค่อนข้างสั้น สถานที่ตั้งของสหกรณ์อยู่ในชุมชนเมืองใกล้ตลาดสด,ห้างสรรพสินค้า และ ร้านค้าของชำ 2. ซู เปอร์ ม าร์ เก็ ตสหกรณ์ ไม่ส ามารถเข้ าร่ว มโครงการของรัฐ เช่ น โครงการคนละครึ่ง เราชนะ ทำให้สมาชิกหันไปซื้อสินค้าตามร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการได้ 3. ควรให้ร้านค้าซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ที่มีความพร้อมจัดทำโครงการแสดงสินค้า เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้สมาชิกสหกรณ์และบุคคลภายนอกรู้จัก 4. ควรมีงบประมาณในการสนับสนุนกิจกรรมการเปิดตัวซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ แต่ล ะแห่ ง และ สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในการจัดร้านซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ ใน

รูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 53

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

➢ โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ความรู้แก่สมาชิกศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) เรื่องการส่งเสริมอาชีพ การรวมกลุ่มแบบสหกรณ์ เป้าหมาย : เกษตรกรที่เป็นสมาชิกศูนย์ (ศพก.) พื้นที่ดำเนินงาน : อำเภอเมือง อำเภอท้ายเหมือง และ อำเภอตะกั่วทุ่ง 2. งบประมาณที่ได้รับ (ไม่มีงบประมาณ) ประเภทรายจ่าย -

งบประมาณที่ได้รับ (บาท) -

ผลการเบิกจ่าย -

ร้อยละ -

3. ผลการดำเนินงาน 1. สนับสนุนการจัดงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) โดยร่วมบูรณาการ กับหน่วยงานภาคีเครือข่ายและคณะกรรมการ ศพก. ในระดับพื้นที่ ร่วมกำหนดแผนการจัดวันถ่ายถ่ายทอด เทคโนโลยีเพื่อเริ่มฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) สถานที่จัดงาน ณ ศพก. หรือศูนย์เครือข่าย 2. ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการสหกรณ์ในศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร จำนวน 13 ครั้ง 3. เจ้ าหน้ าที่ ส่ งเสริ มสหกรณ์ ในพื้ นที่ อำเภอรั บ ผิ ดชอบ ร่ วมประชุ มติ ดตามงานในโครงการ (ศพก.) ทั้ง 8 อำเภอ และแนะนำให้มีการรวมกลุ่ม สนับสนุนการขับเคลื่อนและติดตามการประเมินผล (ศพก.) 4. สนับสนุนสื่อการเรียนรู้ด้านการสหกรณ์ มอบเอกสารประชาสัมพันธ์และแผ่นพับ 4. ผลลัพธ์ : เกษตรกรในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ได้รับการถ่ายทอด ความรู้เรื่องการสหกรณ์ การส่งเสริมอาชีพ การรวมกลุ่มแบบสหกรณ์ และสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ ได้รับไปปรับใช้ในการพัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มให้มีความเข้มแข็ง เพื่อเป็ นรากฐานของการพัฒนาชุมชนได้ อย่างมั่นคงและยั่งยืน 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข -

6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.)

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 54

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

➢ รายงานการทำธุรกรรมระหว่างสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ทราบถึงปริมาณการเชื่อมโยงธุรกรรมระหว่างสหกรณ์ 2. เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องของการกู้ยืมหรือรับฝากระหว่างสหกรณ์ เป้าหมาย : สหกรณ์ทกุ แห่งทีม่ กี ารนาเงินไปฝาก ให้กูย้ มื เงิน รับฝากเงินและกูย้ มื เงินระหว่างสหกรณ์ พื้นที่ดำเนินงาน : สหกรณ์ในจังหวัดพังงา 2. งบประมาณ (ไม่มีงบประมาณ) ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ -

ผลการเบิกจ่าย

ร้อยละ

-

-

-

3. ผลการดำเนินงาน สหกรณ์ที่มีการทำธุรกรรมระหว่างกัน มีการรายงานผลการทำธุรกรรมระหว่างสหกรณ์มายังสำนักงาน สหกรณ์ จั งหวั ด พั งงาเป็ น รายไตรมาส โดยกำหนดให้ ไตรมาสที่ 1 ข้ อ มู ล ณ ม.ค. – มี .ค. 65 ไตรมาส 2 ข้อมูล ณ เม.ย. – มิ.ย. 65 ไตรมาส 3 ข้อมูล ณ ก.ค. - ก.ย. 65 และไตรมาส 4 ข้อมูล ณ ต.ค. – ธ.ค. 65 โดยมีการรายงานผ่านระบบ MIS 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์มีการทำธุรกรรมฝั่งต้นทาง 14 แห่ง 2. สหกรณ์มีการทำธุรกรรมฝั่งปลายทาง 46 รายการ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : สหกรณ์ที่ทำธุรกรรมระหว่างกันมีสภาพคล่องสูง ความเสี่ยงจากการทำธุรกรรม ระหว่างสหกรณ์ต่ำ

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 55

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า

➢ โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ (นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร) 1.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการได้ รั บ ความรู้ ทั ก ษะในการประกอบอาชี พ การเกษตร เข้าถึงองค์ความรู้ด้านการผลิต สามารถสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยังยืน ให้เกิดความมั่นคงในการประกอบ อาชีพการเกษตร เป้าหมาย 1. เกษตรกรโครงการลูกหลานกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร จำนวน 6 คน 2. เกษตรกรโครงการลูกหลานกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร ปี พ.ศ.2564 จำนวน 2 คน 3. ผู้สังเกตการณ์จังหวัดพังงาและภูเก็ต จำนวน 4 คน 4. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงาและจังหวัดภูเก็ต จำนวน 2 คน พื้นที่ดำเนินงาน ศูน ย์ เครื อ ข่ าย ศพก. ศู น ย์ เรีย นรู้เกษตรอิ น ทรีย์ บ างแนะ หมู่ ที่ 3 ตำบลนบปริง อำเภอเมื อ ง จังหวัดพังงา 2. งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ

ผลการเบิกจ่าย

ร้อยละ

24,460

24,460

100

3. ผลการดำเนินงาน 1. จัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ 2 วัน โดยวัน แรกมีการบรรยายให้ความรู้ในหัวข้อ ความรู้เรื่องการผลิตพืช GAP และการผลิตพืชอินทรีย์,การใช้ชีวภัณฑ์และ ปุ๋ยชีวภาพตามเทคโนโลยีของกรมวิชาการเกษตรและการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร วันที่สองบรรยายให้ ความรู้ในหัวข้อ การตลาด และการเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่าย,ตลาดนำการผลิต,ทางเลือกเพื่อการใช้น้ำอย่าง รู้ คุ ณ ค่ าสำหรั บ การปลู ก พื ช ,ความรู้ เรื่ อ งดิ น และการใช้ ปุ๋ ย ตามค่ า วิ เคราะห์ ดิ น และการผลิ ต ปุ๋ ย อิ น ทรี ย์ คุณภาพสูงทดแทนปุ๋ยเคมี 2. ให้ผู้เข้าร่วมทำแบบสอบถามความคิดเห็นความพึงพอใจในการจัดโครงการดังกล่าวขึ้นมา 3. รายงานผลการจัดโครงการฯ

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 56

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร 2. เกษตรกรเป้าหมายของโครงการ จำนวน 12 คน ได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องทักษะการเกษตร มากขึ้น ได้เข้าถึงองค์ความรู้ ปัจจัยการผลิต รวมถึงการสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน ให้เกิดความมั่นคง ในการประกอบอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้จากการเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ภายหลังเข้าร่วมโครงการ 2. เพิ่มจำนวนเกษตรรุ่นใหม่ในภาคเกษตรกรรม บรรเทาปัญหาเกษตรกรสูงอายุและเสริมสร้างความ เข้มแข็งของภาคการเกษตรและสถาบันเกษตรกร 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ควรมีการสนับสนุนปัจจัยการผลิต เช่น พันธุ์ไม้ ถังหมัก เป็นต้นให้แก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ (นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร)

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 57

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

➢ โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมที่ 1 : พัฒนาศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรแปรรูป 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้แก่สหกรณ์เกี่ยวกับนวัตกรรม/เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตร/การ พัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์/การทำสื่อประชาสัมพันธ์และการวางแผนการตลาด 2. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์ของสหกรณ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด เป้าหมาย บุคลากรสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส.พังงา จำกัด จำนวน 25 คน พื้นที่ดำเนินงาน พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 1 อำเภอเมืองพังงา ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส.พังงา จำกัด 2. งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ

ผลการเบิกจ่าย

ร้อยละ

63,900

63,900

100

3. ผลการดำเนินงาน จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและธุรกิจชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรแปรรูปเพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่ม มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 32 คน 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์ได้รับส่งเสริมการทำการเกษตรแปรรูป จำนวน 1 แห่ง 2. อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปขยายตัวร้อยละ 3 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีองค์ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมเทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตรสร้างมูลค่าการ พั ฒ นาและการออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า สิ น ค้ า การวางแผนการตลาด การจั ด จำหน่ า ย การส่งเสริมการขายและการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ 2. สหกรณ์ เป้ าหมายมีการพั ฒ นาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์ ที่สอดคล้องกับความต้องการตลาดและ สามารถจำหน่ายได้ 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข -

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 58

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนิน กิจ กรรมของงาน/โครงการพัฒ นาศักยภาพการดำเนิน ธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน

➢ โครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน (GAP) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการสร้างระบบการรับรองมาตรฐาน การสร้างความเชื่อมั่นในการผลิต สินค้าเกษตรปลอดภัย และเพื่อส่งเสริมการจัดทำฐานข้อมูลด้านเกษตรปลอดภัยร่วมกับสมาชิกของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อส่งเสริมและพัฒ นาสมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรให้มีความรู้ ในการผลิตผั กและผลไม้ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน GAP ตามหลักวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และได้มาตรฐานที่ต้องการของตลาด เป้าหมาย : เกษตรกรที่ได้รับ GAP ปี 2563 1. สหกรณ์การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด จำนวน 7 ราย 2. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส.พังงา จำกัด จำนวน 10 ราย พื้นที่ดำเนินการ 1. พื้ น ที่กลุ่ ม ส่ งเสริ มเสริ มสหกรณ์ 1 อำเภอเมืองพั งงา ได้แก่ สหกรณ์ ก ารเกษตรเพื่ อการตลาด ลูกค้า ธกส.พังงา จำกัด 2. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 4 อำเภอคุระบุรี ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด 2. งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ (บาท) 34,380

ผลการเบิกจ่าย 34,380

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

ร้อยละ 100

หน้า 59

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

3. ผลการดำเนินงาน 1. จัดอบรมให้ ความรู้ด้านการสร้างระบบรับ รองมาตรฐาน การสร้างความเชื่อมั่นในการผลิ ตสิ นค้า ปลอดภัยและด้านการวางแผนการผลิต การตลาด เชื่อมโยงสินค้าเกษตรปลอดภัย เป้าหมายสมาชิกสหกรณ์ การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด ที่ได้รับ GAP จำนวน 7 ราย ใช้งบประมาณจัดกิจกรรม จำนวน 4,460 บาท 2. จัดอบรมให้ ความรู้ด้านการสร้ างระบบรับรองมาตรฐาน การสร้างความเชื่อมั่นในการผลิตสิ นค้า ปลอดภัยและด้านการวางแผนการผลิต การตลาด เชื่อมโยงสินค้าเกษตรปลอดภัย เป้าหมายสมาชิกสหกรณ์ การเกษตรเพื่อการตลาดลู กค้า ธกส.พังงา จำกัด ที่ได้รับ GAP จำนวน 10 ราย ใช้งบประมาณจั ดกิจกรรม จำนวน 5,600 บาท 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 17 ราย ได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้ และเข้าใจ เกี่ยวกับความสำคัญของใบรับรองมาตรฐาน GAP ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิ ก สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรมี ร ายได้ เพิ่ ม ขึ้ น จากการนำใบรั บ รองมาตรฐาน GAP ไปใช้ประโยชน์ 2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์เพิ่มขึ้น 5. ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน (GAP)

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 60

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม ➢ โครงการส่งเสริมการสหกรณ์ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วั ตถุ ประสงค์ : เพื่ อ ให้ เกษตรกรในพื้ น ที่ โครงการฯ เข้ า ใจระบบสหกรณ์ แ ละสามารถนำไปปรั บ ใช้ ในการดำเนินชีวิตได้ เป้าหมาย : กลุ่มชาวบ้าน จำนวน 30 ราย พื้นที่ดำเนินงาน กลุ่มอาชีพอวนปู บ้านทุ่งรัก ตำบลแม่นางขาว อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ (บาท) 8,100

ผลการเบิกจ่าย 8,100

ร้อยละ 100

3. ผลการดำเนินงาน 1. แนะนำ ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับหลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ พร้อมทั้งส่งเสริมให้เกิดการ รวมกลุ่มดำเนินกิจกรรมในรูปแบบของกลุ่มเตรียมการสหกรณ์ 2. ประสานวิ ท ยากรผู้ เชี่ย วชาญในการส่ งเสริม การประกอบอาชี พ เพื่ อ ให้ ค วามรู้กั บ ชุ ม ชนในพื้ น ที่ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 3. จั ด ประชุม เชิ งปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ สร้างการมี ส่ ว นร่ว มกั บ ชุ ม ชน เมื่ อ วัน ที่ 22 มีน าคม 2565 เพื่ อให้ เกษตรกรในพื้น ที่โครงการฯ เข้าใจระบบสหกรณ์ และสามารถนำไปปรับ ใช้ในการดำเนิน ชีวิตได้ และเพื่ อ สนับสนุน ส่งเสริม การประกอบอาชีพของเกษตรกรในพื้นที่ 4. ผลลัพธ์ : ชุมชนในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กลุ่มอาชีพอวนปู บ้านทุ่งรัก ได้เข้าใจระบบ สหกรณ์และสามารถนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต และได้เรียนรู้การทำน้ำพริกปลาหมึก เป็นการส่งเสริม อาชีพเสริมให้แก่เกษตรกรโครงการ 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปั ญ หา/อุ ป สรรค : กลุ่ ม ดำเนิ น การด้ ว ยวิ ธี ก ารในรู ป แบบของกลุ่ ม ธรรมชาติ สมาชิ ก ของกลุ่ ม ไม่สามารถปรับตัวที่จะจัดตั้งเป็นสถาบันที่อยู่ภายใต้กฎหมายรองรับ แนวทางแก้ ไ ข : ให้ ก ลุ่ ม ดำเนิ น งานโดยนำวิ ถี ก ารสหกรณ์ ไปปรั บ ใช้ และมี ก ารบั น ทึ ก บั ญ ชี ก ลุ่ ม ในรูปแบบชาวบ้านที่เข้าใจได้ง่าย

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 61

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการส่งเสริมการสหกรณ์ ตามโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ

➢ โครงการส่งเสริมสหกรณ์ ตามพระราชดำริสมเด็จกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสนองงานตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ต้องการให้นักเรียนในโครงการพระราชดำริ ได้เรียนรู้ในเรื่องการสหกรณ์เพื่อนำความรู้ และทักษะไปใช้ในชีวิต 2. เพื่อให้ ผู้ บริห ารโรงเรีย น ครูผู้สอนวิชาสหกรณ์ ครูผู้ รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ นักเรียน และ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ได้มีส่วนร่วมวางแผนการขับเคลื่อนการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนของโรงเรียน ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2560 – 2569 3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานในเรื่องของการสหกรณ์ในภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติ เพื่อสร้างความคุ้นเคยระบบสหกรณ์ให้กับนักเรียน 4. เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมตามอุดมการณ์สหกรณ์ กลุ่มเป้าหมาย : นักเรียน ครู ผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนโรงเรียน 3 โรงเรียน ได้แก่ 1. โรงเรียนบ้านทุ่งรักษ์ชัยพัฒน์ 2. โรงเรียนคุระบุรีชัยพัฒน์ 3. โรงเรียนพระราชทานทับละมุ พื้นที่ดำเนินโครงการ : โรงเรียนภายใต้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จำนวน 3 แห่ง 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน งบเงินอุดหนุน

งบประมาณที่ได้รับ (บาท) 30,900 5,000

ผลการเบิกจ่าย 30,900 5,000

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

ร้อยละ 100 100 หน้า 62

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

3. ผลการดำเนินงาน จัดกิจกรรมให้ ความรู้เรื่องสหกรณ์ โรงเรียน โดยให้ ความรู้ในเรื่องหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการ สหกรณ์ จัดกิจจกรมให้ความรู้และเข้าใจระบบบัญชี การทำบัญชีรายรับ -รายจ่าย และสามารถทำบัญชีของ สหกรณ์ ได้ รวมถึ งจั ด กิ จ กรรมให้ นั ก เรี ย นมี ส่ ว นร่ว มในการแสดงออกทางความคิ ด และสาธิ ต การปฏิ บั ติ ที่ถูกต้องตามกระบวนการสหกรณ์ 4. ผลลัพธ์ 1. โรงเรียนเป้าหมายได้รับการแนะนำส่งเสริมความรู้ด้านสหกรณ์นักเรียน จำนวน 3 แห่ง 2. นักเรียนมีคะแนนในการทำแบบทดสอบ มากกว่าร้อยละ 70 3. สหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนมีการดำเนินกิจกรรมร้านค้าสหกรณ์ และกิจกรรมการเกษตร จำนวน 3 แห่ง 5. ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. ครูผู้รับชอบงานสหกรณ์โรงเรียนมีการโยกย้ายบ่อย ทำให้การดำเนินงานสหกรณ์ไม่ต่อเนื่อง 2. ไม่มีการส่งมอบงานระหว่างครูที่รับผิดชอบเดิมกับครูผู้ได้รับมอบหมายงานใหม่ 3. เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลให้การส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์ นักเรียนไม่สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการส่งเสริมสหกรณ์ตามพระราชดำริสมเด็จกนิษฐาธิราช เจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 63

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

➢ โครงการคลิ นิ ก เกษตรเคลื่ อ นที่ ในพ ระราชานุ เ คราะห์ สมเด็ จ พ ระ เจ้ า อยู่ หั ว มหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชน ได้รับความรู้ด้านสหกรณ์เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 2. เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกร มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับสหกรณ์ และสามารถนำไปปรับใช้เพื่อ ประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน 3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ทักษะด้านสหกรณ์ และสร้างลักษณะนิสัยที่สอดคล้องกับอุดมการณ์สหกรณ์ สร้างจิตสำนึกในการทำงานร่วมกันให้ประชาชน และสามมารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ กลุ่มเป้าหมาย : เกษตรกรและประชาชนทั่วไปในเขตพื้นที่จังหวัดพังงา พื้นที่ดำเนินโครงการ : ดำเนินการในพื้นที่ที่เหมาะสมในการจัดคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ของจังหวัดพังงา 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ (บาท) 9,100

ผลการเบิกจ่าย 9,100

ร้อยละ 100

3. ผลการดำเนินงาน 1. จัดกิจกรรม ให้ความรู้ อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ แก่เกษตรกรและประชาชนทั่วไป ให้คำปรึกษา ปัญหาเกี่ยวกับการสหกรณ์ ของเกษตรกรและประชาชนทั่วไป 2. ประสานงาน การดำเนินโครงการฯ ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อร่วมดำเนิ นกิจกรรม คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ 3. ดำเนินการจัดคลินิกสหกรณ์ให้ความรู้และคำปรึกษาเรื่องสหกรณ์ จัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้ ด้านสหกรณ์ แจกเอกสารเผยแพร่ เมล็ดพันธ์ผักแก่ผู้มาร่วมงาน 4. ผลสำเร็จผลลัพธ์ 1. เกษตรกรและประชาชนสนใจ ในพื้นที่โครงการฯ ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์เพิ่มขึ้น 2. เกษตรกรและประชาชนทั่วไป ได้รับคำปรึกษาในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการสหกรณ์ 3. เกษตรกรและประชาชนทั่ ว ไป ได้ รั บ ความรู้ ในการร่ ว มกิ จ กรรม และสามารถนำไปใช้ ใ น ชีวิตประจำวันได้ 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. งบประมาณที่ได้รับจัดสรรมีจำกัด การจัดงานแต่ละครั้งทำให้ไม่เพียงพอในการให้บริการเกษตรกร 2. เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรคโควิด – 19 ทำให้ต้องปรับเปลี่ยนการจัดกิจกรรม โดยให้มีความปลอดภัยแก่ผู้ที่มาร่วมกิจกรรมไม่เกิดความเสี่ยงจากการแพร่เชื้อโรคและเว้นระยะห่าง

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 64

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร

➢ โครงการขั บ เคลื่ อนการประยุกต์ ใช้ห ลัก ปรัช ญาของเศรษฐกิ จพอเพี ยงในสหกรณ์ และ กลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการสนับสนุน ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เคยเข้าร่วมโครงการประยุกต์ใช้ปรัชญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งในสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร ตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2551 – 2556 และปี พ.ศ. 2558 จนถึ งปั จ จุ บั น และขยายผลสู่ ส หกรณ์ /กลุ่ ม เกษตรกร ที่ ไม่ เคยเข้ า ร่ว มโครงการดั งกล่ า ว ได้ น ำแนวทาง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมทั้งส่งเสริมให้ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างแพร่หลาย 2. เพื่อให้สหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกร มีกิจกรรมการดำเนินงานที่สอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในการบริหารจัดการธุรกิจหรือกิจกรรมต่างๆ ทั้งในระดับองค์กรและระดับสมาชิก เป้าหมาย : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ 1. สหกรณ์กองทุนสวนยางบางวัน จำกัด 2. สหกรณ์การเกษตรท้ายเหมือง จำกัด 3. สหกรณ์การเกษตรเกาะยาว จำกัด 4. กลุ่มเกษตรกรทำสวนทุ่งมะพร้าว 5. กลุ่มเกษตรกรทำสวนลำภี พื้นที่ดำเนินงาน 1. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 2 อำเภอท้ายเหมือง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรท้ายเหมือง จำกัด กลุ่มเกษตรกรทำสวนทุ่งมะพร้าว กลุ่มเกษตรกรทำสวนลำภี 2. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 2 อำเภอเกาะยาว ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเกาะยาว จำกัด 3. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 4 อำเภอคุระบุรี ได้แก่ สหกรณ์กองทุนสวนยางบางวัน จำกัด WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 65

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

2. งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ

ผลการเบิกจ่าย

ร้อยละ

1,900

1,900

100

3. ผลการดำเนินงาน 1. ดำเนินการแนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ 5 แห่ง 2. สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรที่ เข้ า ร่ ว มโครงการมี ก ารนำหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ไปประยุกต์ใช้ 3. จั ด ประชุ ม คณะกรรมการประกวดผลงานการขั บ เคลื่ อ นหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัด เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2565 ที่ประชุมได้คัดเลือกสหกรณ์กองทุน สวนยางบางวัน จำกัด เสนอเข้ารับการคัดเลือกผลงานในระดับภาค 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการแนะนำส่งเสริมตามหลักเกณฑ์ จำนวน 5 แห่ง ผลลัพ ธ์ เชิงคุณ ภาพ : สหกรณ์ กองทุ น สวนยาบางวัน จำกัด มี การน้ อมหลั ก ปรัช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งไปใช้ ในองค์ ก รและระดั บ สมาชิ ก ทำให้ ส หกรณ์ ล ดต้ น ทุ น ค่ าใช้ จ่ า ย การดำเนิ น ธุ ร กิ จ มี ผ ลกำไร สมาชิกมีเงินออม 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข การจัดทำบัญชีครัวเรือนของสมาชิกยังไม่ได้ร้อยละ 80 สมาชิกมีส่วนร่วมน้อยกว่าร้อยละ 80 สหกรณ์ ไม่มีทุนในการสนับสนุนสมาชิก 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/ โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 66

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

◼ แผนงานยุทธศาสตร์เพือ่ สนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ➢ โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างรายได้ให้แก่สมาชิก โดยผ่านกลไกการให้บริการของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ให้มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิกได้เพิ่มขึ้น 3. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์มีแนวทางในการแก้ไขปัญหาหนี้ของตนเอง 4. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์สามารถวางแผนทางการเงินและเสริมสร้างอาชีพของตนเอง เป้าหมาย : สหกรณ์การเกษตรตะกั่วทุ่ง จำกัด พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 2 อำเภอตะกั่วทุ่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรตะกั่วทุ่ง จำกัด 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ (บาท) 2,900

ผลการเบิกจ่าย 2,900

ร้อยละ 100

3. ผลการดำเนินงาน เข้ าติ ดตามผลการขั บเคลื่ อนการแก้ ไขปั ญหาหนี้ ค้ างชำระของสมาชิ กสหกรณ์ การเกษตรตะกั่ วทุ่ ง จำกั ด โดยที ม โค้ ช ร่ ว มกั บ คณะกรรมการดำเนิ น การของสหกรณ์ และเจ้าหน้ าที่ ส หกรณ์ ศึ ก ษาที่ ม าของปั ญ หา หนี้ค้างชำระของสมาชิกสหกรณ์ นำมาซึ่งปัจจัยแห่งความสำเร็จที่สหกรณ์สามารถแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระ ของสมาชิกได้ รูปแบบ (Model) การแก้ปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาซิกสหกรณ์

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 67

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์การเกษตรตะกั่วทุ่ง จำกัด มีผลการติดตามการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิกสหกรณ์ ผลการเจรจาลู กหนี้ เที ยบกับ แผนฯ คิดเป็น ร้อยละ 96.30 และผลการ สร้างอาชีพเที ยบกับแผนฯ คิดเป็ น ร้อยละ 96.30 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สำนั ก งานสหกรณ์ จั ง หวั ด พั ง งาลงพื้ น ที่ ติ ด ตามหนี้ ค้ า งชำระของสมาชิ ก อาทิ ต ย์ ล ะ 1 ครั้ ง โดยมีกระบวนการติดตามหนี้ ดังนี้ 1. มีข้อมูลของลูกหนี้อย่างละเอียด ไม่ว่าจะเป็น รายได้ รายจ่ายของสมาชิกที่เป็นลูกหนี้ ทรัพย์สิน หนี้สิน หลักประกัน สาเหตุความผิดปกติของลูกหนี้ที่ก่อให้เกิดหนี้ค้างชำระ 2. มีการเช็คประวัติลูกหนี้โดยละเอียด รวมไปถึงกำหนดศักยภาพของลูกหนี้ 3. นัดพูดคุยกับลูกหนี้เป็นรายคน 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข สมาชิกมีรายได้ไม่เพียงพอ โดยเฉพาะสมาชิกที่ประกอบอาชีพทำการประมง สหกรณ์โดยทีมปฏิบัติ ของสหกรณ์ มี แนวทางในการแก้ ไข คื อ ลงพื้ น ที่ ติด ตาม สอบถาม พู ด คุ ยกั บ สมาชิ กเป็ น รายคน เพื่ อรับ รู้ ถึงปัญหา เพื่อนำปัญหาดังกล่าว เข้าหารือในที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 68

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

➢ โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มประชาชนภายในพื้นที่เป้าหมายการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชน ในรูปแบบสหกรณ์ 2. ส่งเสริมพัฒนาอาชีพ และการตลาดในรูปแบบเศรษฐกิจชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้การใช้ระบบอนุรักษ์ดินและน้ำอย่างยั่งยืน 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความกินดี อยู่ดี มีสันติสุข และสร้างความเข้มแข็งในชุมชน เป้ าหมาย : เกษตรกรที่ ได้ รั บ สิ ท ธิ เข้ า ทำประโยชน์ 319 ราย ได้ รั บ การจั ด สรรจำนวน 325 แปลง เนื้อที่ 3,137 ไร่ พื้นที่ดำเนินการ : พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเทือกเขาทุ่งคาโงก ตำบลทุ่งคาโงก อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ (บาท) 6,800

ผลการเบิกจ่าย 6,800

ร้อยละ 100

3. ผลการดำเนินการ 1. จัดประชุมเจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานหน่วยงานภายใต้คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพระดับ จังหวัด เพื่อร่วมกันวางแผนและการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ การตลาด ตามกรอบภารกิจ 6 ด้าน รวมทั้งเป็น เวทีในการติดตามผลการดำเนินงาน จำนวน 4 ครั้ง (ไตรมาสละ 1 ครั้ง) 2. นำเสนอแผนการส่งเสริมและพัฒ นาอาชีพ การตลาด ในที่ประชุม คทช.จังหวัด พิจารณาให้ความ เห็นชอบตามแผนงานเป็นรายพื้นที่ เพื่อมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตามแผน 3. ขับเคลื่อนตามแผนการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ การตลาดในพื้นที่เป้าหมาย 4. บูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานภายใต้คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ในการแนะนำ ส่งเสริม และติดตามการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ 5. รายงานผลดำเนินงานให้กรมส่งเสริมสหกรณ์รับทราบ 4. ผลลัพธ์ 1. เกษตรกรผู้ ได้ รั บ การจั ด สรรที่ เข้ า ร่ ว มโครงการฯได้ รั บ ความรู้ ความเช้ าใจตามหลั ก สู ต รต่ า งๆ ตามกรอบภารกิจการดำเนินงาน 6 ด้าน 2. รายได้สมาชิกเกษตรกรเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 3. มีการรวมกลุ่มในพื้นที่เป้าหมาย ตลอดจนองค์ความรู้ในการประกอบอาชีพ เพื่อให้นำไปปรับใช้ ในประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 69

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

5. ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. เกษตรกรในพื้นที่บางส่วนไม่ได้ปลูกบ้านและไม่ได้อาศัยอยู่ในพื้นที่ทำกิน ทำให้การติดต่อประสานงาน เพื่อให้การสนับสนุนยังไม่ทั่วถึง 2. แหล่งน้ำเพื่อการเกษตรไม่เพียงพอในฤดูแล้ง เนื่องจากเป็นพื้นที่เนินเขา ทำให้ไม่สามารถกักเก็บน้ำ 3. งบประมาณที่ได้รับของแต่ละหน่วยงานไม่เพียงพอต่อการส่งเสริมเกษตรกรในพื้นที่ 4. การประชุมคณะทำงานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและตลาดควรลดลงจากปีละ 4 ครั้ง เหลือปีละ 2 ครั้ง หรือตามบริบทของแต่ละจังหวัด เนื่องจากในจังหวัดพังงามีพื้นที่ที่ส่งมอบงานให้กับคณะทำงานส่งเสริมพัฒนา อาชีพและตลาดมีเพียงหนึ่งพื้นที่ ส่งผลให้ประเด็นที่จะนำเสนอต่อที่ประชุมมีน้อย 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำ กินของเกษตรกร

➢ โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินค้าเกษตร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ : เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตร เชื่อมโยงเครือข่าย สินค้าคลัสเตอร์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย 1. ผู้แทนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แห่งละ 2 คน จำนวน 8 แห่ง รวม 16 คน - สหกรณ์การเกษตรท้ายเหมือง จำกัด - สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส.พังงา จำกัด - สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบางทอง จำกัด - สหกรณ์การเกษตรกะปง จำกัด - สหกรณ์การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด - สหกรณ์สภาเกษตรกรเพื่อเกษตรกรพังงา จำกัด - สหกรณ์กองทุนสวนยางลำแก่นพัฒนา จำกัด - กลุ่มเกษตรกรทำสวนบางนายสี 2. เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 6 คน

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 70

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

พื้นที่ดำเนินงาน 1. พื้น ที่ กลุ่ มส่ งเสริม เสริ มสหกรณ์ 1 อำเภอเมืองพังงา ได้แ ก่ สหกรณ์ ก ารเกษตรเพื่อ การตลาด ลูกค้า ธกส.พังงา จำกัด 2. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 2 อำเภอท้ายเหมือง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรท้ายเหมือง จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบางทอง จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางลำแก่นพัฒนา จำกัด 3. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 4 อำเภอคุระบุรี ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรกะปง จำกัด สหกรณ์ การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด สหกรณ์สภาเกษตรกรเพื่อเกษตรกรพังงา จำกัด กลุ่มเกษตรกรทำสวนบางนายสี 2. งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ

ผลการเบิกจ่าย

ร้อยละ

18,000

18,000

100

3. ผลการดำเนินงาน จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 เพื่อจัดทำ ข้อมูลสินค้าเกษตรและ/หรือสินค้าเกษตรแปรรูปที่มีศักยภาพพร้อม กิจกรรมที่ 2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ วางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 2 เพื่อให้ผู้ที่คาดว่าจะเป็นคู่ค้า แลกเปลี่ยน ความต้องการสินค้ากับสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร และกิจกรรมที่ 3 ประสานงาน แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตรและการเชื่อมโยงเครือข่าย 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 100 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย มีแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตร 2. สหกรณ์ และกลุ่ ม เกษตรกร จำนวน 8 แห่ ง ได้ รับ การส่ งเสริม และพั ฒ นาการบริห ารจั ด การ ด้านการตลาด การเชื่อมโยงเครือข่ายคัลสเตอร์ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการการตลาดสินค้าเกษตร 2. สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และเกษตรกรมีตลาดรองรับสินค้าเกษตร 3. ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการขยายตัวร้อยละ 3 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข -

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 71

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

ผลการดำเนินงาน/โครงการตามนโยบายสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ➢ โครงการสนับสนุนการรวบรวมและกระจายผลไม้เพื่อยกระดับราคาไม่ให้ตกต่ำของสถาบัน เกษตรกร สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา ร่วมกับสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส.พังงา จำกัด เชื่อมโยงเครือข่าย กระจายส้มโอของสหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตรจุน จำกัด จังหวัดพะเยา ซึ่งสมาชิกสหกรณ์ผู้ ปลูกส้มโอในจังหวัด พะเยาได้รับความเดือดร้อนไม่สามารถระบายผลผลิตได้ โดยได้ช่วยเหลือสั่งซื้อส้มโอพันธุ์ทองดี จำนวน 600 ลูก กระจายไปยังเครือข่ายสหกรณ์ ส่วนราชการและประชาชนทั่วไปในจังหวัดพังงา ในราคาลูกละ 40 บาท รอบแรก รับสินค้าวันที่ 29 สิงหาคม 2565 และรอบที่ 2 รับสินค้าวันที่ 31 สิงหาคม 2565

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 72

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

➢ โครงการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกรสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และสหกรณ์ รวมถึงเชื่อมโยงไปถึงผู้ประกอบการภาคเอกชนและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 2. เพื่ อ ให้ เ กษตรกรสามารถลดต้ น ทุ น การผลิ ต มี ผ ลต่ อ หน่ ว ยเพิ่ ม ขึ้ น ผลผลิ ต มี คุ ณ ภาพ ได้มาตรฐานและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด ภายใต้การบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เป้าหมาย 1. แปลงใหญ่ ป าล์ ม น้ ำ มั น 3 แปลง สหกรณ์ ก ารเกษตรทั บ ปุ ด จำกั ด สหกรณ์ ก ารเกษตร หานหงส์-ตากแดด จำกัด สหกรณ์การเกษตรกะปง จำกัด 2. แปลงใหญ่ ย างพารา 4 แปลง สหกรณ์ ก องทุ น สวนยางในโตน จำกั ด สหกรณ์ ส ภาเกษตร เพื่อเกษตรกรพังงา จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านปากพู่ จำกัด สหกรณ์การเกษตรเกาะยาว จำกัด 3. แปลงใหญ่แพะ 1 แปลง สหกรณ์การเกษตร กนช.เกาะยาว จำกัด พื้นที่ดำเนินงาน 1. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 1 อำเภอเมืองพังงา อำเภอทับปุด ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรทับปุด จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางในโตน จำกัด สหกรณ์การเกษตรหานหงส์-ตากแดด จำกัด 2. พื้ น ที่กลุ่ มส่ งเสริมเสริมสหกรณ์ 2 อำเภอเกาะยาว ได้แก่ สหกรณ์ การเกษตรเกาะยาว จำกัด สหกรณ์การเกษตร กนช.เกาะยาว จำกัด 3. พื้ น ที่ ก ลุ่ ม ส่ ง เสริ ม เสริ ม สหกรณ์ 4 อำเภอคุ ร ะบุ รี อำเภอกะปง ได้ แ ก่ สหกรณ์ ส ภาเกษตร เพื่อเกษตรกรพังงา จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านปากพู่ จำกัด สหกรณ์การเกษตรกะปง จำกัด 2. งบประมาณ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ

ผลการเบิกจ่าย

ร้อยละ

500

500

100

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 73

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

3. ผลการดำเนินงาน 1. การส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. ร่วมประชุมบูรณาการขับเคลื่อนงานด้านการเกษตรระดับจังหวัดพังงากับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่

ชื่อแปลงใหญ่

พื้นที่ สมาชิก ผลผลิต (ไร่) (คน) (ตัน)

มูลค่า

ผู้รับซื้อ

1 แปลงใหญ่ปาล์มน้ำมัน สหกรณ์การเกษตรทับปุด จำกัด

300

31

750

3,825,000

พ่อค้า

2 แปลงใหญ่ยางพารา สหกรณ์กองทุนสวนยางในโตน จำกัด 3 แปลงใหญ่ปาล์มน้ำมัน

600 406

30 34

328 2,868

8,627,720 สหกรณ์ 14,685,928 สหกรณ์

601

30

986.56

18,569,862 สหกรณ์

795

32

175.93

4,130,132 สหกรณ์

324 644 1,248

30 30 71

81 3,200

2,106,000 16,050,000

4,918

288

8,389.49

67,994,642

สหกรณ์การเกษตรหานหงส์ - ตากแดด จำกัด 4 แปลงใหญ่ยางพารา สหกรณ์สภาเกษตรกรเพื่อเกษตรกร พังงา จำกัด 5 แปลงใหญ่ยางพารา สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านปากพู่ จำกัด 6 แปลงใหญ่ยางพารา สหกรณ์การเกษตรเกาะยาว จำกัด

7 แปลงใหญ่แพะ สหกรณ์ กนช.เกาะยาว จำกัด 8 แปลงใหญ่ปาล์มน้ำมัน สหกรณ์การเกษตร กะปง จำกัด

รวม

พ่อค้า พ่อค้า

4. ผลลัพธ์ ผลลั พ ธ์ เ ชิ ง ปริ ม าณ : เกษตรกรแปลงใหญ่ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น ด้ า นการรวมกลุ่ ม /การตลาด ร้อยละ 66 ผลลั พ ธ์ เ ชิ ง คุ ณ ภาพ : เกิ ด การบริ ห ารจั ด การด้ า นการรวมกลุ่ ม ที่ เข้ ม แข็ ง โดยใช้ วิ ธี ก ารสหกรณ์ การรวมกันซื้อรวมกันขายการใช้เทคโนโลยีหรือเครื่องจักรกลทางการเกษตรร่วมกัน ทำให้ต้นทุนการผลิตลดลง 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 6. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 74

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

◼ เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินโครงการ วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อเป็นทุนส่งเสริมกิจการสหกรณ์ 2. เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ให้สมาชิกกู้ยืม หรือจัดหาสินค้ามาจำหน่าย หรือรวบรวมผลผลิตทางการเกษตรของสมาชิกของสหกรณ์ เป้าหมาย : สหกรณ์ 15 แห่ง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : 1. พื้ น ที่ ก ลุ่ ม ส่ ง เสริ ม เสริ ม สหกรณ์ 1 อำเภอเมื อ งพั ง งา อำเภอทั บ ปุ ด ได้ แ ก่ สหกรณ์ ก องทุ น สวนยางในโตน จำกั ด สหกรณ์ กองทุ นสวนยางบ้ านตากแดด จำกั ด สหกรณ์ การเกษตรหานหงส์ -ตากแดด จำกั ด สหกรณ์การเกษตรทับปุด จำกัด 2. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 2 อำเภอตะกั่วทุ่ง อำเภอท้ายเหมือง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรตะกั่วทุ่ง จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบางทอง จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางลำแก่นพัฒนา จำกัด 3. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 4 อำเภอกะปง ได้แก่ สหกรณ์สภาเกษตรกรเพื่อเกษตรกรพังงา จำกัด 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ (บาท) 83,500

ผลการเบิกจ่าย 71,040

ร้อยละ 85.08

3. ผลการดำเนินงาน คณะอนุ ก รรมการพิ จ ารณาเงิ น กู้ ก องทุ น พั ฒ นาสหกรณ์ จั ง หวั ด พั ง งา ครั้ ง ที่ 1/2565 เมื่ อ วั น ที่ 18 กุ ม ภาพั น ธ์ 2565 ซึ่ งสหกรณ์ ได้ รั บ การจั ด สรรเงิน กู้ ก องทุ น พั ฒ นาสหกรณ์ โครงการพิ เศษ โครงการ สนั บ สนุ น เงิน ทุน เพื่ อฟื้ น ฟู ก ารดำเนิ น ธุรกิจ สหกรณ์ อั ตราดอกเบี้ ยร้ อ ยละ 1.00 ต่อปี จำนวน 2 สหกรณ์ 2 สัญญา จำนวน 900,000.- บาท โครงการลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 1.00 ต่อปี จำนวน 1 สหกรณ์ 1 สั ญ ญา จำนวน 50,000.- บาท และโครงการปกติ อัตราดอกเบี้ ย ตามการจั ดชั้น ลู กหนี้ กพส. จำนวน 1 สหกรณ์ 1 สั ญ ญา จำนวน 500,000.- บาท รวมทั้งสิ้ น 4 สหกรณ์ 4 สัญญา จำนวนเงินรวม 1,450,000.- บาท คณะอนุ กรรมการพิ จารณาเงิ น กู้ กองทุ นพั ฒนาสหกรณ์ จั งหวั ดพั งงา ครั้ งที่ 2/2565 เมื่ อวั นที่ 18 มิถุนายน 2565 ซึ่งสหกรณ์ได้รับการจัดสรรเงินกู้กองทุนพัฒ นาสหกรณ์ โครงการพิเศษ โครงการบริหาร จัดการธุรกิจรวบรวมผลไม้ในสถาบันเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 1.00 ต่อปี จำนวน 1 สหกรณ์ 1 สัญญา จำนวน 500,000.- บาท คณะอนุ กรรมการพิ จารณาเงิ น กู้ กองทุ นพั ฒนาสหกรณ์ จั งหวั ดพั งงา ครั้ งที่ 3/2565 เมื่ อวั นที่ 5 กันยายน 2565 ซึ่งสหกรณ์ได้รับการจัดสรรเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการพิเศษ โครงการสนับสนุน สิ นเชื่ อเพื่ อส่ งเสริ มการจั ดหาปุ๋ ยบริ การสมาชิ กเพื่ อลดต้ นทุ นการผลิ ต ปี 2565 อั ตราดอกเบี้ ย ร้ อยละ 1.00 ต่ อปี จำนวน 3 สหกรณ์ 3 สัญ ญา จำนวน 4,700,000.- บาท โครงการจัดหาและปรับปรุงแหล่ งน้ ำของสมาชิก สหกรณ์ ปี 2565 อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 1.00 ต่อปี จำนวน 1 สหกรณ์ 1 สัญญา จำนวน 500,000.- บาท โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อแก้ปัญหาหนี้และฟื้นฟูอาชีพสมาชิก ปีที่ 2 อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 1.00 ต่อปี WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 75

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

จำนวน 1 สหกรณ์ 1 สั ญ ญา จำนวน 300,000.- บาท โครงการสนั บ สนุน เงิน ทุ นเพื่ อส่ งเสริม อาชีพ ในยุ ค NEW NORMAL อัตราดอกเบี้ ย ร้อยละ 1.00 ต่อปี จำนวน 1 สหกรณ์ 1 สั ญ ญา จำนวน 512,000.- บาท และโครงการปกติ อั ตราดอกเบี้ ยตามการจั ดชั้ นลู กหนี้ กพส. จำนวน 3 สหกรณ์ 3 สั ญญา จำนวน 1,900,000.- บาท รวมทั้งสิ้น 6 สหกรณ์ 9 สัญญา รวมเป็นเงินทั้งสิ้น จำนวน 7,912,000.- บาท 4. ผลลัพธ์ สหกรณ์สามารถนำเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ที่ได้รับไปบริหารจัดการตามวัตถุประสงค์การขอกู้ ของแต่ละโครงการ เพื่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อสมาชิกสหกรณ์ ดังนี้ 1. สหกรณ์ที่กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ วัตถุประสงค์ในการจัดหาสินค้ามาจำหน่ายให้แก่สมาชิก ทำให้ สมาชิกได้ซื้อปุ๋ย หรืออุปกรณ์ ทางการเกษตรในราคาต่ำกว่าตลาด ทำให้ สมาชิกได้ใช้สินค้าคุณ ภาพดี ในราคาถูกกว่าท้องตลาด 2. สหกรณ์ ที่กู้เงิน กองทุ น พัฒ นาสหกรณ์ วัตถุประสงค์ในการรวบรวมผลผลิ ตของสมาชิก ทำให้ สหกรณ์ มี อ ำนาจในการต่ อ รองกั บ พ่ อ ค้ า ส่ ง ผลให้ ส มาชิ ก ได้ รั บ ผลประโยชน์ ในเรื่ อ งของราคาผลผลิ ต ซึ่งไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง ทำให้สมาชิกขายผลผลิตได้ในราคาที่สูง 3. สหกรณ์ ที่กู้เงิน กองทุน พั ฒ นาสหกรณ์ วัตถุประสงค์ในการสมาชิกกู้ยืม ทำให้ สมาชิกสามารถ มีเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบาชีพ พัฒนาอาชีพ ฟื้นฟูอาชีพ และลดต้นทุนการผลิตจากการได้รับเงินกู้ ดอกเบี้ยต่ำ 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 6. ภาพถ่ า ยแสดงการดำเนิ น กิ จ กรรมของงาน/โครงการ เงิ น กองทุ น พั ฒ นาสหกรณ์ (กพส.)

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 76

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

◼ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินโครงการ วัตถุประสงค์ 1. สนั บ สนุ น เงิ น กู้ ยื ม ให้ กั บ กลุ่ ม เกษตรกรเฉพาะที่ ผ่ า นมาตรฐาน เพื่ อ ให้ มี เงิ น กู้ ยื ม ใช้ เป็ น เงินทุนหมุนเวียนในแต่ละปี รวม ๕ ปี 2. เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้ สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณ ภาพ และราคา ยุติธรรม ตรงตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร รวมทั้งสร้าง รายได้เพิ่มจากการรวบรวมผลผลิตเพื่อจำหน่าย หรือแปรรูปผลผลิตร่วมกัน 3. สร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้กับเกษตรกร เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและสร้างความยั่งยืน ในการเพิ่มทุนภายใน เพื่อให้การบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพและความเข้มแข็งต่อไป เป้าหมาย : กลุ่มเกษตรทำสวนทับปุด พื้ น ที่ ด ำเนิ น งาน โค รงการ : พื้ น ที่ กลุ่ ม ส่ ง เสริ ม เสริ ม สห กรณ์ 1 อำเภ อทั บ ปุ ด ได้ แ ก่ กลุ่มเกษตรกรทำสวนทับปุด 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบดำเนินงาน

งบประมาณที่ได้รับ (บาท) 5,500

ผลการเบิกจ่าย 5,500

ร้อยละ 100

3. ผลการดำเนินงาน กลุ่มเกษตรกรทับปุด ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาเงินกู้จำนวน 300,000 บาท เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2565 ซึ่งเงินกู้ดังกล่าวครบกำหนดชำระ 28 กุมภาพันธ์ 2566 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ คณะกรรมการเพื่อพิจารณาเงินกู้โครงการสร้างความเข้มแข็งให้ กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่ ง เงิ น ทุ น ในการผลิ ต และการตลาด ระดั บ จั ง ห วั ด ครั้ ง ที่ 1/2565 เมื่ อ วั น ที่ 24 พ ฤษ ภ าคม 2565 ซึ่งกลุ่มเกษตรกรได้รับการจัดสรรเงินกู้ อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.00 ต่อปี จำนวน 1 กลุ่มเกษตรกร 1 สัญญา จำนวน 300,000.- บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ กลุ่มเกษตรกรสามารถนำเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรที่ได้รับไปบริหารจัดการตามวัตถุประสงค์ การขอกู้ เพื่อให้ เกิดผลประโยชน์ต่อสมาชิก คือ ทำให้สมาชิกได้ซื้อปุ๋ย หรืออุปกรณ์ ทางการเกษตรในราคา ต่ำกว่าตลาด ทำให้สมาชิกได้ใช้สินค้าคุณภาพดีในราคาถูกกว่าท้องตลาด 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข -

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 77

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

6. ภาพถ่ า ยแสดงการดำเนิ น กิ จ กรรมของงาน/โครงการสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ กลุ่ ม เกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุน

◼ โครงการปรับโครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกร รองรับผลผลิตทางการเกษตร (พรก.เงินกู้) รองรับผลผลิตทางการเกษตร (พรก.เงินกู้)

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อยกระดับ ศักยภาพสถาบันเกษตรกรให้ เป็นศูนย์กลางในการบริห ารจัดการผลผลิตทางการ เกษตรตลอดห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตร 2. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้สถาบันเกษตรกรเป็นกลไกลหลักในระดับชุมชนในการอำนวยความ สะดวกให้แก่สมาชิกและเกษตรกรทั่วไปในการเพาะปลูก การรวบรวม จัดเก็บ และแปรรูปผลผลิตการเกษตร 3. ผลักดันให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ขอรับการสนับสนุนให้ความช่วยเหลือเกษตรกรสมาชิกและ เกษตรกรทั่วไปที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับพื้นที่ให้มีรายได้ จากการประกอบอาชีพเกษตรอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มช่องทางจำหน่ายผลผลิตการเกษตรในภาวะความผันผวน ของตลาดสินค้าเกษตร เป้าหมาย 1. สหกรณ์กองทุนสวนยางในโตน จำกัด 2. สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านกะปง จำกัด 3. สหกรณ์การเกษตรเกาะยาว จำกัด 4. สหกรณ์การเกษตร กนช.เกาะยาว จำกัด 5. สหกรณ์การเกษตรชุมชนแม่นางขาว จำกัด 6. สหกรณ์การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด 7. สหกรณ์การเกษตรหานหงส์-ตากแดด จำกัด 8. สหกรณ์ปาล์มน้ำมันจังหวัดพังงา จำกัด

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 78

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

พื้นที่ดำเนินงาน 1. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 1 อำเภอเมืองพังงา ได้แก่ สหกรณ์กองทุนสวนยางในโตน จำกัด สหกรณ์การเกษตรหานหงส์-ตากแดด จำกัด 2. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 2 อำเภอท้ายเหมือง อำเภอเกาะยาวได้แก่ สหกรณ์การเกษตร เกาะยาว จำกัด สหกรณ์การเกษตร กนช.เกาะยาว จำกัด 3. พื้นที่กลุ่มส่งเสริมเสริมสหกรณ์ 4 อำเภอคุระบุรี อำเภอกะปง อำเภอตะกั่วป่า ได้แก่ สหกรณ์ กองทุน สวนยางบ้ านกะปง จำกัด สหกรณ์ การเกษตรชุมชนแม่นางขาว จำกัด สหกรณ์การเกษตรตะกั่วป่า จำกัด สหกรณ์ปาล์มน้ำมันจังหวัดพังงา จำกัด 2. งบประมาณ (ไม่มีงบประมาณ) ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ -

ผลการเบิกจ่าย

ร้อยละ

-

-

-

3. ผลการดำเนินงาน 1. สหกรณ์ให้บริการอุปกรณ์การตลาดแกสมาชิก 2. ติดตามการใช้ประโยชน์อุปกรณ์การตลาด 3. รายงานผลการดำเนินงานตามแบบรายงานตามกำหนด 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์ ทั้ง 8 แห่ ง ได้รับ การสนับสนุนเครื่องจักรกลการเกษตร รวมถึงโครงสร้างพื้นฐานและ อุปกรณ์การตลาดทีจำเป็น ในการเพาะปลูก รวบรวม และแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/ให้ บริการสมาชิก เกี่ยวกับผลผลิตเกษตร 2. สหกรณ์ได้ใช้ประโยชน์ จากอุปกรณ์ ครุภัณฑ์การเกษตรและสิ่งก่อสร้างที่ได้รับจากโครงการฯ บริการสมาชิกและเกษตรกรในพื้นที่ ซึ่งถูกกว่าเอกชน สามารถช่วยเหลือสมาชิกลดต้นทุนได้ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนสามารถยกระดับศักยภาพในการเป็นศูนย์กลางในการบริหาร จัดการสินค้าเกษตรในระดับชุมชนตามศักยภาพ 2. สถาบั น เกษตรกรมี ป ริ มาณธุ รกิ จรวบรวมแปรรู ป ผลผลิ ตทางการเกษตรเพิ่ ม ขึ้ น ไม่ น้ อยกว่ า ร้อยละ 3 เมื่อเทียบกับปริมาณธุรกิจเดิมในปีที่ผ่านมา 5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข -

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 79

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

6. ภาพถ่ า ยแสดงการดำเนิ น กิ จ กรรมของงาน/โครงการปรั บ โครงสร้ า งการผลิ ต การรวบรวม และ การแปรรูปของสถาบันเกษตรกร

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 80

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 81

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 นายสุทยุต พูลสมบัติ สหกรณ์จังหวัดพังงา มอบหมายให้ทีมกิจกรรม นำโดย นางสาววันดี ปิ่นแก้ว นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ และคณะ เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาเนื่องในโอกาสวัน เฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

วันที่ 17 สิงหาคม 2565 ทีมกิจกรรม ทีมที่ 5 เข้าร่วมโครงการปลูกต้นไม้เพื่ออนุรักษ์พรรณไม้ป่าเขตป่า ร้อนชื้นภาคใต้ เฉลิมพระเกียรติ 90 พรรษา “90 พรรษา 9 วงษ์พรรณไม้ป่า สืบสานตามพระราชดำริพระบรมราช ชนนี พั น ปี ห ลวง” เนื่ อ งในมหามงคลวโรกาสเฉลิ ม พระชนมพรรษา 90 พรรษา สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ณ พื้นที่จัดตั้งสวนพฤกษศาสตร์พังงา (ภาคใต้) ตำบลนบปริง อำเภอเมือง จังหวัดพังงา

วันที่ 13 ตุลาคม 2565 นายสุทยุต พูลสมบัติ สหกรณ์จังหวัดพังงา มอบหมายให้นางสาวเจนจิรา โคกเคียน นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาเนื่องในวันคล้ายวัน สวรรคตพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โดยจังหวัดพังงา ได้จัดกิจกรรมขึ้น ณ บริเวณท่าเทียบเรือบ้านท่าไทร ตำบลบ่อแสน อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 82

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

วั น ที่ 26 กุ ม ภาพั น ธ์ 2565 สำนั ก งานสหกรณ์ จั ง หวั ด พั ง งา จั ด กิ จ กรรมวั น สหกรณ์ แ ห่ ง ชาติ 2565 โดยมีส่วนราชการ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 32 หน่วยงาน ร่วมวางพานพุ่มดอกไม้ถวายสักการะหน้าพระสาทิสลักษณ์ พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ "พระบิดาแห่งสหกรณ์ไทย" พร้อมกล่าวคำถวายสดุดี และอ่านสารจาก นายกรัฐมนตรี "เนื่องในวันสหกรณ์แห่งชาติ" ณ โรงเรียนเทศบาลบ้านท้ายช้าง อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา

วันที่ 29 กันยายน 2565 นายสุทยุต พูลสมบัติ สหกรณ์จังหวัดพังงา พร้อมด้วยข้าราชการสำนักงาน สหกรณ์จังหวัดพังงา ร่วมกิจกรรมวันคล้ายวันสถาปนากรมวิชาการเกษตร ครบรอบปีที่ 50 ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ ถนนกรุงเกษม กรุงเทพมหานคร

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 83

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

วันที่ 12 กันยายน 2565 นายสุทยุต พูลสมบัติ สหกรณ์จังหวัดพังงา พร้อมด้วยบุคลากรสำนักงานสหกรณ์ จั ง หวั ด พั ง งา เข้ า ร่ ว มรั บ รางวั ล เลิ ศ รั ฐ ประจำปี 2565 ผ่ า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ( Zoom Meeting) โดยมี นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธี ณ ห้องประชุมเทพทาโร ชั้น 3 ศาลางกลางจังหวัดพังงา อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา

วันที่ 9 กันยายน 2565 จังหวัดพังงา จัดโครงการสร้างจิตสำนึกและความตระหนักในการเฝ้าระวัง ด้านคุณธรรมจริยธรรม ของบุคลากรจังหวัดพังงา ณ ห้องปันหยี โรงแรมภูงา อำเภอเมือง จังหวัดพังงา

วันที่ 5 สิ งหาคม 2565 สหกรณ์ จั งหวัด พั งงา ร่ว มประชุ ม การชี้แ จงโครงการตามแผนปฏิ บั ติ ราชการ ของจังหวัดพังงา ต่อกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญ ญั ติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 84

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

วั น ที่ 10 สิ ง หาคม 2565 สำนั ก งานสหกรณ์ จั ง หวั ด พั ง งา ร่ว มกั บ ขบวนการสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร กิจกรรม “1 จังหวัด 1 ความดี เพื่อแม่ ” จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียว ประกอบด้วย ต้นยางนา ต้นตะเคียน ต้นมะม่วงหิมพานต์ รวมจำนวน 500 ต้น ร่วมกับกาสมาชิกสหกรณ์กองทุนส ณ สหกรณ์กองทุนสวนยางบางวัน จำกัด อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 85

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 86

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2564 และ พ.ศ.2565

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 87

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน สำหรับรอบระยะเวลาบัญชี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2564 และ พ.ศ.2565

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 88

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับรอบระยะเวลาบัญชี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2564 และ พ.ศ. 2565

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 89

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 90

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 91

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 92

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 93

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 94

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 95

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 96

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 97

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 98

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพังงา http:/ /web.cpd.go.th/phangnga

➢ รายงานประจำปีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2564-2565 ➢ ระบบบริการข้อมูลสารสนเทศทางการเงินของสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ➢ รายงานสรุปผลการจัดชั้นสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน/ กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 99

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.