วันเด็กแห่งชาติ2566 Flipbook PDF

วันเด็กแห่งชาติ2566

94 downloads 119 Views 15MB Size

Recommend Stories


Decreto 2566 de Septiembre 10 de 2003
Decreto 2566 de Septiembre 10 de 2003 Por el cual se establecen las condiciones mínimas de calidad y demás requisitos para el ofrecimiento y desarroll

Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

Story Transcript

1


2 บันทึกข้อความ ส่วนราชการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองอ านาจเจริญ 045-512125 ที่ ศธ 0210.8701/................. วันที่ 19 เดือน มดราคม พ.ศ.2566 เรื่อง รายงานผลการจัดโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เรียน ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองอ านาจเจริญ ตามที่ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดอ านาจเจริญ ได้ด าเนินการจัดโครงการส่งเสริม ทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดีโดยห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราช กุมารี” จังหวัดอ านาจเจริญ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองอ านาจเจริญ จัด โครงการดังกล่าวได้จัดขึ้นเป็น ในวันที่ 13-14 มกราคม พ.ศ.2566 ณ โรงเรียนอ านาจเจริญ อ าเภอเมือง อ านาจเจริญ จังหวัดอ านาจเจริญ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดอ านาจเจริญ ได้ด าเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศัย โครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี เรียบร้อยแล้วรายละเอียดตามเอกสารที่แนบมาพร้อมนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ (นายชรัชวิช สุระสาย) ต าแหน่ง บรรณารักษ์ ความเห็นหัวหน้าสถานศึกษา .............................................. .............................................. (นางถนอม ใจกล้า) ผู้อ านวยการ กศน.อ าเภอเมืองอ านาจเจริญ


3 ค าน า ห้องสมุดประชาชนอ าเภอ “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดอ านาจเจริญเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่จัดบิการให้ การศึกษาตามอัธยาศัยที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ซึ่งถือเป็นการศึกษาตลอด ชีวิต องค์ประกอบในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองที่ส าคัญมากอย่างหนึ่งคือการอ่าน สิ่งที่เป็นพื้นฐานส าคัญในการ รักการอ่านคือ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าแหล่งความรู้ ข่าวสารข้อมูล ห้องสมุด ประชาชนในฐานะเป็นแหล่งการเรียนรู้ส าหรับประชาชนเห็นความส าคัญของการอ่านและการเรียนรู้ จึงจัดโครงการ ส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริม ให้เด็กและเยาวชนมีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญาเป็นผู้ มีความรู้คู่คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการด ารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนางานเจ้าหน้าที่ห้องสมุดประชาชนอ าเภอ “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดอ านาจเจริญ จึงได้จัดท าสรุปโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี พร้อมแบบประเมินผู้เข้าเข้ากิจกรรม ซึ่งได้รวบรวมสรุปไว้ในเอกสารเล่มนี้ เพื่อให้ทราบถึงปัญหาและความต้องการ ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถน าบทสรุปไปพัฒนาและด าเนินงานในกิจกรรมครั้งต่อไป ห้องสมุดประชาชนอ าเภอ “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดอ านาจเจริญ


4 สารบัญ เรื่อง หน้า โครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี บทที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของโครงการฯ 4 บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวข้องของโครงการ 6 บทที่ 3 วิธีด าเนินการ 9 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 10 ตอนที่ ๑ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถาม 10 ตอนที่ ๒ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็น ความพึงพอใจ 14 ตอนที่ ๓ ข้อเสนอแนะ 16 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 16 ภาคผนวก คณะผู้จัดท า


1 บทที่ ๑ โครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี วันเสาร์ ที่ 14 เดือน มกราคม พ.ศ.2566 ณ โรงเรียนอ านาจเจริญ หลักการและเหตุผล ตามนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ และ นโยบายเร่งด่วน ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อมในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้เป็นแหล่ง สารสนเทศสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นคาเฟ่พื้นที่การเรียนรู้ส าหรับคนทุก ช่วงวัย มีสิ่งอ านวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชีวิต ที่ดึงดูดความสนใจ และมีความปลอดภัยส าหรับ ผู้ใช้บริการ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้ส าหรับทุกคน สามารถ เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนไปสู้การจัดการความรู้ของชุมชนอย่างยั่งยืน เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนอย่างมีคุณภาพ โดยปลูกฝังตั้งแต่เป็นเด็กและเยาวชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองอ านาจเจริญ จึงได้จัดโครงการส่งเสริมทักษะการ อ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ขึ้น วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้เด็กและเยาวชนอ าเภอที่เข้าร่วมโครงการมีนิสัยรักการอ่าน ๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนอ าเภอเมืองอ านาจเจริญใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ผลการด าเนินกิจกรรม ห้องสมุดประชาชนอ าเภอ “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดอ านาจเจริญ จัดโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและ การเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดีขึ้นในวันเสาร์ ที่ 14 เดือน มกราคม พ.ศ.2566 ณ โรงเรียนอ านาจเจริญ กลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนอ าเภอเมืองอ านาจเจริญ จ านวน ๒0๐ คน โดยมีผู้เข้าร่วม กิจกรรมจริงทั้งสิ้น จ านวน 201 คน กิจกรรมที่ด าเนินการมีดังนี้ กิจกรรมที่จัดขึ้นดังนี้ 1.กิจกรรมปิงโก สถานที่ส าคัญในอ านาจเจริญ ๒.กิจกรรมเสริมสร้างศิลปะ ฝึกทักษะระบายสีปูนปั้น ๓.กิจกรรมไข่ปริศนา ทายปัญหาจากไข่ เครือข่าย/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.โรงเรียนอ านาจเจริญ 2.ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดอ านาจเจริญ ๓.องค์การบริหารส่วนจังหวัดอ านาจเจริญ ๔.เทศบาลเมืองอ านาจเจริญ บทที่ ๑ โครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี วันเสาร์ ที่ 14 เดือน มกราคม พ.ศ.2566 ณ โรงเรียนอ านาจเจริญ


2 การประเมินกิจกรรม การสังเกต สังเกตจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกินเป้าหมายที่ก าหนด โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริม ทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดีจ านวน 201 คน ทั้งนี้เนื่องจาก เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปต่างให้ความสนใจเป็นอย่างมากและให้ความส าคัญในวันเด็กแห่งชาติ โดย ตระหนักถึงความส าคัญของเด็กในอนาคตข้างหน้า แบบส ารวจ เป็นการส ารวจแบบสุ่มตัวอย่าง จ านวน ๑๐๐ คน จากจ านวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 201 คน และสามารถสรุปแบบส ารวจได้ตามผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการ เรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี


3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การประเมินโครงการผู้ประเมินได้ศึกษาข้อมูลจากเอกสารดังรายละเอียดที่จะน าเสนอต่อไปนี้ ๑. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ๒. หลักการประเมินผลโครงการ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ทุกประเภท ควรน าหลักการจัดกิจกรรมทางการศึกษาตลอดชีวิตมาเป็น แนวทางในการจัดกิจกรรม โดยมุ่งเน้นให้กลุ้มเป้าหมายเกิดทักษะในการแสวงหาความรู้ที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิต ด้วยเนื้อหาและวิธีการที่หลากหลายตามความต้องการ ความจ าเป็นแต่ล่ะบุคคล มีความยืดหยุ่นเข้าถึงง่าย ปราศจากเกณฑ์และระเบียบต่างๆ ที่จะปิดกั้นความต้องการการเรียนรู้ของบุคคล (สุมาลี สังข์ศรี ๒๕๔๔ : ๑๗๔- ๑๗๖) แนวทางการจัดกิจกรรมมีดังนี้ 1.ด้านกิจกรรม ควรจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาทันสมัย ทันเหตุการณ์ หลากหลายตรงความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายทุกเพศ ทุกวัย และผสมกลมกลืนกับการด ารงชีวิตประกอบด้วยเนื้อหาที่เป็นพื้นฐานในการด ารงชีวิต เช่น การอ่าน การเขียน การวิเคราะห์เนื้อหา และทักษะการประกอบอาชีพต่างๆ และเนื้อหาการพัฒนาคุณภาพ ชีวิต (สุมาลี สังข์ศรี ๒๕๔๔ : ๑๗๙) 2.ด้านการด าเนินการ - ควรจัดกิจกรรมในช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม สอดคล้องกับวิถีชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย - ควรจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและสม่ าเสมอ กลุ่มเป้าหมายที่มีความพร้อมสามารถเข้าร่วม กิจกรรมได้ทันทีตลอดเวลา - การจัดกิจกรรมต้องเปิดกว้าง ยืดหยุ่น เข้าถึงง่าย ปราศจากกฎระเบียบและเงื่อนไขที่ยุ่งยาก ซับซ้อนในการเข้าร่วมกิจกรรม - ควรให้กลุ่มเป้าหายมีส่วนร่วมในกิจกรรม เพื่อการพัฒนาตนเองในด้านร่างกาย คือ ได้ใช้ส่วน ต่างๆของร่างกาย ประสาทจะเกิดการรับรู้ตื่นตัวพร้อมที่จะรับข้อมูล ด้านสติปัญญาคือ ได้ใช้สมองจดจ่อในการคิด ท ากิจกรรม สนุกที่จะคิด ด้านสังคมคือ ได้ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นและสิ่งแวดล้อม และด้านอารมณ์ คือ มีความ ต้องการยินดีที่เข้าร่วมท ากิจกรรมเพื่อแสวงหาความรู้ที่มีความหมายต่อตัวเอง เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับชีวิต ประสบการณ์และความเป็นจริง หรือเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องโดยตรงหรือใกล้ตัวเอง (ทิศนา แขมมณี, ๒๕๔๒ : ๖-๗) - ควรมีการแสวงหาภาคีเครือข่ายร่วมจัดกิจกรรม เพื่อให้เกิดความหลากหลาย แปลกใหม่ ถูกใจกลุ่มเป้าหมายตลอดเวลา - ควรมีการประเมินผลความพึงพอใจกลุ่มเป้าหมายทุกครั้งที่จัดกิจกรรม เพื่อน าผลมาปรับปรุง แก้ไขพัฒนากิจกรรมให้ถูกใจกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น - ควรด าเนินการประชาสัมพันธ์หลายช่องทาง ต่อเนื่อง สม่ าเสมอ เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย มากที่สุด บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง


4 หลักการประเมินผลโครงการ สมหวัง พิธิยานุวัฒน์(๒๕๔๑) มองการประเมินไปในแง่การตัดสินคุณค่า โดยให้ความหมายของการ ประเมิน หมายถึง การตัดสินคุณค่า นอกจากนี้ สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ยังได้กล่าวเพิ่มเติมว่า จุดเน้นการประเมิน คือการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้สารสนเทศ เพื่อตัดสินคุณค่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยเฉพาะผลการประเมินมีความเป็นเฉพาะสูงมาก ซึ่งแตกต่างจากผลการวิจัยที่มีความเป็นสากลสูง นิศา ชูโต (๒๕๒๗) คุณค่า โดยให้ความหมายของการประเมิน หมายถึง กิจกรรมการรวบรวมข้อมูล การ วิเคราะห์ความหมาย ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับความต้องการ การหาแนวทางวิธีการปรับปรุง วิธีการจัดโครงการและหา สาเหตุที่แน่ใจที่เกิดจาดโครงการ เพื่อเป็นการเพิ่งคุณภาพและประสิทธิภาพของโครงการให้ดียิ่งขึ้น สมชัย วงษ์นายะ และคณะ (๒๕๓๖) คุณค่า โดยให้ความหมายของการประเมิน หมายถึง การตัดสิน คุณค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อีกนัยหนึ่งคือ การประเมินเป็นกระบวนการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศส าหรับตัดสินคุณค่าของ โปรแกรมการศึกษาผลผลิต กระบวนการ จุดมุ่งหมายของโครงการหรือโปรแกรมหรือทางเลือกต่างๆ ที่ออกแบบเพื่อ ไปปฏิบัติให้บรรลุจุดมุ่งหมาย ประเภทของการประเมินโครงการ ได้มีผู้แบ่งประเภทของการประเมินโครงการเป็น ๔ แบบ คือ ๑. การประเมินประสิทธิผล คือเป็นการประเมินขีดความส าเร็จของโครงการเทียบกับ วัตถุประสงค์ของโครงการหรือเป้าหมายที่ก าหนดไว้ก่อนการด าเนินโครงการการประเมินประสิทธิผลของโครงการ นั้น เป็นการประเมินโดยใช้วัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการเท่านั้นเป็นเกณฑ์การประเมินขีดความส าเร็จ ดังนั้นการพิจารณาขีดความส าเร็จของโครงการเพียงล าพังโดยไม่พิจารณาร่วมไปกับระดับของวัตถุประสงค์ และ เป้าหมายที่ก าหนดไว้นั้น จึงมักจะไม่มีความหมาย ดังนั้นการเปรียบเทียบประสิทธิผลของโครงการ จึงต้องท าด้วย ความระมัดระวังมาก และต้องค านึงถึงปัจจัยต่างๆ ประกอบด้วยอัตราประสิทธิผลของวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมาย ที่ก าหนดไว้ ฐานของวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตลอดจนสภาพแวดล้อมอื่นๆ การประเมินประสิทธิผลส่วนใหญ่มีการ ประเมินกันมักจะเป็นประสิทธิผลของการด าเนินงาน คือ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่ก าหนดไว้ ๒. การประเมินผลกระทบที่เกิดจากโครงการ เป็นอีกระดับหนึ่งที่กว้างไกลไปกว่าการประเมินผล การด าเนินงาน การประเมินในลักษณะนี้จะพยายามวัดสิ่งที่เกิดขึ้นเนื่องจากโครงการ เช่น การจัดให้มีการฉีดวัคซีน ในเด็กครบ ๓ ครั้งในขวบปีแรก ก็จะประเมินได้ว่าสามารถลดโรคคอตีบและไอกรนในเด็กได้มากน้องเพียงใด การ ประเมินผลที่เกิดจากโครงการนั้น มีระดับการประเมินผลที่เกิดขึ้นได้หลายระดับ ยิ่งผลที่เกิดขึ้นเป็นระดับที่สูง หรือ ไกลมากเท่าใด ความเกี่ยวข้องของโครงการต่อผลนั้นก็ยิ่งน้อยลง เพราะมีปัจจัยอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยมากยิ่งขึ้น ดังนั้นผู้ประเมินต้องชัดเจนตั้งแต่ก่อนการท าประเมิน ว่าประเมินเพื่อวัตถุประสงค์อะไร และต้องการประที่เกิดจาก โครงการในระดับใด จึงเหมาะสมที่สุด มีความเชื่อมั่นได้และเป็นประโยชน์ ๓. การประเมินประสิทธิภาพ ค าว่า ประสิทธิภาพ หมายถึงสัดส่วนระหว่างที่ได้ออกมากับสิ่งที่ใช้ ไป ซึ่งส่วนใหญ่ที่ใช้ไปมักจะหมายถึง ทรัพยากรต่างๆ ที่ใช้ไป การประเมินประสิทธิภาพของโครงการนั้นจะเน้นการ ใช้ปัจจัยและทรัพยากรต่างๆ ว่าได้ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดหรือไม่ ๔. ด้านประเมินกระบวนการ เป็นการประเมินที่มุ่งความสนใจไปในสิ่งที่ออกมาเทียบกับเป้าหมาย โดยไม่ให้ ความส าคัญน้อยมากกับปัญหาที่ว่าเป้าหมายบรรลุได้อย่างไร หรือเป้าหมายถึงไม่บรรลุตามที่วางแผนไว้ การประเมิน ประสิทธิภาพจะเป็นการประเมิน ซึ่งมีความส าคัญกับกระบวนการบ้าง ท าอย่างไรจึงจะเกิดการใช้ทรัพยากรที่จ ากัด นั้นมากขึ้นแต่เป็นการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของวิธีการที่ใช้อยู่หรือใช้ไปแล้ว ส่วนการประเมินกระบวนการนั้น


5 บทที่ 3 วิธีด าเนินการ กลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ๑. ประชากร ประกอบด้วย เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ๒. กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ที่เข้าร่วมโครงการ โดยการสุ่มกลุ่ม ตัวอย่างแบบบังเอิญ จ านวน ๑๐๐ คน จากทั้งหมด 201 คน เข้าร่วมโครงการ แบบสอบถามที่ใช้ในการประเมินผล ๑. แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและ เยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี” แบ่งออกเป็น ๓ ตอนคือ ตอนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของผู้กรอกแบบสอบถาม ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจ มี 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ตอนที่ ๓ ข้อเสนอแนะ การเก็บรวบรวมข้อมูลและการจัดกระท าข้อมูล ๑. การเก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมินโครงการจากการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เข้าร่วม กิจกรรม จ านวน ๑ ครั้ง ๒. การจัดกระท าข้อมูล น าแบบสอบถามที่ได้รับคืนมาตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ เพื่อน าไปวิเคราะห์ โดยวิธีการหาค่าร้อยละ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล แบบประเมินผลตอนที่ ๑ การแจกแจงความถี่และค่าร้อยละ แบบประเมินผลตอนที่ ๒ การแจกแจงความถี่และค่าร้อยละ แบบประเมินผลตอนที่ ๓ เป็นค าถามปลายเปิด น าข้อเสนอแนะที่มีความเรียงคล้ายกันมาสรุป ตามล าดับความถี่ การน าเสนอข้อมูล การน าเสนอข้อมูล เป็นการน าเสนอในรูปแบบความเรียง ประกอบรายละเอียดในตาราง และแผนภูมิ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินกิจกรรม ผู้ร่วมกิจกรรม เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป หน่วยงานราชการ บริษัท /ห้างร้าน และประชาชน ทั่วไปจ านวนจ านวน 201 คน สรุปผลการประเมินความพึงพอใจโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี” โดยการสุ่มตัวอย่าง จ านวน ๑๐๐ ชุด มีผู้ส่งแบบประเมิน ทั้งหมด ๑๐๐ ชุด คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ผลการประเมิน บทที่ 3 วิธีด าเนินการ


6 ๐ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ๕๐ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ชาย หญิง ๒๙ ๗๑ ๒๙.๐๐ ๗๑.๐๐ จ าแนกตามเพศของผู้ตอบแบบประเมิน จ านวน ร้อยละ บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ ๑ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ ช่วงอายุ การศึกษา อาชีพ ตารางที่ ๑ แสดงการจ าแนกเพศผู้ตอบแบบประเมิน เพศ จ านวน คิดเป็นร้อยละ ชาย ๒๙ ๒๙ หญิง ๗๑ ๗๑ รวม ๑๐๐ ๑๐๐ จากตารางที่ ๑ ผู้ตอบแบบประเมิน เพศหญิงมีจ านวนมากกว่า ๗๑ คนคิดเป็นร้อยละ ๗๑ และเพศ ชาย ๒๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๙ แผนภูมิที่ ๑ แสดงข้อมูลจ าแนกตามเพศของผู้ตอบแบบประเมิน เพศหญิงมีจ านวนมากกว่า ๗๑ คนคิด เป็นร้อยละ ๗๑ และเพศชาย ๒๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๙ บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล


7 ตารางที่ ๒ แสดงการจ าแนกช่วงอายุของผู้ตอบแบบประเมิน อายุ จ านวน คิดเป็นร้อยละ ต ากว่า ๗ ปี - ๐ ๗ – ๑๕ ปี ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๖ – ๒๔ ปี - ๐ ๒๕ ปีขึ้นไป - ๐ รวม ๑๐๐ ๑๐๐ จากตางรางที่ ๒ ช่วงอายุผู้ตอบแบบประเมินมีจ านวนมากที สุด คือ อายุ ๗ – ๑๕ ปี มีจ านวนมากกว่า ๑๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ส่วนช่วงอายุ ๑๖ – ๒๔ ปีจ านวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐ อายุต ากว่า ๗ ปี, และ อายุ ๒๕ ปีขึ้น คิดเป็นร้อยละ ๐ ตามล าดับ แผนภูมิที่ ๒ แสดงข้อมูลจ าแนกตามช่วงอายุของผู้ตอบแบบประเมิน ช่วงอายุ ผู้ตอบแบบประเมินมีจ านวนมากที สุด คือ คือ อายุ ๗ – ๑๕ ปี มีจ านวนมากกว่า ๘๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๐ รองลงมา อายุ ๑๖ – ๒๔ ปี จ านวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐ ส่วนช่วงอายุต ากว่า ๗ ปี, และ อายุ ๒๕ ปีขึ้น คิดเป็นร้อยละ ๐ ตามล าดับ ๐ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ๕๐ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๐ ๑๐๐ ๐ ๐ ๐ ๑๐๐ ๐ ๐ จ าแนกตามช่วงอายุผู้ตอบแบบประเมิน จ านวน ร้อยละ


8 ตารางที่ ๓ แสดงการจ าแนกระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบประเมิน การศึกษา จ านวน คิดเป็นร้อยละ ต ากว่าประถมศึกษา - ๐ ประถมศึกษา ๑๐๐ ๑๐๐ มัธยมศึกษาต้น ๐ ๐ มัธยมศึกษาปลาย - ๐ รวม ๑๐๐ ๑๐๐ จากตารางที่ ๓ ผู้ตอบแบบประเมินมีการศึกษาอยู่ที ประถมศึกษามากที สุดมีจ านวน ๑๐๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๐๐ รองลงมา อายุ ๑๖ – ๒๔ ปี จ านวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐ ส่วนช่วงอายุต ากว่า ๗ ปี, และ อายุ ๒๕ ปีขึ้น คิดเป็นร้อยละ ๐ ตามล าดับ แผนภูมิที่ ๓ แสดงข้อมูลแยกตามระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบประเมิน มีการศึกษาอยู่ที ประถมศึกษามากที สุดมีจ านวน ๑๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ รองลงมา อายุ ๑๖ – ๒๔ ปี จ านวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐ ส่วนช่วงอายุต ากว่า ๗ ปี, และ อายุ ๒๕ ปีขึ้น คิดเป็นร้อยละ ๐ ตามล าดับ ๐ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ๕๐ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๐ ๑๐๐ ๐ ๐ ๐ ๑๐๐ ๐ ๐ จ าแนกตามระดับการศึกษาผู้ตอบแบบประเมิน จ านวน ร้อยละ


9 ตารางที่ ๔ แสดงการจ าแนกอาชีพของผู้ตอบแบบประเมิน อาชีพ จ านวน คิดเป็นร้อยละ นักเรียน / นักศึกษา ๑๐๐ ๑๐๐ ข้าราชการ / พนักงานราชการ - - เกษตร - - ค้าขาย - - ลูกจ้างรัฐและเอกชน - - รวม ๑๐๐ ๑๐๐ จากตางรางที่ ๔ ผู้ตอบแบบประเมินมีอาชีพ นักเรียน / นักศึกษา มากที สุด ๑๐๐ คนคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ส่วน ข้าราชการ / พนักงานราชการ เกษตร ค้าขาย ลูกจ้างรัฐและเอกชน คิดเป็นร้อยละ ๐ แผนภูมิที่ ๔ แสดงข้อมูลจ าแนกตามอาชีพของผู้ตอบแบบประเมิน ผู้ตอบแบบประเมินมีอาชีพ นักเรียน/นักศึกษา มากที สุด ๑๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ส่วนข้าราชการ / พนักงานราชการ เกษตร ค้าขาย ลูกจ้างรัฐและเอกชน คิดเป็นร้อยละ ๐ ๐ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ๕๐ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๑๐๐ ๐ ๐ ๐ ๐ จ าแนกตามอาชีพผู้ตอบแบบประเมิน จ านวน ร้อยละ


10 ตอนที่ ๒ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็น ความพึงพอใจเกี่ยวกับการจัดโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและ การเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี ที่ รายการประเมิน ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อย ที่สุด ๑ สถานที่ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม ๘๑ ๖ ๑2 1 - ๒ วันเวลาที่จัดกิจกรรมมีความเหมาะสม ๗๗ ๘ ๑๕ - - ๓ การประชาสัมพันธ์กิจกรรมทั่วถึง ๗๘ ๕ ๑2 5 - ๔ กิจกรรมแต่ละประเภทมีความเหมาะสม ๘๓ ๖ ๑๑ - - ๕ วัสดุ/ อุปกรณ์ จัดกิจกรรมเพียงพอต่อความต้องการ ๘๐ ๙ ๑๑ - - ๖ ของขวัญ รางวัล มีความเหมาะสมในแต่ละกิจกรรม ๙๑ ๗ ๒ - - ๗ การอ านวยความสะดวกของเจ้าหน้าที่ทั่วถึง ๗๖ ๗ ๑6 1 - ๘ ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพียงใด ๘๑ ๙ ๑๐ - - ๙ ประโยชน์และความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการ ๘๓ ๗ ๑๐ - - ๑๐ โดยภาพรวมท่านมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ เพียงใด ๙๐ ๗ ๓ - - รวม ๘๒๐ ๗๑ ๑๐2 7 - รวมทั้งหมด ๑,๐๐๐ สูตรการหา = จ านวนที่ได้ X ๑๐๐ จ านวนทั้งหมด


11 ตารางที่ ๕ แสดงข้อมูลผู้ประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดสรุปผลโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการ เรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี ระดับความคิดเห็น จ านวน คิดเป็นร้อยละ มากที่สุด ๘๒๐ ๘๒ มาก ๗๑ ๗ ปานกลาง ๑๐2 ๑0 น้อย 7 1 น้อยที่สุด - - รวม ๑,๐๐๐ ๑๐๐ ตารางที่ ๕ แสดงข้อมูลการจ าแนกผู้ประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดสรุปผลโครงการส่งเสริมทักษะ การอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดีอยู่ในระดับมากที่สุด ๘๒๐ คิดเป็นร้อย ละ ๘๒ ระดับมาก ๗๑ คิดเป็นร้อยละ ๗ ระดับปานกลาง ๑๐2 คิดเป็นร้อยละ ๑0 และระดับน้อย 7 คิดเป็น ร้อยละ 1 ส่วนระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๐ แผนภูมิที่ ๕ แสดงข้อมูลการจ าแนกระดับความพึงพอใจการจัดโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการ เรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดีอยู่ในระดับมากที่สุด ๘๒๐ คิดเป็นร้อยละ ๘๒ ระดับมาก ๗๑ คิดเป็นร้อยละ ๗ ระดับปานกลาง ๑๐2 คิดเป็นร้อยละ ๑0 และระดับน้อย 7 คิดเป็นร้อยละ 1 ส่วนระดับ น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๐ ๐ ๑๐๐ ๒๐๐ ๓๐๐ ๔๐๐ ๕๐๐ ๖๐๐ ๗๐๐ ๘๐๐ ๙๐๐ ๘๒๐ ๗๑ ๑๐๒ ๗ ๐ ๘๒ ๗ ๑๐ ๑ ๐ จ าแนกความคิดเห็นผู้ประเมิน จ านวน ร้อยละ


12 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปการประเมิน จากการสรุปการประเมินผลโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี พบว่าผู้ร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที สุด เมื อพิจารณาเป็น รายข้อพบว่ามีความพึงพอใจในระดับมากที สุด ๘๒๐ คิดเป็นร้อยละ ๘๒ ระดับมาก ๗๑ คิดเป็นร้อยละ ๗ ระดับ ปานกลาง ๑๐2 คิดเป็นร้อยละ ๑0 และระดับน้อย 7 คิดเป็นร้อยละ 1 ส่วนระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๐ อภิปรายผล จากการสรุปการประเมินผลโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดีของห้องสมุดประชาชนอ าเภอ “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดอ านาจเจริญ พบว่าผลการ ประเมินเฉลี่ย ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความพึงพอใจใน ระดับมากที่สุด ๘๒๐ คิดเป็นร้อยละ ๘๒ ระดับมาก ๗๑ คิดเป็นร้อยละ ๗ ระดับปานกลาง ๑๐2 คิดเป็นร้อยละ ๑0 และระดับน้อย 7 คิดเป็นร้อยละ 1 ส่วนระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๐ นั่นแสดงว่าผู้ร่วมโครงการส่งเสริม ทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี มีความพึงพอใจ ต่อการจัด โครงการเพราะเป็นโครงการที่ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่เรียนรู้ มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญาเป็นผู้มีความรู้คู่คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการด ารงชีวิต สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่างๆ จนสามารถที่จะปฏิบัติได้ และได้รับความ สนุกสนานเพลิดเพลินและสามารถน าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวันได้ อย่างไรก็ตามยังพบปัญหาและอุปสรรค์ใน การจัดโครงการครั้งนี้ ปัญหา อุปสรรค ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้ร่วมโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี พอสรุปได้ดังนี้ ๑. วัสดุ / อุปกรณ์ในการจัดโครงการมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ ๒. โต๊ะเก้าอี้ส าหรับร่วมกิจกรรมมีไม่เพียงพอต่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม ข้อเสนอแนะ ๑ อยากให้มีกิจกรรมที่หลากหลายไม่ซ้ ากันในแต่ละปี ๒ จัดสรรของบประมาณท าโครงการเพิ่มเติม ๓ เจ้าหน้าที่ควรจัดหาโต๊ะเก้าอี้ส ารอง ต่อการจัดกิจกรรม ๔ ควรเพิ่มวัสดุ อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ


13 ภาคผนวก ภาคผนวก


14


15 ๑. ชื่อโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี ๒. ตอบสนองยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ข้อที่ ๓. การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย ๓.๒ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อม ในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะที ง่ายต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศที เอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นคาเฟ่การเรียนรู้ส าหรับคนทุกช่วงวัย มีสิ งอ านวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชีวิต ที ดึงดูดความสนใจ และมีความปลอดภัยส าหรับผู้ใช้บริการ ๓.๓ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้ส าหรับทุกคน สามารถ เรียนได้ทุกที ทุกเวลา มีกิจกรรมที หลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน เพื อพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื อเชื อมโยง ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนไปสู้การจัดการความรู้ของชุมชนอย่างยั งยืน ๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนอย่างมีคุณภาพ ตอบสนองภารกิจต่อเนื่อง : ๑. ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ๑.๓ การศึกษาตามอัธยาศัย ๒) จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน และพัฒนาความสามารถ ในการอ่านและ ศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย ๓) ส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านให้เกิดขึ้นในสังคมไทย โดยสนับสนุน การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่ง ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่พร้อมอุปกรณ์เพื่อส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายออก ให้บริการประชาชนในพื้นที่ต่างๆ อย่างทั่วถึง สม่ าเสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมในด้านสื่ออุปกรณ์ เพื่อ สนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลาย ๓. สอดคล้องกับมาตรฐานตัวบ่งชี้ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน / ผู้รับบริการ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๘ ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ ๒ ด้านคุณภาพการจัดการศึกษา / การให้บริการ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๖ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๗ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ /๔. หลักการและเหตุผล...


16 ๔. หลักการและเหตุผล ตามนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ และ นโยบายเร่งด่วน ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและ สภาพแวดล้อมที เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อมในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เป็นแหล่ง สารสนเทศสาธารณะที ง่ายต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศที เอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นคาเฟ่พื้นที การเรียนรู้ส าหรับคนทุก ช่วงวัย มีสิ งอ านวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชีวิต ที ดึงดูดความสนใจ และมีความปลอดภัยส าหรับ ผู้ใช้บริการ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้ส าหรับทุกคน สามารถ เรียนได้ทุกที ทุกเวลา มีกิจกรรมที หลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน เพื อพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื อเชื อมโยง ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนไปสู้การจัดการความรู้ของชุมชนอย่างยั งยืน เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนอย่างมีคุณภาพ โดยปลูกฝังตั้งแต่เป็นเด็กและเยาวชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองอ านาจเจริญ จึงได้จัดโครงการส่งเสริมทักษะการ อ่านและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ขึ้น 5. วัตถุประสงค์ ๕.๑ เพื่อให้เด็กและเยาวชนอ าเภอที่เข้าร่วมโครงการมีนิสัยรักการอ่าน ๕.๒ เพื่อให้เด็กและเยาวชนอ าเภอเมืองอ านาจเจริญใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๖. เป้าหมาย ๖.๑ เชิงปริมาณ เด็กและเยาวชนอ าเภอเมืองอ านาจเจริญ จ านวน ๒0๐ คน ๖.๒ เชิงคุณภาพ เด็กและเยาวชนอ าเภอเมืองอ านาจเจริญ ที่เข้าร่วมโครงการมีนิสัยรักการอ่านและใช้เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์ /๗. วิธีด าเนินการ…


17


18 ๘. วงเงินงบประมาณ - ๙. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส ๑ ( ต.ค.-ธ.ค.๖๕ ) ไตรมาส ๒ ( ม.ค.-มี.ค.6๖ ) ไตรมาส ๓ (เม.ย.-มิ.ย.6๖ ) ไตรมาส ๔ ( ก.ค.-ก.ย.6๖ ) โครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการ เรียนรู้เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี - / - - ๑๐. ผู้รับผิดชอบโครงการ งานการศึกษาตามอัธยาศัย ๑๑. เครือข่าย/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1๑.1 โรงเรียนอ านาจเจริญ 1๑.2 ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดอ านาจเจริญ 1๑.๓ องค์การบริหารส่วนจังหวัดอ านาจเจริญ 1๑.๔ เทศบาลเมืองอ านาจเจริญ ๑๒. โครงการที่เกี่ยวข้อง - โครงการส่งเสริมการอ่านผ่านสื่อออนไลน์“e-Learning” ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 - โครงการส่งเสริมการอ่านส าหรับผู้สูงอายุ “อ่านอย่างเบิกบาน ส าราญเพื่อสุขภาพ” ๑๓. ผลลัพธ์(Outcome) เด็กและเยาวชน ที่เข้าร่วมโครงการมีนิสัยรักการอ่าน และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๑๔. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 1๔.1 เด็ก และเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 90 มีความนิสัยรักการอ่าน 1๔.2 เด็ก และเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 90 รู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ /15. การติดตามผลประเมินผลโครงการ...


19


20 ค าสั่งศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองอ านาจเจริญ ที่ ๐๐๙ / ๒๕๖๖ เรื่อง การแต่งตั้งคณะท างานโครงการส่งเสริมทักษะและการเรียนรู้ เด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี ............................................................................................................................................................. ด้วยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองอ านาจเจริญ โดยห้องสมุด ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”จังหวัดอ านาจเจริญ จะด าเนินการจัดโครงการส่งเสริมทักษะการอ่านและการเรียนรู้ ของเด็กและเยาวชน ยุคใหม่ รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ความดี ในวันเสาร์ที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๖๖ เวลา ๐๘.๐๐ น. เป็นต้น ไป ณ โรงเรียนอ านาจเจริญ เพื่อให้การด าเนินเป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุวัตถุประสงค์ จึงแต่งตั้งคณะท างาน ดังต่อไปนี้ ๑. คณะกรรมการฝ่ายอ านวยการ ๑.๑ นางสาวถนอม ใจกล้า ผอ.กศน.อ าเภอเมืองอ านาจเจริญ ประธานกรรมการ ๑.๒ นางสาววงศ์เดือน จันทะแสง ครูผู้ช่วย กรรมการ ๑.๓ นายพรณรงค์ บุตรแก้ว ครู คศ.1 กรรมการ ๑.๔ นางอุกันดา พิมหล่อ บรรณารักษ์ช านาญการ กรรมการ/เลขานุการ มีหน้าที่ ติดต่อ ประสานงาน และอ านวยความสะดวกในการด าเนินงานการจัดการกิจกรรม ๒. คณะกรรมการด าเนินการจัดกิจกรรมไข่ปริศนา ทายปัญหาจากไข่ ๒.๑ นางสาววงศ์เดือน จันทะแสง ครูผู้ช่วย คณะท างาน ๒.๒ นางวรรชนีย์ ศรีแก้ว ครูอาสาฯ คณะท างาน ๒.๓ นางพิมสิริญา ธนาพัฒน์เมธาภูมิ ครูอาสาฯ คณะท างาน ๒.๔ นางเฉลียวศรี ไทรสาย ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๒.๕ นายนพนันต์ ชมภูแสน ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๒.๖ นางยุภา ภูหมั่นเพียร ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๒.๗ นางสาวสมจิตย์ รอดค าทุย ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๒.๘ นางสาวฐิติวรดา ต้นแก้ว ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๒.๙ นางสาวอรดี ต้นโพธิ์ ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๒.๑๐ นางพิชชาภา บัวทอง ครู ศรช. คณะท างาน ๒.๑๑ นายชรัชวิช สุระสาย บรรณารักษ์ กรรมการ/เลขานุการ / ๓. คณะกรรมการด าเนินการจัดกิจกรรมปิงโก...


21 ๓. คณะกรรมการด าเนินการจัดกิจกรรมปิงโก สถานที่ส าคัญในจังหวัดอ านาจเจริญ ๓.๑ นายพรนรงค์ บุตรแก้ว ครูคศ.1 คณะท างาน ๓.๒ นายฝนทอง พละไกร ครูอาสาฯ คณะท างาน ๓.๓ นางระเบียบ ประการแก้ว ครูอาสาฯ คณะท างาน ๓.๔ นางสาวสุมนา บุญเอก ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๓.๕ นางจีรนันท์ ศรีวรรณ ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๓.๖ นายวัชรพล ช้อนทอง ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๓.๗ นางสาวหทัยชนก หลวงเทพ ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๓.๘ นายสุวิทย์ ปานพิมพ์ ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๓.๕ นายเครือณรงค์ ใจเด็ด ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๓.๖ นางสาวกนกกาญจน์ เนตรจินดา ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๓.๗ นางวรารัตน์ เห็มจันทร์ ครู ศรช. คณะท างาน ๓.๘ นางสาวอรุณี สีใส ครู ศรช. คณะท างาน ๓.๙ นางสาวรสริน สารธิมา ครู ศรช. คณะท างาน ๓.๑๐ นางจุฑามาศ ชื่นตา ครู ศรช. คณะท างาน ๓.๑๑ นายชัยพฤกษ์ ชื่นตา ครู ศรช. คณะท างาน ๓.๑๒ นายสุรเชษฐ์ คูณภาค ครู ศรช. คณะท างาน ๓.๑๓ นายรัฐพล สุสาร ครูผู้สอนคนพิการ คณะท างาน ๓.๑๔ นางสาววิภาดา จันทรา ครูผู้สอนคนพิการ คณะท างาน ๓.๑๕ นายพัฒนธีย์ บุดดา บรรณารักษ์ กรรมการ/เลขานุการ ๔. คณะกรรมการด าเนินการจัดกิจกรรมเสริมสร้างศิลปะ ฝึกทักษะระบายสีปูนปั้น ๔.๑ นางอุกันดา พิมหล่อ บรรณารักษ์ช านาการ คณะท างาน ๔.๒ นางมัทนา โฉมเฉลา ครูอาสาฯ คณะท างาน ๔.๓ นางสุพิชฌาย์ ชื่นตา ครูอาสาฯ คณะท างาน ๔.๔ นางรัชนีภรณ์ พุ่มโพธิ์ ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๔.๕ นางผ่องใส ศรีสุข ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๔.๖ นางสิริวิมล นาซิว ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๔.๗ นางสาวณัฐนันท์ ธัมมานุกูลสวัสดิ์ ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๔.๘ นางสาวนันทิยา พลศรี ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๔.๙ นายคมกฤษดิ์ ดาบค า ครู กศน.ต าบล คณะท างาน ๔.๑๐ นางสาววิลาสินี วงศ์จันลา ครู ศรช. คณะท างาน ๔.๑๑ นางเพ็ญศรี พยัฆฑา เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล คณะท างาน


22


23


24


25


26


27


28


29


30


31


32


33


34


35


36


37 ภาพกิจกรรม ภาพกิจกรรม


38 1.กิจกรรมปิงโก สถานที่ส าคัญในอ านาจเจริญ


39


40 ๒.กิจกรรมเสริมสร้างศิลปะ ฝึกทักษะระบายสีปูนปั้น


41


42 ๓. กิจกรรมไข่ปริศนา ทายปัญหาจากไข่


43


44 คณะผู้จัดท า ที่ปรึกษา นางสาวถนอม ใจกล้า ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอ าเภอเมืองอ านาจเจริญ รวบรวม/เรียบเรียง/วิเคราะห์ข้อมูล นางอุกันดา พิมหล่อ บรรณารักษ์ช านาญการ นายชรัชวิช สุระสาย บรรณารักษ์ นายพัฒนธีร์ บุดดา บรรณารักษ์ ผู้จัดพิมพ์/จักท ารูปเล่ม นางอุกันดา พิมหล่อ บรรณารักษ์ช านาญการ นายชรัชวิช สุระสาย บรรณารักษ์ นายพัฒนธีร์ บุดดา บรรณารักษ์


45


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.