หลักสูตรปฐมวัยรร.บัวขวัญ 2565 Flipbook PDF


52 downloads 125 Views 746KB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ๒๕๖๐ เป็นหลักสูตรที่กาหนดบนพื้นฐานของความตระหนักความสาคัญ ของช่ ว งชีวิ ตตั้ งแต่แรกเกิดจนถึ งอายุ ๖ ปี บริ บูร ณ์ ประสบการณ์ที่ เด็ กได้ รับ ในช่ว งวัย นี้ จะมี ผ ลโดยตรงต่ อ การวางรากฐานบุคลิกภาพและวิถีการดาเนินชีวิตของเด็ก เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ หากได้รับการพัฒนาอย่างถูกวิธี ตั้งแต่วัยเริ่มต้นของชีวิตก็ย่อมเติบโตขึ้น เป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์และเป็นประชากรที่มีคุณ ภาพในอนาคต หลักสูตร การศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็ก ๓-๖ ปี โดยยึดหลักการพัฒนาและการเรี ยนรู้ที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ สาหรับเด็ก เป็น ไปอย่ างเหมาะสมและมีป ระสิทธิภ าพ หลักสูตรนี้สามารถนาไปใช้กับเด็กทุกสภาวะไม่ว่าจะเป็นเด็กปกติ หรื อ เด็ ก ในสภาวะยากล าบาก เนื่ อ งจากหลั ก การพั ฒ นาของเด็ก เป็ นสากลคื อ เด็ ก ทุก คนจะมี ล าดั บ ขั้น ของ การพัฒนาการเป็นแบบแผนเดียวกัน ทั้งนี้อัตราการพัฒนาการจะช้าหรือเร็วต่างกันได้ตามพื้นฐานของเด็กแต่ละคน การน าหลั กสูตรสู่การปฏิบัติจึ งจาเป็น ต้องคานึงถึงหลักการพัฒนา โดยทั่วไปและพัฒ นาการเด็ กเฉพาะบุคคล โดยมุ่งตัวเด็กเป็นสาคัญเน้นการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ตามวัย พัฒนาเด็กให้มีความสุขในการเรียนรู้ จัดประสบการณ์ที่ใช้กิจกรรมบูรณาการผ่านการเล่นและตระหนักถึงวิถีชีวิตของเด็กตามบริบทสังคม สิ่งแวดล้อม สาระการเรียนรู้ที่กาหนดในหลักสูตรนี้ไม่ใช่บทเรียนของเด็ก แต่เป็นข้อมูลพื้นฐานของความเป็นจริงของสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเด็ก ได้เรียนรู้เกี่ยวกับตัวเอง อันนาไปสู่การขยายการเรียนรู้เกี่ยวกับผู้อื่นและสิ่งแวดล้อมทีละน้อย นอกจากนี้องค์ประกอบที่สาคัญที่สุด คือการจัดประสบการณ์ใ ห้สอดคล้องกับพัฒนาการและความ สนใจของเด็กแต่ละคนการมีสื่อที่หลากหลายไม่เป็นอันตรายต่อธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยการตระหนักถึง บทบาทของผู้ที่อยู่แวดล้อมเด็กล้วนส่งผลต่อพัฒนาการเด็กแต่ละคนได้ อย่างเต็มศักยภาพและมีชีวิตอยู่ในสังคม อย่างมีความสุข ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง ๖ ปีบริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวมบนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดู และการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนตามศักยภาพ ภายใต้บริบทของสังคม วัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ด้วยความรัก ความเอื้ออาทรและความเข้าใจของทุกคนเพื่อสร้าง รากฐานคุณภาพชีวิต ให้ เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่ส มบูรณ์เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชนและ ประเทศชาติ ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนวัดบัวขวัญ การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่อายุ ๔-๖ ปี ส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการผ่านการเล่น ปฏิบัติกิจกรรมด้วยประสาทสัมผัสทั้ง ๕ โดยใช้ประสบการณ์ตรงที่ห ลากหลาย ในกิจวัตรประจาวัน ส่งเสริม พัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน ตามศักยภาพของเด็กแต่ละคนโดยอาศัยความร่วมมือระหว่าง โรงเรียน บ้านและชุมชนเพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เป็นที่รักของคนในครอบครัว ชุมชนและสังคมต่อไป

วิสัยทัศน์การศึกษาปฐมวัยโรงเรียนวัดบัวขวัญ “ภายในปี พุทธศักราช ๒๕๖๕ เด็กปฐมวัยโรงเรียนวัดบัวขวัญ มุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับ การพัฒนา ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา อย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง ได้รับการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้อย่างมีความสุขและเหมาะสมตามวัย มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และสานึกความเป็นไทย โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็ก” ภารกิจ/พันธกิจ ๑. ออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา และสาระการเรียนรู้บนพื้นฐานของทฤษฎีพัฒนาการ แนวคิด ทาง การศึกษาปฐมวัย หลักการอบรมเลี้ยงดู และกระบวนการทางานของสมองด้านการคิดและการจัดการ ๒. ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้มีความทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์ การศึกษาปฐมวัย ๓. จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ ๔. จัดระบบการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียน การดูแลให้ความช่วยเหลือ จัดกิจกรรม เสริมหลักสูตร และการสร้างรอยเชื่อมต่อระหว่างการศึกษาปฐมวัยกับประถมศึกษาปีที่ ๑ ๕. จั ด ระบบสิ่ ง สนั บ สนุ น การเรี ย นรู้ ที่ ส ะท้ อ นการจั ด เตรี ย มสิ่ ง สนั บ สนุ น การเรี ย นรู้ ที่ จ าเป็ น ต่ อ กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัย และมีการพักผ่อน เพียงพอ ๖. จัดระบบการคัดเลือกครู การส่งเสริมและพัฒนาครู บุคลากร พ่อแม่และผู้ปกครองเพื่อให้ สามารถ จัดการศึกษาได้ตามปรัชญา วิสัยทัศน์ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และสภาพที่พึ่งประสงค์ ๗. จั ดระบบการประเมิน พัฒ นาการ ผลลั พธ์การเรียนรู้เ พื่อนาผลไปปรับปรุ งและพัฒ นากระบวน การ เรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ๘. ประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ๙. จัดระบบการประเมินหลักสูตร และพัฒนาประสิทธิภาพของหลักสูตรสถานศึกษาให้สามารถจัด การศึกษาได้ตามปรัชญา วิสัยทัศน์ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และสภาพที่พึงประสงค์เพื่อส่งผล ต่อระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ๑๐. การจัดทาโครงการ/งบประมาณสนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ การจัด สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และกิจกรรมเสริมหลักสูตร

จุดเด่นของการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ๑. บุคลากรสายชั้นอนุบาลมีศักยภาพในการทางานและมีคุณวุฒิตรงตามสายงาน ๒. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการที่เน้นพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ๓. การประเมินผล ประเมินผลจากสภาพจริงโดยบันทึกในแบบบันทึกพัฒนาการ/ แฟ้มสะสมงานและ แบบบันทึกพฤติกรรม ๔. เด็กปฐมวัยมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีและเรียนรู้อย่างมีความสุข โครงสร้างหลักสูตร สาระการเรียนรู้ใช้เป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรมให้กับเด็ก เพื่อส่งเสริมพัมนาการทั้งสี่ด้าน ซึ่งจาเป็นใน การพัฒนาเด็กให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งนี้สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย องค์ความรู้ทักษะหรือกระบวนการและ คุณลักษณะหรือค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม ความรู้สาหรับเด็ ก อายุ แรกเกิด- ๖ ปีบริบูรณ์ จะเป็นเรื่องราวที่ เกี่ยวกับตัวเด็ก บุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก ธรรมชาติรอบตัวเด็กและสิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก ขณะเดียวกันควร ปลูกฝังให้เด็กเกิดเจตคติที่ดี มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น รักการเรียนรู้ รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะกับวัย หลักการ เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการอบรมเลี้ยงดู และการส่งเสริมพัฒนาการตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ตลอดจนได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่ เด็กกับ ผู้สอน เด็กกับผู้เลี้ยงดูหรือ ผู้เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนา และให้การศึกษาแก่เด็กปฐมวัยเพื่อให้เด็ก มีโอกาสพัฒนาตนเองตามลาดับขั้นตอนของพัฒนาการทุกด้าน อย่างเป็นองค์รวม มีคุณภาพ และเต็มตามศักยภาพ โดยกาหนดหลักการ ดังนี้ ๑. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่ครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกคน ๒. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคลและวิถีชีวิตของเด็ก ตามบริบทของชุมชน สังคม และ วัฒนธรรมไทย ๓. ยึ ดพัฒนาการและการพัฒ นาเด็กโดยองค์รวม ผ่ านการเล่นอย่างมีความหมาย และมีกิจกรรมที่ หลากหลาย ได้ลงมือกระทาในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้เหมาะสมกับวัย และมี การพักผ่อนเพียงพอ ๔. จั ด ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้ ใ ห้ เ ด็ ก มี ทั ก ษะชี วิ ต และสามารถปฏิ บั ติ ต น ตามหลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และมีความสุข ๕. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย

เป้าหมาย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สาหรับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี มุ่งให้เด็กมีพัฒนาการตามวัยเต็มตามศักยภาพ และมีความพร้อมในการเรียนรู้ต่อไป จึงกาหนดจุดหมายเพื่อให้เกิดกับเด็กเมื่อจบการศึกษาระดับปฐมวัย ดังนี้ ๑. ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย แข็งแรง และมีสุขนิสัยที่ดี ๒. สุขภาพจิตดี มีสุนทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตใจที่ดีงาม ๓. มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข ๔. มีทักษะการคิด การใช้ภาษาสื่อสาร และการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สาหรับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี กาหนดมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ จานวน ๑๒ มาตรฐานประกอบด้วย ๑. พัฒนาการด้านร่างกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน สัมพันธ์กัน ๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข มาตรฐานที่ ๔ ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว มาตรฐานที่ ๕ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม ๓. พัฒนาการด้านสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุ ขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมใน ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๔. พัฒนาการด้านสติปัญญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหา ความรู้ได้ เหมาะสมกับวัย

เป้าหมายของหลักสูตร เป้าหมายเป็นการกาหนดความคาดหวังด้านคุณภาพที่เกิดกับเด็กปฐมวัย และการดาเนินงาน ด้านอื่นๆ ซึ่งสอดคล้องกับจุดหมายหรือมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐ และ วิสัยทัศน์ที่สถานศึกษากาหนด การกาหนดเป้าหมายสามารถกาหนดได้ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ดังนี้ เป้าหมายเชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑ ร้อยละ๘๕ ของเด็กปฐมวัยมีร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัย ที่ดี มาตรฐานที่ ๒ ร้ อยละ๘๕ ของเด็กปฐมวั ยมีกล้ ามเนื้อใหญ่และกล้ า มเนื้อ เล็ ก แข็งแรง ใช้ได้ อย่า ง คล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน มาตรฐานที่ ๓ ร้อยละ๘๕ ของเด็กปฐมวัยมีมีสุขภาพจิตดีและมีความสุข มาตรฐานที่ ๔ ร้อยละ๘๕ ของเด็กปฐมวัยชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และ รักการออกกาลังกาย มาตรฐานที่ ๕ ร้อยละ๘๕ ของเด็กปฐมวัยมีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม มาตรฐานที่ ๖ ร้อยละ๘๕ ของเด็กปฐมวัยมีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ พอเพียง มาตรฐานที่ ๗ ร้อยละ๘๕ ของเด็กปฐมวัยรักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย มาตรฐานที่ ๘ ร้อยละ๘๕ ของเด็กปฐมวัยอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตน เป็นสมาชิกที่ ดีของสังคมไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มาตรฐานที่ ๙ ร้อยละ๘๕ ของเด็กปฐมวัยใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย มาตรฐานที่ ๑๐ ร้อยละ๘๕ ของเด็กปฐมวัยมีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๑ ร้อยละ๘๕ ของเด็กปฐมวัยจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๑๒ ร้อยละ๘๕ ของเด็กปฐมวัยมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการ แสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย เป้าหมายเชิงคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ เด็กปฐมวัยมีร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี ในระดับคุณภาพดี มาตรฐานที่ ๒ เด็ กปฐมวัย มีกล้ ามเนื้อใหญ่แ ละกล้ ามเนื้อเล็ กแข็งแรง ใช้ได้อย่ างคล่ องแคล่ ว และ ประสานสัมพันธ์กัน ในระดับคุณภาพดี มาตรฐานที่ ๓ เด็กปฐมวัยมีมีสุขภาพจิตดีและมีความสุข ในระดับคุณภาพดี มาตรฐานที่ ๔ เด็กปฐมวัยชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักการ ออกกาลังกาย ในระดับคุณภาพดี มาตรฐานที่ ๕ เด็กปฐมวัยมีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม ในระดับคุณภาพดี มาตรฐานที่ ๖ เด็กปฐมวัยมีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ในระดับ คุณภาพดี มาตรฐานที่ ๗ เด็กปฐมวัยรักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย ในระดับคุณภาพดี

มาตรฐานที่ ๘ เด็กปฐมวัยอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตน เป็นสมาชิกที่ดีของสังคมไทย ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในระดับคุณภาพดี มาตรฐานที่ ๙ เด็กปฐมวัยใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย ในระดับคุณภาพดี มาตรฐานที่ ๑๐ เด็กปฐมวัยมีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ ในระดับคุณภาพดี มาตรฐานที่ ๑๑ เด็กปฐมวัยจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ในระดับคุณภาพดี มาตรฐานที่ ๑๒ เด็กปฐมวัยมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ ได้เหมาะสมกับวัย ในระดับคุณภาพดี คุณลักษณะตามวัย คุณลักษณะตามวัย เป็นความสามารถตามวัยหรือพัฒนาการตามธรรมชาติ เมื่อเด็กมีอายุถึงวัยนั้นๆ ผู้สอนจาเป็นต้องทาความเข้าใจ คุณลักษณะตามวัยของเด็กอายุ ๔-๖ ปี เพื่อนาไปพิจารณาการจัดประสบการณ์ ให้เด็กแต่ละวัยได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับวัยของเด็ก โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เพื่อพัฒนาเด็ก ให้เต็มตามศักยภาพและสอดคล้องกับคุณลักษณะตามวัยของเด็ก ๔-๖ ปี ดังนี้ ๑. พัฒนาการ ด้านร่างกาย ๑.๑ กล้ามเนื้อใหญ่

อายุ ๔-๕ ปี - รับลูกบอลได้ด้วยมือทั้งสอง - เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้ - กระโดดขาเดียวอยู่กับที่ได้ - วิ่งและหยุดอยู่กับที่ได้คล่อง - ใช้กรรไกรตัดกระดาษให้อยู่ในแนวเส้นตรง ตามที่กาหนดได้ - เขียนรูปสี่เหลี่ยมตามแบบได้ - ร้อยลูกปัดขนาดเล็กได้

อายุ ๕-๖ ปี

- รับลูกบอลที่กระดอนจากพื้นได้ด้วยมือทั้งสอง - เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้อย่างคล่องแคล่ว - กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าได้อย่างต่อเนื่อง - วิ่งได้รวดเร็วและหยุดได้ทันที ๑.๒ กล้ามเนื้อเล็ก - ใช้กรรไกรตัดกระดาษให้อยู่ในแนวเส้นโค้ง ตามที่กาหนดได้ - เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้ - ใช้เชือกร้อยวัสดุตามแบบได้ - ใช้กล้ามเนื้อเล็กได้ดี เช่น ติดกระดุม ผูกเชือก รองเท้า ๑.๓ สุขภาพ อนามัย - มีร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีน้าหนัก - มีร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีน้าหนักส่วนสูงและมี ส่วนตน ส่วนสูงและมีเส้นรอบศีรษะตามเกณฑ์ เส้นรอบศีรษะตามเกณฑ์ ๑.๔ การรักษาความ - การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในการเล่น - การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในกิจวัตรประจาวัน ปลอดภัย - ฟังนิทานเรื่องราว เกี่ยวกับการรักษาความ - ฟังนิทานเรื่องราว เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย ปลอดภัย และการรักษาความปลอดภัย - เล่นบทบาทสมมติเหตุการณ์ต่าง ๆ - เล่นบทบาทสมมติเหตุการณ์ต่าง ๆ ๑.๕ การตระหนักรู้ - เคลื่อนไหวร่างกายโดยควบคุมตนเองไปใน - เคลื่อนไหวร่างกายโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง เกี่ยวกับร่างกายตนเอง ทิศทาง ระดับ ระดับ และพื้นที่ - เคลื่อนไหวข้ามสิ่งกีดขวาง - เคลื่อนไหวข้ามสิ่งกีดขวาง

๒. พัฒนาการด้าน อายุ ๔-๕ ปี อารมณ์จิตใจ ๒.๑ สุนทรีภาพ ดนตรี - ฟังเพลง ร้องเพลง - เล่นเครื่องดนตรีอิสระ - เล่นบทบาทสมมติ - ทากิจกรรมศิลปะ ๒.๒ การเล่น

- เล่นอิสระ - เล่นเป็นรายบุคคล กลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อย - เล่นตามมุมประสบการณ์ต่างๆ - เล่นนอกห้องเรียน

๒.๓ คุณธรรมและ จริยธรรม

- แสดงความรักเพื่อนและสัตว์เลี้ยง - ไม่ทาร้ายผู้อื่นและไม่ทาให้ผู้อื่น เดือดร้อน - ไม่แย่งหรือหยิบของผู้อื่นมาเป็น ของตน - รู้จักเก็บของเล่นเข้าที่ - รู้จักการรอคอยอย่างเหมาะสมกับวัย - รู้จักการตัดสินใจในเรื่องง่าย ๆ - เริ่มรู้จักชื่นชมความสามารถและ ผลงานของตนเองและผู้อื่น - ชอบท้าทายผู้ใหญ่ - เริ่มควบคุมอารมณ์ได้บางขณะ - พูดสะท้อนความรู้สึกตนเอง - เล่นบทบาทสมมติ - การเคลื่อนไหวตามเสียงดนตรี - การร้องเพลงและการทางานศิลปะ

๒.๔ การแสดงออก ทางอารมณ์

๒.๕ การมี อัตลักษณ์เฉพาะตน และเชื่อว่าตนเอง มีความสามารถ

- ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ตามความสามารถ ของตน

อายุ ๕-๖ ปี - ฟังเพลง ร้องเพลง และการแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบทาง ดนตรี - เล่นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ - เล่นบทบาทสมมติ - ทากิจกรรมศิลปะ การสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม - รู้บทบาทหน้าที่ของตนองและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย - รู้จักเลือกเล่น ทางานตามที่ตนชอบ และสนใจ - เล่นเป็นรายบุคคล กลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อย - เล่นตามมุมประสบการณ์ต่างๆ - เล่นนอกห้องเรียน - แสดงความรักเด็กที่เล็กกว่าและสัตว์ต่าง ๆ - ไม่ทาร้ายผู้อื่นและไม่ทาให้ผู้อื่นเสียใจ - ไม่หยิบของของผู้อื่นมาเป็นของตน - รู้จักจัดเก็บของเล่นเข้าที่ - รู้จักการรอคอยและเข้าแถวตามลาดับก่อนหลัง - รู้จักการตัดสินใจเรื่องง่ายๆ และยอมรับผลที่เกิดขึ้นได้ - รู้จักชื่นชมในความสามารถและผลงานของ ตนเองและผู้อื่น

- รักครู / ผู้สอน - ควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น มีเหตุผล - พูดสะท้อนความรู้สึกตนเองและผู้อื่น - เล่นบทบาทสมมติ การเคลื่อนไหวตามเสียงดนตรี - การร้องเพลงและการทางานศิลปะ

- ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ตามความสามารถของตน

๒.๖ การเห็นอกเห็น ใจผู้อื่น

๓. พัฒนาการ ด้านสังคม ๓.๑ การปฏิบัติ กิจวัตรประจาวัน

- ยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น - แสดงความยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุข - เห็นใจเมื่อเห็นผู้อื่นเศร้าหรือเสียใจ - ช่วยเหลือหรือปลอบโยนเมื่อผู้อื่นได้รับ บาดเจ็บ อายุ ๔-๕ ปี

- แสดงความยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุข - เห็นใจเมื่อเห็นผู้อื่นเศร้าหรือเสียใจ - ฃ่วยเหลือหรือปลอบโยนเมื่อผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ

อายุ ๕-๖ ปี

- แต่งตัวได้ - รับประทานอาหารได้ด้วยตนเอง ไม่หกเลอะเทอะ - รู้จักทาความสะอาดหลังจาก เข้าห้องน้า ห้องส้วม - ปฏิบัติตนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๓.๒ การปฏิบัติตน - การเล่นบทบามสมมติการปฏิบัติตนในความ ตามวัฒนธรรม เป็นไทย ท้องถิ่นและความเป็น - การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อาศัย ไทย และประเพณีไทย - การประกอบอาหารไทย - การศึกษานอกสถานที่ - การละเล่นพื้นบ้านไทย ๓.๓ การมี - เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ ปฏิสัมพันธ์ มีวินัย มี - เริ่มช่วยเหลือผู้อื่น ส่วนร่วมและ - ปฏิบัติตามกฎ กติกาที่ตกลงร่วมกัน บทบาทสมาชิกของ สังคม - มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

- เลือกเครื่องแต่งกายของตนเองได้และแต่งตัวได้ - ใช้เครื่องมือเครื่องใช้ในการรับประทานอาหารได้ - ทาความสะอาดร่างกายได้ - ปฏิบัติตนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๓.๔ การเล่นและ ทางานแบบร่วมมือ ร่วมใจ

- ร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น - เล่นและทางานร่วมกับผู้อื่น - ทาศิลปะแบบร่วมมือ

ร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น - เล่นและทางานร่วมกับผู้อื่น - ทาศิลปะแบบร่วมมือ

๓.๕ การแก้ปัญหา ความขัดแย้ง

- มีส่วนร่วมในการเลือกวิธีการแก้ปัญหา - มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง

- มีส่วนร่วมในการเลือกวิธีการแก้ปัญหา - มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง

- การเล่นบทบามสมมติการปฏิบัติตนในความเป็นไทย - การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อาศัยและ ประเพณีไทย - การประกอบอาหารไทย - การศึกษานอกสถานที่ - การละเล่นพื้นบ้านไทย - เล่นหรือทางานร่วมกันในกลุ่มย่อยได้ - รู้จักการให้และการรับ - ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถานศึกษา - ตั้งใจทางานที่ได้รับมอบหมายจนสาเร็จ

๓.๖ การยอมรับใน ความเหมือนและ ความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ๔. พัฒนาการด้าน สติปัญญา ๔.๑ การใช้ภาษา

๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผลการ ตัดสินใจและการ แก้ปัญหา

- การเล่นและการทากิจกรรมในกลุ่มเพื่อ

- การเล่นและการทากิจกรรมในกลุ่มเพื่อน

อายุ ๔-๕ ปี

อายุ ๕-๖ ปี

- ฟังเสียงต่างๆในสิ่งแวดล้อม - ฟังและปฏิบัติตามคาแนะนา - ฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง บทร้อยกรอง หรือเรื่องราวต่างๆ - พูดแสดงความคิด ความรู้สึก และความ ต้องการ - พูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง หรือพูดเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง - พูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของ เหตุการณ์ และ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ - พูดอย่างสร้างสรรค์ในการเล่นและการ กระทาต่างๆ - รอจังหวะที่เหมาะสมในการพูด - คาดเดาคา วลี หรือประโยคที่มีโครงสร้าง ซ้าๆ กัน จากนิทาน เพลง คาคล้องจอง เล่น เกมทางภาษา

- พูดเรียงลาดับคาเพื่อใช้ในการสื่อสาร - อ่านหนังสือภาพ นิทานหลากหลายประเภท/รูปแบบ - อ่านอย่างอิสระตามลาพัง อ่านร่วมกัน อ่านโดยมีผู้ ชี้แนะ - เห็นแบบอย่างของการอ่านที่ถูกต้อง - สังเกตทิศทางการอ่านตัวอักษร คา และข้อความ - อ่านและชี้ข้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทัดจาก ซ้ายไปขวา จากบนมาล่าง - สังเกตตัวอักษรในชื่อของตน หรือคาคุ้นเคย - สังเกตตัวอักษรที่ประกอบเป็นคาผ่านการอ่านหรือ เขียนของผู้ใหญ่ - คาดเดาคา วลี หรือประโยคที่มีโครงสร้างซ้าๆ กัน จากนิทาน เพลง คาคล้องจอง เล่นเกมทางภาษา - เห็นแบบอย่างของการเขียนที่ถูกต้อง - เขียนร่วมกันตามโอกาส และการเขียนอิสระ - เขียนคาที่มีความหมายกับตัวเด็ก/คาคุ้นเคย - คิดสะกดคาและเขียนเพื่อสื่อความหมายด้วยตัวเอง อย่างอิสระ - อธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ หรือการกระทา - คาดเดาหรือคาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นอย่าง สมเหตุสมผล - มีส่วนร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูลอย่างมีเหตุผล

- สังเกตลักษณะ ส่วนประกอบการ เปลี่ยนแปลง และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ โดยใฃ้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม - สังเกตสิ่งต่างๆ และสถานที่จากมุมมองที่ ต่างกัน

(ต่อ)

- บอกและแสดงตาแหน่ง ทิศทาง และ ระยะทางของสิ่งของต่างๆ ด้วย การกระทา ภาพวาด ภาพถ่าย และ รูปภาพ - เล่นกับสื่อต่างๆ ที่เป็นทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก ทรงกรวย - คัดแยก จัดกลุ่ม จาแนกสิ่งต่างๆตาม ลักษณะและรูปร่าง รูปทรง - ต่อของชิ้นเล็กเติมในช้อนใหญ่ให้ สมบูรณ์ และแยกชิ้นส่วน - ทาซ้า ต่อเติม การสร้างแบบรูป - นับ เปรียบเทียบและแสดงจานวน ของสิ่งต่างๆในชีวิตประจาวัน ๔.๓ จินตนาการและ - รับรู้และแสดงความคิด ความรู้สึก ความคิดสร้างสรรค์ ผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่น และชิ้นงาน - แสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหว และศิลปะ - สร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปทรงจาก วัสดุที่หลากหลาย ๔.๔ เจตคติที่ดีต่อ - สารวจสิ่งต่างๆ และแหล่งเรียนรู้ การเรียนรู้และ รอบตัว การแสวงหาความรู้ - ตั้งคาถามในเรื่องที่สนใจ - สืบเสาะหาความรู้เพื่อค้นหาคาตอบ ของข้อสงสัยต่างๆ - มีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและ นาเสนอข้อมูลจากการสืบเสาะหา ความรู้ในรูปแบบต่างๆ และแผนภูมิ อย่างง่าย

- ตัดสินใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการแก้ปัญหา - คัดแยก จัดกลุ่ม จาแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและ รูปร่าง รูปทรง - ต่อของชิ้นเล็กเติมในชอ้นใหญ่ให้สมบูรณ์ และแยก ชิ้นส่วน - รวมและแยกสิ่งต่างๆ - บอกและแสดงอันดับที่ของสิ่งต่างๆ - ชั่ง ตวง วัดสิ่งต่างๆ โดยใช้เครื่องมือและหน่วยที่ไม่ใช่ หน่วยมาตรฐาน - จับคู่ เปรียบเทียบ และเรียงลาดับสิ่งต่างๆตามลักษณะ ความยาว/ความสูง น้าหนัก ปริมาตร - บอกและเรียงลาดับกิจกรรมหรือเหตุการณ์ตาม ช่วงเวลา - ใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์กับเหตุการณ์ในชีวิตประจาวัน - รับรู้และแสดงความคิด ความรู้สึกผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่น และชิ้นงาน - แสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การ เคลื่อนไหว และศิลปะ - สร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปทรงจากวัสดุที่หลากหลาย - สารวจสิ่งต่างๆ และแหล่งเรียนรู้รอบตัว - ตั้งคาถามในเรื่องที่สนใจ - สืบเสาะหาความรู้เพื่อค้นหาคาตอบของข้อสงสัยต่างๆ - มีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและนาเสนอข้อมูล จากการสืบเสาะหาความรู้ในรูปแบบต่างๆ และแผนภูมิ อย่างง่าย

มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้และสภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาเด็ก และสภาพที่พึงประสงค์เป็นความสามารถตามวัยที่คาดหวังให้ เกิดบนพื้นฐานพัฒนาการและธรรมชาติของเด็กแต่ละช่วงอายุเพื่อนาไปกาหนดในสาระการเรียนรู้และการประเมิน พัฒนาการมีรายละเอียด ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี ตัวบ่งชี้ ๑.๑ น้าหนักและส่วนสูง ตามเกณฑ์ ๑.๒ มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี

๑.๓ รักษาความปลอดภัย ของตนเองและผู้อื่น

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี ๑.๑.๑ น้าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ของกรมอนามัย ๑.๒.๑ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และดื่มน้าสะอาดด้วยตนเอง ๑.๒.๒ ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร และหลังจากใช้ห้องน้าห้องส้วมด้วย ตนเอง ๑.๒.๓ นอนพักผ่อนเป็นเวลา ๑.๒.๔ ออกกาลังกายเป็นเวลา

อายุ ๕ – ๖ ปี ๑.๑.๑ น้าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ของกรมอนามัย ๑.๒.๑ รับประทานอาหารที่มี ประโยชน์ได้หลายชนิดและดื่มน้า สะอาดได้ด้วยตนเอง ๑.๒.๒ ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร และหลังจากใช้ห้องน้าห้องส้วมด้วย ตนเอง ๑.๒.๓ นอนพักผ่อนเป็นเวลา ๑.๒.๔ ออกกาลังกายเป็นเวลา

๑.๓.๑ เล่นและทากิจกรรมอย่าง ปลอดภัยด้วยตนเอง

๑.๓.๑ เล่น ทากิจกรรมและปฏิบัติต่อ ผู้อื่นอย่างปลอดภัย

มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว และประสานสัมพันธ์กัน ตัวบ่งชี้ ๒.๑ เคลื่อนไหวร่างกาย อย่างคล่องแคล่วประสาน สัมพันธ์และทรงตัวได้

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี ๒.๑.๑ เดินต่อเท้าไปข้างหน้าเป็น เส้นตรงได้โดยไม่ต้องกางแขน ๒.๑.๒ กระโดดขาเดียวอยู่กับที่ได้โดยไม่ เสีย การทรงตัว ๒.๑.๓ วิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้

อายุ ๕ – ๖ ปี ๒.๑.๑ เดินต่อเท้าถอยหลังเป็นเส้นตรง ได้โดยไม่ต้องกางแขน ๒.๑.๒ กระโดดขาเดียว ไปข้างหน้าได้ อย่างต่อเนื่องโดยไม่เสียการทรงตัว ๒.๑.๓ วิ่งหลบหลีก สิ่งกีดขวางได้อย่างคล่องแคล่ว ๒.๑.๔ รับลูกบอลโดยใช้ มือทั้งสองข้าง ๒.๑.๔ รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจาก พื้นได้

๒.๒ ใช้มือ-ตาประสาน สัมพันธ์กัน

๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนว เส้นตรงได้ ๒.๒.๒ เขียนรูปสี่เหลี่ยมตามแบบได้ อย่างมีมุมชัดเจน ๒.๒.๓ ร้อยวัสดุที่มีรูขนาด เส้นผ่าน ศูนย์กลาง ๐.๕ ซม.ได้

๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนว เส้นโค้งได้ ๒.๒.๒ เขียนรูปสามเหลี่ยม ตามแบบ ได้อย่างมีมุมชัดเจน ๒.๒.๓ ร้อยวัสดุที่มีรูขนาด เส้นผ่าน ศูนย์กลาง ๐.๒๕ ซม.ได้

มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข ตัวบ่งชี้ ๓.๑ แสดงออกทาง อารมณ์ได้อย่างเหมาะสม ๓.๒ มีความรู้สึกที่ดีต่อ ตนเองและผู้อื่น

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้ตาม สถานการณ์

อายุ ๕ – ๖ ปี ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้ สอดคล้องกับสถานการณ์อย่าง เหมาะสม ๓.๒.๑ กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่าง เหมาะสม ตามสถานการณ์ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจ ในผลงาน และความสามารถของตนเองและผู้อื่น

๓.๒.๑ กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่าง เหมาะสมบางสถานการณ์ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจ ในผลงานและ ความสามารถของตนเอง

มาตรฐานที่ ๔ ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ตัวบ่งชี้ ๔.๑ สนใจ มีความสุขและ แสดงออก ผ่านงานศิลปะ ดนตรีและการเคลื่อนไหว

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี ๔.๑.๑ สนใจ มีความสุข และ แสดงออกผ่านงานศิลปะ ๔.๑.๒ สนใจ มีความสุข และ แสดงออกผ่านเสียงเพลง ดนตรี ๔.๑.๓ สนใจ มีความสุข และแสดง ท่าทาง / เคลื่อนไหว ประกอบเพลง จังหวะ และ ดนตรี

อายุ ๕ – ๖ ปี ๔.๑.๑ สนใจ มีความสุข และแสดงออก ผ่านงานศิลปะ ๔.๑.๒ สนใจ มีความสุข และแสดงออก ผ่านเสียงเพลง ดนตรี ๔.๑.๓ สนใจ มีความสุข และแสดง ท่าทาง / เคลื่อนไหว ประกอบเพลง จังหวะ และ ดนตรี

มาตรฐานที่ ๕ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม ตัวบ่งชี้ ๕.๑ ซื่อสัตย์สุจริต ๕.๒ มีความเมตตา กรุณา มีน้าใจและช่วยเหลือ แบ่งปัน ๕.๓ มีความเห็นอก เห็นใจผู้อื่น ๕.๔ มีความรับผิดชอบ

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี ๕.๑.๑ ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อ ต้องการสิ่งของของผู้อื่นเมื่อมีผู้ชี้แนะ ๕.๒.๑ แสดงความรักเพื่อนและมี เมตตาสัตว์เลี้ยง ๕.๒.๑ ช่วยเหลือและแบ่งปันผู้อื่นได้ เมื่อมีผู้ชี้แนะ ๕.๓.๑ แสดงสีหน้าและท่าทางรับรู้ ความรู้สึกผู้อื่น ๕.๔.๑ ทางานที่ได้รับมอบหมายจน สาเร็จเมื่อมีผู้ชี้แนะ

อายุ ๕ – ๖ ปี ๕.๑.๑ ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อ ต้องการสิ่งของของผู้อื่นด้วยตนเอง ๕.๒.๑ แสดงความรักเพื่อนและมีเมตตา สัตว์เลี้ยง ๕.๒.๑ ช่วยเหลือและแบ่งปันผู้อื่นได้ด้วย ตนเอง ๕.๓.๑ แสดงสีหน้าและท่าทางรับรู้ ความรู้สึกผู้อื่นอย่างสอดคล้องกับ สถานการณ์ ๕.๔.๑ ทางานที่ได้รับมอบหมายจน สาเร็จด้วยตนเอง

มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ ๖.๑ ช่วยเหลือตนเอง ในการปฏิบัติกิจวัตร ประจาวัน

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี ๖.๑.๑ แต่งตัวด้วยตนเอง ๖.๑.๒ รับประทานอาหารด้วยตนเอง ๖.๑.๓ ใช้ห้องน้าห้องส้วมด้วยตนเอง

๖.๒ มีวินัยในตนเอง

๖.๓ ประหยัดและพอเพียง

๖.๒.๑ เก็บของเล่นของใช้เข้าที่ด้วย ตนเอง ๖.๒.๒ เข้าแถวตามลาดับก่อนหลังได้ ด้วยตนเอง ๖.๓.๑ ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่าง ประหยัดและพอเพียงเมื่อมีผู้ชี้แนะ

อายุ ๕ – ๖ ปี ๖.๑.๑ แต่งตัวด้วยตนเองได้อย่าง คล่องแคล่ว ๖.๑.๒ รับประทานอาหารด้วยตนเอง อย่างถูกวิธี ๖.๑.๓ ใช้และทาความสะอาดหลังใช้ ห้องน้าห้องส้วมด้วยตนเอง ๖.๒.๑ เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่าง เรียบร้อย ด้วยตนเอง ๖.๒.๒ เข้าแถวตามลาดับก่อนหลังได้ด้วย ตนเอง ๖.๓.๑ ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัด และพอเพียงด้วยตนเอง

มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย ตัวบ่งชี้ ๗.๑ ดูแลรักษาธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

๗.๒ มีมารยาทตาม วัฒนธรรมไทย และ รักความเป็นไทย

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี ๗.๑.๑ มีสว่ นร่วมดูแลรักษาธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเมื่อมีผู้ชี้แนะ ๗.๑.๒ ทิ้งขยะได้ถูกที่

อายุ ๕ – ๖ ปี ๗.๑.๑ ดูแลรักษาธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง ๗.๑.๒ ทิ้งขยะได้ถูกที่

๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้ ด้วยตนเอง ๗.๒.๒ กล่าวคาขอบคุณและขอโทษ ด้วยตนเอง ๗.๒.๓ ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติไทย และ เพลงสรรเสริญพระบารมี

๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้ ตามกาลเทศะ ๗.๒.๒ กล่าวคาขอบคุณและขอโทษด้วย ตนเอง ๗.๒.๓ ยืนตรงและร่วมร้องเพลงชาติไทย และ เพลงสรรเสริญพระบารมี

มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๘.๑ ยอมรับความเหมือน ๘.๑.๑ เล่นและทากิจกรรมร่วมกับเด็ก ๘.๑.๑ เล่นและทา และความแตกต่างระหว่าง ที่แตกต่างไปจากตน กิจกรรมร่วมกับเด็กที่ แตกต่างไปจาก บุคคล ตน ๘.๒ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดี ๘.๒.๑ เล่นหรือทางานร่วมกับเพื่อน ๘.๒.๑ เล่นหรือทางานร่วมมือกับเพื่อน กับผู้อื่น เป็นกลุ่ม อย่าง มีเป้าหมาย ๘.๒.๒ ยิ้ม ทักทายหรือ พูดคุยกับ ๘.๒.๒ ยิ้ม ทักทายและพูดคุยกับผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่และบุคคลที่คุ้นเคยได้ด้วยตนเอง และบุคคล ที่คุ้นเคยได้เหมาะสมกับ สถานการณ์ ๘.๓ ปฏิบัติตนเบื้องต้น ๘.๓.๑ มีสว่ นร่วมสร้างข้อตกลงและ ๘.๓.๑ มีสว่ นร่วมสร้างข้อตกลงและ ในการเป็นสมาชิกที่ดี ปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อมีผู้ชี้แนะ ปฏิบัติตามข้อตกลงด้วยตนเอง ของสังคม ๘.๓.๒ ปฏิบัติตนเป็นผู้นา และผู้ตาม ๘.๓.๒ ปฏิบัติตนเป็นผู้นา และผู้ตามได้ ได้ด้วยตนเอง เหมาะสมกับสถานการณ์ (ต่อ) ๘.๓.๓ ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดย ๘.๓.๓ ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดย ปราศจากการใช้ความรุนแรง ปราศจากการใช้ความรุนแรง เมื่อมีผู้ชี้แนะ ด้วยตนเอง

มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย ตัวบ่งชี้ ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและ เล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ

๙.๒ อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี ๙.๑.๑ ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนา โต้ตอบสอดคล้องกับเรื่องที่ฟัง ๙.๑.๒ เล่าเรื่องเป็นประโยคอย่าง ต่อเนื่อง ๙.๒.๑ อ่านภาพ สัญลักษณ์ คา พร้อม ทั้งชี้หรือกวาดตามองข้อความตาม บรรทัด ๙.๒.๒ เขียนคล้ายตัวอักษร

อายุ ๕ – ๖ ปี ๙.๑.๑ ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนา โต้ตอบอย่างต่อเนื่องเชื่อมโยงกับเรื่องที่ ฟัง ๙.๑.๒ เล่าเป็นเรื่องราวต่อเนื่องได้ ๙.๒.๑ อ่านภาพ สัญลักษณ์ คา ด้วยการ ชี้หรือกวาดตามองจุดเริ่มต้นและจุดจบ ของข้อความ ๙.๒.๒ เขียนชื่อของตนเอง ตามแบบ เขียนข้อความด้วยวิธีที่คิดขึ้นเอง

มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ ๑๐.๑ มีความสามารถใน การคิดรวบยอด

(ต่อ)

๑๐.๒ มีความสามารถใน

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ และ ส่วนประกอบของสิ่งต่าง ๆ จากการ สังเกตโดยใช้ประสาทสัมผัส

อายุ ๕ – ๖ ปี ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงหรือความสัมพันธ์ของ สิ่งต่าง ๆ จาการสังเกตโดยใช้ประสาท สัมผัส ๑๐.๑.๒ จับคู่และเปรียบเทียบความ ๑๐.๑.๒ จับคู่และเปรียบเทียบความ แตกต่างหรือความเหมือนของสิ่งต่าง ๆ แตกต่างและความเหมือนของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ลักษณะที่สังเกตพบเพียง โดยใช้ลักษณะที่สังเกตพบสองลักษณะ ลักษณะเดียว ขึ้นไป ๑๐.๑.๓ จาแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่าง ๆ ๑๐.๑.๓ จาแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่าง ๆ โดยใช้อย่างน้อยหนึ่งลักษณะเป็น โดยใช้ตั้งแต่สองลักษณะขึ้นไปเป็นเกณฑ์ เกณฑ์ ๑๐.๑.๔ เรียงลาดับสิ่งของหรือ ๑๐.๑.๔ เรียงลาดับสิ่งของและ เหตุการณ์อย่างน้อย ๔ ลาดับ เหตุการณ์อย่างน้อย ๕ ลาดับ ๑๐.๒.๑ ระบุสาเหตุหรือผลที่เกิดขึ้นใน ๑๐.๒.๑ อธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผล

การคิดเชิงเหตุผล

๑๐.๓ มีความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหา และตัดสินใจ

เหตุการณ์หรือการกระทาเมื่อมีผู้ชี้แนะ ที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการกระทา ด้วยตนเอง ๑๐.๒.๒ คาดเดา หรือคาดคะเน สิ่งที่ ๑๐.๒.๒ คาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น อาจจะเกิดขึ้น หรือมีส่วนร่วมในการลง และมีส่วนร่วมในการลงความเห็นจาก ความเห็นจากข้อมูล ข้อมูล อย่างมีเหตุผล ๑๐.๓.๑ ตัดสินใจในเรื่องง่าย ๆ และ ๑๐.๓.๑ ตัดสินใจในเรื่องง่าย ๆ และ เริ่มเรียนรู้ผลที่เกิดขึ้น ยอมรับผลที่เกิดขึ้น ๑๐.๓.๒ ระบุปัญหา และแก้ปัญหาโดย ๑๐.๓.๒ ระบุปัญหา สร้างทางเลือกและ ลองผิดลองถูก เลือกวิธีแก้ปัญหา

มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ ๑๑.๑ ทางานศิลปะตาม จินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ ๑๑.๒ แสดงท่าทาง/ เคลื่อนไหวตามจินตนาการ อย่างสร้างสรรค์

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี ๑๑.๑.๑ สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสาร ความคิด ความรู้สึกของตนเองโดยมี การดัดแปลง และแปลกใหม่จากเดิม หรือมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น ๑๑.๒.๑ เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสาร ความคิด ความรู้สึกของตนเองอย่าง หลากหลายหรือแปลกใหม่

อายุ ๕ – ๖ ปี ๑๑.๑.๑ สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสาร ความคิด ความรู้สึกของตนเองโดยมีการ ดัดแปลง และแปลกใหม่จากเดิมและมี รายละเอียดเพิ่มขึ้น ๑๑.๒.๑ เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสาร ความคิด ความรู้สึกของตนเองอย่าง หลากหลายและแปลกใหม่

มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย ตัวบ่งชี้ ๑๒.๑ มีเจตคติที่ดีต่อการ เรียนรู้

๑๒.๒ มีความสามารถ

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี ๑๒.๑.๑ สนใจซักถาม เกี่ยวกับ สัญลักษณ์หรือตัวหนังสือที่พบเห็น

อายุ ๕ – ๖ ปี ๑๒.๑.๑ สนใจหยิบหนังสือมาอ่านและ เขียนสื่อความคิดด้วยตนเองเป็นประจา อย่างต่อเนื่อง ๑๒.๑.๒ กระตือรือร้น ในการเข้าร่วม ๑๒.๑.๒ กระตือรือร้น ในการร่วมกิจกรรม กิจกรรม ตั้งแต่ต้นจนจบ ๑๒.๒.๑ ค้นหาคาตอบของข้อสงสัย ๑๒.๒.๑ ค้นหาคาตอบของ ข้อสงสัย

ในการแสวงหาความรู้

ต่าง ๆ ตามวิธีการของตนเอง ๑๒.๒.๒ ใช้ประโยคคาถามว่า “ที่ ไหน” “ทาไม”ในการค้นหาคาตอบ

ต่าง ๆ โดยใช้วิธีการ ที่หลากหลายด้วย ตัวเอง ๑๒.๒.๒ ใช้ประโยคคาถามว่า “เมื่อไร” “อย่างไร” ในการค้นหาคาตอบ

การจัดเวลาเรียน หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกาหนดรอบโครงสร้างเวลาในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ๑-๒ ปี การศึกษาโดยประมาณ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับอายุของเด็กที่เริ่มเข้าสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเวลาเรียน สาหรับเด็กปฐมวัยจะขึ้นอยู่กับสถานศึกษาแต่ละแห่ง โดยมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า ๑๘๐ วันต่อ ๑ ปีการศึกษา ในแต่ละวันจะใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕ ชั่วโมง โดยสามารถปรับให้เหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาและสถาน พัฒนาเด็กปฐมวัย สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ เป็นสื่อกลางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ทุกด้านให้เป็นไปตามจุดหมายของหลักสูตรที่กาหนด ประกอบด้วย ประสบการณ์สาคัญ และสาระที่ควรเรียนรู้ ดังนี้ ๑. ประสบการณ์สาคัญ ประสบการณ์สาคัญเป็นแนวทางสาหรับผู้สอนนาไปใช้ในการออกแบบการจัด ประสบการณ์ให้เด็กปฐมวัยเรียนรู้ ลงมือปฏิบัติ และได้รับการส่งเสริมพัฒนาการครอบคลุมทุกด้าน ดังนี้ ๑.๑ ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส พัฒนาการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อและระบบประสาท ในการทากิจวัตรประจาวันหรือทากิจกรรมต่าง ๆ และสนับสนุนให้เด็กมีโอกาสดูแลสุขภาพและ สุขอนามัย สุขนิสัย และการรักษาความปลอดภัย ดังนี้ ด้านร่างกาย ๑.๑.๑ การใช้กล้ามเนื้อใหญ่

๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนื้อเล็ก

ประสบการณ์สาคัญ (๑) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ (๒) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ (๓) การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ (๔) การเคลื่อนไหวที่ใช้การประสานสัมพันธ์ของการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในการขว้าง การจับ การโยน การเตะ (๕) การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระ (๑) การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างจากแท่งไม้ บล็อก (๒) การเขียนภาพและการเล่นกับสี (๓) การปั้น

(๔) การประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ ด้วย เศษวัสดุ (๕) การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ ๑.๑.๓ การรักษาสุขภาพอนามัยส่วน (๑) การปฏิบัติตนตามสุขอนามัย สุขนิสัยที่ดีในกิจวัตรประจาวัน ตน ๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภัย (๑) การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในกิจวัตรประจาวัน (๒) การฟังนิทาน เรื่องราว เหตุการณ์ เกี่ยวกับการป้องกันและรักษาความปลอดภัย (๓) การเล่นเครื่องเล่นอย่างปลอดภัย (๔) การเล่นบทบาทสมมุติเหตุการณ์ต่าง ๆ ๑.๑.๕ การตระหนักรู้เกี่ยวกับ (๑) การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับ และพื้นที่ ร่างกายตนเอง (๒) การเคลื่อนไหวข้ามสิ่งกีดขวาง ๑.๒ ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้แสดงออกทาง อารมณ์และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะ ที่เป็น อัตลักษณ์ ความเป็นตัวของตัวเอง มีความสุข ร่าเริงแจ่มใส การเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ได้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม สุนทรียภาพ ความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง และความเชื่อมั่นในตนเองขณะปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ ด้านอารมณ์ ๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี

ประสบการณ์สาคัญ (๑) การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี (๒) การเล่นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ (๓) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี (๔) การเล่นบทบาทสมมติ (๕) การทากิจกรรมศิลปะต่าง ๆ (๖) การสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม

๑.๒.๒ การเล่น

(๑) การเล่นอิสระ (๒) การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ (๓) การเล่นตามมุมประสบการณ์ (๔) การเล่นนอกห้องเรียน (๑) การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่นับถือ (๒) การฟังนิทานเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม (๓) การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเชิงจริยธรรม (๑) การพูดสะท้อนความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น (๒) การเล่นบทบาทสมมติ (๓) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี

๑.๒.๓ คุณธรรม จริยธรรม

๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์

(๔) การร้องเพลง (๕) การทางานศิลปะ ๑.๒.๕ การมีอัตลักษณ์เฉพาะตนและ (๑) การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามความสามารถของตนเอง เชื่อว่าตนเองมีความสามารถ ๑.๒.๖ การเห็นอกเห็นใจผู้อื่น (๑) การแสดงความยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุข เห็นใจเมื่อผู้อื่นเศร้าหรือเสียใจและการ ช่วยเหลือปลอบโยนเมื่อผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ ๑.๓ ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับบุคคล และสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ รอบตัวจากการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านการเรียนรู้ทางสังคม เช่น การเล่น การทางานกับ ผู้อื่น การปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน การแก้ปัญหาข้อขัดแย้งต่าง ๆ ด้านสังคม ประสบการณ์สาคัญ ๑.๓.๑ การปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน (๑) การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวัน (๒) การปฏิบัติตนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑.๓.๒ การดูแลรักษาธรรมชาติและ (๑) การมีส่วนร่วมรับผิดชอบดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน สิ่งแวดล้อม (๒) การใช้วัสดุและสิ่งของเครื่องใช้อย่างคุ้มค่า (๓) การทางานศิลปะที่นาวัสดุหรือสิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้แล้ว มาใช้ซ้าหรือแปรรูปแล้ว นากลับมาใช้ใหม่ (๔) การเพาะปลูกและดูแลต้นไม้ (๕) การเลี้ยงสัตว์ (๖) การสนทนาข่าวและเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ชีวิตประจาวัน ๑.๓.๓ การปฏิบัติตามวัฒนธรรม (๑) การเล่นบทบาทสมมติการปฏิบัติตนในความเป็นคนไทย ท้องถิ่นและความเป็นไทย (๒) การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อาศัยและประเพณีไทย (ต่อ) (๓) การประกอบอาหารไทย (๔) การศึกษานอกสถานที่ (๕) การละเล่นพื้นบ้านของไทย ๑.๓.๔ การมีปฏิสัมพันธ์ มีวินยั มี (๑) การร่วมกาหนดข้อตกลงของห้องเรียน ส่วนร่วม และบทบาทสมาชิกของ (๒) การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน สังคม (๓) การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ (๔) การดูแลห้องเรียนร่วมกัน (๕) การร่วมกิจกรรมวันสาคัญ ๑.๓.๕ การเล่นและทางานแบบ (๑) การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ร่วมมือร่วมใจ (๒) การเล่นและทางานร่วมกับผู้อื่น (๓) การทาศิลปะแบบร่วมมือ

๑.๓.๖ การแก้ปัญหาความขัดแย้ง ๑.๓.๗ การยอมรับในความเหมือน และความแตกต่างระหว่างบุคคล

(๑) การมีส่วนร่วมในการเลือกวิธีการแก้ปัญหา (๒) การมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง (๑) การเล่นหรือทากิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน

๑.๔ ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้รับรู้และเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม บุคคลและสื่อต่าง ๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อเปิด โอกาสให้เด็กพัฒนาการใช้ภาษา จินตนาการความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การคิดเชิงเหตุผล และการคิดรวบ ยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัวและมีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น ต่อไป ด้านสติปัญญา ประสบการณ์สาคัญ ๑.๔.๑ การใช้ภาษา (๑) การฟังเสียงต่าง ๆ ในสิ่งแวดล้อม (๒) การฟังและปฏิบัติตามคาแนะนา (๓) การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง บทร้อยกรองหรือเรื่องราวต่าง ๆ (๔) การพูดแสดงความคิด ความรู้สึก และความต้องการ (๕) การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง หรือพูดเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง (๖) การพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของ เหตุการณ์ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ (๗) การพูดอย่างสร้างสรรค์ในการเล่น และการกระทาต่าง ๆ (๘) การรอจังหวะที่เหมาะสมในการพูด (๙) การพูดเรียงลาดับคาเพื่อใช้ในการสื่อสาร (๑๐) การอ่านหนังสือภาพ นิทาน หลากหลายประเภท/รูปแบบ (๑๑) การอ่านอย่างอิสระตามลาพัง การอ่านร่วมกัน การอ่านโดยมีผู้ชี้แนะ (ต่อ) (๑๒) การเห็นแบบอย่างของการอ่านที่ถูกต้อง (๑๓) การสังเกตทิศทางการอ่านตัวอักษร คา และข้อความ (๑๔) การอ่านและชี้ข้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทัดจากซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง (๑๕) การสังเกตตัวอักษรในชื่อของตน หรือคาคุ้นเคย (๑๖) การสังเกตตัวอักษรที่ประกอบเป็นคาผ่านการอ่านหรือเขียนของผู้ใหญ่ (๑๗) การคาดเดาคา วลี หรือประโยค ที่มีโครงสร้างซ้า ๆ กัน จากนิทาน เพลง คาคล้องจอง (๑๘) การเล่นเกมทางภาษา (๑๙) การเห็นแบบอย่างของการเขียนที่ถูกต้อง (๒๐) การเขียนร่วมกันตามโอกาส และการเขียนอิสระ (๒๑) การเขียนคาที่มีความหมายกับตัวเด็ก/คาคุ้นเคย (๒๒) การคิดสะกดคาและเขียนเพื่อสื่อความหมายด้วยตนเองอย่างอิสระ

๑.๔.๒ การคิดรวบ ยอดการคิดเชิง เหตุผลการตัดสินใจ และแก้ปัญหา

(๑) การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลง และความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ โดย ใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม (๒) การสังเกตสิ่งต่าง ๆ และสถานที่จากมุมมองที่ต่างกัน (๓) การบอกและแสดงตาแหน่ง ทิศทาง และระยะทางของสิ่งต่าง ๆ ด้วยการกระทา ภาพวาด ภาพถ่าย และรูปภาพ (๔) การเล่นกับสื่อต่าง ๆ ที่เป็นทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย (๕) การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการจาแนกสิ่งต่าง ๆ ตามลักษณะและรูปร่าง รูปทรง (๖) การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์ และการแยกชิ้นส่วน (๗) การทาซ้า การต่อเติม และการสร้างแบบรูป (๘) การนับและแสดงจานวนของสิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน (๙) การเปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนของสิ่งต่าง ๆ (๑๐) การรวมและการแยกสิ่งต่าง ๆ (๑๑) การบอกและแสดงอันดับที่ของสิ่งต่าง ๆ (๑๒) การชั่ง ตวง วัดสิ่งต่าง ๆ โดยใช้เครื่องมือและหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน (๑๓) การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการเรียงลาดับ สิ่งต่าง ๆ ตามลักษณะความยาว/ความ สูง น้าหนัก ปริมาตร (๑๔) การบอกและเรียงลาดับกิจกรรมหรือเหตุการณ์ตามช่วงเวลา (๑๕) การใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์กับเหตุการณ์ในชีวิตประจาวัน (๑๖) การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการกระทา (๑๗) การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล (๑๘) การมีส่วนร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูลอย่างมีเหตุผล (๑๙) การตัดสินใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการแก้ปัญหา ๑.๔.๓ จินตนาการ (๑) การรับรู้ และแสดงความคิดความรู้สึกผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่น และ ชิ้นงาน และความคิด (๒) การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหว และศิลปะ สร้างสรรค์ (๓) การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปร่างรูปทรงจากวัสดุที่หลากหลาย ๑.๔.๔ เจตคติที่ดี (๑) การสารวจสิ่งต่าง ๆ และแหล่งเรียนรู้รอบตัว ต่อการเรียนรู้และ (๒) การตั้งคาถามในเรื่องที่สนใจ การแสวงหาความรู้ (๓) การสืบเสาะหาความรู้เพื่อค้นหาคาตอบของข้อสงสัยต่าง ๆ (๔) การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและนาเสนอข้อมูลจากการสืบเสาะหาความรู้ใน รูปแบบต่าง ๆ และแผนภูมิอย่างง่าย

๒. สาระที่ควรเรียนรู้ สาระที่ควรเรียนรู้ เป็นเรื่องราวรอบตัวเด็กที่นามาเป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรมให้เด็กเกิดแนวคิด หลังจากนาสาระที่ควรรู้นั้น ๆ มาจัดประสบการณ์ให้เด็ก เพื่อให้บรรลุจุดหมายที่กาหนดไว้ ทั้งนี้ ไม่เน้นการท่องจา เนื้อหา ผู้สอนสามารถกาหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ความต้องการ และความสนใจของเด็ก โดยให้ เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์สาคัญ ทั้งนี้ อาจยืดหยุ่นเนื้อหาได้ โดยคานึงถึงประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมในชีวิต จริงของเด็ก ดังนี้ ๒.๑ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้ชื่อ นามสกุล รูปร่างหน้าตา อวัยวะต่าง ๆ วิธีระวังรักษา ร่างกายให้สะอาดและมีสุขภาพอนามัยที่ดี การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ การระมัดระวังความปลอดภัย ของตนเองจากผู้อื่นและภัย ใกล้ตัว รวมทั้งการปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย การรู้จักประวัติความเป็นมาของ ตนเองและครอบครัว การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น การรู้จักแสดงความคิดเห็นของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การกากับตนเอง การเล่นและทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเองตามลาพังหรือกับผู้อื่น การตระหนักรู้เกี่ยวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะท้อนการรับรู้ อารมณ์และความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกอย่างเหมาะสม การแสดง มารยาทที่ดี การมีคุณธรรมจริยธรรม ๒.๒ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน และบุคคลต่าง ๆ ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจาวัน สถานที่สาคัญ วันสาคัญ อาชี พของคนในชุม ชน ศาสนา แหล่ งวั ฒ นธรรมในชุม ชน สั ญ ลั กษณ์ส าคั ญของชาติไ ทยและการปฏิ บั ติ ตาม วัฒนธรรมท้องถิ่นและความเป็นไทย หรือแหล่งงเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นอื่น ๆ ๒.๓ ธรรมชาติร อบตัว เด็ ก ควรเรีย นรู้ เกี่ ย วกั บ ชื่ อ ลั กษณะ ส่ ว นประกอบ การเปลี่ ยนแปลงและ ความสัมพันธ์ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนการรู้จักเกี่ยวกับดิน น้า ท้องฟ้า สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ แรงและ พลังงานในชีวิตประจาวันที่แวดล้อมเด็ก รวมทั้งการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการรักษาสาธารณสมบัติ ๒.๔ สิ่ ง ต่ า ง ๆ รอบตั ว เด็ ก เด็ ก ควรเรี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ การใช้ ภ าษาเพื่ อ สื่ อ ความหมายใน ชี วิ ต ประจ าวั น ความรู้ พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ การใช้ ห นั ง สื อ และตั ว หนั ง สื อ รู้ จั ก ชื่ อ ลั ก ษณะ สี ผิ ว สั ม ผั ส ขนาด รูป ร่ าง รู ป ทรง ปริ มาตร น้ าหนั ก จานวน ส่ ว นประกอบ การเปลี่ยนแปลงและสั มพันธ์ของสิ่ งต่าง ๆ รอบตัว เวลา เงิน ประโยชน์ การใช้งาน และการเลือกใช้สิ่ งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและ การสื่อสารต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจาวันอย่างประหยัด ปลอดภัยและรักษาสิ่งแวดล้อม สาระที่ควรเรียนรู้รายปี เป็นเรื่องราวรอบตัวเด็กที่นามาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ไม่เน้นการท่องจาเนื้อหา ครูผู้สอนสามารถ กาหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ความสนใจและความต้องการของเด็ก

สาระการเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับ ตัวเด็ก

โครงสร้างสาระที่ควรเรียนรู้รายปี ระดับปฐมวัย โรงเรียนวัดบัวขวัญ หน่วยการเรียนรู้ ระดับชั้นอนุบาล ๒ หน่วยการเรียนรู้ ระดับชั้นอนุบาล ๓ - หน่วยปฐมนิเทศ - หน่วยรู้รอบ - หน่วยปฐมนิเทศ - หน่วยรู้รอบ - หน่วยโรงเรียนของเรา ปลอดภัย - หน่วยโรงเรียนของเรา ปลอดภัย - หน่วยร่างกายของฉัน - หน่วยเศรษฐกิจ - หน่วยร่างกายของฉัน - หน่วยเศรษฐกิจ - หน่วยหนูทาได้ พอเพียง - หน่วยหนูทาได้ พอเพียง - หน่วยปลอดภัยไว้ก่อน - หน่วยปลอดภัยไว้ก่อน

เรื่องราวเกี่ยวกับ สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก

- หน่วยอาหารดีมี ประโยชน์ - หน่วยข้าว - หน่วยของเล่นของใช้ - หน่วยคมนาคม

เรื่องราวเกี่ยวกับ บุคคลและสถานที่ แวดล้อมเด็ก

- หน่วยวันเฉลิม - หน่วยวันแม่ - .หน่วยรักเมืองไทย - หน่วยชุมชนของเรา

เรื่องราวเกี่ยวกับ - หน่วยฝน ธรรมชาติรอบตัวเด็ก - หน่วยต้นไม้ที่รัก - หน่วยดินหินทราย - หน่วยสัตว์น่ารัก

- หน่วยเทคโนโลยี และการสื่อสาร - หน่วยสนุกตัวเลข - หน่วยขนาด รูปร่าง รูปทรง - หน่วยโลกสวยด้วย สีสัน - หน่วยรักการอ่าน - หน่วยปริมาตร น้าหนัก - หน่วยลอยกระทง - หน่วยวันชาติ - หน่วยวันขึ้นปีใหม่ - หน่วยวันเด็ก วันครู

- หน่วยอาหารดีมี ประโยชน์ - หน่วยข้าว - หน่วยของเล่นของใช้ - หน่วยคมนาคม

- หน่วยกลางวัน / กลางคืน - หน่วยค่านิยมไทย - หน่วยฤดูหนาว - หน่วยแรงและ พลังงานใน ชีวิตประจาวัน - หน่วยเสียงรอบตัว - หน่วยฤดูร้อน

- หน่วยฝน - หน่วยต้นไม้ที่รัก - หน่วยดินหินทราย - หน่วยสัตว์น่ารัก

- หน่วยวันเฉลิม - หน่วยวันแม่ - .หน่วยรักเมืองไทย - หน่วยชุมชนของเรา

- หน่วยเทคโนโลยี และการสื่อสาร - หน่วยสนุกตัวเลข - หน่วยขนาด รูปร่าง รูปทรง - หน่วยโลกสวยด้วย สีสัน - หน่วยรักการอ่าน - หน่วยปริมาตร น้าหนัก - หน่วยลอยกระทง - หน่วยวันชาติ - หน่วยวันขึ้นปีใหม่ - หน่วยวันเด็ก วันครู

- หน่วยกลางวัน / กลางคืน - หน่วยค่านิยมไทย - หน่วยฤดูหนาว - หน่วยแรงและ พลังงานใน ชีวิตประจาวัน - หน่วยเสียงรอบตัว - หน่วยฤดูร้อน

ตารางการวิเคราะห์ส มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี สภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๑.๑ น้าหนักและส่วนสูง ๑.๑.๑ น้าหนักและ ๑.๑.๑ น้าหนักและส่วนสูง ตามเกณฑ์ ส่วนสูงตามเกณฑ์ของ ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย กรมอนามัย ๑.๒ มีสุขภาพอนามัย ๑.๒.๑ รับประทาน ๑.๒.๑ รับประทานอาหาร สุขนิสัยที่ดี อาหารที่มีประโยชน์และ ที่มีประโยชน์ได้หลายชนิด ดื่มน้าสะอาดด้วยตนเอง และดื่มน้าสะอาดได้ด้วย ตนเอง ๑.๒.๒ ล้างมือ ก่อนรับประทานอาหาร และหลังจากใช้ห้องน้า ห้องส้วมด้วยตนเอง

๑.๒.๒ ล้างมือ ก่อนรับประทานอาหาร และหลังจากใช้ห้องน้าห้อง ส้วมด้วยตนเอง

๑.๒.๓ นอนพักผ่อนเป็น เวลา

๑.๒.๓ นอนพักผ่อนเป็น เวลา

๑.กา กิจว

๑.กา ๒.กา กิจว

๑.กา กิจว ๒.กา ประ ๓.กา ๔.กา การป กิจว

สาระการเรียนรู้รายปี สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารปฏิบัติตนตามสุขอนามัย สุขนิสัยที่ดีใน วัตรประจาวัน

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑.อาหารที่ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต

ารประกอบอาหาร ารปฏิบัติตนตามสุขอนามัย สุขนิสัยที่ดีใน วัตรประจาวัน

๑. อาหารที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ ๒. อาหารหลัก 5 หมู่ ๓. การมีเจตคติที่ดีต่อการรับประทานอาหารที่ มีประโยชน์ ๔. มารยาทในการรับประทานอาหาร ๑. อวัยวะต่างๆของร่างกายและการรักษา ความปลอดภัย ๒. วิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาดและมี สุขภาพอนามัยที่ดี

ารปฏิบัติตนตามสุขอนามัย สุขนิสัยที่ดีใน วัตรประจาวัน ารปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในกิจวัตร ะจาวัน ารช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจาวัน ารฟังนิทานเรื่องราวเกี่ยวกับสุขนิสัยที่ดี ปฏิบัติตนตามสุขอนามัย สุขนิสัยที่ดีใน วัตรประจาวัน

ประโยชน์ของการนอนหลับ

ตัวบ่งชี้ (ต่อ)

๑.๓ รักษาความปลอดภัย ของตนเองและผู้อื่น

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๑.๒.๔ ออกกาลังกาย ๑.๒.๔ ออกกาลังกาย เป็นเวลา เป็นเวลา

๑.๓.๑ เล่นและทา กิจกรรมอย่างปลอดภัย ด้วยตนเอง

๑.๓.๑ เล่น ทากิจกรรม และปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่าง ปลอดภัย

๑.กา ๒.กา ๔.กา

๑.กา กิจวัต ๒.กา ป้องก ๓.กา ๔.กา ตนเอ ๕.กา

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารเล่นอิสระ ารเคลื่อนไหวข้ามสิ่งกีดขวาง ารเล่นนอกห้องเรียน

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. ประโยชน์ของการออกกาลังกาย ๒. การละเล่นพื้นบ้าน

ารปฏิบัติตนตามสุขอนามัย สุขนิสัยที่ดีใน ตรประจาวัน ารฟังนิทาน เรื่องราวเหตุการณ์เกี่ยวกับการ กันและรักษาความปลอดภัย ารเล่นบทบาทสมมติเหตุการณ์ต่างๆ ารพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของ องหรือพูดเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ารเล่นและทางานร่วมกับผู้อื่น

๑. การรักษาความปลอดภัยของตนเองและการ ปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัยในชีวิตประจาวัน ๒. การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมเมื่อเจ็บป่วย ๓. การระวังภัยจากคนแปลกหน้าและอุบัติภัย ต่างๆ

มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว และประส สภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๒.๑ เคลื่อนไหว ๒.๑.๑ เดินต่อเท้าไป ๒.๑.๑ เดินต่อเท้าถอย ๑. การเคล ร่างกายอย่าง ข้างหน้าเป็นเส้นตรงได้ หลังเป็นเส้นตรงได้โดย ๒.การเคล คล่องแคล่วประสาน โดย ไม่ต้องกางแขน ระดับและ สัมพันธ์และทรงตัวได้ ไม่ต้องกางแขน ๒.๑.๒ กระโดดขาเดียว ๒.๑.๒ กระโดดขาเดียว ๑. การเคล อยู่กับที่ได้โดยไม่เสีย ไปข้างหน้าได้อย่าง ๒.การเคล การทรงตัว ต่อเนื่องโดยไม่เสียการ ระดับ และ ทรงตัว ๒.๑.๓ วิ่งหลบหลีกสิ่ง ๒.๑.๓ วิ่งหลบหลีก ๑. การเคล กีดขวางได้ สิ่งกีดขวางได้อย่าง ๒.การเคล คล่องแคล่ว ระดับ และ ๓.การเคล ๒.๑.๔ รับลูกบอลโดยใช้ ๒.๑.๔ รับลูกบอลที่ ๑. การเคล มือทั้งสองข้าง กระดอนขึ้นจากพื้นได้ ๒.การเคล ระดับ และ ๓.การเคล ๔.การเคล กล้ามเนื้อ

สานสัมพันธ์กัน สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ลื่อนไหวเคลื่อนที่ ลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง ะพื้นที่

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. การเคลื่อนไหวไปในทิศทางต่างๆ ๒. การรักษาความปลอดภัยของตนเองและการ ปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย

ลื่อนไหวเคลื่อนที่ ลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง ะพื้นที่

๑. การเคลื่อนไหวไปในทิศทางต่างๆ ๒. การรักษาความปลอดภัยของตนเองและการ ปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย

ลื่อนไหวเคลื่อนที่ ลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง ะพื้นที่ ลื่อนไหวข้ามสิ่งกีดขวาง ลื่อนไหวเคลื่อนที่ ลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง ะพื้นที่ ลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ ลื่อนไหวที่ใช้การประสานสัมพันธ์ของการใช้ ใหญ่ในการขว้าง การจับ การโยน การเตะ

การเดิน วิ่ง กระโดดหลบหลีกหรือข้ามสิ่งกีด ขวางต่างๆ

๑. การเคลื่อนไหวร่างกายส่วนต่างๆพร้อม อุปกรณ์ ๒. การรักษาความปลอดภัยของตนเองและการ ปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย

ตัวบ่งชี้ ๒.๒ ใช้มือ-ตาประสาน สัมพันธ์กัน

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัด ๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัด กระดาษขาดจากกันได้ กระดาษตามแนวเส้นตรง โดยใช้มือเดียว ได้ ๒.๒.๒ เขียนรูปวงกลม ๒.๒.๒ เขียนรูปสี่เหลี่ยม ตามแบบได้ ตามแบบได้อย่างมีมุม ชัดเจน ๒.๒.๓ ร้อยวัสดุที่มีรู ๒.๒.๓ ร้อยวัสดุที่มีรู ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง ๑ ซม.ได้ ๐.๕ ซม.ได้

การห ปะ แ

การเ

การห ปะ แ

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ หยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การ ๑. วิธีการใช้ของใช้และของมีคม และการร้อยวัสดุ ๒. การรักษาความปลอดภัยของตนเองและการ ปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย เขียนภาพและการเล่นกับสี ๑. ชื่อและชนิดของสีต่างๆ ๒. ชนิดของรูปเรขาคณิต ๓. สีกับชีวิตประจาวัน หยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การ ๑. การใช้กล้ามเนื้อมือมัดเล็ก และการร้อยวัสดุ ๒. วิธีการใช้ของใช้และอุปกรณ์ในห้องเรียน ๓. การนับเลข ๑-๑๐

มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ได้อย่างเหมาะสม ความรู้สึกได้ตาม ความรู้สึกได้สอดคล้องกับ สถานการณ์ สถานการณ์อย่าง เหมาะสม ตัวบ่งชี้

๓.๒ มีความรู้สึกที่ดีต่อ ตนเองและผู้อื่น

๑.กา ๒.กา ๓.กา ใจเม ปลอ ๔.กา ต้องก ๓.๒.๑ กล้าพูดกล้า ๓.๒.๑ กล้าพูดกล้า ๑. ก แสดงออกอย่างเหมาะสม แสดงออกอย่างเหมาะสม ๒.กา บางสถานการณ์ ตามสถานการณ์ ของต ๓.กา เชิงจ ๔.กา ๓.๒.๒ แสดงความพอใจ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจ ๑. ก ในผลงานและ ในผลงานและ ๒.กา ความสามารถของตนเอง ความสามารถของตนเอง ๓.กา และผู้อื่น

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารพูดสะท้อนความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น ารเล่นบทบาทสมมติ ารแสดงความยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุข เห็น มื่อผู้อื่นเศร้าหรือเสียใจและการช่วยเหลือ อบโยนเมื่อผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ ารพูดแสดงความคิด ความรู้สึก และความ การ การเล่นบทบาทสมมติ ารปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามความสามารถ ตนเอง ารร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จริยธรรม ารฟังนิทานเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม การทากิจกรรมศิลปะต่าง ๆ ารพูดสะท้อนความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น ารฟังนิทานเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม

สาระที่ควรเรียนรู้ เรียนรู้/สามารถแสดงออกได้เหมาะสมกับ เหตุการณ์

เรียนรู้/สามารถกล้าแสดงออก ตามสถานการณ์ อย่างเหมาะสม

๑. เรียนรู้/สามารถกล้าแสดงออก ๒. แสดงความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น

มาตรฐานที่ ๔ ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว สภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๔.๑ สนใจ มีความสุข และ ๔.๑.๑ สนใจ มีความสุข ๔.๑.๑ สนใจ มีความสุข แสดงออก ผ่านศิลปะ และแสดงออกผ่านงาน และแสดงออกผ่านงาน ดนตรี และการเคลื่อนไหว ศิลปะ ศิลปะ

๔.๑.๒ สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่าน เสียงเพลงดนตรี

๔.๑.๒ สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่าน เสียงเพลง ดนตรี

๑. ก ๒. ก ๓. ก ๔.กา วัสดุ ๕.กา ท่าท ๖.กา จากว ๑. ก ๒. ก ๓. ก ปฏิก ๔. ก กรอง

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ การทากิจกรรมศิลปะต่าง ๆ ๑. การสร้างผลงานศิลปะ การทางานศิลปะ ๒. วิธีการใช้อุปกรณ์ศิลปะ การสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม ารรับรู้ และแสดงความคิดความรู้สึกผ่านสื่อ ของเล่น และ ชิ้นงาน ารแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านภาษา ทาง การเคลื่อนไหว และศิลปะ ารสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปร่างรูปทรง วัสดุที่หลากหลาย การร้องเพลง ๑. การร้องเพลง การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดง กิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง บทร้อย งหรือเรื่องราวต่าง ๆ

ตัวบ่งชี้ (ต่อ)

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๔.๑.๓ สนใจ มีความสุข ๔.๑.๓ สนใจ มีความสุข และแสดงท่าทาง / และแสดงท่าทาง / เคลื่อนไหวประกอบ เคลื่อนไหวประกอบเพลง เพลงจังหวะและดนตรี จังหวะและดนตรี

๑.กา ๒.กา ๓.กา ๔.กา

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารเคลื่อนไหวอยู่กับที่ ารเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ ารเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ ารเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี

สาระที่ควรเรียนรู้ เรียนรู้ท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบเพลง จังหวะ และดนตรี

มาตรฐานที่ ๕ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม สภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๕.๑ ซื่อสัตย์สุจริต ๕.๑.๑ ขออนุญาตหรือรอ ๕.๑.๑ ขออนุญาตหรือรอ ๑.กา คอยเมื่อต้องการสิ่งของ คอยเมื่อต้องการสิ่งของ ๒.กา ของผู้อื่นเมื่อมีผู้ชี้แนะ ของผู้อื่นด้วยตนเอง ๓.กา เชิงจ ๔.กา ๕.กา ๕.๒ มีความเมตตา กรุณา ๕.๒.๑ แสดงความรัก ๕.๒.๑ แสดงความรัก ๑.กา มีน้าใจและช่วยเหลือ เพื่อนและมีเมตตาสัตว์ เพื่อนและมีเมตตาสัตว์ ๒.กา แบ่งปัน เลี้ยง เลี้ยง ๓.กา ๕.๒.๒ ช่วยเหลือและ ๕.๒.๒ ช่วยเหลือและ ๑.กา แบ่งปันผู้อื่นได้เมื่อมีผู้ แบ่งปันผู้อื่นได้ด้วยตนเอง ๒.กา ชี้แนะ ๓.กา ๕.๓ มีความเห็นอก ๕.๓.๑ แสดงสีหน้าและ ๕.๓.๑ แสดงสีหน้าและ ๑.กา เห็นใจผู้อื่น ท่าทางรับรู้ความรู้สึกผู้อื่น ท่าทางรับรู้ความรู้สึกผู้อื่น ๒.กา อย่างสอดคล้องกับ สถานการณ์

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารเล่นบทบาทสมมติ ารฟังนิทานเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม ารร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จริยธรรม ารเล่นและทางานร่วมกับผู้อื่น ารปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน ารเล่นบทบาทสมมติ ารฟังนิทานเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม ารเลี้ยงสัตว์ ารเล่นบทบาทสมมติ ารฟังนิทานเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม ารปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน ารเล่นบทบาทสมมติ ารเล่นและทางานร่วมกับผู้อื่น

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. คุณธรรมจริยธรรม - ความซื่อสัตย์ - ความเกรงใจ ๒. การเคารพสิทธิของตนเองและคนอื่น

๑. คุณธรรมจริยธรรม - ความเมตตา กรุณา ๑. คุณธรรมจริยธรรม - ความมีน้าใจ ช่วยเหลือ แบ่งปัน - ความกตัญญู ๑. คุณธรรมจริยธรรม - ความเมตตา กรุณา

ตัวบ่งชี้ ๕.๔ มีความรับผิดชอบ

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๕.๔.๑ ทางานที่ ๕.๔.๑ ทางานที่ได้รับ ได้รับมอบหมายจน มอบหมายจนสาเร็จ สาเร็จ ด้วยตนเอง เมื่อมีผู้ชี้แนะ

๑.การท ๒.การด ๓.การม ภายใน ๔.การร

สาระการเรียนรู้รายปี ประสบการณ์สาคัญ

ทากิจกรรมศิลปะต่างๆ ดูแลห้องเรียนร่วมกัน มีส่วนร่วมรับผิดชอบดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทั้ง นและภายนอกห้องเรียน ร่วมกาหนดข้อตกลงห้องเรียน

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. คุณธรรมจริยธรรม - ความรับผิดชอบ - ความอดทน มุ่งมั่น - ความเพียร

มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๖.๑ ช่วยเหลือตนเอง ๖.๑.๑ แต่งตัวโดยมี ๖.๑.๑ แต่งตัวด้วยตนเอง ในการปฏิบัติกิจวัตร ผู้ช่วยเหลือ ได้อย่างคล่องแคล่ว ประจาวัน ๖.๑.๒ รับประทานอาหาร ๖.๑.๒ รับประทานอาหาร ด้วยตนเอง ด้วยตนเองอย่างถูกวิธี

๖.๒ มีวินัยในตนเอง

๖.๒ มีวินัยในตนเอง

๑.กา กิจวัต ๒.กา ๑.กา ๒.กา กิจวัต

๖.๑.๓ ใช้ห้องน้าห้องส้วม ๖.๑.๓ ใช้และทาความ ๑.กา โดยมีผู้ช่วยเหลือ สะอาดหลังใช้ห้องน้าห้อง ๒.กา ส้วมด้วยตนเอง สิ่งแว ๓.กา กิจวัต ๖.๒.๑ เก็บของเล่นของใช้ ๖.๒.๑ เก็บของเล่นของใช้ ๑.กา เข้าที่เมื่อมีผู้ชี้แนะ เข้าที่อย่างเรียบร้อย ๒.กา ด้วยตนเอง ๓.กา ๖.๒.๒ เข้าแถวตามลาดับ ๖.๒.๒ เข้าแถวตามลาดับ ๑.การ ๒.การ ก่อนหลังได้ด้วยตนเอง ก่อนหลังได้ด้วยตนเอง ๓.การ

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารปฏิบัติตนตามสุขอนามัย สุขนิสัยที่ดีใน ตรประจาวัน ารช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวัน ารประกอบอาหาร ารปฏิบัติตนตามสุขอนามัย สุขนิสัยที่ดีใน ตรประจาวัน

ารช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวัน ารมีส่วนร่วมรับผิดชอบดูแลรักษา วดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน ารปฏิบัติตนตามสุขอนามัย สุขนิสัยที่ดีใน ตรประจาวัน ารร่วมกาหนดข้อตกลงของห้องเรียน ารปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน ารดูแลห้องเรียนร่วมกัน

รร่วมกาหนดข้อตกลงของห้องเรียน รปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน รให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกจิ กรรมต่างๆ

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. การแต่งตัวตามฤดูกาล ๒. เครื่องแต่งกายต่างๆ ๑. อาหารที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ ๒. อาหารหลัก 5 หมู่ ๓. การมีเจตคติที่ดีต่อการรับประทานอาหารที่ มีประโยชน์ ๔. มารยาทในการรับประทานอาหาร ๑. วิธีการใช้ห้องน้าที่ถูกสุขลักษณะ ๒. การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย

๑. ข้อตกลงร่วมกันภายในห้องเรียน ๒.ประเภทของเล่นและวิธีการเก็บรักษา ๑. การเรียงลาดับการเข้าแถว ๒. การปฏิบัติตนให้เป็นพลเมืองดี

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๖.๓ ประหยัดและพอเพียง ๖.๓.๑ ใช้สิ่งของเครื่องใช้ ๖.๓.๑ ใช้สิ่งของเครื่องใช้ ๑.กา อย่างประหยัดและ อย่างประหยัดและ ๒.กา พอเพียงเมื่อมีผู้ชี้แนะ พอเพียงด้วยตนเอง เครื่อ กลับ ตัวบ่งชี้

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารใช้วัสดุและสิ่งของเครื่องใช้อย่างคุ้มค่า ารทางานศิลปะที่นาวัสดุหรือสิ่งของ องใช้ที่ใช้แล้ว มาใช้ซ้าหรือแปรรูปแล้วนา บมาใช้ใหม่

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. การสร้างผลงานศิลปะการประดิษฐ์จากวัสดุ เหลือใช้

มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย สภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๗.๑ ดูแลรักษาธรรมชาติ ๗.๑.๑ มีสว่ นร่วมดูแล ๗.๑.๑ ดูแลรักษา ๑.กา และสิ่งแวดล้อม รักษาธรรมชาติและ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สิ่งแว สิ่งแวดล้อมเมื่อมีผู้ชี้แนะ ด้วยตนเอง ๒.กา ธรรม ๓.กา ๔.กา ในเห ๗.๑ ดูแลรักษาธรรมชาติ ๗.๑.๒ ทิ้งขยะได้ถูกที่ ๗.๑.๒ ทิ้งขยะได้ถูกที่ ๑.กา และสิ่งแวดล้อม ต่าง ๒.กา ๓.กา เครื่อ กลับ ๓.กา จากว ๕.กา

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารมีส่วนร่วมรับผิดชอบดูแลรักษา วดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน ารสนทนาข่าวและเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับ มชาติและสิ่งแวดล้อมในชีวิตประจาวัน ารเพาะปลูกและดูแลต้นไม้ ารอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้น หตุการณ์หรือการกระทา ารคัดแยก การจัดกลุ่ม และการจาแนกสิ่ง ๆ ตามลักษณะและรูปร่าง รูปทรง ารใช้วัสดุและสิ่งของเครื่องใช้อย่างคุ้มค่า ารทางานศิลปะที่นาวัสดุหรือสิ่งของ องใช้ที่ใช้แล้ว มาใช้ซ้าหรือแปรรูปแล้วนา บมาใช้ใหม่ ารสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปร่างรูปทรง วัสดุที่หลากหลาย ารปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและการดูแลรักษา ๒. สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติและอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม ๓. การรักษาสาธารณสมบัติในห้องเรียน

๑. ขยะและการคัดแยกขยะ ๒. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม

ตัวบ่งชี้ ๗.๒ มีมารยาทตาม วัฒนธรรมไทย และ รักความเป็นไทย

๗.๒ มีมารยาทตาม วัฒนธรรมไทย และ รักความเป็นไทย

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตาม ๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตาม ๑.กา มารยาทไทยได้เมื่อมีผู้ มารยาทไทยได้ด้วยตนเอง และป ชี้แนะ ๒.กา เป็นไ ๗.๒.๒ กล่าวคาขอบคุณ และขอโทษด้วยตนเอง

๗.๒.๒ กล่าวคาขอบคุณ และขอโทษด้วยตนเอง

๗.๒.๓ ยืนตรงเมื่อได้ยิน เพลงชาติไทยและ เพลงสรรเสริญพระบารมี

๗.๒.๓ ยืนตรงและร่วม ร้องเพลงชาติไทยและ เพลงสรรเสริญพระบารมี

๑.กา และป ๒.กา เป็นไ ๓.กา ๑.กา และป ๒.กา เป็นไ ๓.กา

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ารปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อาศัย ๑. การปฏิบัติตนตามมารยาทและวัฒนธรรม ประเทศไทย ไทย ารเล่นบทบาทสมมติ การปฏิบัติตนในความ - การแสดงความเคารพ ไทย - การพูดสุภาพ - การกล่าวคาขอบคุณและขอโทษ ารปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อาศัย ๑. การปฏิบัติตนตามมารยาทและวัฒนธรรม ประเทศไทย ไทย ารเล่นบทบาทสมมติ การปฏิบัติตนในความ - การพูดสุภาพ ไทย - การกล่าวคาขอบคุณและขอโทษ ารพูดสะท้อนความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น ารปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่อาศัย ๑. วันสาคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ประเทศไทย ๒. สัญลักษณ์สาคัญของชาติไทย ารเล่นบทบาทสมมติ การปฏิบัติตนในความ ๓. การแสดงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา ไทย พระมหากษัตริย์ ารร่วมกิจกรรมวันสาคัญ

มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมใน สภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๘.๑ ยอมรับความเหมือน ๘.๑.๑ เล่นและทา ๘.๑.๑ เล่นและทา ๑.กา และความแตกต่างระหว่าง กิจกรรมร่วมกับเด็กที่ กิจกรรมร่วมกับเด็กที่ ๒.กา บุคคล แตกต่างไปจากตน แตกต่างไปจากตน ๓. ก ๘.๒ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดี ๘.๒.๑ เล่นหรือทางาน ๘.๒.๑ เล่นหรือทางาน ๑.กา กับผู้อื่น ร่วมกับเพื่อนเป็นกลุ่ม ร่วมมือกับเพื่อนอย่างมี ๒.กา เป้าหมาย ๓. ก ๘.๒.๒ ยิ้ม ทักทายหรือ ๘.๒.๒ ยิ้ม ทักทายและ ๑.กา พูดคุยกับผู้ใหญ่และบุคคล พูดคุยกับผู้ใหญ่และบุคคล ๒.กา ที ค ่ น ้ ุ เคยได้ เ หมาะสมกั บ ที่คุ้นเคยได้ด้วยตนเอง สถานการณ์

๘.๓ ปฏิบัติตนเบื้องต้น ในการเป็นสมาชิกที่ดี ของสังคม

๘.๓.๑ มีสว่ นร่วมสร้าง ข้อตกลงและปฏิบัติตาม ข้อตกลงเมื่อมีผู้ชี้แนะ

๘.๓.๑ มีสว่ นร่วมสร้าง ข้อตกลงและปฏิบัติตาม ข้อตกลงด้วยตนเอง

๑.กา ๒. ก ๓. ก ต่าง

นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สาระการเรียนรู้รายปี ประสบการณ์สาคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ารเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ ๑. การเล่นและการทางานร่วมกับผู้อื่น ารร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การเล่นและทางานร่วมกับผู้อื่น ารเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ ๑. การเล่นและการทางานร่วมกับผู้อื่น ารร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การเล่นและทางานร่วมกับผู้อื่น ารร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ๑. การปฏิบัติตนต่อผู้ใหญ่ ารพูดสะท้อนความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น ๒. การแสดงความเคารพ ๓. มารยาทไทย

ารร่วมกาหนดข้อตกลงของห้องเรียน การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม ๆ

๑. การปฏิบัติเป็นพลเมืองดี

ตัวบ่งชี้ (ต่อ)

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๘.๓.๒ ปฏิบัติตนเป็นผู้นา ๘.๓.๒ ปฏิบัติตนเป็นผู้นา ๑. ก และผู้ตามได้ด้วยตนเอง และผู้ตามได้เหมาะสมกับ ๒. ก สถานการณ์ ต่าง ๘.๓.๓ ประนีประนอม แก้ไขปัญหาโดยปราศจาก การใช้ความรุนแรง เมื่อมีผู้ชี้แนะ

๘.๓.๓ ประนีประนอม ๑. ก แก้ไขปัญหาโดยปราศจาก ๒.กา การใช้ความรุนแรง ด้วยตนเอง

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม ๆ

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. การเรียนรู้การปฏิบัติตนเป็นผู้นา และผู้ตามที่ดี

การมีส่วนร่วมในการเลือกวิธีการแก้ปัญหา ารมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง

๑. การปฏิบัติเป็นพลเมืองดี

มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย สภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและเล่า ๙.๑.๑ ฟังผู้อื่นพูดจนจบ ๙.๑.๑ ฟังผู้อื่นพูดจนจบ เรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ และสนทนาโต้ตอบ และสนทนาโต้ตอบอย่าง สอดคล้องกับเรื่องที่ฟัง ต่อเนื่องเชื่อมโยงกับเรื่อง ที่ฟัง

๙.๑.๒ เล่าเรื่องเป็น ประโยคอย่างต่อเนื่อง

๙.๑.๒ เล่าเป็นเรื่องราว ต่อเนื่องได้

๑.กา ต้องก ๒.กา ตนเอ ๓. ก ผู้อื่น ๔.กา ๕.กา กรอง

๑.การ ๒.การ หรือพ ๓. กา ๔.การ ๕.การ ช่วงเว ๖.การ เคลื่อ

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารพูดแสดงความคิด ความรู้สึก และความ การ ารพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของ อง หรือพูดเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง การพูดสะท้อนความรู้สึกของตนเองและ น ารรอจังหวะที่เหมาะสมในการพูด ารฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง บทร้อย งหรือเรื่องราวต่าง ๆ

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. การฟังและเล่านิทาน ๒. มารยาทการพูดและการฟัง

รพูดแสดงความคิด ความรู้สกึ และความต้องการ ๑. การเล่านิทาน รพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง ๒. การเล่าเรื่องตามจินตนาการ พูดเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ารพูดสะท้อนความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น รพูดเรียงลาดับคาเพื่อใช้ในการสื่อสาร รบอกและเรียงลาดับกิจกรรมหรือเหตุการณ์ตาม วลา รแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การ อนไหว และศิลปะ

ตัวบ่งชี้ ๙.๒ อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๙.๒.๑ อ่านภาพ ๙.๒.๑ อ่านภาพ สัญลักษณ์ คา พร้อมทั้งชี้ สัญลักษณ์ คา ด้วยการชี้ หรือกวาดตามองข้อความ หรือกวาดตามอง ตามบรรทัด จุดเริ่มต้นและจุดจบของ ข้อความ

๙.๒.๒ เขียนคล้าย ตัวอักษร

๙.๒.๒ เขียนชื่อของ ตนเอง ตามแบบ เขียน ข้อความ ด้วยวิธีที่คิดขึ้นเอง

๑.กา ประเ ๒.กา ร่วมก ๓.กา ๔.กา บรรท ๑.กา อิสระ ๒. ก คุ้นเค

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ารอ่านหนังสือภาพ นิทาน หลากหลาย ๑. วิธีการอ่านหนังสือ เภท/รูปแบบ ารอ่านอย่างอิสระตามลาพัง การอ่าน กัน การอ่านโดยมีผู้ชี้แนะ ารเห็นแบบอย่างของการอ่านที่ถูกต้อง ารอ่านและชี้ข้อความ โดยกวาดสายตาตาม ทัดจากซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง ารเขียนร่วมกันตามโอกาส และการเขียน ๑. การสื่อสารรูปแบบต่างๆ ะ ๒. การเขียนตัวอักษรตามแบบ การเขียนคาที่มีความหมายกับตัวเด็ก/คา คย

มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ สภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๑๐.๑ มีความสามารถใน ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ การคิดรวบยอด และส่วนประกอบของสิ่ง ส่วนประกอบ การ ต่าง ๆ จากการสังเกตโดย เปลี่ยนแปลงหรือ ใช้ประสาทสัมผัส ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ จาการสังเกตโดยใช้ ประสาทสัมผัส

๑.กา เปลี่ย โดยใ ๒.กา ๓. ก เรียง ความ ๔.กา และก ๑๐.๑.๒ จับคู่และ ๑๐.๑.๒ จับคู่และ ๑.กา เปรียบเทียบความ เปรียบเทียบความ เรียง แตกต่างหรือความเหมือน แตกต่างและความเหมือน ความ ของสิ่งต่างๆ โดยใช้ ของสิ่งต่างๆ โดยใช้ ๒.กา ลักษณะที่สังเกตพบเพียง ลักษณะทีส่ ังเกตพบสอง ๓.กา ลักษณะเดียว ลักษณะขึ้นไป สิ่งต่า

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การ ยนแปลง และความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม ารรวมและการแยกสิ่งต่าง ๆ การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการ งลาดับ สิ่งต่าง ๆ ตามลักษณะความยาว/ มสูง น้าหนัก ปริมาตร ารต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์ การแยกชิ้นส่วน ารจับคู่ การเปรียบเทียบ และการ งลาดับ สิ่งต่าง ๆ ตามลักษณะความยาว/ มสูง น้าหนัก ปริมาตร ารรวมและการแยกสิ่งต่าง ๆ ารเปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนของ างๆ

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. ลักษณะและส่วนประกอบของสิ่งต่างๆ เช่น ร่างกาย,ต้นไม้, ดอกไม้, ผลไม้, แมลง, บ้าน เป็นต้น ๒. การเปรียบเทียบความยาว สูง สั้น อ้วน ผอม เป็นต้น

๑. การเปรียบเทียบความยาว สูง สั้น อ้วน ผอม เป็นต้น ๒. การเรียนรู้สีและลักษณะของวัตถุต่างๆ ๓. การเรียงลาดับ

ตัวบ่งชี้ (ต่อ)

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๑๐.๑.๓ จาแนกและจัด ๑๐.๑.๓ จาแนกและจัด กลุ่มสิ่งต่าง ๆ โดยใช้อย่าง กลุ่มสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ น้อยหนึ่งลักษณะเป็น ตั้งแต่สองลักษณะขึ้นไป เกณฑ์ เป็นเกณฑ์

๑๐.๑.๔ เรียงลาดับ สิ่งของหรือเหตุการณ์ อย่างน้อย ๔ ลาดับ

๑๐.๑.๔ เรียงลาดับ สิ่งของและเหตุการณ์ อย่างน้อย ๕ ลาดับ

๑.กา ต่าง ๒.กา ๓.กา สิ่งต่า ๔.กา เรียง ความ ๑.กา สิ่งต่า ๒.กา เรียง ความ

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารคัดแยก การจัดกลุ่ม และการจาแนกสิ่ง ๆ ตามลักษณะและรูปร่าง รูปทรง ารรวมและการแยกสิ่งต่าง ๆ ารเปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนของ างๆ ารจับคู่ การเปรียบเทียบ และการ งลาดับ สิ่งต่าง ๆ ตามลักษณะความยาว/ มสูง น้าหนัก ปริมาตร ารเปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนของ าง ๆ ารจับคู่ การเปรียบเทียบ และการ งลาดับ สิ่งต่าง ๆ ตามลักษณะความยาว/ มสูง น้าหนัก ปริมาตร

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. การเปรียบเทียบความเหมือนและความ แตกต่าง ๒. การเรียนรู้สีและลักษณะของวัตถุต่างๆ

๑. การเรียงลาดับก่อน-หลัง ๒. การเรียงลาดับ มากไปหาน้อย และน้อยไป หามาก

ตัวบ่งชี้ ๑๐.๒ มีความสามารถใน การคิดเชิงเหตุผล

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๑๐.๒.๑ ระบุสาเหตุหรือ ๑๐.๒.๑ อธิบายเชื่อมโยง ผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ สาเหตุและผลที่เกิดขึ้นใน หรือการกระทาเมื่อมีผู้ เหตุการณ์หรือการกระทา ชี้แนะ ด้วยตนเอง

๑๐.๒.๒ คาดเดา หรือ คาดคะเน สิ่งที่อาจจะ เกิดขึ้น หรือมีส่วนร่วมใน การลง ความเห็นจากข้อมูล

๑.กา ในเห ๒.กา เกิดข ๓.กา และค ๑๐.๒.๒ คาดคะเนสิ่งที่ ๑.กา อาจจะเกิดขึ้น และมีส่วน ในเห ร่วมในการลงความเห็น ๒.กา จากข้อมูล อย่างมีเหตุผล เกิดข ๓.กา อย่าง

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้น หตุการณ์หรือการกระทา ารคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งที่อาจจะ ขึ้นอย่างมีเหตุผล ารพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของ เหตุการณ์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ารอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้น หตุการณ์หรือการกระทา ารคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งที่อาจจะ ขึ้นอย่างมีเหตุผล ารมีส่วนร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูล งมีเหตุผล

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. การเปรียบเทียบความยาว สูง สั้น อ้วน ผอม เป็นต้น ๒. การเรียนรู้สีและลักษณะของวัตถุต่างๆ ๓. การเรียงลาดับ

๑. กระบวนการวิทยาศาสตร์ ๒. การทดลองวิทยาศาสตร์

ตัวบ่งชี้ ๑๐.๓ มีความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหา และตัดสินใจ

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๑๐.๓.๑ ตัดสินใจใน ๑๐.๓.๑ ตัดสินใจใน เรื่องง่าย ๆ และเริ่ม เรื่องง่าย ๆ และ เรียนรู้ผลที่เกิดขึ้น ยอมรับผลที่เกิดขึ้น ๑๐.๓.๒ ระบุปัญหา ๑๐.๓.๒ ระบุปัญหา และแก้ปัญหาโดยลอง สร้างทางเลือกและ ผิดลองถูก เลือกวิธีแก้ปัญหา

๑.การตัดส

๑.การตัดส ๒.การสืบเ สงสัยต่าง ๓.การมีส่ว ข้อมูลจาก แผนภูมิอย

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ สินใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการแก้ปัญหา ๑. เรียนรู้ที่จะตัดสินใจในเรื่องง่าย ๆ

สินใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการแก้ปัญหา ๑. การทดลองวิทยาศาสตร์ เสาะหาความรู้เพื่อค้นหาคาตอบของข้อ ๆ วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและนาเสนอ กการสืบเสาะหาความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ และ ย่างง่าย

มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ สภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๑๑.๑ ทางานศิลปะตาม ๑๑.๑.๑ สร้างผลงาน ๑๑.๑.๑ สร้างผลงาน จินตนาการและความคิด ศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด ศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด สร้างสรรค์ ความรู้สึกของตนเองโดยมี ความรู้สึกของตนเองโดยมี การดัดแปลง และแปลก การดัดแปลง และแปลก ใหม่จากเดิมหรือมี ใหม่จากเดิมและมี รายละเอียดเพิ่มขึ้น รายละเอียดเพิ่มขึ้น

๑๑.๒ แสดงท่าทาง/ ๑๑.๒.๑ เคลื่อนไหว เคลื่อนไหวตามจินตนาการ ท่าทางเพือ่ สื่อสาร อย่างสร้างสรรค์ ความคิด ความรู้สึกของ ตนเองอย่างหลากหลาย หรือแปลกใหม่

๑๑.๒.๑ เคลื่อนไหว ท่าทางเพื่อสื่อสาร ความคิด ความรู้สึกของ ตนเองอย่างหลากหลาย และแปลกใหม่

๑.กา ๒. ก จากว ๓.กา ๔. ก ๕. ก ๖.กา การป ๑.กา ๒.กา ๓.กา ๔.กา ๕.กา ท่าท ๖.กา ปฏิก ๗.กา

สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านศิลปะ การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปร่างรูปทรง วัสดุที่หลากหลาย ารเขียนภาพและการเล่นกับสี การปั้น การประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ ด้วย เศษวัสดุ ารหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก การตัด ปะ และการร้อยวัสดุ ารเคลื่อนไหวอยู่กับที่ ารเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ ารเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ ารเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี ารแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านภาษา ทาง การเคลื่อนไหว และศิลปะ ารฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดง กิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี ารเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี

สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. วิธีการใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ในการทางาน ศิลปะอย่างถูกวิธีและปลอดภัย

๑. การเคลื่อนไหวร่างกายในทิศทางระดับและ พื้นที่ต่างๆ ๒. การแสดงท่าทางต่างๆตามความคิดของ ตนเอง

มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เห สภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๑๒.๑ มีเจตคติที่ดีต่อการ ๑๒.๑.๑ สนใจซักถาม ๑๒.๑.๑ สนใจหยิบ ๑.กา เรียนรู้ เกี่ยวกับสัญลักษณ์หรือ หนังสือมาอ่านและเขียน ประเ ตัวหนังสือที่พบเห็น สื่อความคิดด้วยตนเอง ๒.กา เป็นประจาอย่างต่อเนื่อง ร่วมก ๓.กา ๔.กา อิสระ ๑๒.๑ มีเจตคติที่ดีต่อการ ๑๒.๑.๒ กระตือรือร้น ใน ๑๒.๑.๒ กระตือรือร้น ใน ๑.กา เรียนรู้ การเข้าร่วมกิจกรรม การร่วมกิจกรรมตั้งแต่ต้น ต่างๆ จนจบ ๑๒.๒ มีความสามารถ ใน ๑๒.๒.๑ ค้นหาคาตอบ ๑๒.๒.๑ ค้นหาคาตอบ ๑.กา การแสวงหาความรู้ ของ ข้อสงสัยต่าง ๆ ของ ข้อสงสัยต่าง ๆ ๒. ก ตามวิธีการที่มีผู้ชี้แนะ ตามวิธีการของตนเอง ๓. ก ข้อสง ๔. ก นาเส รูปแบ

หมาะสมกับวัย สาระการเรียนรู้รายปี

ประสบการณ์สาคัญ ารอ่านหนังสือภาพ นิทาน หลากหลาย เภท/รูปแบบ ารอ่านอย่างอิสระตามลาพัง การอ่าน กัน การอ่านโดยมีผู้ชี้แนะ ารเห็นแบบอย่างของการอ่านที่ถูกต้อง ารเขียนร่วมกันตามโอกาส และการเขียน ะ ารให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม ๆ

สาระที่ควรเรียนรู้ การอ่านนิทาน

การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี

ารสารวจสิ่งต่าง ๆ และแหล่งเรียนรู้รอบตัว กิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ การตั้งคาถามในเรื่องที่สนใจ การสืบเสาะหาความรู้เพื่อค้นหาคาตอบของ งสัยต่าง ๆ การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและ สนอข้อมูลจากการสืบเสาะหาความรู้ใน บบต่าง ๆ และแผนภูมิอย่างง่าย

ตัวบ่งชี้ ๑๐.๓ มีความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหา และตัดสินใจ

สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ – ๕ ปี อายุ ๕ – ๖ ปี ๑๒.๒.๒ ใช้ประโยค ๑๒.๒.๒ ใช้ประโยคคาถาม คาถามว่า “ที่ไหน” ว่า “เมื่อไร” “อย่างไร” ใน “ทาไม”ในการค้นหา การค้นหาคาตอบ คาตอบ

๑. ก

ประสบการณ์สาคัญ การตั้งคาถามในเรื่องที่สนใจ

สาระการเรียนรู้รายปี สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. การทดลองวิทยาศาสตร์

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัยอายุ ๔ – ๖ ปี จะไม่จัดเป็นรายวิชา แต่จัดในรูปของ กิจกรรม บูรณาการผ่านการเล่น เพื่อให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เกิดความรู้ ทักษะคุณธรรมจริยธรรม รวมทั้งเกิด การพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาโดยมีหลักการและแนวทางการจัดประสบการณ์ ดังนี้ ๑. หลักการจัดประสบการณ์ ๑.๑ จัดประสบการณ์การเล่นและการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างสมดุล และต่อเนื่อง ๑.๒ เน้นเด็กเป็นสาคัญ สนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและบริบทของ สังคมที่เด็กอาศัยอยู่ ๑.๓ จั ด ให้ เ ด็ ก ได้รั บ การพัฒ นาโดยให้ ค วามส าคั ญ ทั้ งกระบวนการเรี ยนรู้ แ ละพัฒ นาการของเด็ ก จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่องและเป็นส่วนหนึ่งของการจัดประสบการณ์ พร้อมทั้งนา ผลการประเมินมาพัฒนาเด็กอย่างต่อเนื่อง ๑.๔ ให้พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก ๒. แนวทางการจัดประสบการณ์ ๒.๑ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาการพัฒนาการและการทางานของสมอง ที่เหมาะสมกับอายุวุฒิภาวะและระดับพัฒนาการ เพื่อให้เด็กทุกคนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ๒.๒ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับแบบการเรียนรู้ของเด็ก เด็กได้ลงมือกระทา เรียนรู้ผ่านประสาท สัมผัสทั้งห้า ได้เคลื่อนไหว สารวจ เล่น สังเกต สืบค้น ทดลองและคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง ๒.๓ จัดประสบการณ์แบบบูรณาการ โดยบูรณาการทั้งกิจกรรม ทักษะและสาระการเรียนรู้ ๒.๔ จัดประสบการณ์ให้เด็กได้คิดริเริ่ม วางแผน ตัดสินใจ ลงมือกระทาและนาเสนอความคิดโดยผู้สอน หรือผู้จัดประสบการณ์ เป็นผู้สนับสนุน อานวยความสะดวกและเรียนรู้ร่วมกับเด็ก ๒.๕ จั ด ประสบการณ์ ใ ห้ เ ด็ ก มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ เด็ ก อื่ น กั บ ผู้ ใ หญ่ ภายใต้ ส ภาพแวดล้ อ มที่ เ อื้ อ ต่ อ การเรียนรู้ ในบรรยากาศที่อบอุ่นมีความสุขและเรียนรู้การทากิจกรรมแบบร่วมมือในลักษณะต่าง ๆ กัน ๒.๖ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายและอยู่ใน วิถีชีวิตของเด็ก ๒.๗ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะการใช้ชีวิตประจาวัน ตลอดจนสอดแทรก คุณธรรม จริยธรรม ให้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๒.๘ จัดประสบการณ์ทั้งในลักษณะที่มีการวางแผนไว้ล่วงหน้าและแผนที่เกิดขึ้นในสภาพจริงโดย ไม่ได้คาดการณ์ไว้ ๒.๙ จัดทาสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล นามาไตร่ตรองและใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็กและการวิจัยในชั้นเรียน ๒.๑๐ ให้ผู้ ปกครองและชุมชนมีส่ วนร่วมในการจัดประสบการณ์ ทั้งการวางแผนการสนับสนุนสื่ อ การสอน การเข้าร่วมกิจกรรมและการประเมินพัฒนาการ

๓. การจัดกิจกรรมประจาวัน กิจกรรมสาหรับเด็ก ๔ – ๖ ปี สามารถนามาจัดเป็นกิจกรรมประจาวันได้หลายรูปแบบ เป็นการช่วยให้ ทั้งครูผู้สอนและเด็กทราบว่าในแต่ละวันจะทาอะไร เมื่อใดและอย่างไร การจัดกิจกรรมประจาวันมีหลักการจัดและ ขอบข่ายของกิจกรรมประจาวันดังนี้ หลักการจัดกิจกรรมประจาวัน ๑. กาหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัยของเด็กในแต่ละวัน เช่น - วัย ๔-๕ ปี มีความสนใจอยู่ที่ ๑๒-๑๕ นาที - วัย ๕-๖ ปี มีความสนใจอยู่ที่ ๑๕-๒๐ นาที ๒. กิจกรรมที่ต้องใช้ความคิดทั้งกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใช้เวลาต่อเนื่องนานเกินกว่า ๒๐ นาที ๓. กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเล่นเสรี เช่นการเล่นตามมุม การเล่นกลาง ฯลฯ ใช้เวลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที ๔. กิจกรรม ควรมีความสมดุล ระหว่างกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมที่ใช้กล้ามเนื้อใหญ่ และกล้ามเนื้อเล็ก กิจกรรมที่เป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่เด็กเป็นผู้ริเริ่มและผู้สอนเป็นผู้ริเริ่ม กิจกรรมที่ใช้กาลังและกิจกรรมที่ไม่ใช้กาลัง ให้ครบทุกประเภท ทั้งนี้กิจกรรมที่ต้องออกกาลังกายควรจัดสลับกับ กิจกรรมที่ไม่ต้องออกกาลังกายมากนัก เพื่อเด็กจะได้ไม่เหนื่อยจนเกินไป ขอบข่ายของกิจกรรมประจาวัน ๑. การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อใหญ่ การเคลื่อนไหวและ ความคล่องแคล่วในการใช้อวัยวะต่าง ๆ จึงควรจัดกิจกรรมโดยให้เด็กได้เล่นอิสระกลางแจ้ง เล่นเครื่องเล่นสนาม เคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะดนตรี ๒. การพัฒนากล้ามเนื้อเล็ก เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเล็กการประสาน สัมพันธ์ ระหว่างมือและตา จึงควรจัดกิจกรรมโดยให้เด็กได้เล่นเครื่องเล่นสัมผัส เล่นเกมต่อภาพ ฝึกช่วยเหลือตนเองใน การแต่งกาย หยิบจับช้อน ส้อม ใช้อุปกรณศิลปะ เช่น สีเทียน กรรไกร ดินเหนียว พู่กัน ๓. การพัฒนาอารมณ์ จิตใจและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้เด็กมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและ ผู้อื่น มีความเชื่อมั่นกล้าแสดงออก มีวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ประหยัด เมตตาเอื้อเฟื้อ แบ่งปัน มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่นับถือ โดยการ จัดกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านการเล่น ให้เด็กมี โอกาสตัดสินใจเลือก ได้รับการตอบสนองตามความต้องการ ได้ฝึกปฏิบัติโดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ๔. การพัฒนาสังคมนิสัย เป็นการพัฒนา แสดงออกอย่างเหมาะสมและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน มีนิสัยรักการทางาน รู้จักระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและ ผู้อื่น จึงควรจัดให้เด็กได้ปฏิบัติกิจวัตรประจาวันอย่างสม่าเสมอ เช่นการรับประทานอาหาร พักผ่อนนอนหลับ ขับถ่าย ทาความสะอาดร่างกาย เล่นและทางานร่วมกับผู้อื่นปฏิบัติตามกฎกติกาข้อตกลงของส่วนรวม เก็บของเข้า ที่เมื่อเล่นหรือทางานเสร็จ ๕. การพัฒนาการคิด เป็นการพัฒนาให้เด็กมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา คิดรวบยอด และ คิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้สังเกต จาแนก เปรียบเทียบ สืบเสาะ หาความรู้ สนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก เล่นเกมการศึกษา ฝึกการแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันฝึกการออกแบบและสร้างชิ้นงาน และทากิจกรรมทั้งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่หรือ รายบุคคล

๖. การพัฒนาภาษา เป็นการพัฒนาให้เด็กได้มีโอกาสใช้ภาษาสื่อสารถ่ายทอดความรู้สึกความนึกคิด ความรู้ ความเข้าใจในสิ่งต่างๆที่เด็กมีประสบการณ์ โดยสามารถตั้งคาถามในสิ่งที่สงสัยใคร่รู้ จัดกิจกรรมทางภาษา ที่มีความหลากหลาย ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กรักกล้าแสดงออก ในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่านและบุคคลที่แวดล้อมต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการใช้ภาษา ทั้งนี้ต้องคานึงถึงหลักการจัด กิจกรรมทางภาษาที่เหมาะสมกับเด็กเป็นสาคัญ ๗. การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการส่งเสริมให้เด็กได้พัฒนาความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ได้ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกและเห็นความสวยงามของสิ่งต่างๆ โดยจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ดนตรีการเคลื่อนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ให้ประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ อย่างอิสระ เล่นบทบาทสมมติ เล่นน้า เล่นทราย เล่นบล็อกและเล่นก่อสร้าง รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กวัย ๔– ๖ ปี จะไม่จัดเป็นรายวิชา แต่จัดในรูปแบบของกิจกรรมที่ บูรณาการ ในกลุ่มวิชาและข้ามกลุ่มวิชา โดยคานึงถึงตัวเด็กเป็นสาคัญ กิจกรรมที่จัดมีทั้ง กิจกรรมที่ให้เด็กทาเป็น รายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ มีทั้งกิจกรรมในร่มและกลางแจ้ง ใช้เวลาในการปฏิบัติกิจกรรมยืดหยุ่นได้ตาม ความต้องการและความสนใจของเด็ก ซึ่งแต่ละกิจกรรมจะให้เด็กมีโอกาสสังเกต สัมผัส สารวจ ค้นคว้า ทดลอง แก้ปัญหาด้วยตนเองและมีการปฏิสัมพันธ์กับเด็กอื่นๆดังรูปต่อไปนี้

แผนภูมิการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การให้ความรู้ ปฏิบัติกิจกรรม การบูรณาการต่อเนื่อง

กิจกรรม สร้างสรรค์ - วาดภาพ - ระบายสี - พิมพ์ภาพ - ปั้น - ฉีก ตัด ปะ - การร้อย ลูกปัด

กิจกรรม เสรี -

มุมบล็อก มุมบทบาทสมมติ มุมวิทยาศาสตร์ มุมธรรมชาติ มุมหนังสือ

กิจกรรม เกมการศึกษา

กิจกรรม กลางแจ้ง

- การจับคู่ - การแยก ประเภท - ต่อภาพ - ต่อตามแบบ

- เล่นเกมต่าง ๆ - ลาก เข็น จูง - การละเล่น พื้นเมือง - อุปกรณ์กีฬา - เครื่องเล่น สนาม - เล่นอิสระ

กิจกรรม เคลื่อนไหว

กิจกรรม เสริมประสบการณ์

- การทาท่าทาง ประกอบเพลง - การปฏิบัติตาม คาสั่ง - การปฏิบัติตาม ข้อตกลง - การทาท่าทาง ตามจินตนาการ - การเป็นผู้นา-ผู้ ตาม

- เรื่องราวเกี่ยวกับ ตัวเด็ก - เรื่องราวเกี่ยวกับ บุคคล สถานที่ แวดล้อมเด็ก - ธรรมชาติรอบตัว - สิ่งต่างๆ รอบตัว เด็ก

โครงสร้างของการจัดการเรียนรู้ ๑. การจัดชั้นเรียน โรงเรียนวัดบัวขวัญ กาหนดจัดการศึกษาเป็น ๒ ระดับชั้นเรียน คือ อนุบาลปีที่ ๒ กลุ่มเด็กอายุ ๔ – ๕ ปี อนุบาลปีที่ ๓ กลุ่มเด็กอายุ ๕– ๖ ปี ๒. ระยะเวลาในการจัดประสบการณ์ ใช้เวลา ๒ ปีการศึกษา ปีการศึกษาละประมาณ ๓๖ สัปดาห์ โครงสร้างอัตราเวลาเรียน ที่ กิจกรรมหลัก เวลา(นาที)/วัน เวลา(นาที)/สัปดาห์ เวลา (นาที)/ ปี ๑ การเคลื่อนไหวและจังหวะ ๒๐ ๑๐๐ ๔,๐๐๐ ๒ เสริมประสบการณ์ ๓๐ ๑๕๐ ๖,๐๐๐ ๓ สร้างสรรค์/เสรี ๔๐ ๒๐๐ ๘,๐๐๐ ๔ กลางแจ้ง ๑๕ ๗๕ ๓,๐๐๐ ๕ เกมการศึกษา ๒๐ ๑๐๐ ๔,๐๐๐ ๖ กิจกรรมรักการอ่าน ๒๐ ๑๐๐ ๔,๐๐๐ ๗ ทบทวนบนเรียน ๓๐ ๑๕๐ ๖,๐๐๐ รวม ๑๗๕ ๘๗๕ ๓๕,๐๐๐ ตารางกิจกรรมประจาวัน ๐๗.๐๐ – ๐๗.๔๕ น. รับเด็กและสนทนารายบุคคล/ตรวจสุขภาพ ๐๗.๔๕ – ๐๘.๑๕ น. เตรียมเข้าแถว กิจกรรมยามเช้า เคารพธงชาติ สวดมนต์ ๐๘.๑๕ – ๐๘.๒๕ น. ดื่มนม เข้าห้องน้า ๐๘.๒๕ – ๐๘.๔๕ น. สนทนาข่าวและเหตุการณ์ ๐๘.๔๕– ๐๙.๐๕ น. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ๐๙.๐๕ – ๐๙.๓๕ น. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ๐๙.๓๕– ๐๙.๔๐ น. เข้าห้องน้า ดื่มน้า ๐๙.๔๐ –๑๐.๑๐ น. กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ๑๐.๑๐– ๑๐.๒๐ น. กิจกรรมเล่นตามมุม ๑๐.๒๐– ๑๐.๔๐ น. เกมการศึกษา ๑๐.๔๐ – ๑๐.๕๕น. กิจกรรมกลางแจ้ง ๑๐.๕๕–๑๐.๐๐ น. เข้าห้องน้าล้างมือ ๑๑.๐๐– ๑๒.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ล้างหน้า แปรงฟัน ๑๒.๐๐– ๑๔.๐๐ น. นอนพักผ่อนกลางวัน ๑๔.๐๐– ๑๔.๒๐ น. ตื่นนอน เก็บที่นอน ล้างหน้า เข้าห้องน้า และรับประทานอาหารว่าง ๑๔.๒๐– ๑๕.๑๐ น. กิจกรรมรักการอ่านและทบทวนบทเรียน ๑๔.๑๐– ๑๕.๓๐ น. เตรียมตัวกลับบ้าน

การประเมินพัฒนาการ แนวทางการประเมิน การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ ๔-๖ ปี เป็นการประเมินพัฒ นาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาของเด็ก โดยถือเป็นกระบวนการต่อเนื่องและเป็นส่วนหนึ่ง ของกิจกรรมปกติที่จัดให้เด็กในแต่ ละวัน ผลที่ได้จากการสังเกตพัฒนาการเด็ก นามาจัดทาสารนิทัศน์หรือจัดทาข้อมูลหลักฐานหรือเอกสานอย่างเป็น ระบบ ด้วยการรวบรวมผลงานสาหรับเด้กเป็นรายบุคคลที่สามารถบอกเรื่องราวหรือประสบการณ์ที่เด็กได้รับ ว่าเด้กเกิดการเรียนรู้และมีความก้าวหน้าเพียงใด ทั้งนี้ให้มุ่งนาข้อมูลการประเมินมาพิจารณา ปรับปรุง วางแผน การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนได้รับการพัฒนาตามจุดหมายของหลักสูตร การประเมินพัฒนาการควร ยึดหลักการดังนี้ ๑. วางแผนการประเมินพัฒนาการอย่างเป็นระบบ ๒. ประเมินพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ๓. ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคลอย่างสม่าเสมอ ต่อเนื่องตลอดปี ประเมินตามสภาพจริงจากกิจกรรมประจาวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย ไม่ควรใช้ การทดสอบ ๔. สรุปผลการประเมิน จัดทาข้อมูลและนาผลการประเมินไปใช้พัฒนาเด็ก โรงเรียนมุง่ ให้เด็กมีการพัฒนาการครบทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและ สติปัญญา ฉะนั้นทางโรงเรียนจึงจัดให้มีการประเมินพัฒนาเด็ก ทั้งเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม โดยวิธีการ ที่หลากหลาย เช่น ๑. การสังเกตและการบันทึกในขณะที่เด็กทากิจกรรมประจาวันและเกิดพฤติกรรม ที่ไม่คาดคิดว่าจะ เกิดขึ้น มีทั้งแบบบันทึกพฤติกรรม การบันทึกพฤติกรรมรายวัน ๒. การสนทนา ใช้สนทนาเป็นกลุ่มและรายบุคคล เพื่อประเมินความสามารถใน การแสดงความคิดเห็น และการใช้ภาษาของเด็ก มีการสนทนาลงในแบบบันทึกพฤติกรรมหรือบันทึกรายวัน ๓. การสัมภาษณ์ มีการพูดคุยกับเด็กเป็นรายบุคคลและในสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมเปิดโอกาสให้ได้ คิดและตอบอย่างอิสระ ๔. การรวบรวมผลงานที่แสดงออกถึงความก้าวหน้า แต่ละด้านของเด็กเป็นรายบุคคล โดยจัดรวบรวมไว้ ในแฟ้มผลงาน ( Portfolio ) นอกจากนี้ ยังรวมเครื่องมืออื่นๆ เช่นแบบสอบถามผู้ปกครอง แบบสังเกตพฤติกรรม แบบบันทึกสุขภาพอนามัย แฟ้มผลงาน ๕. การประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก มีการบันทึก น้าหนัก ส่วนสูง เป็นประจาทุกเดือน การตรวจ สุขภาพปากและฟันทุกเดือน อย่างสม่าเสมอ ได้รับวัคซีนป้องกันโรคขั้นพื้นฐาน เกณฑ์การประเมินพัฒนาการแยกเป็น ๓ ระดับ ดี หมายถึง พฤติกรรมที่สามารถทาได้อย่างมั่นคง แม่นยา ปานกลาง หมายถึง พฤติกรรมที่สามารถทาได้แต่ยังไม่มั่นคง แม่นยาเท่าที่ควร ควรเสริม หมายถึง พฤติกรรมที่สามารถทาได้บางส่วนและควรได้รับการส่งเสริมมากขึ้น การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนจาแนก ๓ ระดับ ดังนี้

ดีมาก มีพฤติกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด ดี มีพฤติกรรมตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด ควรเสริม มีพฤติกรรมบางประการที่ควรเสริม การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่สนับสนุนให้เด็กได้พัฒนาตนเอง อย่ างสอดคล้ อ งกับ หลั กการพัฒ นาการและศักยภาพของเด็ก เพื่อให้ เกิดการเรีย นรู้จากกิจกรรมประจาวัน ที่ สนุกสนานและมีความสุข โดยจัดให้มีมุมประสบการณ์ มุมการเล่นในห้องเรียนอย่างน้อย ๔ – ๖ มุม เพื่อเปิด โอกาสให้เด็กได้เลือกเล่นตามความสนใจและความต้องการเป็นรายบุคคล โดยเน้นจัดให้มี มุมดนตรีมุมศิลปะมุม บล็อกมุมหนังสือมุมเกมการศึกษามุมเครื่องเล่นสัมผัสมุมบ้าน / มุมบทบาทสมมุติมุมวิทยาศาสตร์ / ธรรมชาติ ทั้งนี้จัดหมุนเวียนสื่อและเครื่องเล่นในแต่ละมุมประสบการณ์ให้สอดคล้องกับเหตุการณ์ สถานการณ์ การเรียนรู้ในแต่ละหน่วยนั้น ๆ นอกจากนี้ยังต้องตรวจดูพื้นสนามให้มีความปลอดภัยสาหรับเด็กอยู่เสมอและ อาจจั ดกิจ กรรมให้ เด็กได้เข้าไปเล่ น ใต้ร่ มเงาของต้นไม้ สวนหิ น ในโรงเรียนหรือลานเอนกประสงค์ ได้บ้างใน บางโอกาส สื่อและแหล่งการเรียนรู้ สื่อ เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดเรื่องราวเนื้อหาจากผู้ ส่งไปยังผู้รับในการเรียนการสอนสื่อเป็นตัวกลาง นาความรู้จากผู้สอนสู่เด็ก ทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้ ช่วยให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ทาให้ สิ่งที่เป็นนามธรรมเข้าใจยากกลายเป็นรูปธรรมเข้าใจง่าย เรียนรู้ได้ง่าย รวดเร็ว เพลิดเพลิน เกิดการเรียนรู้และ ค้นพบด้วยตนเอง โรงเรียนได้กาหนดลักษณะของสื่อ โดยแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท คือ ๑. สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือนิทาน หนังสือค้นคว้าหาความรู้ เอกสารของโรงเรียน ๒. สื่อเทคโนโลยี ได้แก่ เครื่องฉายแผ่นใส โทรทัศน์ เครื่องฉาย VDO วิทยุเทป กล้องถ่ายรูป กล้อง VDO ๓. สื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ พืช ผักสวนครัว ผลไม้ บ่อปลา ๔. สื่อกิจกรรม ได้แก่ สื่อตามมุมต่างๆมุมบทบาทสมมติ มีอุปกรณ์ เครื่องแบบต่างๆมุมหนังสือ มีนิทาน มีหนังสือ ค้นคว้าหาความรู้ เอกสารของโรงเรียนมุมสร้างสรรค์ มีสี ทราย กระดาษ กรรไกร ปั้นแป้ง กาว ลูกปัด หลอด ฯลฯมุมบล็อก โดมิโน บล็อกพลาสติก JIGSORฯลฯมุมดนตรี แคน ฉิ่งฉาบ กลอง ฯลฯมุมธรรมชาติศึกษา เมล็ดพืช ต่างๆ บ่อปลา ดิน หิน โรงเรียนมีการใช้สื่ อเป็นระบบ มีผู้รับผิดชอบโดยตรง มีการอบรมการใช้สื่อ อบรมครูในการผลิต สื่อ มีทะเบียนคุมสื่อและการศึกษาการใช้สื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้และกิจกรรมที่จัดวางแผนการผลิตโดย กาหนดจุดมุ่งหมายและรูปแบบของสื่อ ให้เหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็ก สื่อนั้นจะต้องมีความคงทน แข็งแรง ประณีตและสะดวกต่อการใช้ ผลิตสื่อตามรูปแบบที่เตรียมไว้ นาสื่อไปทดลองใช้หลายๆ ครั้งเพื่อหาข้อดี ข้อเสีย จะได้ปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น นาสื่อที่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปใช้จริง มีการประเมิน การใช้สื่อต่างๆ อย่าง มีระบบ สารวจสภาพโดยบุคลากร ที่รับผิดชอบโดยตรง แหล่งการเรียนรู้ของโรงเรียน ๑. ในห้องเรียน บรรยากาศภายในห้องเรียน ประกอบด้วยมุมต่างๆ มุมหนังสือ มุมบทบาทสมมติ มุมวิทยาศาสตร์ มุมพลาสติกสร้างสรรค์ มุมบล็อก มุมศิลปะ มุมเกมการศึกษามีบอร์ดผลงานเด็กและมีสื่อการเรียน การสอนภายในห้องเรียน เช่น วิทยุ โทรทัศน์วิดีโอ

๒. นอกห้องเรียน เช่นเครื่องเล่นสนาม เช่น เครื่องเล่นสาหรับปีนป่าย กระดานลื่น บ้านจาลอง ชิงช้า ไม้กระดานฝึกการทรงตัว มีลู่วิ่งตามลูกศร ให้เด็กฝึกวิ่ง โดยมีหลังคากันแดดมีอุปกรณ์ในการเล่นกลางแจ้ง เช่น ลูกบอลใช้โยนรับส่ง ๓. นอกโรงเรียน พาเด็กไปทัศนศึกษา เช่นพาไปวัด ชมพระ ไหว้พระ พาไปงานวันสาคัญทางศาสนา เช่น วันเข้าพรรษา พาเด็กไปแห่เทียนเข้าพรรษา ไปตลาดเพื่อให้เด็กศึกษาจากประสบการณ์จริงว่า ตลาดมี การค้าขายสิ่งใดบ้าง ไปสวนสัตว์ เช่นเขาดิน เพื่อศึกษาชีวิตสัตว์ ความเป็นอยู่ รูปร่างและลักษณะของสัตว์ ไปสถานีตารวจ โรงพยาบาลสวนสาธารณะ แล้วนากลับมาเล่าหรือวาดภาพสิ่งที่พบเห็นจากประสบการณ์ตรง การให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหา เด็กที่มีพฤติกรรมที่เป็นปัญหา การอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาเด็กเป็นผู้ที่มีความสาคัญ อย่างยิ่ง พฤติกรรมที่เป็นปัญหาของเด็กวัยนี้เกิดจากการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กรวมทั้งการปรับตัวของเด็กต่อ สิ่งแวดล้อมการปฏิบัติต่อเด็กที่ไม่เหมาะสมอาจนาไปสู่ปัญหาพฤติกรรมของเด็กได้เด็กแต่ละคนแตกต่างกันตาม พันธุกรรมและการอบรมเลี้ยงดู ถ้าผู้ใหญ่เข้าใจและช่วยลดพฤติกรรมที่เป็นปัญหาได้ทันท่วงทีก็สามารถขจัดปัญหา นั้นๆได้ ทั้งนี้ควรเข้าใจหลักพัฒนาการของเด็ก ให้ความรักความเข้าใจและช่วยป้องกันปัญหาพฤติกรรมที่อาจเกิด กับเด็กได้ดังนี้ ๑. เราอาจพบพฤติกรรมที่เป็นปัญหาเกิดขึ้นในเด็กปกติทั่วไป ๒. เด็กที่มีพฤติกรรมที่เป็นปัญหา คือ เด็กที่มีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจากปกติ เกิดขึ้นค่อนข้างบ่อย ต่อเนื่องเป็นระยะและยากที่จะแก้ไขภายในเวลาอันสั้น ๓. เด็กที่ควรได้รับการช่วยเหลือพิเศษ คือ เด็กที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนจากปกติค่อนข้างรุนแรงและมีผล ต่อการรับรู้ และเรียนรู้ในอนาคต ซึ่งต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเจาะลงในการช่วยเหลือ ๔. เด็กที่มีพฤติกรรมที่เป็นปัญหาย่อมมีพื้นฐานมาจากการอบรมเลี้ยงดูที่ไม่ถูกต้อง ๕. การช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหาควรอาศัยหลัก ดังนี้ ๕.๑ การช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหาต้องหาสาเหตุที่เกิดปัญหาอย่างถี่ถ้วน โดยไม่ด่วนสรุปใช้ เทคนิคการศึกษาเด็กรายบุคคลเพื่อให้เข้าใจสาเหตุอย่างถ่องแท้ ๕.๒ ควรใช้หลักมนุษยสัมพันธ์ในการร่วมมือกับผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องในการ ช่วยเหลือเด็กอย่างถูกต้องและเหมาะสม ๕.๓ ควรใช้หลักการปรับพฤติกรรมในขณะที่มีปัญหาพฤติกรรมเกิดขึ้น ๕.๔ ควรใช้หลักมนุษยนิยมเพื่อเป็นกาลังใจในการช่วยเด็กที่มีพฤติกรรมที่มีปัญหาเช่น เชือ่ ว่าทุกคนสามารถที่จะปรับแก้ไขให้ดีขึ้นได้ถ้าให้โอกาส ให้การยอมรับในคุณค่าของมนุษย์ การให้ความรัก ความ นุ่มนวลและความเอื้ออาทร ๕.๕ หากพบปัญหาที่รุนแรงควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือแพทย์

หลักสูตรคบเด็กสร้างชาติ “โตไปไม่โกง” ความเป็นมา การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น เป็ น ปั ญ หาที่ ท าลายสั ง คมอย่ า งรุ น แรงและฝั ง รากลึ ก เป็ น ปั ญ หาที่ ส ะท้ อ น วิกฤตการณ์ด้านคุณธรรมจริยธรรมของคนในสังคม ซึ่งการที่จะแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืนนั้น คนในสังคมต้องมี ค่านิยมในการรักความดีและรู้สึกไม่ยอมรับพฤติกรรมทุจริตคอร์รัปชันและการโกงทุ กรูปแบบ โดยเฉพาะในกลุ่ม เด็กและเยาวชน ซึ่งการสร้างค่านิ ยมที่ถูกต้องนี้จะเป็นรากฐานส าคัญเพื่อทาให้ เด็กเติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่มี คุณภาพและเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาทุจริตคอร์รัปชัน ที่ได้ผลที่สุด ศูนย์สาธารณประโยชน์และประชา สังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์แ ละองค์กรเพื่อความโปร่งใสในประเทศไทย จึงได้ดาเนินกิจกรรมเด็กใน ทุกรูปแบบ เพื่อปลูกฝังจิตสานึกในการรักความถูกต้องและมีความกล้าหาญทางจริยธรรมมาตั้งแต่พ.ศ. ๒๕๔๑ เช่น การจัดค่ายอบรมเยาวชนเมล็ดพันธุ์ประชาธิปไตยต้านคอร์รัปชัน การจัดทาหนังสือสาหรั บเด็ก การประกวด เรียงความ การประกวดภาพเขียน ละครเด็ก และการโต้วาที เป็นต้น ต่ อ มาเมื่ อ กรุ ง เทพมหานครมี น โยบายที่ จ ะเอาจริ ง เอาจั ง ต่ อ การแก้ ไ ขปั ญ หาคอร์ รั ป ชั น ผู้ บ ริ ห าร กรุงเทพมหานคร ได้ปรึกษากับศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคมและองค์กร เพื่อความโปร่งใสในประเทศ ไทย เพื่อขอให้จัดทาหลักสูตรเกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน สาหรับใช้ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จึ ง ได้ เ กิด หลั ก สู ต ร “โตไปไม่ โ กง”ขึ้ น ศู น ย์ ส าธารณประโยชน์แ ละประชาสั ง คมและองค์ กรเพื่อ ความโปร่ง ใส ในประเทศไทย จึงได้ดาเนินการจัดทาหลักสูตร “โตไปไม่โกง”โดยมีที่ปรึกษาอาวุ โสและผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ มาร่วมให้ข้อคิดเห็น โดยมีหลักการสาคัญในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้เด็กนักเรี ยน เริ่มดาเนินการปีแรกใน พ.ศ. ๒๕๓๓ โดยจัดทาหลักสูตรและอบรมครูผู้สอน เพื่อนาไปใช้จัดการเรียนการสอนในระดับชั้นอนุบาล ๑ จนถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ และดาเนินการอย่างต่อเนื่องใน พ.ศ ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นปีที่สองของการดาเนินโครงการที่ขยาย ขอบเขตของเนื้อหาหลักสูตรให้ครอบคลุมระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔–๖และ พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้ดาเนิน การ ออกแบบเนื้อหาหลักสูตรสาหรับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ เนื้อหาหลักสูตรครอบคลุมความดี ๕ ประการที่ช่วย สร้างชาติและต่อต้านการทุจริต ได้แก่ ๑) ความซื่อสัตย์สุจริต คือการยึดมั่นในความสัตย์จริงและสิ่งที่ถูกต้องดีงามรู้จักแยกแยะถูกผิดปฏิบัติ ต่อตนเองและผู้อื่นโดยชอบไม่คดโกง ๒) การมีจิ ตสาธารณะ คือ การมีจิ ตส านึกเพื่อส่ ว นรวม ตระหนั กรู้แ ละค านึง ถึงสั งคมส่ ว นรวม มีค วามรั บ ผิ ดชอบต่ อตั ว เองในการกระทาใดๆ เพื่ อไม่ ให้ เ กิด ผลเสี ย หายต่ อส่ ว นรวมและพร้อ มที่ จ ะเสี ย๖๐ สละ ประโยชน์ส่วนตนเพื่อรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม ๓) ความเป็นธรรมทางสังคม คือ การปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกันอย่าง มีเหตุผล โดย ไม่เลือกปฏิบัติต่อเพศ เชื้อชาติ ชนชั้น สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ๔) กระทาอย่างรับผิดชอบ คือ การมีจิตสานึกในบทบาทและหน้าที่ของตัวเองและปฏิบัติหน้าที่ให้ดีท๕๓ ี่สุด เคารพกฎเกณฑ์กติกา พร้อมให้ตรวจสอบการกระทาได้เสมอหากมีการกระทาผิดก็พร้อมที่จะยอมรับและแก้ไข ๕) เป็นอยู่อย่างพอเพียง คือ การดาเนินชีวิตโดยยึดหลักความพอประมาณ ซื่อตรงไม่ละโมบโลภมาก รู้จักยับยั้งชั่งใจ และไม่เอาเปรียบหรือเบียดเบียนตัวเองและ กิจกรรมที่ใช้ในหลักสูตรเป็นกิจกรรมที่ให้ทั้งความสนุกสนานและสร้างสรรค์ ผ่านการเล่านิทาน เกมการละเล่น ต่างๆ การร้องเพลง กิจกรรมศิลปะ บทกวีและคาคล้องจอง การใช้เรื่องสั้นและวรรณกรรม สาหรับเด็ก รวมทั้ง

กรณีศึกษาและกิจกรรมสร้างประสบการณ์อื่นๆ เพื่อกระตุ้นให้เด็กคิดอย่างมีเหตุผลและซึมซับคุณค่าแห่งความดี อย่างเป็นธรรมชาติ และสร้างความรู้สึกผิดชอบชั่วดี ภูมิใจในการทาความดี รังเกียจคนโกงและคนเก่งแต่โกง วิสัยทัศน์ หลักสูตรคบเด็กสร้างชาติ “โตไปไม่โกง” มุ่งหล่อหลอมปลูกฝังให้เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ เปี่ย มไปด้วยค่านิ ยมและคุณสมบัติที่พึงปรารถนา ได้แก่ซื่อสัตย์สุ จริต มีจิตสาธารณะและรับผิ ดชอบต่อสั งคม ส่วนรวม รวมทั้งมีความรักในความถูกต้องและเป็นธรรม โดยยึดหลัก ความพอเพียงในการดาเนินชีวิต ซึ่งจะเป็น พื้นฐานที่ขาดเสียมิได้ในการสร้างภูมิคุ้มกันต่อการทุจริตและประพฤติมิชอบและต่อต้านการเอารัด เอาเปรียบผู้อื่น สังคมและประเทศชาติ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ๑. เพื่อพัฒ นากระบวนการเรี ย นรู้ของผู้เรียนให้ รู้จักการอยู่ร่ว มกับผู้ อื่นอย่างสั นติด้ว ยพื้นฐานของ ความถูกต้องและเป็นธรรม ๒. เพื่อสร้างจิตสานึกคุณธรรมของผู้เรียน ให้ไม่เห็นแก่ตัว ไม่เอาเปรียบผู้อื่นรู้จักจาแนกชั่วดี สามารถ แยกแยะความผิดและความถูกต้อง เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันต่อปัญหาทุจริตคอร์รัปชัน ๓. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจริต การมีจิตสาธารณะ การรู้ รับผิดชอบและมีวินัยและรักความพอเพียง ๔. เพื่อพัฒนาสมรรถนะในการคิดและมีวิจารณญาณในการแก้ไขปัญหาของผู้เรียน ให้คิดเป็นและ ปฏิบัติอย่างถูกต้อง กล้าหาญและมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรคบเด็กสร้างชาติ “โตไปไม่โกง” มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ซึ่งเป็นความดี ต่อส่วนรวม ๕ ประการ ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจริต การมีจิตสาธารณะ ความเป็นธรรมทางสังคม กระทาอย่าง รับผิดชอบ และเป็นอยู่อย่างพอเพียง เพื่อสร้างนิสัยให้ผู้เรียนรักความถูกต้องและความเป็นธรรม เพื่อเป็นภูมิคุ้มกัน ต่อปัญหาทุจริตคอร์รัปชัน ไม่ทุจริต ไม่โกง ไม่ยอมรับและรังเกียจพฤติกรรมทุจริตและโกงทุกรูปแบบ สาระสาคัญของหลักสูตร หลักสูตรคบเด็กสร้างชาติ “โตไปไม่โกง” ประกอบด้วยสาระ ๕ เรื่อง สอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ โดยมีเนื้อหาของแต่ละสาระ ดังนี้ ลาดับ ๑

สาระและความหมาย ความซื่อสัตย์สุจริต (Honesty and Integrity) การยึดมั่นในความสัตย์จริง และในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม มีความซื่อตรงและมีเจตนา ที่บริสุทธิ์ ปฏิบัติต่อตนเอง และผู้อื่นโดยชอบ ไม่คดโกง

แนวคิด การดาเนินชีวิตในสังคมนั้น ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นเรื่องที่สาคัญและ จาเป็น ไม่ว่าจะซื่อสัตย์ต่อตนเองหรือ ผู้อื่น ดังนั้นการที่เราจะมี ความซื่อสัตย์สุจริตนั้น เราจะต้องปลูกฝัง และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับความซื่อสัตย์ สุจริตอย่างถูกต้องและ

การนาไปปฏิบัติ - พูดความจริง - ไม่ลักขโมย - ทาตัวเป็นที่น่าเชื่อถือ ทาตามสัญญา - ตรงไปตรงมา - กล้าเปิดเผยความจริง - รู้จักแยกแยะประโยชน์



ให้เห็นโทษของการไม่ซื่อสัตย์สุจริตว่าจะ ส่งผลต่อตนเองและสังคมอย่างไรบ้าง การมีจิตสาธารณะ การอยู่ร่วมกันของสมาชิกในสังคมหนึ่ง (Greater Good and นั้น ต้องอาศัยความเอื้อเฟื้อ Public Spirit) เผื่อแผ่ ความเข้าใจซึ่งกันและกัน รวมทั้ง การมีจิตสานึกเพื่อส่วนรวม การที่สมาชิกในสังคมคิดและทาเพื่อ มีความตระหนักรู้และ ส่วนรวม รู้จักการให้เพื่อสังคม ไม่เห็นแก่ คานึงถึงสังคมส่วนรวม ประโยชน์ส่วนตนเป็นใหญ่ และพร้อมที่ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง จะเสียสละหรือช่วยปกป้องผลประโยชน์ ในการกระทาใด ๆ เพื่อ ของส่วนรวม ไม่ให้เกิดผลกระทบเสียหาย ต่อส่วนรวม และพร้อมที่จะ เสียสละประโยชน์ส่วนตน เพื่อรักษาผลประโยชน์ของ ส่วนรวม

ส่วนตัวส่วนรวม ร่วมดูแลสังคม - รับผิดชอบต่อส่วนรวม - เสียสละเพื่อส่วนรวม - เอื้อเฟื้อ เมตตา มีน้าใจ - ไม่เห็นแก่ตัว



ความเป็นธรรมทางสังคม (Fairness and Justice) การปฏิบัตติ ่อผู้อื่นอย่างเสมอ ภาคและเท่าเทียมกันและอย่างมี เหตุผล โดยไม่เลือกปฏิบัตติ ่อ เพศ เชื้อชาติ ชนชั้น สถานะ ทางเศรษฐกิจและสังคม

ทุกคนควรได้รับความเป็นธรรม อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะแตกต่างกันด้วยเชื้อชาติ ศาสนา ภูมิ กาเนิด ฐานะ หรือการศึกษา รวมทั้งต้องไม่ ละเมิดสิทธิของผู้อื่นด้วย ดังนั้น การให้ความ เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น การ ไม่เอาเปรียบผู้อื่นและการเข้าใจสิทธิและ หน้าที่ของตนเอง

- นึกถึงใจเขาใจเรา - ไม่เอาเปรียบผู้อื่น - รับฟังผู้อื่น - เคารพให้เกียรติผู้อื่น - ทาอย่างมีเหตุผล - คานึงถึงความยุติธรรม โดยตลอด

ลาดับ ๔

สาระและความหมาย กระทาอย่างรับผิดชอบ (Responsibility and Accountability) การมีจิตสานึกในบทบาท และหน้าที่ของตัวเองและ ปฏิบัติหน้าที่ให้ดีที่สุด เคารพกฎเกณฑ์ กติกา พร้อมให้ตรวจสอบ การกระทาได้เสมอ หากมีการกระทาผิดก็พร้อม ที่จะยอมรับและแก้ไขในสิ่ง

แนวคิด ทุกสังคมประกอบด้วยสมาชิกหรือบุคคล ที่แตกต่างหลากหลายตามบทบาทและ หน้าที่ต่าง ๆ ทีเ่ หมือนกันบ้างและ ต่างกันบ้าง ตั้งแต่เป็นสมาชิกของ ครอบครัว สมาชิกของโรงเรียน สมาชิก ของที่ทางาน และสมาชิกของสังคม ดังนั้น การอยู่รวมกันอย่างสันติสุข เข้าใจซึ่งกันและกัน ไม่ละเมิดผู้อื่นและ พร้อมยอมรับในการกระทาของตนเอง นั้น สมาชิกทุกคนจะต้องเข้าใจ ความรับผิดชอบในบทบาทและหน้าที่

การนาไปปฏิบัติ - ทาหน้าที่ของตัวเองให้ดี ที่สุด - มีระเบียบวินัย - เคารพกติกา - รับผิดชอบในสิ่งที่ทา กล้ายอมรับผิดและ รับการลงโทษ - รู้จักสานึกผิดและขอโทษ แก้ไขในสิ่งผิด - กล้าทาในสิ่งที่ถูกต้อง

ที่ผิด



เป็นอยู่อย่างพอเพียง (Sufficiency and Moderation) คือ การดาเนินชีวิตโดยยึดหลัก ความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่ละโมบโลภมาก รู้จักยับยั้งชั่งใจและต้องไม่ เอาเปรียบหรือเบียดเบียน ทั้งตัวเองและผู้อื่น

ของตนเองและบุคคลต่าง ๆ รวมทั้ง การปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ อย่างมี ความรับผิดชอบ พร้อมที่จะให้มีการ ตรวจสอบได้ มีความเคารพต่อกฎเกณฑ์ กติกาอย่างมีวินัย การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงนั้น ถือว่าเป็น แบบอย่างที่ดี ที่ควรถือปฏิบัติ การรู้จักความพอดี พอประมาณใน การใช้ชีวิต การรู้สึกพอใจในสิ่งที่ตนเองมี อยู่ การรู้ประหยัดและรู้คุณค่าสิ่งของ เป็นเรื่องสาคัญในการสร้างนิสัยที่เป็นอยู่ อย่างพอเพียง จะไม่ทาให้เกิดการดิ้นรน แบบเห็นแก่ตัวและขาดสติ ไม่เอาเปรียบ ผู้อื่นและสังคมในภาพรวมด้วย

- รู้จักความเพียงพอ ความพอดี - มีความอดทนอดกลั้น - รู้จักบังคับตัวเอง - ไม่กลัวความยากลาบาก - ไม่ทาอะไรแบบสุดขั้ว หรือสุดโต่ง - มีสติและเหตุผล

การจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลกิจกรรม “โตไปไม่โกง” ๑. คู่มือและสื่อการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนเพื่อปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมตามสาระ ๕ ประการ ในหลักสูตร คบเด็ก สร้างชาติ “โตไปไม่โกง” จะมีกิจกรรมเพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้สาหรับปลูกฝังคุณธรรมในจิตใจผู้เรียน โดยตรง โดยจะมีคู่มือหลักสูตรสาหรับครูผู้สอน ซึ่งในคู่มือหลักสูตรจะระบุรายละเอียดของกิจกรรมและการใช้ เครื่องมือการเรียนรู้ของแต่ละสาระโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย เพลง เกม ชุดกิจกรรม นิทาน ศิลปะ ละคร ซึ่งใน กล่องอุปกรณ์สาหรับครูผู้สอนจะมีสื่อการเรียนการสอน ได้แก่ แผ่นซีดีเพลง หนังสือนิทาน บทละคร ภาพประกอบ รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถออกแบบแผนการจัดประสบการณ์ส่งเสริมคุณธรรมในหลักสูตรได้ อย่าง มีประสิทธิภาพ ๒. เวลาที่ใช้ในจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนควรจัดเวลาอย่างน้อยที่สุด ๑ คาบต่อสัปดาห์ เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ หรืออาจเพิ่มเติมด้วย การสอดแทรกเนื้อหาสาระเข้าไปเพื่อสร้างประสบการณ์หรือการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาอื่น ๆ ตาม ความเหมาะสม ทั้งนี้ในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมตามสาระ ๕ ประการ ครูผู้สอนสามารถใช้กิจกรรมหลาย ๆ ครั้ง หลาย ๆ แบบและทาเป็นประจาสม่าเสมอเพื่อที่จะได้ซึมซับลงในจิตใจเด็กจนเป็นลักษณะนิสัยประจาตัว ๓. การเตรียมตัวของครูผู้สอน การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมตามสาระ ๕ ประการในหลักสูตร คบเด็ก สร้างชาติ “โตไปไม่โกง” ครูควรศึกษาเนื้อหาในหลักสูตรและกิจกรรมในแต่ละเรื่องให้เข้าใจก่อน การนาไปใช้ อย่างไรก็ตามครูผู้สอนสามารถปรับแนวทางการดาเนินกิจกรรมได้ ตามความเหมาะสม ๔. การประเมินผล

ครูผู้สอนประเมินผลด้ว ยการสังเกตพฤติกรรมและการสนทนาซักถามเด็ก แบบไม่เป็นทางการและ สอบถามพฤติกรรมเด็กจากผู้ปกครองและจัดทาสมุดบันทึกพฤติกรรมโดยพิจารณา ตามจุดประสงค์ของกิจกรรมใน สาระ อย่ างไรก็ ตามจะไม่ มีก ารประกาศผลให้ ผ่ า นหรือไม่ผ่ าน ครู ผู้ ส อนต้องเป็ นผู้ พิจารณาร่ ว มกั บผู้ บริ ห าร สถานศึกษาในกรณีที่พบว่าเด็กมีปัญหาพฤติกรรมเพื่อแก้ไขปัญหานักเรียนเป็นรายบุคคล กิจกรรมเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ความหมายของคณิตศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย คณิตศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยเป็นที่ต้องอาศัยสถานการณ์ในชี วิตประจาวันของเด็กเป็ นพื้นฐานใน การพัฒนาความรู้และทักษะทางคณิตศาสตร์ อีกทั้งยังต้องอาศัยกิจกรรมคณิตศาสตร์สาหรับเด็กโดยเฉพาะ อาศัย การวางแผนและการเตรียมการอย่างดีจากครู เพื่อเปิดโอกาสให้ เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงและเรียนรู้ด้ วยตนเอง อย่างมีความสุขคณิตศาสตร์เป็นส่วนหนึ่ง ของชีวิตประจาวันที่สาคัญ ครูปฐมวัยควรเปิดโอกาสให้เด็กได้ใช้ความคิด การค้นคว้าแก้ปัญหาและการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยจัดประสบการณ์ให้ เหมาะสมกับวัย ซึ่งการเรียนรู้ ทางด้าน คณิตศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์จะขึ้นอยู่กับระดับพัฒนาการของเด็กเป็นสาคัญ ความสาคัญของคณิตศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย คุ ณ ภาพทางคณิ ต ศาสตร์ ข องเด็ ก ปฐมวั ย ในแต่ ล ะช่ ว งอายุ มี ค วามซั บ ซ้ อ นแตกต่ า งกั น คุ ณ ภาพ ทางคณิตศาสตร์ของเด็กอายุ ๔ ปี ควรมีความสามารถ ดังนี้ ๑) มีความรู้ ความเข้าใจและมีพัฒนาการด้านความรู้สึกเชิงจานวน เกี่ยวกับจานวนนับไม่เกินสิบ และ เข้าใจเกี่ยวกับการรวมกลุ่ม และการแยกกลุ่ม ๒) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว น้าหนัก ปริมาตร และเวลา สามารถเรียงลาดับความยาว น้าหนัก ปริมาตร และเวลา สามารถบอกกิจกรรมหรือเหตุการณ์ในชีวิตประจาวันที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาเช้า เที่ยง เย็น และเรียงลาดับกิจกรรม หรือเหตุการณ์ในชีวิตประจาวันตามช่วงเวลา ๓) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับตาแหน่ง สามารถใช้คาบอกตาแหน่งและแสดงของสิ่ง ต่าง ๆ สามารถจาแนกทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก และใช้ ทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก กรวย ทรงกระบอก สร้างสรรค์งานศิลปะ ๔) มีความรู้ ความเข้าใจ แบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด สี ที่สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง สามารถทา ตามแบบรูปที่กาหนดคุณภาพทางคณิตศาสตร์ของเด็กอายุ ๕ ปี ควรมีความสามารถดังนี้ ๑) มีความรู้ ความเข้าใจและมีพัฒนาการด้านความรู้สึกเชิงจานวน เกี่ยวกับจานวนนับไม่เกินยี่สิบ และ เข้าใจเกี่ยวกับการรวมกลุ่ม และการแยกกลุ่ม ๒) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว น้าหนัก ปริมาตร เวลาและเงิน สามารถวัดและบอกความ ยาวน้าหนัก และปริมาตร โดยใช้เครื่องมือและหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน สามารถเรียงลาดับเรียงลาดับชื่อวันใน หนึ่งสัปดาห์และบอกกิจกรรมหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อวานนี้ วันนี้ พรุ่งนี้ เข้าใจเกี่ยวกับเงิน สามารถบอกชนิด และค่าของเงินเหรียญและธนบัตร ๓) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับตาแหน่ง ทิศทางและระยะทาง สามารถใช้คาบอกตาแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง และแสดงตาแหน่ง ทิศทาง และระยะทางของสิ่งต่าง ๆ สามารถจาแนกทรงกลมทรงสี่เหลี่ยมมุม ฉาก กรวย ทรงกระบอก และจาแนกรูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงรูป

เรขาคณิตสองมิติที่เกิดจากการตัด ต่อเติม พับหรือคลี่ และสร้างสรรค์งานศิลปะจากรูปเรขาคณิตสามมิติและ สองมิติ ๔) มีความรู้ ความเข้าใจ แบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด สี ที่สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่งสามารถต่อ แบบรูปที่กาหนดและสร้างเพิ่มเติม ๕) มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลและการนาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิอย่างง่าย กิจกรรมเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์มีส่วนสาคัญอย่างยิ่งในชีวิตประจาวันของเด็กในการเล่นและพูดคุยของเด็กนั้น มักจะมีเรื่อง คณิตศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องในชีวิตประจาวันอยู่เสมอ จากคาพู ดของเด็กที่เราได้ยินมักจะพบอยู่เสมอว่ามีการพูดึง การเปรียบเทียบ การวัด และตัวเลข เช่น “เอาอันที่ใหญ่สุดให้หนูนะ” “หนูจะเอาอันกลม ๆ นั่นละ” “โอ้โฮ อันนี้ ราคาตั้ง ๑๐ บาท” “หนูรู้เบอร์โทรศัพท์ที่บ้านคุณยายด้วย” “วันนี้เราตื่นสาย” “หนูไม่ไปโรงเรียน ๘โมงเช้า” “บ้านคุณยายอยู่ห่างจากบ้านหนู ๒๐ กิโล” “หนูมีเงินตั้ง ๕บ้าน” “คุณแม่ให้เงินหนู ๑๐ บาท” “หนูมีถุงเท้าใหม่ ๓ คู่” ประโยคเหล่านี้ล้วนน่าสนใจและแสดงถึงการใช้คาศัพท์ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ มีทักษะและความรู้ทาง คณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานสาหรับการศึกษาที่สูงขึ้น และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันต่อไป จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ ๑. เพื่อพัฒนาความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่นการบวกหรือการเพิ่ม การลดหรือการลบ ๒. เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการในการหาคาตอบ เช่นเมื่อเด็กบอกว่า “หน่อง” หนักกว่า “ปุ้ย” แต่บางคนบอกว่า “ปุ้ย” หนักกว่า “หน่อง”เพื่อให้ได้คาตอบที่ถูกต้อง จะต้องมีการชั่ง น้าหนักและบันทึกน้าหนัก ๓. เพื่อให้เด็กมีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่นรู้จักและเข้าใจคาศัพท์และสัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์ขั้นต้น ๔. เพื่ อ ให้ เ ด็ ก ฝึ ก ฝนทั ก ษะคณิ ต ศาสตร์ พื้ น ฐาน เช่ น การนั บ การวั ด การจั บ คู่ การจั ด ประเภท การเปรียบเทียบ การจัดลาดับ เป็นต้น ๕. เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคาตอบด้วยตนเอง ๖. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้และอยากค้นคว้าทดลอง ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ๑. การนับ เป็นคณิตศาสตร์เกี่ยวกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้จัก เป็นการนับอย่างมีความหมาย เช่น การนับตามลาดับตั้งแต่ ๑ถึง ๑๐ หรือมากกว่านั้น ๒. ตัวเลข เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้อยู่ในชีวิตประจาวัน ให้เด็ กเล่นของเล่นเกี่ยว กับ ตัวเลขให้เด็กได้นับและคิดเอง โดยผู้เลี้ยงดูเด็กเป็นผู้วางแผนจัดกิจกรรม ๓. การจับคู่ เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกต ลักษณะต่างๆ และจับคู่สิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกันหรือ อยู่ประเภทเดียวกัน ๔. การจัดประเภท เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตคุณสมบัติของ สิ่งต่างๆ ว่ามีความแตกต่าง หรือ เหมือนกัน ในบาง เรื่อง และสามารถจัดเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ ๕. การเปรียบเทียบ เด็กจะต้องมีการสืบเสาะและอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่งหรือมากกว่า รู้จักใช้คาศัพท์ เช่น ยาวกว่า สั้นกว่า หนักกว่า เบากว่า ฯลฯ

๖. การจัดลาดับ เป็นเพียงการจัดสิ่งของชุดหนึ่ง ๆ ตามคาสั่งหรือตามกฎ เช่น จัดบล็อก ๕ แท่งที่มี ความยาวไม่เท่ากันให้เรียงตามลาดับจากสูงไปต่า หรือจากสั่นไปยาง เป็นต้น ๗. รูปทรงและเนื้อที่ นอกจากให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องรูปทรงและเนื้อที่จากการเล่นตาม ปกติแล้ว ผู้เลี้ยงดู เด็กยังต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กได้เรียนรู้ เกี่ยวกับ วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า ความ ลึก ตื้น กว้างและแคบ ๘. การวัด มักให้เด็กลงมือวัดด้วยตนเอง ให้รู้จักความยาวและ ระยะ รู้จักการชั่งน้าหนัก และรู้จัก การประมาณอย่างคร่าวๆ ก่อน ที่เด็กจะรู้จักการวัด ควรให้เด็กได้ฝึกฝนการเปรียบเทียบและ การจัดลาดับมาก่อน ๙. เซต เป็นการสอนเรื่องเซตอย่างง่าย ๆ จากสิ่งรอบ ๆ ตัว มีการเชื่อมโยงกับสภาพรวม เช่น รองเท้า กับถุงเท้าถือเป็นหนึ่งเซต หรือในห้องเรียนมีบุคคลหลายประเภท แยกเป็นเซตได้ ๒ เซต คือ นักเรียน ผู้เลี้ยงดูเด็ก ประจาชั้น เป็นต้น ๑๐. เศษส่วน ปกติการเรียนเศษส่วนมักเริ่มเรียนในชั้นประถม แต่ผู้เลี้ยงดูเด็กปฐมวัยสามารถสอนได้ โดยเน้นส่วนรวมให้เด็กเห็นก่อน การลงมือปฏิบัติเพื่อให้เด็กได้เข้าใจความหมายและมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ ครึ่งหรือเต็มส่วน ๑๑. การทาตามแบบหรือลวดลาย เป็นการพัฒนาให้เด็กจดจารูปแบบหรือลวดลาย และพัฒนาการ จาแนกด้วยสายตาให้เด็กฝึกสังเกต ฝึกทาตามแบบ และต่อให้สมบูรณ์ ๑๒. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ ช่วงวัย ๕ ปีขึ้นไป ผู้เลี้ยงดูเด็กอาจเริ่มสอนเรื่องการอนุรักษ์ ได้บ้าง โดยให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้เด็กมีความคิดรวบยอดเรื่องการอนุรักษ์ที่ว่า ปริมาณของวัตถุจะยังคงที่ ไม่ว่าจะย้ายที่หรือทาให้มีรูปร่างเปลี่ยนไปก็ตาม หลักการสอนคณิตศาสตร์ ๑. สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจาวัน ๒. เปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทาให้ “พบคาตอบด้วยตนเอง” ๓. มีเป้าหมายและมีการวางแผนอย่างดี ๔. เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลาดับขั้นของการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก ๕. ใช้วิธีการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียนพฤติกรรม เพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม ๖. ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์เดิมของเด็กเพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่ในสถานการณ์ใหม่ ๆ ๗. รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์ ๘. ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริงเพื่อสอนความคิดรวบยอดที่ยาก ๆ ๙. ใช้วิธีให้เด็กมีส่วนร่วมหรือปฏิบัติจริงเกี่ยวกับตัวเลข ๑๐. วางแผนส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้านอย่างต่อเนื่อง ๑๑. บันทึกปัญหาการเรียนรู้ของเด็กอย่างสม่าเสมอเพื่อแก้ไข ปรับปรุง ๑๒. คาบหนึ่งควรสอนเพียงควบคิดรวบยอดเดียว ๑๓. เน้นกระบวนการเล่นจากง่ายไปหายาก ๑๔. ผู้เลี้ยงดูเด็กควรสอนสัญลักษณ์ตัวเลขหรือเครื่องหมายเมื่อเด็กเข้าใจสิ่งเหล่านั้นแล้ว

กิจกรรมเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การเรียนวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย วิทยาศาสตร์ สาหรั บเด็กอายุ ๓–๖ ขวบ มิได้ห มายถึงสาระทางชีว วิทยา เคมี กลศาสตร์ แต่เนื้อหา วิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยคือสาระเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กที่เด็กควรรู้ การเรียนการสอน มุ่งเพื่อให้เด็กเกิดความเข้าใจมากกว่าที่จะจาเป็นองค์ความรู้ การเรียนวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยแตกต่างจากเด็ก วัยอื่นที่เด็กปฐมวัยมีการเจริญของสมองที่รวดเร็วและต้องการ การกระตุ้นเพื่อการงอกงามของใยสมองในช่วง ปฐมวัยแต่ขณะเดียวกันพัฒนาการทางสติปัญ ญาของเด็ก อายุ ๒ – ๖ ขวบ ยังเป็นช่วงก่อนปฏิบัติการ (pre – operative stage) เด็กเอาตนเองเป็นศูนย์กลาง (self - centered) และมองสิ่งรอบตัวโดยเน้นที่ตัวของ เด็กเอง เด็กจะรับรู้และคิดถ่ายโยงเป็นทิศทางเดียวไม่ซับซ้อน เช่น รู้สี รู้รูปร่าง โดยรู้ทีละอย่างจะเรียนรู้สองอย่าง พร้อมกันไม่ได้หรือเอามาผนวกกันไม่ได้ ซึ่งการเรียนวิทยาศาสตร์เป็นการเรียนเพื่อฝึกเด็กให้บูรณาการข้อความรู้ ต่าง ๆ เข้าด้วยกันโดยให้เด็กรู้จักสังเกต ค้นหา ให้เหตุผล หรือทดลองด้วยตนเอง ด้วยเหตุนี้การเรียนวิทยาศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวัยจึงต้องเริ่มจากทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสังเกต การค้นคว้าหาคาตอบ การให้ เหตุ ผ ล ตามด้ ว ยการเรี ย นทั ก ษะกระบวนการวิ ท ยาศาสตร์ และความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ส าหรั บ เด็ ก โดยใช้ ประสบการณ์จริงและการทดลองปฏิบัติ เช่น การเรียนรู้การเจริญเติบโตของพืชด้วยการทดลองปลูกพืช สังเกต ความสูงของพืชและการงอกงามของพืช เป็นต้นการสอนวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยเป็นการสอนข้อความรู้ ซึ่งต่างจากการสอนให้รู้ข้อความรู้ตรงที่การสอนข้อความรู้ต้องการความสนใจ การสังเกต การจาและการเรียก ความจาจากความเข้าใจถ่ายโยงได้ ไม่ใช่การท่องจา ซึ่งตรงกับการเรียนวิทยาศาสตร์ที่เป็นการเรียนรู้จากการให้ คิดและมีเหตุผล เกิดการเข้าใจมโนทัศน์ เชื่อสานข้อมูลประยุกต์และสรุปเป็นข้อความรู้ได้ด้วยตนเองซึ่งใน การเรี ยนวิทยาศาสตร์เด็กต้องพัฒ นาทักษะการคิดเพื่อนาไปสู่ข้อสรุปให้ได้ ตัวอย่างเช่นเด็กเรียนเรื่ องเต่ากับ หนู โดยการศึกษาเปรียบเทียบ ค้นหาข้อแตกต่างและข้อเหมือนและนาไปสู่ข้อสรุปว่า เต่ามีลักษณะอย่างไร หนูมี ลั ก ษณะอย่ า งไร (Hendrick,๑๙๙๘ : ๔๒) ดั ง นั้ น การเรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ ข องเด็ ก ปฐมวั ย จึ ง มิ ใ ช่ ก ารสอนให้ รู้ ข้อความรู้ เพราะเด็กไม่สามารถรับความรู้นามธรรมได้ เด็กปฐมวัยต้องเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากประสบการณ์ การเรี ย นรู้ สิ่ ง แวดล้ อ มรอบตั ว เด็ก และธรรมชาติ เ ป็ น สาระหลั ก ส าหรั บ เด็ ก ปฐมวั ย ในการเรี ย นรู้ วิทยาศาสตร์ ดร.ดินา สตาเคิล (Dina Stachel) ของมหาวิทยาลัยเทอาวีพ ประเทศอิสราเอล ได้พัฒนาโปรแกรม มาทาลขึ้น เพื่อใช้ในการสอนวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย โดยเน้นให้เด็กมีความสนุกกับการเรียน รู้จัก สร้างสรรค์และคิดสร้างสรรค์สาระวิทยาศาสตร์ที่เด็กเรียนจาแนกเป็น ๔ หน่วย ดังนี้ หน่วยที่ ๑ การสังเกต โลกรอบตัว หน่ วยที่ ๒ การรั บรู้ ทางประสาทสัมผัส และการเรียนรู้ หน่ว ยที่ ๓ รู้ทรงและสิ่ งที่เกี่ยวข้อง หน่วยที่ ๔ การจัดหมู่และการจาแนกประเภท ในการเรียนหน่วยวิทยาศาสตร์ทั้ง ๔ หน่วยดังกล่าว เด็กต้องใช้ ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการสังเกต การจาแนกประเภท การสื่อความหมายและทักษะการลง ความเห็ น การเรี ย นวิ ทยาศาสตร์ ไม่ ใช่ การเปรีย บเทีย บมิ ติเดี ยวเหมือ นอย่างเช่ นคณิต ศาสตร์ แต่ การเรีย น วิทยาศาสตร์เป็นการเรียนเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อหาข้อสรุปคาตอบ ซึ่งเด็กสามารถเรียนรู้วิทยาศาสตร์รอบตัวได้หาก ครูจัดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับพัฒนาการเด็ก ทักษะพื้นฐานและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การเรียนวิทยาศาสตร์เป็นการเรียนการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล ซึ่งเรียกว่ากระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้โดยครูกับเด็กช่วยกันคิดและปฏิบัติเป็น กระบวนการเริ่มจากขั้นที่ ๑ ถึงขั้นที่ ๕ ดังนี้ ขั้นที่ ๑ กาหนดขอบเขตของปัญหา ครูกับเด็กร่วมกันคิดตั้งประเด็นปัญหาสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ร่วมกัน เช่น ต้นไม้โตได้อย่างไร ขั้นที่ ๒ ตั้งสมมุติฐานเป็นขั้นของการวางแผนร่วมกันในการที่จะทดลองหาคาตอบจากการคาดเดา ล่วงหน้าว่า ถ้า.......จะเกิด......เป็นต้น ขั้นที่ ๓ ทดลองและเก็บข้อมูล เป็นขั้นตอนที่ครูกับเด็กร่วมกันดาเนินการตามแผนการทดลอง ตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ในข้อ ๒ ขั้นที่ ๔ วิเคราะห์ข้อมูลครูและเด็กนาผลการทดลองมาสนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ๖๘ ร่วมกัน เช่น ทาไมต้นไม้ปลูกพร้อมกันจึงโตไม่เท่ากัน ขั้นที่ ๕ สรุปผลคาตอบสมมุติฐาน ว่าผลที่เกิดคืออะไร เพราะอะไร ทาไม ถ้าเด็กต้องการศึกษาต่อจะ กลับมาเรียนขั้นที่ ๑ ใหม่ แล้วต่อเนื่องไปถึงขั้นที่ ๕ เป็นวงจรของการขยายการเรียนรู้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทั้ง ๕ ขั้น เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องเป็นวัฏจักร ทักษะพื้นฐานที่ต้อง นามาใช้ในกระบวนการคือการสังเกต การจาแนกและเปรียบเทียบ การวัดการสื่อสารการทดลอง การสรุปและ การนาไปใช้ การสังเกต ครูต้องสอนให้เด็กรู้จักสังเกตใช้เทคนิคการสังเกตเป็น เด็กต้องได้รับการสอนให้รู้จักสังเกต ปรากฏการณ์หรือการกระทาอย่างระมัดระวังและถี่ถ้วน จากการสังเกตนอกจากการใช้ ตาดู เด็กอาจต้องใช้หู ฟัง จมูกดมกลิ่น ลิ้นชิมรส กายสัมผัสหรือรับความรู้สึก หรือใช้ทุกอย่างร่วมกัน การจาแนกเปรียบเทียบ การจาแนกเป็นทักษะพื้นฐานที่ใช้ในการจัดระเบียบข้อมูล ซึ่งใน การจาแนกนี้ เด็กต้องสามารถเปรี ยบเทียบและบอกข้อแตกต่างของคุณสมบัติ ถ้าเด็กเล็ กมาก เด็กอาจจาแนกสีหรือรูปร่าง ได้ การจาแนกหรือเปรียบเทียบสาหรับเด็กปฐมวัย ต้องใช้คุณสมบัติหยาบ ๆ เห็นรูปธรรม เด็กจึงจะทาได้ การวัด การวัดเป็นกระบวนการรวบรวมข้อมูลและตัดสินเพื่อบอกว่าขนาด ปริมาณของสิ่งที่เห็นคือ อะไร เด็กปฐมวัยจึงใช้การวัดเป็นการเปรียบเทียบเชิงปริมาณโดยสามารถใช้เครื่องมือวัดอย่างหยาบได้ สามารถ บอกมาก-น้อยกว่ากันได้ การสื่อสาร ทักษะการสื่อสารจาเป็นมากในกระบวนการวิทยาศาสตร์ เพราะการสื่อสาร เป็นทางบอก ว่าเด็กได้ สังเกต จาแนก เปรียบเทียบ หรือวัด เป็นหรือไม่ เข้าใจข้อมูลหรือสิ่งที่ศึกษาในระดับใด ด้วยการกระตุ้น ให้เด็กแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันอภิปรายข้อค้นพบ บอกและบันทึกสิ่งที่พบ การทดลอง เด็กปฐมวัยเป็นนักทดลองมาโดยกาเนิด เช่น การรื้อค้น การกระแทก การทุบการโยน สิ่งของหรือการเล่น จากการเล่นเป็นการเรียนรู้ ซึ่งมักเป็นการทดลองแบบลองผิดลองถูก แต่การทดลองทาง วิ ท ยาศาสตร์ จ ะถู ก จั ด ระเบี ย บมากขึ้ น มี ก ารควบคุ ม ให้ เ ด็ ก ท าอย่ า งมี ร ะเบี ย บวิ ธี มี ก ารสั ง เกตอย่ า งมี ความหมาย เช่น การทดลองการกระจายของหยดสีในน้าที่มีความเข้มข้นไม่เท่ากันเด็กจะสังเกตเห็นสีสดสีจาง ต่างกัน การสรุปและการนาไปใช้ เด็กปฐมวัยมีความสามารถสรุปได้เฉพาะข้อมูลเชิงประจักษ์ เด็กสามารถบอก ว่าอะไรเกิดขึ้น สาเหตุใด มีผลอย่างไร แต่เป็นไปตามสายตาที่เห็นเป็นรูปธรรมเท่านั้น ซึ่งการทดลองวิทยาศาสตร์

ทาให้เด็กเห็นจริงกับตา สัมผัสกับมือ เด็กจะบอกได้ว่ามีอะไรเกิดขึ้น การได้ฝึกทักษะอย่างเป็นกระบวนการจะทา ให้เด็กสามารถบอกได้ว่าจะนาไปใช้ทาอะไร หรือนาไปใช้แก้ปัญหาอย่างไรได้ด้วย เป้าหมายของการเรียนวิทยาศาสตร์ เด็ ก ปฐมวั ย เรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ ใ นแง่ ข องทั ก ษะพื้ น ฐานกระบวนการและสาระวิ ท ยาศาสตร์ เบื้องต้น เป้าหมายสาคัญของการเรียน คือ ๑) ให้เด็กได้ค้นคว้าและสืบค้นสิ่งต่าง ๆ และปรากฏการณ์ที่มี ๒) ให้เด็กได้ใช้กระบวนการทักษะทางวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง ๓) กระตุ้นความอยากรู้อยากเห็น ความสนใจและ เจตคติของเด็กด้วยการค้นให้พบ ๔) ช่วยให้เด็กค้นหาข้อมูลความรู้บางอย่างที่เป็นวิทยาศาสตร์ที่สัมพันธ์กับ ชีวิตประจาวันและการสืบค้นของตัวเด็ก ๕๕ การเรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ ข องเด็ ก ปฐมวั ย เป็ น การเรี ย นเพื่ อ สร้ า งเสริ ม นิ สั ย การเรี ย นรู้ อย่ า งมี กระบวนการ ส่งเสริมให้เด็กคิดอย่างเป็นระบบและศึกษาสิ่งต่าง ๆ ด้วยการนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้เป็นสิ่งกระตุ้นพัฒนาการเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านของเด็กในขณะเดี ยวกัน กิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ทาให้เด็กได้พัฒนาความรู้วิทยาศาสตร์และได้พัฒนาองค์ความรู้ใหม่จากสิ่งที่เด็กได้สัมผัสด้วย สาระวิทยาศาสตร์ที่เด็กต้องเรียน ดั ง กล่ า วแล้ ว ว่ า เด็ ก ปฐมวั ย เรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะพื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร์ การเรี ย นรู้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และสาระวิทยาศาสตร์ ซึ่งสาระวิทยาศาสตร์ที่เด็กปฐมวัยเรียนประกอบด้วยสาระ ต่าง ๆ ที่เป็นสิ่งแวดล้อมรอบตัว ดังนี้ ๑) สาระเกี่ยวกับพืช ได้แก่ พืช ต้นไม้ ดอกไม้ ผลไม้ การปลูกพืช การใช้ ประโยชน์จ ากพืช ๒) สาระเกี่ยวกับสั ตว์ ได้แก่ ประเภทของสั ตว์ สวนสัตว์ การเลี้ยงสั ตว์ ๓) สาระเกี่ยวกับ ฟิสิกส์ เช่นการจมการลอย ความร้อน ความเย็น ๔) สาระเกี่ยวกับเคมี ได้แก่ รสผลไม้ การละลายของน้าแข็ง ๕) สาระเกี่ยวกับธรณีวิทยา ได้แก่ ดิน ทราย หิน ภูเขา ๖) สาระเกี่ยวกับดาราศาสตร์ ได้แก่ ดวงอาทิตย์ ดวง จันทร์ ดาว ฤดูกาล หลักการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ประสบการณ์วิทยาศาสตร์ เป็ น การสร้างเด็กให้ เรียนรู้กระบวนการวิทยาศาสตร์และเนื้อหา ที่เป็น วิทยาศาสตร์ หลักการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์ให้กับเด็กที่สาคัญมีดังนี้ ๑. เป็ น เรื่ องใกล้ ตัว เด็ก ประสบการณ์ที่เ ลื อกมาจัดให้ แก่เด็ ก ควรเป็นเรื่ องใกล้ ตัว เด็ ก โดยใกล้ ทั้ ง เวลา เหมาะสมกับพัฒนาการ ความสนใจและประสบการณ์ที่ผ่านมาของเด็ก ๒. เอื้ออานวยให้แก่เด็กได้กระทาตามธรรมชาติของเด็ก เด็กมีธรรมชาติที่ชอบสารวจ ตรวจค้น กระฉับกระเฉง หยิบโน่นจับนี่ จึงควรจัดประสบการณ์ที่ใช้ธรรมชาติในการแสวงหาความรู้ ๓. เด็กต้องการและสนใจ ประสบการณ์ที่จัดให้เด็กต้องสอดคล้องกับความต้องการของเด็กและอยู่ใน ความสนใจของเด็ก ดังนั้นหากบังเอิญมีเหตุการณ์ที่เด็กสนใจเกิดขึ้นในชั้นเรียน ครูควรถือโอกาสนาเหตุการณ์นั้น มาเป็นประโยชน์ในการจัดประสบการณ์ที่สัมพันธ์กันในทันที ๔. ไม่ ซั บ ซ้ อ น ประสบการณ์ ที่ จั ด ให้ นั้ น ไม่ ค วรเป็ น ประสบการณ์ ที่ มี เ นื้ อ หาซั บ ซ้ อ น แต่ ค วรเป็ น ประสบการณ์ที่มีเนื้อหาเป็นส่วนเล็กๆและจัดให้เด็กทีละส่วน ประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ของเด็ กส่วนใหญ่

จะเป็นพื้นฐานความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ในเวลาต่อมา ทั้งนี้พื้นฐานต้องเริ่มจากระดับง่ายไม่ซับซ้อนไปสู่ระดับ ของการสารวจตรวจค้นและระดับของการทดลอง ซึ่งเป็นระดับที่สร้างความเข้าใจมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ ๕. สมดุ ล ประสบการณ์ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ที่ จั ด ให้ เ ด็ ก ควรมี ค วามสมดุ ล ทั้ ง นี้ เ พราะเด็ ก ต้ อ งการ ประสบการณ์ ใ นทุ ก สาขาของวิ ท ยาศาสตร์ เพื่ อ จะได้ พั ฒ นาในทุ ก ๆ ด้ า น ซึ่ ง แม้ ว่ า เด็ ก จะสนใจเกี่ ย วกั บ สิ่งมีชีวิต ได้แก่ พืชและสัตว์ ครูก็ควรจัดประสบการณ์หรือแนะนาให้เด็กสนใจวิทยาศาสตร์ด้านอื่นๆ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ต้องกระตุ้นให้เด็กเกิดความสนใจวิทยาศาสตร์ พัฒนาเป็นกระบวน การเรียนรู้ เกิดความคิดสร้างสรรค์ เกิดความเข้าใจในวิทยาศาสตร์มากขึ้น หลักการจัดกิจกรรม มีอย่างน้อย ๕ ประการ ดังนี้ ๑) มีการกาหนดจุดประสงค์อย่างชัดเจน ๒) ครูเป็นผู้กากับให้คาปรึกษาและอานวยความสะดวกในการเรียนรู้ ๓) กิจกรรมที่จัดขึ้นสนองตอบความสนใจของเด็ก ๔) สอดคล้องกับการเรียนการสอนในชั้นเรียน 5) กิจกรรมที่จัดต้องส่งเสริมให้เด็กมีภาวะสร้างสรรค์และพัฒนาระบบการคิดของเด็ก กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ ต้ อ งเป็ น กิ จ กรรมที่ ส ร้ า งเสริ ม การเรี ย นรู้ แ ละพั ฒ นาปั ญ ญาด้ ว ย ความสนุก เด็กต้องได้ปฏิบัติจริงและเป็นไปได้ เด็กควรเรียนรู้จากปรากฏการณ์ธรรมชาติจริงที่มีความเป็นไปได้ เด็กเรียนรู้ได้ดีจากการสัมผัสและการกระทา การเรียนรู้จ ากประสบการณ์ เป็นการเรียนรู้โดยการลงมือทางาน เรียนรู้จากประสบการณ์ชีวิต ที่ผู้ เรียนได้ทบทวนเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง เกิดจากมุมมองจากการได้ สัมผัส ได้รับรู้ประสบการณ์ของตน ประสบการณ์นับเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณค่า กระตุ้นให้เกิดการคิดและ การเรียนรู้ การให้เด็กทากิจกรรมเป็นการเสริมสัมผัสและการเรียนรู้ของเด็ก การพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ ส าคัญต้อ งเน้ น การคิด การแก้ปั ญหา การแสดงออกถึงพัฒ นาการทางวิทยาศาสตร์ข องเด็ก ซึ่งสั งเกตได้จาก พฤติกรรม ต่อไปนี้ มีความสนใจเรื่องราวและสิ่งต่างๆ รอบตัว มีความอยากรู้อยากเห็น มีพัฒนาการทางภาษา อย่างมาก มีความสนใจค้นคว้าสิ่งแวดล้อมและสิ่งที่เด็กสัมผัส ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สามารถบูรณาการไปกับกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ศิลปะและ ภาษาหรือนากิจกรรมอื่น ๆ มาประสานด้วยได้ ข้อสาคัญต้องให้เด็กได้เรียนรู้จากการสังเกตและทดลอง ต่อไปนี้ เป็นตัวอย่างกิจกรรมสาหรับเด็กปฐมวัยในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กิจกรรมสาหรับเด็กอายุ ๓ – ๔ ขวบ สังเกตพืช จาแนกส่วนประกอบของพืช ส่วนประกอบของผลไม้ สังเกตดอกไม้และใบไม้ สังเกตสัตว์เลี้ยง โดยให้เด็กไปดูปลา สัมผัสแมว ได้ลูบหมา สังเกตสัตว์ในธรรมชาติ เช่น ดูนก ดูผีเสื้อ ดูแมลง สังเกตรังของสัตว์ต่าง ๆ ทดลองเลี้ยงสัตว์ ให้อาหารสัตว์ กิจกรรมสาหรับเด็กอายุ ๕ – ๖ ขวบ ให้มีการทดลองได้ เด็กสามารถเข้าใจมากขึ้น รวบรวมข้อมูลเป็นสรุปเป็น ตัวอย่างเช่น จาแนกเมล็ดพืช จาแนกใบไม้ จาแนกสิ่งต่างๆ ที่หาได้ สังเกตสัตว์เลี้ยง เพื่ออธิบายลักษณะนิสัยหรือวิธีการดูแล สังเกต

ธรรมชาติ กลางวัน กลางคืน อุณหภูมิ สังเกตการงอกของต้นไม้ ทาสวนครัว ปลูกต้นไม้ ศึกษาวงจรชีวิตสัตว์ต่าง ๆ เช่น ตัวไหม ผีเสื้อ กบ ดูการฝักไข่ เก็บไข่ ต่าง ๆ ประโยชน์จากการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ พัฒ นาการทางปั ญญาเป็ นความสามารถทางสมองในการรวบรวมประสบการณ์และความรู้มาเป็น พื้น ฐานของการคิ ด เหตุ ผ ล ช่ว ยให้ เ กิ ดความรู้ ความเข้า ใจ สามารถแก้ ปั ญ หาได้ และสามารถปรับ ตั ว เข้ า กั บ สิ่งแวดล้ อมได้อย่ างมีป ระสิ ทธิภ าพ ความสามารถเหล่านี้ส ามารถพัฒ นาให้ เกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัยด้ว ยการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ทางปัญญา การพัฒนาทางสติปัญญา ไม่ใช่การเพิ่มระดับไอคิว แต่การพัฒนาทางสติปัญญาเน้น การเพิ่มพัฒนาการทางสติปัญญาใน ๒ ประการ คือ ๑) ศักยภาพทางปัญญา คือการสังเกต การคิด การแก้ปัญหา การปรับตัวและการใช้ภาษา ๒) พุทธิปัญญา คือ ความรู้ความเข้าใจที่ใช้เป็นพื้นฐานของการขยายความรู้ การคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินเพื่อการพัฒนาการรู้การเข้าใจที่สูงขึ้น การเรียนวิทยาศาสตร์ เป็นการพัฒนา ศักยภาพทางปัญญาและพุทธิปัญญา จากการทากิจกรรมการเรียนวิทยาศาสตร์ สิ่งที่เด็กได้จากกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพมีอย่างน้อย ๔ ประการ คือ ๑. ความสามารถในการสังเกต จาแนก แจกแจง การดูความเหมือนความต่าง ความสัมพันธ์ ๒. ความสามารถในการคิด การคิดเป็นการจัดระบบความสัมพันธ์ของข้อมูลและสิ่งที่พบเห็นเข้าด้วยกัน เพื่อแปลตามข้อมูลหรือเชื่อมโยงข้ออ้างอิงที่พบไปสู่ การประยุกต์ใช้ที่เหมาะสม การคิดเป็นคือการคิดอย่างมี เหตุผล โดยคานึงถึงหลักวิชาการและบริบท ๓. ความสามารถในการแก้ ปั ญ หา ซึ่ ง มั ก จะเกิ ด ขึ้ น ระหว่ า งการจั ด กิ จ กรรมเด็ ก จะได้ เ รี ย นรู้ จ าก การค้นคว้าในการเรียนรู้นั้นๆ ๔. การสรุปข้อความรู้ หรือมโนทัศน์จากการสังเกตและการทดลองจริงสาหรับเป็นพื้นฐานความรู้ของ การเรียนรู้ต่อเนื่อง สรุป กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นการเรี ยนรู้ที่มีจุดมุ่งหมาย ๒ ประการ คือการฝึ กทักษะ พื้ น ฐานทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละการเรี ย นรู้ ข้ อ ความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ที่ เ ป็ น ธรรมชาติ ร อบตั ว ที่ เ ด็ ก พบใน ชี วิ ต ประจ าวั น โดยเน้ น การใช้ ทั ก ษะกระบวนการวิ ท ยาศาสตร์ คื อ ๑)การสั ง เกต ๒) การจ าแนก เปรียบเทียบ ๓) การวัด ๔) การสื่อสาร ๕) การทดลอง และ ๖) การสรุปและนาไปใช้ สิ่งที่ได้จากการเรียน วิทยาศาสตร์คือ การสร้างให้เด็กมีนิสัยการค้นคว้า การสืบค้น และการทาความเข้าใจธรรมชาติรอบตัว รู้จัก วิธีการค้นหาความรู้อย่างนักวิทยาศาสตร์ โดยการพัฒนาทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ในขณะเดียวกันเรียนรู้วิทยาศาสตร์รอบตัวไปด้วย กิจกรรมทักษะชีวิต องค์ประกอบของทักษะชีวิตขององค์การอนามัยโลก ( who ) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของทักษะชีวิต ไว้ ๑๐ ประการดังนี้ ๑. ทักษะการตัดสินใจ (Decision Makimg) เป็นความสามารถในการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆใน ชีวิตได้อย่างมีระบบ ๒. ทักษะการแก้ไขปัญหา (Problem Solving) เป็นความสามารถในการจัดการเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้น ในชีวิตได้อย่างมีระบบ ไม่เกิดความเครียดทางร่างกายและจิตใจ

๓. ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking) เป็นความสามารถในการคิดที่จะเป็นส่วนช่วยในการ ตัดสินใจและแก้ไขปัญหาโดยการคิดสร้างสรรค์ ๔. ทักษะความคิดอย่างมีวิจารณญาน (Critical thinking) เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ข้อมูล ต่างๆ และประเมินปํญหาหรือสถานการณ์ที่อยู่รอบตัวเรา ที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต ๕. ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective communication) เป็นความสามารถในการใช้ คาพูดและท่าทาง เพื่อแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิดของตนเองได้อย่างเหมาะสม ๖. ทักษะการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal relationship) เป็นความสามารถใน การจัดสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกันและสามารถรักษาสัมพันธภาพไว้ได้ยืนยาว ๗. ทักษะการตระหนักรู้ในตน (Self-awareness) เป็นความสามารถในการค้นหารู้จักและเข้าใจตนเอง ๘. ทักษะการเห็นอกเห็นใจผู้อื่น (Empathy) เป็นความสามารถในการเข้าใจความเหมือนหรือความ แตกต่างระหว่างบุคคล ๙. ทักษะการจัดการกับอารมณ์ (Coping with emotion) เป็นความสามารถใน การรับรู้อารมณ์ของ ตนเองและผู้อื่น รู้วิธีการจัดการกับอารมณ์โกรธและความเศร้าโศก ที่ส่งผลลบต่อร่างกายและจิตใจ ได้อย่าง เหมาะสม ๑๐. ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with stress) เป็นความสามารถในการรับรู้ถึงสาเหตุ ของความเครียด รู้วิธีผ่อนคลายความเครียด นวทางดาเนินการจัดกิจกรรมทักษะชีวิต ทางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมทักษะชีวิต โดยบูรณาการร่วมกับกิจกรรมต่างๆตามหน่วยการเรียนรู้ของ สัปดาห์ เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยตามศักยภาพอย่างสมบูรณ์โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ วัตถุประสงค์ของกิจกรรมทักษะชีวิต ๑. เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆในชีวิตได้อย่างมีระบบ ๒. เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักจัดการเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตได้อย่างมีระบบ ไม่เกิดความเครียดทาง ร่างกายและจิตใจ ๓. เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักคิดที่จะเป็นส่วนช่วยในการตัดสินใจและแก้ไขปัญหาโดยการคิดสร้างสรรค์ ๔. เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักคิดวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ และประเมินปํญหาหรือสถานการณ์ที่อยู่รอบตัวเรา ที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต ๕. เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักใช้คาพูดและท่าทาง เพื่อแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิดของตนเองได้อย่าง เหมาะสม ๖. เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกันและสามารถรักษาสัมพันธภาพไว้ได้ยืนยาว ๗. เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักค้นหา รู้จักและเข้าใจตนเอง ๘. เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักเข้าใจความเหมือนหรือความแตกต่างระหว่างบุคคล ๙. เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักรับรู้อารมณ์ของตนเองและผู้อื่น รู้วิธีการจัดการกับอารมณ์โกรธและ ความเศร้าโศก ที่ส่งผลลบต่อร่างกายและจิตใจ ได้อย่างเหมาะสม

๑๐. เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักรับรู้ถึงสาเหตุของความเครียด รู้วิธีผ่อนคลายความเครียดโดยรวมแล้ว เพื่อให้เด็กปฐมวัยสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข เป็นเด็กที่ได้รับการพัฒนาตามศักยภาพที่แตกต่าง กันอย่างสมบูรณ์ การจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลกิจกรรมทักษะชีวิต ๑. การจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนกิจกรรมทักษะชีวิต เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้สาหรับเด็กๆ ให้ได้รับ การพัฒนาตามศักยภาพที่แตกต่างกันอย่างสมบูรณ์ตามวัตถุปประสงค์ที่กาหนดไว้โดยจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ ร่วมกับกิจกรรมต่างๆ ตามหน่วยการเรียนรู้ของสัปดาห์ ให้ครูผู้สอนสามารถออกแบบแผนการจัด ประสบการณ์กิจกรรมทักษะชีวิต ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อความเหมาะสมกับวัยของเด็ก โดยให้เด็กได้ร่วม กิจกรรมอย่างมีความสุข ๒. การประเมินผล ครูผู้ส อนประเมินผลด้วยการสั งเกตพฤติกรรมที่เกิดกับเด็กแต่ละคนและดูแล สนทนาซักถามเด็ก ให้ความช่วยเหลื อและเก็บข้อมูล บัน ทึกการประเมิ นระหว่างทากิจกรรม เสนอผลการประเมินและปัญหาโดย พิจารณาตามวัยของเด็ก เพื่อเป็นการพัฒนาตามศักยภาพที่แตกต่างกันอย่ างสมบูรณ์ สาหรับเด็กปฐมวัย จึงให้ ครูผู้สอนประเมินผลตามความเหมาะสม การเรียนรู้แบบ Brain-Based Learning (BBL) เป็นการนาความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสมองไปใช้เป็นเครื่องมือในการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ เพื่อ พัฒนาศักยภาพสูงสุดในการเรียนรู้ของมนุษย์แต่ละช่วงวัย สมองมนุษย์เป็นอวัยวะที่สาคัญที่สุดที่มนุษย์ต้องใช้ใน การเรีย นรู้ ประกอบด้ว ยเซลล์จ านวนมหาศาล เซลล์ สมองจะถูกสร้างตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์ ๓-๖ เดือน แรก จนถึง ๑ เดือนก่อนคลอด ช่วงนี้สมองบางส่วนที่ไม่จาเป็ นจะถูกทาลายไปซึ่งเรียกกระบวนการนี้ว่า “พรุนนิ่ง (Pruning)” และจะเกิดขึ้นอีกครั้งในช่วงเด็กเล็กและช่วงวัยรุ่น ทั้งนี้หลักการพัฒนาเซลล์สมองขึ้นอยู่กับ ๒ ส่วน คือ ๑. ธรรมชาติที่ได้รับมาจากบรรพบุรุษได้แก่ พันธุกรรม ๒. สิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น อาหาร อารมณ์ การฝึกฝนใช้สมอง จากการศึกษานักวิจัยพบว่าสมองมนุษย์นั้นยิ่งใช้มากก็ยิ่งแข็งแรง และหากส่ว นไหนไม่ถูกใช้ก็จะตาย ไป โดยเชื่อว่าพื้นฐานมนุษย์ทุกคนมีศักยภาพความเฉลียวฉลาด ที่สาคัญมี ๘ อย่างสาหรับการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และ ตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งจะแตกต่างกันไปตามสภาพการพัฒนาตั้งแต่เด็กเล็กจนเป็นผู้ใหญ่ ได้แก่ ๑. การเคลื่อนไหวและทาหน้าที่ของร่างกาย ๒. ภาษาและการสื่อสาร ๓. การคานวณและตรรกะ ๔. มิติสัมพันธ์และจินตนาการจากสิ่งที่มองเห็น ๕. ดนตรีและจังหวะ ๖. การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม

๗. การรู้จักตนเอง ๗๔ ๘. ปฏิสัมพันธ์กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการเลี้ยงดูอบรมเด็กอย่างมีทิศทางจึงเป็นสาคัญ ซึ่งต้องมีการฝึกฝนที่พอเหมาะตามศักยภาพและ ระบบการทางานของสมอง นับตั้งแต่แรกเกิดจนถึงระยะที่สมองพัฒนาเต็มที่ จะช่วยให้โอกาสทองของการเรียนรู้ ในแต่ละช่วงวัยที่เปิดรับการเรียนรู้อย่างสูงสุด และสิ่งที่สาคัญยิ่งต่อกระบวนการเรียนรู้แบบ BBL คือ การเข้าใจถึง ความแตกต่างของสมองแต่ละคน ที่มีลักษณะเฉพาะตัวสมองมนุษย์ถูกออกแบบมาเพื่อการเรียนรู้ ไม่มีมนุษย์คนใด ที่มีสมองปกติจะไม่สามารถเรียนรู้ได้หรือเรียกง่ายๆ ว่า โง่มาแต่กาเนิด เพียงแต่การพัฒนากระบวนการเรียนรู้จะดี มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อม และการจัดการเรียนรู้ที่มีอยู่รอบตัว และช่วงที่สาคัญที่สุดของพัฒนาการ พื้นฐานทางสมองมนุษย์ คือ ช่วงปฐมวัยจนถึงก่อนวัยรุ่นช่วงต้น อายุระหว่าง ๐-๑๐ ปี นักการศึกษาพบว่าสมอง มนุษย์สามารถทางานพร้อมกัน ๘ ระบบในลักษณะกระจายตัวเชื่อมดังนั้น สมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับความสามารถ ในการใช้ภ าษา สมองส่ วนที่เกี่ยวข้องกับการคานวณและตรรกะ สมองส่ว นที่เกี่ยวข้องกับตาแหน่ง ระยะและ มิติ รวมถึงสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและจังหวะ สามารถทางานและพัฒนาไปพร้อมๆ กัน ซึ่งจะลบล้างความ เชื่อเดิมที่ว่าสมองมนุษย์ทางานแบบแยกส่วนความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานสมองตามแนวใหม่นี้ คือ กุญแจ ส าคั ญ ต่ อ การพั ฒ นาการเรี ย นรู้ ที่ ไ ด้ รั บ การยกระดั บ และให้ ค วามส าคั ญ อย่ า งยิ่ ง ในประเทศต่ า งๆ ทั่ ว โลก เช่นเดียวกันประเทศไทยโดยรัฐบาลชุดปัจจุบัน ได้ให้ความสาคัญ จึงได้มอบภาระหน้าที่หลักให้กับสถาบัน วิทยาการการเรียนรู้ (สวร.) เป็นองค์การมหาชน สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี เพื่อการพัฒนากระบวนการจัดการ เรียนรู้ตามแนวทาง BRAIN-BASE LEARNING โดยการศึกษาศักยภาพของสมองของเด็กแต่ละวัย และนาผล การศึกษาที่ได้มาประมวลเป็นองค์ความรู้ที่จะขยายขอบข่ายการทางานแบบบูรณาการให้ครอบคลุมทั่วประเทศ แนวทางการจัดกระบวนการและสื่อการเรียนรู้แบบ BRAIN-BASE LEARNING สาหรับโรงเรียน ๑. จัดสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นความสนใจ กระตุ้นการเรียนรู้ เช่น อุปกรณ์ที่มีสี รูปทรง สถาปัตยกรรม สิ่งที่ ผู้เรียนออกแบบกันเอง (ไม่ใช่ครูออกแบบให้) เพื่อให้ผู้เรียนรู้สึกมีส่วนร่วมและมีความเป็นเจ้าของ ๒. สถานที่ ส าหรั บ การเรี ย นรู้ เ ป็ น กลุ่ ม ร่ ว มกั น เช่ น ที่ ว่ า งๆ ส าหรั บ กลุ่ ม เล็ ก ซุ้ ม ไม้ โต๊ ะ หิ น อ่ อ นใต้ ต้นไม้ ปรับที่ว่างเป็นห้องนั่งเล่นที่กระตุ้นการมีปฏิสัมพันธ์ จัดสถานที่ที่กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้เป็นกลุ่ม ๓. จัดให้มีการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน มีการเคลื่อนไหวกระตุ้นสมองส่วนควบคุมการทางานของ กล้ามเนื้อกับสมองส่วนหน้า ให้สมองได้รับอากาศบริสุทธิ์ ๔. ทุกส่วนของโรงเรียนจัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้เรียนที่ไหนก็ได้ เช่น บริเวณเฉลียง ทางเชื่อมระหว่างตึก สถานที่สาธารณะ ๕. เฝ้าระวังเรื่องความปลอดภัย ลดความเสี่ยงต่างๆ โดยเฉพาะชุมชนเมือง ๖. จัดสถานที่หลากหลายที่มีรูปทรง สี แสง ช่อง รู

๗. เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมบ่อยๆ เพื่อให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างหลากหลายจะกระตุ้นการ ทางานของสมอง เช่น เวทีจัดนิทรรศการซึ่งควรเปลี่ยนแปลงเป็นรูปแบบต่างๆ ๘. จัดให้มีวัสดุต่างๆ ที่กระตุ้นการเรียนรู้ พัฒนาการต่างๆ ของร่างกาย มากมายหลากหลายและสามารถ นามาจัดทาสื่อประกอบการเรียนรู้ที่มีความคิดใหม่ๆ โดยมีลักษณะบูรณาการไม่แยกส่วนจุดมุ่งหมายหลักคือ เป็น วัสดุที่ทาหน้าที่หลากหลาย ๙. กระบวนการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น เหมาะสมกับสมองของแต่ละคนและสภาวะที่เปลี่ยนแปลงไป ๑๐. จัดให้มีสถานที่สงบและสถานที่สาหรับทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น ๑๑. จัดให้มีที่ส่วนตัว เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกถึงเอกลักษณ์ของตน จัดสถานที่ส่วนตัวของตนและ สามารถแสดงความคิด สร้างสรรค์ของตนได้อย่างอิสระ ๑๒. ต้องหาวิธีที่จะให้ชุมชนและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้มากที่สุด สนามเด็กเล่นในชุมชน แหล่งเรียนรู้ ในชุมชนและทาให้โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต นาเทคโนโลยีการเรียนทางไกล ชุมชน ภาคธุรกิจ บ้าน ต้อง นาเข้ามามีส่วนและเป็นทางเลือกในการเรียนรู้ สาหรับการจัดการศึกษาปฐมวัย ซึ่งถือว่าเป็นช่วงแรกของการเรียนรู้ทุกโรงเรียนสามารถทาแนวทางการ จัดกระบวนการและสื่อการเรียนรู้แบบ BRAIN-BASE LEARNING ไปปรับใช้เตรียมการได้ จะเห็นว่าแนวทางหลาย อย่างปฐมวัยจัดอยู่แล้ ว คือ ๖ กิจกรรมหลักในกิจกรรมประจาวัน ส่วนใหญ่สอดคล้องกับแนวทางดังกล่าว ซึ่ง ผู้บริหาร ครู ผู้สอนควรส่งเสริมและเน้นให้จริงจัง เพราะเป็นนโยบายระดับชาติ การจัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้แบบ BBL ๑. จัดตกต่างห้องเรียนให้มีสีเขียว เหลือง เป็นส่วนใหญ่ ๒. ห้องเรียนและบริเวณรอบๆ ห้องเรียน มีต้นไม้ร่มรื่น ๓. จัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมกัน กระตุ้นการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ๔. จัดให้มีสถานที่ อุปกรณ์ต่างๆ อยู่ในสภาพปลอดภัย ๕. จัดให้มีการเรียนรู้จากของจริง ประสบการณ์ตรงโดยผ่านประสาททั้ง ๕ (การมองเห็น การได้ยิน การ ได้กลิ่น การได้ชิม การสัมผัส) ๖. จัดให้เด็กได้ฟังเพลงกล่อมเด็ก เพลงคลาสสิค ฟังนิทาน อ่านหนังสือให้เด็กฟัง ๗. จัดให้เด็กได้เล่น ฝึกกับเครื่องเล่นที่มีเสียงดนตรี อย่างสม่าเสมอ ๘. จัดให้เด็กได้สัมผัสกับศิลปะ ๙. จัดให้มีของเล่นที่มีรูปทรง สี อย่างหลากหลาย

๑๐. จัดให้มีกิจกรรมเคลื่อนไหวร่างกายทุกวัน ๑๑. เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมบ่อยๆ เช่น การจัดห้องเรียน จัดนิทรรศการ ฯลฯ ๑๒. การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมบ่อยๆ จะเป็นการกระตุ้นการทางานของสมอง ๑๓. จัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ยืดหยุ่นตามความแตกต่างของผู้เรียน ยาก ง่าย ตามสภาพของผู้เรียน ๑๔. จัดให้มีที่เก็บอุปกรณ์และผลงานเป็นส่วนตัวของเด็กแต่ละคน ๑๕. จัดให้มีกิจกรรมร่วมกับชุมชน เช่น เชิญเป็นวิทยากร ร่วมกิจกรรมวันสาคัญของชุมชน ฯลฯ วางแผน ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้หลากหลาย การเข้ า ใจเรื่ อ งสมอง การพั ฒ นาสมองถู ก จั ง หวะวิ ธี ครู ผู้ ป กครองที่ เ ข้ า ใจเด็ ก มี ส่ ว นช่ ว ยเด็ ก ให้ มี ศักยภาพ มีความสามารถอย่างที่ควรจะเป็นปัจจัยที่ช่วยพัฒนาสมอง คือ ๑. ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด อบอุ่นกับผู้เลี้ยงดู ๒. สิ่งแวดล้อมที่มีคนพูดคุยด้วย ๓. มีโอกาสได้เล่น ๔. มีการกระตุ้นการเรียนรู้ที่เหมาะสม การจัดการศึกษาปฐมวัย (เด็กอายุ ๓-๖ ปี) สาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การจัดการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กพิการ เด็กด้อยโอกาส เด็กที่มีความสามารถพิเศษ สามารถปรับ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้เหมาะสมกับศักยภาพของเด็กแต่ละประเภทโรงเรียนมีระบบการให้ความ ช่วยเหลือสาหรับเด็กปฐมวัย เช่น โครงการเรียนร่วม กิจกรรมคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ เป็นต้น การเชื่อมต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ การสร้ า งรอยเชื่ อมต่อ ของการศึก ษาระดับ ปฐมวั ยกั บระดั บประถมศึก ษาปีที่ ๑ มี ความส าคั ญ อย่างยิ่ง บุคลากรทุกฝ่ายจะต้องให้ความสนใจต่อการช่วยลดช่องว่ างของความไม่เข้าใจในการจัดการศึกษาทั้งสอง ระดับซึ่งจะส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอน ตัวเด็ก ผู้สอน ผู้ปกครองและบุคลากรทางการศึกษาอื่นๆทั้งระบบ การสร้างรอยเชื่อมต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ จะประสบผลสาเร็จได้ อยู่ที่ความ ร่วมมือของทุกฝ่ายและต้องดาเนินการดังต่อไปนี้ บทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการสร้างรอยเชื่อมต่อระดับปฐมวัยกับระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ๑ ผู้บริหารสถานศึกษา เป็นบุคคลสาคัญที่มีบทบาทเป็นผู้นาในการสร้างรอยเชื่อมต่อโดยเฉพาะระหว่าง หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โดยต้อง ศึกษาหลั กสู ตรทั้งสองระดับ เพื่อทาความเข้าใจและจัดระบบการบริห ารงานด้านวิช าการที่จะเอื้อต่อ รอย เชื่อมต่อการศึกษาทั้งสองระดับ โดยผู้บริหารสถานศึกษาควรดาเนินการ ดังต่อไปนี้

๑.๑ จั ด ประชุ ม ผู ้ ส อนระดั บ ปฐมวั ย และระดับประถมศึกษาร่วมกัน สร้างความเข้าใจรอย เชื่อมต่อของหลักสูตรทั้งสองระดับให้เป็นแนวปฏิบัติของสถานศึกษา เพื่อผู้สอนทั้งสองระดับจะได้เตรียมการสอน ให้สอดคล้องกับเด็กวัยนี้ ๑.๒ จัดหาเอกสารหลักสูตรและเอกสารทางวิชาการของทั้งสองระดับมาไว้ให้ผู้สอนและบุคลากร อื่นๆได้ศึกษาทาความเข้าใจ อย่างสะดวกและเพียงพอ ๑.๓ จัดกิจ กรรมให้ ผู้ส อนทั้งสองระดับมีโอกาสแลกเปลี่ ยน เผยแพร่ความรู้ใหม่ๆ ร่ว มกันจาก การอบรม ดูงาน ซึ่งไม่ควรจัดให้เฉพาะผู้สอนในระดับเดียวกันเท่านั้น ๑.๔ จัดหาวัสดุอุปกรณ์และจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการสร้างรอยเชื่อมต่อ ๑.๕ จัดกิจกรรมให้ความรู้ กิจกรรมสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ และจัดทาเอกสารเผยแพร่ให้ กับ พ่อแม่ผู้ปกครองอย่างสม่าเสมอ เพื่อ ให้กับพ่อแม่ผู้ปกครองเข้าใจการศึกษาทั้งสองระดับ และให้ความร่วมมือใน การช่วยเด็กให้สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ได้ดี ๒. ผู้สอนระดับปฐมวัย ผู้สอนนอกจากจะต้องศึกษาทาความเข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและ จั ด กิ จ กรรมพั ฒ นาเด็ ก ของตนแล้ ว ควรศึ ก ษาหลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานการจั ด การเรี ย นการสอนใน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และสร้างความเข้าใจให้กับผู้ปกครองและบุคลากรอื่นๆรวมทั้งช่วยเหลือเด็กในการปรับตัว ก่อนเลื่อนขึ้นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โดยผู้สอนอาจจัดกิจกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ๒.๑ เก็ บ รวบรวมข้ อ มูลเกี่ยวกับตัวเด็กเป็นรายบุคคลเพื่อส่งต่อผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ซึ่ง จะทาให้ผู้สอนระดับประถมศึกษาสามารถใช้ข้อมูลนั้นช่วยเหลือเด็กในการปรับตัวเข้ากับการเรียนรู้ใหม่ต่อไป ๒.๒ พู ดคุย กับ เด็กถึ งประสบการณ์ที่ดี ๆเกี่ ยวกั บการจัด การเรีย นรู้ใ นระดับชั้ นประถมศึกษา ปีที่ ๑ เพื่อให้เด็กเกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ ๒.๓ จัดให้เด็กได้มีโอกาสทาความรู้จักกับผู้สอนตลอดจนสภาพแวดล้อม บรรยากาศของห้องเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ทั้งที่อยู่ในสถานศึกษาเดียวกันหรือสถานศึกษาอื่น ๒.๔ จัดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ หนังสือที่เหมาะสมกับเด็ก ที่ส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้และมีประสบการณ์พื้นฐานที่ สอดคล้องกับการสร้างรอยเชื่อมต่อในการเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๓ ผู้ ส อนระดับ ประถมศึกษา ต้องมีความรู้ความเข้าใจในพัฒ นาการเด็กปฐมวัย และเจตคติที่ดีต่อ การจัดประสบการณ์ ตามหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อนามาเป็นข้อมูล การพัฒนาจัดการเรียนรู้ในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ ให้ต่อเนื่องกับการพัฒนาเด็กในระดับปฐมวัย โดยผู้สอนระดับประถมศึกษาควรดาเนินการ ดังนี้ ๓.๑ จัดกิจกรรมให้เด็กและผู้ปกครองมีโอกาสได้ทาความรู้จัก คุ้นเคยกับผู้สอนและห้องเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ ก่อนเปิดภาคเรียน ๓.๒ จัดสภาพห้องเรียนให้ใกล้เคียงกับห้องเรี ยนระดับปฐมวัย โดยจัดให้มีมุมประสบการณ์ภายใน ห้อง เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสทากิจกรรมได้อย่างอิสระเช่น มุมหนังสือ มุมเกมการศึกษา มุมของเล่น เพื่อช่วยให้เด็ก ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ได้ปรับตัวและเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ๓.๓ จั ด กิ จ กรรมร่ ว มกั น กั บ เด็ ก ในการสร้ า งข้ อ ตกลงเกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ต น ๓.๔ จั ด กิ จ กรรมช่ ว ยเหลื อ ส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ ให้ กั บ เด็ ก ตามความแตกต่ า งระหว่ า ง บุ ค คล

๓.๕ เผยแพร่ข่าวสารด้านการเรียนรู้และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก พ่อแม่ ผู้ปกครองและชุมชน ๔. พ่อแม่ ผู้ปกครองเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมการศึกษาของบุตรหลานและ เพื่อช่วยบุตรหลานของตนในการศึกษาต่อชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑พ่อแม่ ผู้ปกครองควรดาเนินการ ดังนี้ ๑.๑ ศึกษาและทาความเข้าใจหลักสูตรทั้งสองระดับ ๑.๒ จัดหาหนังสือ อุปกรณ์ที่เหมาะสมกับวัยเด็ก ๑.๓ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับบุตรหลานให้ความรัก ความเอาใจใส่ ดูแลบุตรหลานอย่างใกล้ชิด ๑.๔ จัดเวลาในการทากิจกรรมร่วมกับบุตรหลาน เช่น เล่านิทาน อ่านหนังสือร่วมกัน สนทนา พูดคุย ซักถามปัญหาในการเรียน ให้การเสริมแรงและให้กาลังใจ ๑.๕ ร่วมมือกับครูผู้สอนและสถานศึกษาในการช่วยเตรียมตัวบุตรหลาน เพื่อช่วยให้บุตรหลานของ ตนปรับตัวได้ดีขึ้น การกากับ ติดตาม ประเมินและรายงานการใช้หลักสูตร สถานศึกษากาหนดเป้าหมายของการนิเทศ ติดตามและประเมินผลตามสภาพความสาเร็จของการ ดาเนินการ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินการบริหารจัดการตามหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยใช้วิธีการนิเทศแบบมีส่ วนรวมในการนิเทศภายในและนิเทศภายนอก มีการ ประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและ เพื่อการ ประกันคุณภาพภายนอก การจัดการศึกษาปฐมวัยมีหลักการสาคัญในการให้สังคม ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและ กระจายอานาจการศึกษาลงไปยั งท้องถิ่น โดยตรงโดยเฉพาะสถานศึกษาหรือสถานพัฒ นาเด็กปฐมวัยซึ่ งเป็ น ผู้จั ดการศึกษาในระดับ นี้ ดังนั้ น เพื่อให้ ผลผลิ ตทางการศึกษาปฐมวัยมีคุณภาพตามมาตรฐานคุณลั กษณะที่พึง ประสงค์และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสั งคม จาเป็นต้องมีระบบการกากับ ติดตาม ประเมินและ รายงานที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ทุกกลุ่ม ทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมรับผิดชอบในการจัดการศึกษาเห็นความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค ตลอดจนการให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ ส่งเสริมสนับสนุน การวางแผนและดาเนินงานการจัด การศึกษาปฐมวัยให้มีคุณภาพอย่างแท้จริง การกากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลการจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นส่ว นหนึ่งของกระบวนการ บริหารการศึกษาและระบบการประกันคุณภาพที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย สร้างความมั่นใจให้ผู้เกี่ยวข้ องโดยต้องมีดาเนินการที่เป็นระบบเครือข่ายครอบคลุม ทั้ ง หน่ ว ยงานภายในและภายนอก ตั้ ง แต่ ร ะดั บ ชาติ เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาและสถานศึ ก ษา ในรู ป แบบของ คณะกรรมการที่มาจากบุคคลทุกระดับและทุกอาชีพ การกากับดูแลและประเมินผล ต้องมีการรายงานผลจากทุก ระดับให้ทกุ ฝ่ายรวมทั้งประชาชนทั่วไปทราบ เพื่อนาข้อมูลจากรายงานผล มาจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษาเด็กปฐมวัยต่อไป

การประเมินพัฒนาการ ติดตาม รวบรวม สรุปผลพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ตามหลักสูตรโรงเรียนวัดบัวขวัญ ระดับการศึกษาปฐมวัย

๑. ศึกษาข้อมูล หลักการแนวคิดรูปแบบและวิธีการ ประเมินพัฒนาการที่สอดคล้องกับ กระบวนการเรียนรู้ของโรงเรียน

๓. ระบุวิธีการและเกณฑ์ที่ใช้ * ประเมินตามสภาพจริงในลักษณะ เช่นเดียวกับการปฏิบัติกิจกรรมประจาวัน โดยการสังเกตบันทึกพฤติกรรม การสนทนา / สัมภาษณ์ การประเมินพัฒนาการ การตรวจสุขภาพร่างกาย

๔. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินพัฒนาการ * ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ -แบบสังเกตพฤติกรรม -แบบประเมินพัฒนาการ -Portfolio -อุปกรณ์สาหรับบันทึกภาพหรือเหตุการณ์ ต่างๆ เพื่อจัดทาสารนิทัศน์ * ลักษณะของเครื่องมือ -ประเมินพัฒนาการครบทุกด้าน -เหมาะสมกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของ เด็ก

๒. กาหนดจุดมุ่งหมาย รายงานความก้าวหน้าและ พัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็ก นาผลการประเมินมาพัฒนาการ จัดกิจกรรมและการจัดการศึกษา บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็ก สาหรับศึกษาต่อไปในระดับต่อไป

5. ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการนาไปใช้ ประเมินเป็นรายบุคคลอย่าง สม่าเสมอและต่อเนื่อง นาข้อมูลการประเมินมา พิจารณาปรับปรุง วางแผนการ จัดกิจกรรมและการจัดการศึกษา อย่างมีคุณภาพ รายงานผลการประเมินให้กับ ผู้ปกครอง

การบริหารจัดการหลักสูตร กาหนดเป้ าหมายของการนิ เทศ ติดตาม และประเมินผลตามสภาพความสาเร็จของการดาเนินการ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินการบริหารจัดการตามหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยวิธีการนิเทศแบบมีส่วนร่วมในการนิเทศภายในและนิเทศภายนอก มีการประกันคุณภาพ ภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและ เพื่อการประกันคุณภาพ ภายนอก ๑. กาหนดคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ๒. ร่างหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ๓. ประชุมลงความเห็นและสรุปร่วมกัน ๔. ตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษา ๔.๑ ประเมินก่อนนาหลักสูตรไปใช้โดยครูผู้สอน เพื่อตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร ๔.๒ ประเมิน ระหว่า งการใช้ห ลั ก สู ตร โดยประเมิ นความเป็ นไปได้ ในการนาไปใช้ไ ด้ ดี เพียงใด การปรับปรุงเรื่องใด ๔.๓ ประเมินหลังการใช้หลักสูตรให้ครบแต่ละช่วงอายุ ๔ ปี ๕ ปี และการบรรลุ มาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๕. จัดทาเป็นหลักสูตรฉบับสมบูรณ์

บรรณานุกรม สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๖๐). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จากัด. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๖๐). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (สาหรับเด็กอายุ ๓-๖ ปี). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย จากัด.

คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

นายธเนศ นางสุธีรา นางสาวสิริบังอร นางสาวพัชรินทร์ นายศิริศักดิ์ นางสาวนุชจรี นางสาวสรัลชนา

พจน์สุนทร สุขเจริญ เมืองนาง ปานทอง พรหมเกิด ถ่ายกลาง ปี่ทอง

ผู้อานวยการโรงเรียนวัดบัวขวัญ ประธาน ครู กรรมการ ครู กรรมการ ครู กรรมการ ครูอัตราจ้าง กรรมการ ครูผู้ช่วย กรรมการและเลขานุการ ครูผู้ช่วย กรรมการและเลขานุการ

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.