แผนการดำเนินงาน ปี 2566 Flipbook PDF


85 downloads 105 Views 105MB Size

Recommend Stories


Decreto 2566 de Septiembre 10 de 2003
Decreto 2566 de Septiembre 10 de 2003 Por el cual se establecen las condiciones mínimas de calidad y demás requisitos para el ofrecimiento y desarroll

Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

Story Transcript

sohk

ตาราง ลาดับ การรายงาน แผนงานนโยบายปี 2566 ลาดับ

หน่ วยงาน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

ขาย ออฟไลน์ ขาย SkyLine ขาย Unicorn Stainless Project จัดซื้อ โรงงานสาย 7 การตลาด คลังสิ นค้า ข้อมูลคลังสิ นค้า ขนส่ง บัญชี การเงิน เลขา IT ระบบคุณภาพ ซิสเตอร์ จป/กฏหมาย/HR/วิศวกร/ซ่อมบารุ ง ศูนย์กระจายสิ นค้า มอนสเตอร์

จานวนพนักงาน ในแผนก 24 13 3 13 6 ตัวแทน 2 7 3 13 14 3 2 1 ตัวแทน 1 3 8 ตัวแทน 1 ออนไลน์

ตัวแทน

เวลาใน การรายงาน หน่ วยงานละ 20 นาที

เวลา 09.00 - 09.30 09.30 - 09.50 09.50 - 10.10 10.10 - 10.30 10.30 - 11.00 11.00 - 11.20 11.20 - 11.40 11.40 - 12.00 13.00 - 13.20 13.20 - 13.40 13.40 - 14.00 14.00 - 14.20 14.20 - 14.40 14.40 - 15.00 15.00 - 15.20 15.20 - 15.40 15.40 - 16.00 16.00 - 16.20

แผนงานนโยบาย ปี 2566

แผนก จัดซือ้

นโยบายเป้ าหมายหลัก 1. คุณภาพ

2. บริการ 3. สินค้าต้องครบและพร้อมมากทีส่ ุด

1. ด้านคุณภาพ • พัฒนาบุคลากรทีมจัดซือ้ ให้มีความรูเ้ ฉพาะทาง และสร้างความชานาญเฉพาะด้าน โดยการ จัดให้มีการ อบรมภายในแผนก ทุกๆวันเสาร์ โดยจัดซือ้ ที่ดแู ลสินค้าในหมวดนัน้ ๆ จะต้องทาการบ้านหาข้อมูล ความรู ้ เฉพาะทางของสินค้าที่ตนดูแล มาเผยแพร่ และให้ความรูแ้ ก่ทีมจัดซือ้ โดยใช้เวลาบรรยาย และ ถาม-ตอบ รวมประมาณ 1 ชั่วโมง

แบบประเมินหลังจากอบรม เพือ่ พัฒนาในครั้งต่อไป

2. ด้านการบริการ 2.1 จัดทา QR Code เพื่อสแกนดูใบCer ของสินค้า • โดยเริม่ จากเหล็ก มอก. ก่อน โดยทุกครัง้ เมื่อสินค้ามาส่ง จะต้องมีใบcerแนบมากับบิล หรือ มาจาก ช่องทาง E-mail จัดซือ้ จะรวบรวมใบcerเก็บไว้ และจัดทา QR Code เมื่อถึงขัน้ ตอนการขึน้ สินค้า ทางคลังสินค้าจะทาการแปะ หรือ แนบ QR Code ลงใบออเดอร์ และเมื่อเปิ ดบิลขาย ห้องตราชั่ง ทาการ ติดสติกเกอร์ลงบิลขาย • ทดลองเริม่ จากเหล็กเส้น ข้ออ้อยก่อน โดยจัดซือ้ ที่ดแู ลเหล็กชนิดนัน้ ๆ ขอความร่วมมือจากโรงงาน ให้ทาการ แปะสติกเกอร์ QR Code ลงบนป้ายTagสินค้า

ตัวอย่างป้ าย Tag สินค้า

2.2 จัดทาชุดข้อมูล รวบรวมคาถามที่พบบ่อย ของแต่ละหมวดสินค้าไว้ใน Drive : Z เพื่อทุกคนสามารถเข้ามาดูได้ หรือ หากลูกค้ามีขอ้ สงสัย ในด้านข้อมูลของสินค้า ก็ สามารถนาข้อมูลส่วนนีส้ ง่ ให้ได้เช่นกัน

3. สินค้าต้องครบและพร้อมทีส่ ุด • จัดทาแผนผลิต ที่สามารถดูได้ทกุ คนภายในองค์กร โดยในแผนผลิตจะรวบรวมสินค้าที่ผลิตจากม้วนทุกชนิด ประกอบไปด้วยรายละเอียด เช่น รายการผลิต จานวน วันที่เริม่ ผลิต วันที่ผลิตจบ ผลิตที่ไหน และอื่นๆ • จัดทาในรูปแบบไฟล์ Excel ที่ตงั้ ล็อคป้องกันการแก้ไข หรือ ในรูปแบบไฟล์ Pdf. และUpload ลง Onedrive หรือ อาจจะทาในรูปแบบ รายชื่อสินค้า เมื่อกดเข้าไปดูจะขึน้ รายละเอียด

ตัวอย่างแผนผลิต

แผนนโยบายโรงงานสาขา1 ปี 2566

ศราวุฒิ อนันตวัฒน์ 28 02 2023

วัตถุประสงค์ 1.เพือ่ ตอบสนองด้านการรักษามาตรฐานด้านคุณภาพ 2.เพือ่ ตอบสนองด้านการบริการ 3.ความพร้อมของสินค้า (ครบตามออเดอร์/พร้อมจัดส่ง )

แนวคิด 5 ด้าน P Productivity เพิม่ ผลผลิต ( KR7 KR14 KR18 ) Q Quality รักษาระดับคุณภาพ ( KR6 KR12 KR15 ) C Cost ลดต้นทุนในการผลิต ( KR17 KR18 ) D Delivery ส่งมอบสินค้าตามกาหนด ( KR15 ) S Safety มีความปลอดภัย ( KR21 )

กลยุทธ์ในปี 2566 สาขา1 KR6 อัตราข้อร้องเรียนของลูกค้าต้องลดลงจากปี ก่อน KR7 จานวนของเสียจากการผลิต KR12 อัตรามูลค่าสินค้าตีคนื จากการผลิต KR14 พัฒนากาลังการผลิตให้สูงขึน้ เพือ่ ลดต้นทุน KR15 ป้ องกันของไม่ได้คุณภาพหลุดถึงลูกค้า KR17 ลดมูลค่าสินค้าในสโตร์ KR18 จัดทาโครงการลดการสูญเสีย KR21 ข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อมจากชุมชน

P Productivity เพิม่ ผลผลิต ( KR7 KR14 KR18 ) 1.เพิม่ ปริมาณการผลิตโดยลดเวลาการเปลี่ยนลูกปื น ➔วิศวกรรม 2.ลดเวลาการเปลี่ยนถ่านอาร์คและชุดควบคุมนา้ ➔ ผลิต Q Quality รักษาระดับคุณภาพ ( KR6 KR12 KR15 ) 1.พัฒนาบุคลากรในการใช้เครื่องมือวัด ( 50-75 % ของคนทัง้ โรงงานสามารถ ใช้เวอรเนียร์ได้ ) → คิวซี / ผลิต / คลัง / วิศวกรรม

C Cost ลดต้นทุนในการผลิต ( KR17 KR18 ) 1.ลดการใช้พลังงานลมอัด → วิศวกรรม / ผลิต 2.ลดต้นทุนวัสดุในสโตร์ →จัดซือ้ / สโตร์ / ผลิต 3.ลดสต๊อกในสโตร์ →จัดซือ้ / สโตร์ 4.ปรับปรุ งระบบนา้ มันสบู่เครื่องพี5 → วิศวกรรม / ผลิต D Delivery ส่งมอบสินค้าตามกาหนด ( KR6 KR12 KR15 ) 1.ควบรวมขัน้ ตอนรายงาน คลัง – ข้อมูลคลัง – โตรักษา เช่น รายงานสต๊อกงานสาเร็จรู ป ( เสร็จสิน้ แล้ว ) 2.ลดเวลาการขึน้ สินค้าในโรงงาน

S Safety มีความปลอดภัย ( KR21 ) 1.ลดเสียงจากห้องตัด เครื่องรีดแป๊ บ → วิศวกรรม

ความเปลี่ยนแปลงในปี 2565 การเพิม่ ประสิทธิภาพการทาห่วงด้วยเครื่องทาห่วง (ตัวอย่าง Kaizen)

เดิม ใช้มือม้วนเป็ นวง ขนาดไม่เท่ากันทายาก

ใหม่ คิดค้นใช้เครื่องพันเศษสลิททาห่วง ทาให้งานทีท่ าออกมามีขนาดทีเ่ ท่าตามขนาดทีต่ ้องการ ได้ปริมาณมากในเวลาทีส่ ั้นลง

ความเปลี่ยนแปลงในปี 2565 การสร้างห้องเก็บเสียง เพือ่ ลดมลภาวะจากเสียงตัด

สร้างห้องกัน้ ควบคุมเสียงทีเ่ กิดจากการตัด ( เป็ นโครงการปรับปรุ งต่อเนื่องในปี 2566 เนื่องจากระดับเสียงยังสูงอยู่ ถึงแม้จะไม่เกินกาหนด )

ความเปลี่ยนแปลงในปี 2565 การฝึ กฝนทักษะด้านการใช้เครื่องมือวัด

อบรมทักษะด้านการใช้เครื่องมือวัด ให้กับพนักงาน หน้าเครื่อง ช่างปรับ

ความเปลี่ยนแปลงในปี 2565 การฝึ กฝนทักษะด้านการใช้เครน

อบรมทักษะด้านการใช้เครน ให้กับพนักงานหน้า เครื่องและคลังสินค้า

ความเปลี่ยนแปลงในปี 2565 การลดล๊อตไซด์การผลิต ก่อนปรับปรุ ง

ผลิตล๊อตไซด์ใหญ่ 100 ตัน ขึน้ ไป

หลังปรับปรุ ง

ใช้ควบคู่กับการทา Forecast ลดปริมาณ / กระจายรุ่นมากขึน้ ตามความต้องการ

สภาพปั จจุบัน การเปลี่ยนลูกปื นยังไม่มอี ุปกรณ์ ช่วยในการเปลี่ยน ทาให้ใช้เวลาในการ เปลี่ยนทีม่ ากและอุปกรณ์เครื่องมือในการอัดจารบี เครื่องรุ่นเก่าจะไม่มที าให้ ลูกปื นแตกบ่อยเนื่องจากการใช้งานใกล้นา้ และมีอุณหภูมทิ ส่ี ูงจากนา้ หล่อเย็น แนวทางการปรับปรุ ง ดัดแปลงแก้ไขให้ชุดแท่นรีดเก่ามีทอ่ี ัดจารบี เพิม่ เติม ผลลัพธ์ ลูกปื นมีอายุการใช้งานทีย่ าวนานมากขึน้ ลดเวลาการเปลี่ยนลูกปื น ผลผลิตมากขึน้

สภาพปั จจุบัน

เครื่องรุ่นใหม่ มีหวั อัด มีซลี ปิ ดลูกปื น

เครื่องรุ่นเก่า พี1 2 3

ลูกปื นเพลาทีแ่ ตก

อยู่ในระหว่างการดาเนินการ จัดทาเครื่องมือ

สภาพปั จจุบัน จะใช้ฟองนา้ ในการกัน้ นา้ ไม่ให้ไหลไปยังด้านท้ายของงาน ปั ญหาทีเ่ กิดขึน้ ใช้ฟองนา้ ในปริมาณทีม่ าก มีขยะหลังจากการใช้งานจานวน มาก เสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการกาจัด แนวคิด หาวัสดุทดแทนในการรีดแห้งแทนการใช้ฟองนา้ ผลลัพธ์ 1.งานยังคงความแห้งเหมือนเดิม รักษาด้านคุณภาพ 2.ลดขยะทีเ่ กิดจากการใช้ฟองนา้ 3.ลดเวลาการใส่วัสดุทดแทน เพิม่ ปริมาณผลผลิต

อยู่ในระหว่างการดาเนินการทดลอง

ขึน้ เหลีย่ ม

วัสดุ ทดแทน

ปั จจุบนั

ปั จจุบัน เมือ่ ใช้ไปสักพัก ฟองนา้ จะอิม่ ตัวจากนา้ ทาให้ต้องเปลีย่ นบ่อย เสียรู ปจากความร้อน

ใส่หลังคู่อาร์ค วัสดุทดแทน นา้ ซึมผ่านได้ยาก มีความคงตัวสูง

คู่อาร์ค

ผลการดาเนินการ อยู่ในระหว่างการทดลอง

พัฒนาความสามารถพนักงาน 1.การใช้เครื่องมือวัด 2.การคัดแยกเกรดเหล็ก A,B,C จะทาการอบรมทบทวนในช่วงทีผ่ ลผลิตมีปริมาณการขายทีล่ ดลง

เนื่องจากการทางานของพนักงานมีความจาเป็นต้องใช้เครื่องมือวัดต่างๆในการวัดตรวจสอบชิ้นงานที่ผลิต การเพิ่มความรู้ ความสามารถให้กับพนักงานเพื่อพัฒนาขีดความสามารถให้แก่พนักงานจึงเป็นสิ่งจาเป็น ที่ส่งผลต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์ โดยตรงซึ่งในปีที่ผ่านมามีการอบรมพัฒนาพนักงานเป็นบางส่วนแล้ว อบรมพนักงานที่มีความจาต้องใช้เครื่องมือวัด≥70% ช่างปรับและหัวหน้าหน่วยได้รับฝึกอบรมการใช้เวอร์เนียร์ในปี2565 จานวน 11 คน จาก 15 คน คิดเป็น 73.33% สาหรับปี 2566 จะเพิ่มการอบรมให้กับพนักงานใหม่และทบทวนความรู้ ให้กับพนักงานที่เคยผ่านการอบรม ≥75% ของรายชื่อ เพื่อให้คุณภาพของงาน สามารถใช้เวอร์เนียร์วัดได้อย่างถูกต้อง และบารุงรักษาอย่างถูกวิธี อบรมพนักงานให้สามารถคัดแยกเกรด A,B,C ได้อย่างน้อยเครื่องละ2คน โดยในปี2565 มีพนักงานได้รับการอบรม 19 คน จากรายชื่อ 26 คน คิดเป็น 73% สาหรับปี 2566 จะเพิ่มการอบรม ให้กับพนักงานใหม่และทบทวนความรู้ให้กับพนักงานที่เคยผ่านการอบรม ≥75% ของรายชื่อเพื่อทาให้การตรวจสอบ คัดแยกเกรดเหล็กถูกต้องตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ แต่เนื่องจากในการตรวจสอบเหล็กตัวซีมอก. จาเป็นต้องควบคุมมุมฉากของผลิตภัณฑ์จึงเห็นว่าการอบรมการใช้เครื่องมือ วัดมุมให้กับพนักงานตัวซีเป็นสิ่งจาเป็นอย่างน้อย 70 % ของพนักงานช่างปรับเครื่องตัวซี

อบรมการใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

อบรมการคัดแยกเกรดเหล็ก A,B,C

สภาพปั จจุบัน ลมทีเ่ กิดจากการใช้เครื่องอัด จะถูกนาไปใช้ในการเป่ างานให้แห้ง ก่อนทาการพ่นเก็บตะเข็บและพ่นข้าง แต่ลมยังถูกควบคุมทิศทางและปริมาณ ไม่ดพ ี อ แนวคิดปรับปรุ ง หาแนวทางในการควบคุมทิศทางลมให้มีประสิทธิภาพดี ผลลัพธ์ งานยังมีสภาพผิวทีแ่ ห้งดังเดิม แต่ใช้พลังงานลมลดลง

สภาพปั จจุบัน

หลังปรับปรุ ง

ผลลัพธ์ ลดลงการใช้ลมลง 58 % ต่อเครื่อง

รูมีพนื้ ที่ 38 ตาราง มิลลิเมตร 4ด้านของเหล็ก ใช้ 4 เส้น 152 ตารางมิล

1 ตัว มีรู 20 รู รูละ 1 มิล 4ตัว 80 รู 62.8 ตารางมิล

สภาพปั จจุบัน วัสดุในสโตร์มกี ารปรับราคาขึน้ มาหลายรายการเนื่องจากราคาพลังงาน ค่าขนส่งและต้นทุนต่างๆทีส่ ูงขึน้ ทาให้ต้นทุนในการผลิต มีแนวโน้มทีจ่ ะสูง ขึน้ ตามไปด้วย แนวทางการปรับปรุ ง ดาเนินการหารายการทีใ่ ช้มาก ราคาสูงทาการต่อรองหรือหาวัสดุอน่ื ๆทดแทน เพือ่ ควบคุมต้นทุน ผลลัพธ์ คุมค่าใช้จ่ายไม่ให้สูงเกินค่าเฉลี่ยปี 2565

อยู่ในระหว่างการดาเนินการ

แผนงานสารองเครน •

เนื่องจากเครนมีส่วนสาคัญในการผลิต เป็ นหัวใจหลักในการเคลื่อนย้าย วัตถุดิบของฝ่ ายผลิตและการเคลื่อนย้ายสิ นค้าสาเร็ จรู ปของแผนกคลังสิ นค้า หากมีการชารุ ดจะส่ งผลกระทบให้ไม่สามารถทาการผลิตและจัดส่ งสิ นค้าได้ ส่ งผลต่อออเดอร์ให้มีความล่าช้า และอาจสร้างความไม่พึงพอใจต่อลูกค้าได้

• สภาพปั จจุบัน 1. เครนมีสภาพเก่า 2. จานวนมีเพียง 1 ตัว ในบางจุด และใช้งานตลอดเวลา ไม่สามารถนาไปบารุ งรักษาได้ 3. เมือ่ เครนเสียทาให้การผลิตหยุดชะงัก 4. บางจุดมีเครนไม่เพียงพอต่อการใช้งาน เนื่องจากต้องใช้เครนร่วมกันระหว่างต่อแถบ ยกมัด และการขึน้ ของของแผนกคลังสินค้า หากมีการใช้เครนขึน้ ของจึงมีผลทาให้เครื่องผลิตหยุดทางาน ชั่วขณะ เช่น บริเวณเครื่อง P1 P2 และ P3

• แนวคิด 1.ซื้อสารองในจุดทีจ่ าเป็ น บริเวณเครื่ อง S1 → ขนาด 20 ตัน = 1 ตัว ( อาจจะต้ องขึน้ รางเครนใหม่ เนื่องจากเครนเดิมมีความกว้ างที่ใน ตลาดไม่ มีจาหน่ ายแล้ว ) บริเวณเครื่ อง S4 → ขนาด 20 ตัน = 1 ตัว

2. ซื้อเครนเพิม่ ในจุดทีเ่ ครนไม่ พอต่ อการใช้ งาน (กรณีที่เครน มอเตอรเสี ยจากการใช้ งาน ) บริเวณเครื่ อง P1 → ขนาด 5 ตัน = 1 ตัว บริเวณเครื่ อง P9 – P10 → ขนาด 5 ตัน = 1 ตัว บริเวณเครื่ อง P8 → ขนาด 5 ตัน = 1 ตัว บริเวณเครื่ อง S4 → ขนาด 5 ตัน = 1 ตัว บริเวณ ประตู 8 → ขนาด 5 ตัน = 1 ตัว รู ปแบบคือ เกาะรางเครน สารองไว้ โดยไม่ เพิม่ รางเครน

•ผลลัพธ์ ► ทาให้ไม่เกิดการรอคอยในการผลิต

และขึน้ ของเพือ่ จัดส่งสินค้า

สภาพปั จจุบัน ในสโตร์ได้ถูกดาเนินการลดสต๊อกทัง้ จานวนรายการและจานวนชิน้ ลงอย่าง อย่างต่อเนื่อง จนพืน้ ทีส่ โตร์ทใ่ี ช้ในปั จจุบันลดลงเหลือ 50 % แนวทางการปรับปรุ ง จะดาเนินการลดรายการลงอีก เพือ่ ลดมูลค่าและจานวนการจัดเก็บลง ผลลัพธ์ ลดเวลาการนับเมือ่ มีการตรวจสอบสต๊อก ลดความสูญเปล่าจากการจัดเก็บ ปั ญหาและอุปสรรค บางรายการสต๊อกเกิน 5-6 ปี เนื่องจากการซือ้ เมือ่ ก่อนซือ้ ในปริมาณมาก แต่ใช น้อย เช่น น๊อตกิโลขนาดต่างๆ ทาให้จานวนยังคงสูงอยู่

อยู่ในระหว่างการดาเนินการ

สภาพปั จจุบัน บ่อนา้ หล่อเย็นเครื่องพี5 ได้ถูกสร้างตัง้ แต่สร้างโรงงาน ปั ญหาคือ ไม่มรี ะบบ ระบายความร้อนของนา้ แต่ใช้วธิ ีการเพิม่ ปริมาณนา้ เพือ่ ให้ความร้อนลดลง ซึง่ ในกรณีทม่ี กี ารเปลี่ยนรีด ดา ซิงค์ จะต้องลดปริมาณนา้ มันสบู่เพราะเหล็ก จะลื่นรีดไม่ได้เกิดปั ญหาสั้นยาว ซึง่ ก่อนหน้านี้ ปี 2017 จะรีดแต่เหล็กดา ทาให้ไม่ต้อง ลดปริมาณนา้ มันสบู่ แต่ในปั จจุบัน ไลน์นีผ้ ลิตทัง้ เหล็กซิงค์และดา ทาให้เป็ นปั ญหาในการปรับเปลี่ยน แนวทางการปรับปรุ ง ต้องการลดปริมาณ ห้องเก็บนา้ ทีอ่ ยู่ใต้ดนิ ลง 50 % โดยจะใช้คูลลิ่งช่วย ถ้านา้ มันสบู่มอี ุณหภูมสิ ูง

ผลลัพธ์ ลดเวลาการเปลี่ยนถ่ายนา้ มันสบู่ลง ลดปริมาณการใช้นา้ มันสบู่ลง 50 % ลดต้นทุนด้านนา้ มันสบู่สาหรับไลน์พ5ี ลง 50 %

อยู่ในระหว่างการดาเนินการ ( เดินไลน์อยู่ยังไม่สามารถลงไปสารวจบ่อได้ )

คลังสินค้า ข้อมูลคลังฯ ตาชั่ง-จัดส่ง โหลดสินค้าให้เร็วขึน้ และลดเวลาการรอคอยสาหรับรถลูกค้า ขึน้ มากกว่า 3 รุ่น สภาพปั จจุบัน สถานทีจ่ ัดเก็บงานในโรงงานสาขา1 จะแยกตามไลน์ผลิต ซึง่ ต่างจากคลังสินค้า ทีโ่ ตรักษา จะแยกประเภทสินค้าแต่ละล๊อค ทาให้การขึน้ งานบนรถลูกค้า รถจะต้องวิง่ ไปยังข้างไลน์ แต่ละไลน์ผลิต ซึง่ จากสภาวะการขายหรือความ ต้องการรับสินค้าทีโ่ รงงานสาย7 เปลี่ยนไป จากเดิม 1 – 2 ไซด์ ต่อคัน แต่ใน ปั จจุบันเป็ น 3 – 5 ไซด์ ทาให้ความถีใ่ นการเข้ารับงานในพืน้ ทีผ่ ลิตมากขึน้ ส่งผลด้านการสัญจร และความปลอดภัย บางจุดทีเ่ ป็ นรุ่นยอดนิยม รถจะเข้าข้างไลน์ตลอดเวลา

แนวคิด ลดการจราจรภายในโดยใช้รถขนย้ายสินค้า ตามหลักการ 1.งานไซด์เล็กเคลื่อนทีห่ าไซด์ใหญ่ เช่น พี6 พี7 พี1 พี2 2.กระจายจุดเก็บสินค้า ไปยังจุดทีม่ กี ารขึน้ ลงง่าย เช่น จากไลน์ตัวซีทอี่ ยู่ด้าน ท้ายโรงงานออกมายังด้านหน้าโรงงาน 3.ประสานงานกับงานขาย จัดเตรียมล่วงหน้า 24 ชั่วโมง สาหรับ รถทีข่ นึ้ งาน มากกว่า 3 รุ่น ผลลัพธ์ 1.การขึน้ สินค้าได้รวดเร็วขึน้ ( กรณีหน้าฝน รถต้องคลุม รือ้ ผ้าใบหลายครั้ง ) 2.ลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัตเิ หตุ จากรถขนส่งกับไลน์ผลิต

สภาวะทีเ่ กิดขึน้ ในปั จจุบัน (ตัวอย่างที่ 1)

3 4

2 1

ตัวอย่างลักษณะการเข้ารับสินค้าในปัจจุบนั ทัง้ หมด 4 ไซด์ ใน 1 คัน เริ่มที่ P10 – P8 – P3 – P1 ตามลาดับความต้องการ

สภาวะทีเ่ กิดขึน้ ในปั จจุบัน (ตัวอย่างที2่ ) 4 3

1

2

กรณีนีข้ นึ ้ สินค้าทัง้ หมด 4 ไซด์ หมายเหตุ “คล้องห่วงทุกมัด” จึงทาให้ตอ้ งใช้เวลาขึน้ งาน มากกว่าปกติ (ทัง้ หมด 26 มัด)

แนวทางแก้ไขปัญหา เพิ่มประสิ ทธิภาพการโหลดสิ นค้า แผนดาเนินการ 1. ข้อมูลคลัง/ตาชั่ง-จัดส่ง ประสานงานกับฝ่ ายขาย เพื่อขอทราบออเดอร์ หรือ

รายการสินค้าที่จะเข้ามารับ แจ้งคลังสินค้าล่วงหน้า 24 ชม. เพื่อเตรียมการ

ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ - ลดการสัญจรภายในพืน้ ที่ทางาน ลดโอกาสเกิดอุบตั ิเหตุ

- โหลดสินค้าขึน้ รถได้เร็วขึน้ ไม่ตอ้ งขับไปรับหลายๆจุดตามออเดอร์ - หากสินค้าเกิดปั ญหา สามารถแจ้ง หรือแก้ไขให้พร้อมได้ก่อนที่รถจะเข้ามารับ

2. คล้องห่วงให้สินค้าสาเร็จรูปบางส่วน เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้า

- ลดเวลาการคล้องห่วงระหว่างที่รถมาขึน้ สินค้า - สามารถออกจากพืน้ ที่ผลิตได้เร็ว การผลิตไม่ได้รบั ผลกระทบจากการขึน้ สินค้า - ใช้ของเสียจากการผลิตให้เป็ นประโยชน์ และสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า

ความถี่ของการเข้ารับสิ นค้าในแต่ละจุด เก็บข้อมูล 28 วันทางาน จากภาพที่แสดง จะเห็นได้ว่า มีปริมาณรถทีต่ อ้ งใช้ เส้นทางสัญจรเพื่อเข้ารับสินค้าด้านใน ถึง 226 เที่ยว ในเวลา 28 วัน จึงติดปั ญหาการรอคิวรถที่ขนึ ้ งานอยู่ ก่อน บางคันต้องการในปริมาณที่ไม่มาก แต่ก็ตอ้ ง รอคิวเข้าตามลาดับ ทาให้การขึน้ สินค้าล่าช้า

จุดที่รถติดขัด ต้องรอคิว

สภาพปั จจุบัน ห้องตัดจะเป็ นแหล่งกาเนิดมลพิษทางเสียง ถึงแม้นจะมีการกัน้ ห้องเพือ่ ควบคุม เสียงตามกฏหมายแต่ยังมีค่าทีส่ ูงอยู่ ระดับ 60-75 เดซิเบล แนวคิดปรับปรุ ง เพิม่ ฉนวนกัน้ เสียงเพิม่ เติมเพือ่ ลดระดับเสียงลง ผลลัพธ์ ลดระดับเสียงใกล้จุดกาเนิด

สภาพปั จจุบันจุดกาเนิดเสียง

สภาพปั จจุบัน ชุมชนรอบข้าง

จบการนาเสนอ

/

ถาม ตอบ

นโยบาย ปี 2566

คุณภาพ

บริการ

สินค้าครบและพร้อมมาก ทีส่ ุด

บุคลากรเพียงพอเหมาะสมกับการปฏิบัตงิ าน / บุคลากรได้รับการพัฒนาให้มีความพร้อมต่อการทางาน

คุณภาพ → มาตรฐาน →ความพึงพอใจ (ลูกค้า)

1. มีการทบทวนงาน/ขั้นตอน/วิธีการ /การแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดขั้นตอนการทางานที่ซ้าซ้อน หรือที่เป็นอุปสรรคทางานการปฏิบัติงานล่าช้า 2. มีความเข้าใจสามารถปฏิบัติตามขั้นตอน/วิธีการทางาน ได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ

3. มีความเข้าใจ/ตระหนักในความสาคัญของกระบวนการหรือรูปแบบงาน(รับ-จ่ายสินค้า)

4. มีความเข้าใจ/ตระหนักในความสาคัญ ในงานการจัดเก็บสินค้า

เดิม

LOGISTICS MANAGER (ผจก.โลจิสติกส์) Warehouse Supervisor (หัวหน้าแผนกคลังสินค้า)

Warehouse Assistance Supervisor (รองหัวหน้าแผนกคลัง ฯ)

Warehouse Assistant Leader

Warehouse Assistant Leader

Warehouse Assistant Leader

Warehouse Assistant Leader

Warehouse Assistant Leader

Warehouse Assistant Leader

Warehouse Assistant Leader

(หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ 1)

(หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ 2)

(หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ 3)

(หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ 4)

(หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ 5)

(หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ 6)

(หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ 6)

Warehouse Operator

Warehouse Operator

Warehouse Operator

Warehouse Operator

Warehouse Operator

Warehouse Operator

(พนักงานคลังสินค้า)

(พนักงานคลังสินค้า)

(พนักงานคลังสินค้า)

(พนักงานคลังสินค้า)

(พนักงานคลังสินค้า)

(พนักงานคลังสินค้า)

Warehouse Checker (เช็คเกอร์)

เปลี่ยนแปลง

ผจก.โลจิสติกส์ LOGISTICS MANAGER

หัวหน้าแผนกคลังสินค้า Warehouse Supervisor รองหัวหน้าแผนกคลัง ฯ 1 Warehouse Assistance Supervisor

รองหัวหน้าแผนกคลัง ฯ 2 Warehouse Assistance Supervisor

รองหัวหน้าแผนกคลัง ฯ 3 Warehouse Assistance Supervisor

รองหัวหน้าแผนกคลัง ฯ 4 Warehouse Assistance Supervisor

เช็คเกอร์ Warehouse Checker

หน่วย : แก้ไขสินค้า(ขัดเหล็ก) Warehouse Assistant Leader (หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ)

หน่วย : แป๊ ปโปร่ง

หน่วย : แป๊ ปแบน

หน่วย : เหล็กฉาก ฯ

หน่วย : เหล็กแผ่น ฯ

หน่วย : ตัวซี ฯ

หน่วย : ท่อกลม ฯ

หน่วย : สาขา 3

หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Leader

หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Leader

หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Leader

หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Leader

หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Leader

หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Leader

หัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Leader

ผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Assistant Leader

ผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Assistant Leader

ผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Assistant Leader

ผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Assistant Leader

ผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Assistant Leader

ผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Assistant Leader

ผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยคลัง ฯ Warehouse Assistant Leader

พนักงานคลังสินค้า Warehouse Operator

พนักงานคลังสินค้า Warehouse Operator

พนักงานคลังสินค้า Warehouse Operator

พนักงานคลังสินค้า Warehouse Operator

พนักงานคลังสินค้า Warehouse Operator

พนักงานคลังสินค้า Warehouse Operator

พนักงานคลังสินค้า Warehouse Operator

พนักงานคลังสินค้า Warehouse Operator

การพัฒนาฯคนให้ มีคุณภาพ ใส่ ใจในงานบริ การ

คัดสรรตรวจรับสินค้าสินค้าที่มีคุณภาพ (ตามมาตรฐานความต้องการของบริษัท)

จัดเก็บสินค้า ตรวจสอบดูแลรักษาสภาพสินค้า

จัดเก็บสินค้า ตรวจสอบดูแลรักษาสภาพสินค้า

1. จัดทาข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าที่มีในคลัง เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับงานขายหรือผู้เกี่ยวข้อง รวมถึง การแนะนาลูกค้าที่มาติดต่อ

2. มีความเข้าใจ/ตระหนักในความสาคัญของกระบวนการหรือรูปแบบงาน(รับ-จ่ายสินค้า) การสื่อสารที่ ถูกต้องชัดเจนเหมาะสมกับการบริการกับลูกค้า(แผนก/ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง/ผู้ที่มาติดต่อ)

สภาพสินค้ามีความพร้อม เหมาะสมกับ การจัดจ่ายให้ลูกค้า

สินค้าได้รับการดูแลรักษา แก้ไขสินค้าที่เสื่อมสภาพ/จัดเก็บนาน ให้สินค้ามีสภาพ พร้อมในการขาย สินค้าได้รับการดูแลรักษา แก้ไขสินค้าที่เสื่อมสภาพ/จัดเก็บนาน ให้สินค้ามีสภาพ พร้อมในการขาย

พนักงานปฏิบตั ิการคลังสินค้า มีคณ ุ ภาพในการปฏิบตั ิงาน ระยะเวลา NO

รายละเอียดการดาเนินการ

ผู้รับผิดชอบ

ทรัพยากรที่ใช้

Plan Actual

1

2

3.

4.

5

กำหนดเวลำในกำรทบทวน ปรับปรุง ขั้นตอน/วิธกี ำร ฯลฯ

ผจก.โลจิสติกส์

Plan

หัวหน้าแผนกฯ

Actual

จัดทำแบบตรวจติดตำมกำรปฏิบัติ/ ผจก.โลจิสติกส์ จัดเก็บข้อมูล

Plan

หัวหน้าแผนกฯ

Actual

กำหนดผู้รับผิดชอบในกำรตรวจ ติดตำมกำรปฏิบัต/ิ จัดเก็บข้อมูล

ผจก.โลจิสติกส์

Plan

หัวหน้าแผนกฯ

Actual

ติดตำมผลกำรปฏิบัติ / รวบรวม จัดเก็บข้อมูล

ผจก.โลจิสติกส์

Plan

หัวหน้าแผนกฯ

Actual

สรุปผล เพื่อวิเครำะห์ ประเมินผล

ผจก.โลจิสติกส์

Plan

หัวหน้าแผนกฯ

Actual

ปี 2565 พ.ย.

ธ.ค.

ปี 2566 ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

การติดตามผล ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ประจําปี 2566แผนก/ฝ่ าย ข้อมูลคลังสินค้า/โลจิสติกส์ หัวข้ อ o KPI o การแก้ ไขและป้องกัน o Risk&Opp

o  อืน ๆ

แผนปฏิบัติการ เรื อง ใบขึนสิ นค้ า (Order) ให้ โปรแกรมคํานวณนําหนักสินค้ าแต่ ละรายการให้ อตั โนมัติ เป้าหมาย ตอนจัด Order ขึนสิ นค้าจะได้ ไม่ต้องดีดทวนนําหนักแต่ ละรายการซํา (จะเสร็จเร็วขึน-ถ้ าไม่มีการแก้ไขจํานวน) NO

รายละเอียดการดําเนินการ

ปรับปรุ งแบบฟอร์ มใบขึนสิ นค้า (Order) จากเดิม แนวตัง เปลียนเป็ น แนวนอนและเพิมรายละเอียดตามทีต้องการ แล้วให้โปรแกรมคํานวน 1 นําหนักสิ นค้าทีเปิ ดใบขึนสิ นค้า (Order) มาแต่ละรายการมีนาหนั ํ กเท่าไหร่ แล้วส่ งให้โปรแกรม Q-erp แก้ไข แก้ไขสู ตรโดยเอานําหนักสิ นค้า/หน่วย ไป x จํานวนทีเปิ ดใบขึนของ 2 (Order) = นําหนักสิ นค้ารายการนันๆ แล้วเอานําหนักทีได้ไปใส่ ในช่อง (นน.สิ นค้า)

3 ตรวจสอบการแก้ไขจากโปรแกรม Q-erp (ถ้าถูกต้อง ก็ให้ประกาศใช้ต่อไป)

ผู้รับผิดชอบ

จนท.WD

โปรแกรม Q-erp

จนท.WD

ทรั พยากรทีใช้

ใบขึนสิ นค้า (Order)

ใบขึนสิ นค้า (Order)

ใบขึนสิ นค้า (Order)

Plan

ระยะเวลา

การติดตามผล

Actual ต.ค.-65 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.

Plan

(สนญ.)

Actual

(สาขา 2) เริ มตังแต่ 25-10-2564

Plan

(สนญ.)

Actual

(สาขา 2) เริ มตังแต่ 26-10-2564

Plan

(สนญ.) เริ มตังแต่ 22-11-2564

Actual

(สาขา 2) เริ มตังแต่ 29-10-2564

หมายเหตุ : ช่ องผู้รับผิดชอบให้ ระบุเป็ นชือตําแหน่ง

(นายวุฒิภทั ร กิจเจริ ญ)

................./................./.................. FM-QS-15 Rev.01 / 06-04-2020

แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ประจําปี 2566แผนก/ฝ่ าย ข้อมูลคลังสินค้า/โลจิสติกส์ หัวข้ อ o KPI o การแก้ ไขและป้องกัน o Risk&Opp o  อืน ๆ แผนปฏิบัติการ เรื อง ลดความผิดพลาดการจัดทําใบฝากสินค้าทีขายเป็ นนน. เป้ าหมาย ไม่ผิดเลยหรือน้ อยลงกว่ าปี ทีผ่ านมา NO

รายละเอียดการดําเนินการ

รายการสิ นค้าไหนทีขายเป็ น นําหนัก ให้ไปคียข์ อ้ มุล นําหนักในช่อง 1 นําหนักรวม และราคาขาย ให้ไปคียใ์ นช่อง ราคา/นําหนัก (เพือให้ โปรแกรมช่วยคํานวณให้) ใช้เครื องคิดเลขดีดทวน เฉพาะรายการทีขายเป็ นนําหนัก ถ้ารายการไหน ยอดในระบบมากกว่า ให้เอายอดส่ วนต่างทีได้ไปใส่ ในช่องส่ วนลด 2 ด้านล่าง ส่ วนถ้ารายการไหนยอดในระบบน้อยกว่า ให้คียร์ าคาเพิมในช่อง ราคา/หน่วย (เพิมทศนิยมหลักสุ ดท้ายแล้วถ้ายอดในระบบกลับมามากกว่า ให้ไปคียส์ ่ วนต่างในช่องส่ วนลดด้านล่างเช่นกัน)

ผู้รับผิดชอบ

ทรั พยากรทีใช้

Plan

ระยะเวลา

การติดตามผล

Actual ต.ค.-65 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.

Plan

(สนญ.)

จนท.WH

Actual Plan จนท.WH

(สาขา 2) เริ มตังแต่ 25-10-2564 (สนญ.) (สาขา 2) เริ มตังแต่ 26-10-2564

Actual

ตรวจสอบระหว่างใบฝากสิ นค้ากับใบขึนสิ นค้า/Order โดยรหัสพนักงาน ขาย เครดิต รายการ จํานวน นําหนักและราคาต้องถูกต้องตรงกัน โดย 3 ตรวจทีละรายการล่นลงมาตามลําดับและให้ใช้เครื องหมายถูก (/ เพือเป็ น การให้สัญลักษณ์ในการตรวจ)

จนท.WH

4 ดีดทวนมูลค่ารวมทังบิล ต้องถูกต้องตรงกันกับทีดีดได้จากเครื องคิดเลข

จนท.WH

Plan

(สนญ.) เริ มตังแต่ 22-11-2564 (สาขา 2) เริ มตังแต่ 29-10-2564

Actual Plan Actual

(สนญ.) เริ มตังแต่ 22-11-2564 (สาขา 2) เริ มตังแต่ 29-10-2564

หมายเหตุ : ช่ องผู้รับผิดชอบให้ ระบุเป็ นชือตําแหน่ง : ปัจจุบันโปรแกรมปรั บเป็ น 2 หน่วยแล้ ว (เมือก่ อนเป็ นหน่ วยเดียว ถ้ าขายเป็ นนําหนักต้ องดีดเครื องคิดเลขเอง โดยเอาราคา/กก. X นําหนัก / จํานวนเส้ น แล้ วเอายอดทีได้ไปใส่ ในช่ องราคา/หน่ วย)

(นายวุฒิภทั ร กิจเจริ ญ)

................./................./.................. FM-QS-15 Rev.01 / 06-04-2020

ตัวอย่างรถบริษัทฯ พืน้ เรียบ

ตัวอย่างรถบริษัทฯ ลักษณะ เป็ นคอกเตีย้

รายละเอียดการดาเนินงาน 1. 2. 3. 4. 5.

หาอูท่ ่ีรบั ดัดแปลงสภาพรถจานวน 3 ที่ ขอใบเสนอราคาจากอู่ ทาหนังสือขอเสนอพิจารณาจากกรรมการผูจ้ ดั การบริษัทฯ เซ็นอนุมตั ิ นารถคันที่จะดัดแปลงเข้าไปที่อู่ 1 คัน ตรวจสอบสภาพรถหลังจากต่อเติมกระบะเหล็กก่อนรับรถมาที่บริษัทฯ

แผนเพิ่มประสิทธิภาพการทางานให้สอดคล้องกับนโยบายปี 2566 ชื่อแผนงาน : การเพิม่ ประสิทธิภาพในการทางาน ของแผนกบัญชี

ระยะเวลาการดาเนินการ : มีนาคม - ตุลาคม 2566

หน่วยงานเจ้าของแผน : แผนกบัญชี ผู้รับผิดชอบ : แผนกบัญชี วัตถุประสงค์ : ตอบสนองนโยบายเป้าหมายด้านคุณภาพและบริการ

ค่าใช้จ่าย : - บาท

1

ระดับที่ 2

ด้านคุณภาพ

นัฐกานต์

ชนากานต์

รินดา

เพ็ญพร

เจสิกาญ

จุฑามาศ

ศศินา

สุวพัชร

หมายเหตุ

ทักษะการทาบัญชี ระดับที่ 1

แบบทดสอบ

2

- เข้าใจทุกระบบของบัญชี ซื้อ/เจ้าหนี้ ขาย/ลูกหนี้ เงินทดรอง เงินสดย่อย สินทรัพย์ สินค้าคง คลัง ในตาแหน่งที่รับผิดชอบ - เข้าใจความหมายของรายการทางบัญชี นาข้อมูลไปวิเคราะห์และตัดสินใจอย่างถูกต้องเหมาะสม

ระดับที่ 3

- เข้าใจหลักการบัญชีเบื้องต้น เช่น การผ่านรายการค้าเข้าบัญชีแยกประเภท ทารายงานทาง บัญชี และกระทบยอด

ระดับที่ 4

- เข้าใจระบบควบคุมภายในของแต่รละรายการค้า ประสานงานกับหน่วยงานอื่นเพื่อความ รวดเร็วในการทางาน ไม่ซ้าซ้อน

ระดับที่ 5

ด้านคุณภาพ

สิรินทร์

ระดับ

ตัวชี้วัด

เกศสุดา

ที่

วรรณวิวาห์

ผู้รับการประเมิน

นลิน

หัวข้อ นโยบาย เป้าหมายที่ เกี่ยวข้อง

- เข้าใจกระบวนการ ความสัมพันธ์กับการบันทึกบัญชี วิเคราะห์เอกสาร รายการค้าที่เกิดขึ้นได้

การใช้งานโปรแกรม ERP

การใช้งานจริง

ระดับที่ 1

- ยังไม่สามารถใช้โปรแกรม ERP ในตาแหน่งงานของฝ่ายบัญชีได้ ต้องมีหัวหน้างานคอยสอนทุก ขั้นตอน

ระดับที่ 2

- สามารถใช้โปรแกรม ERP ในตาแหน่งงานของฝ่ายบัญชี ยังต้องมีหัวหน้างานคอยแนะนา ระหว่างการใช้งานบางขั้นตอน

ระดับที่ 3

- สามารถใช้โปรแกรม ERP ได้ด้วยตนเอง แต่ยังไม่ครบทุกฟังก์ชันที่ตาแหน่งของฝ่ายบัญชีต้องใช้ งาน

ระดับที่ 4

- สามารถใช้โปรแกรม ERP ได้ด้วยตนเองทุกฟังก์ชันที่ตาแหน่งของฝ่ายบัญชีต้องใช้งาน ได้ ถูกต้อง แต่ยังใช้เวลานาน

ระดับที่ 5

- สามารถใช้โปรแกรม ERP ได้ด้วยตนเองทุกฟังก์ชันที่ตาแหน่งของฝ่ายบัญชีต้องใช้งาน ได้ ถูกต้อง และใช้เวลาไม่นาน

พนักงานอยูใ่ นระดับนี้ ต้องให้เรียนรู้งานเพื่อเพิ่มฟังก์ชั่น

ภาพ ณภาพ ด้านคุด้าณนคุ

13

การปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับกฎหมาย

แบบทดสอบ แบบทดสอบ

4

ด้านคุณภาพ

ระดับที่ 1

- มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกฎหมายทางบัญชี พร้อมที่จะศึกษาและพัฒนาความรู้ให้ทันสมัย อยูเ่ สมอ

ระดับที่ 2

- มีความรู้ ด้านกฎหมายทาบัญชี และปฏิบัติหน้าที่สอดคล้องตามกฎหมายกาหนด โดยมีหัวหน้า งานให้คาแนะนา

ระดับที่ 3

- มีความรู้ ด้านกฎหมายทาบัญชี และปฏิบัติหน้าที่สอดคล้องตามกฎหมายกาหนด แต่ยังไม่ สามารถตัดสินใจ แก้ปัญหา หากพบข้อผิดพลาด ของเอกสารทางบัญชีที่ไม่สอดคล้องกับข้อ กฎหมายได้ด้วยตนเอง

ระดับที่ 4

- มีความรู้ ด้านกฎหมายทาบัญชี และปฏิบัติหน้าที่สอดคล้องตามกฎหมายกาหนด และสามารถ ตัดสินใจ แก้ปัญหา หากพบข้อผิดพลาด ของเอกสารทางบัญชีที่ไม่สอดคล้องกับข้อกฎหมายได้ ด้วยตนเอง

ระดับที่ 5

- สามารถ Update ข้อกฎหมายทางบัญชี และอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับข้อกฎหมายทางบัญชีที่มี การเปลี่ยนแปลงได้

การจัดเก็บและควบคุมเอกสาร

การใช้งาน จริง/ KPI

ระดับที่ 1

- มีความรู้ ความเข้าใจ ในกระบวนการเอกสารของฝ่ายบัญชี คัดแยกเอกสารแต่ละประเภทได้ อย่างถูกต้อง

ระดับที่ 2

- สามารถถจัดเก็บเอกสารตรงตามหมวดหมู่ ตามมาตรฐานของบัญชี เรียงตามลาดับวันที่ ทา บ้ายบ่งชี้ให้ชัดเจน

ระดับที่ 3

- สามารถสอน วิธกี ารขั้นตอนการเก็บเอกสารให้ได้ตามมาตรฐานที่กาหนด และผู้รับการสอน ปฏิบัติตามได้ด้วยความเข้าใจที่ถูกต้อง

ระดับที่ 4

- สามารถกาหนดระยะเววลาในการจัดเก็บเอกสารแต่ละประเภทให้ถูกต้องตามมาตรฐานบัญชี และตามกฎหมายกาหนด

ระดับที่ 5

- สามารถแก้ไข เปลี่ยนแปลง ปรับเปลี่ยน พัฒนา ขั้นตอนวิธกี ารจัดเก็บเอกสารให้ ดีขึ้นกว่าเดิม ค้นหาง่าย ไม่สูญหาย และถูกต้อง

นัฐกานต์

ชนากานต์

รินดา

เพ็ญพร

เจสิกาญ

จุฑามาศ

ศศินา

สุวพัชร

สิรินทร์

ระดับ

ตัวชี้วัด

เกศสุดา

ที่

วรรณวิวาห์

ผู้รับการประเมิน

นลิน

หัวข้อ นโยบาย เป้าหมายที่ เกี่ยวข้อง

หมายเหตุ

15

ด้านคุณภาพด้านคุณภาพ

ความละเอียดรอบครอบ

แบบทดสอบ

ระดับที่ 1

- ไม่สามารถตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลหรืองานที่ปฏิบัติได้ครอบคลุม - มองข้ามรายละเอียดของงานบางอย่างไป - ข้อมูลหรืองานที่ปฏิบัติมีข้อผิดพลาดอยูเ่ สมอ

ระดับที่ 2

- ยังคงต้องขอคาปรึกษาแนะนาจากหัวหน้างานในการจัดระบบการตรวจสอบข้อมูล หรืองานที่ ปฏิบัติ - ให้ความสนใจเฉพาะรายการที่ต้องตรวจสอบเท่านั้น - ข้อมูลหรืองานที่ปฏิบัติมีข้อผิดพลาดบ้าง ซึ่งต้องได้รับการตรวจสอบช้าจากหัวหน้างาน

ระดับที่ 3

- รู้และเข้าใจหลักการและมาตรฐานการตรวจสอบ - สามารถประยุกต์ใช้หลักหรือวิธกี ารต่างๆ ในการตรวจสอบ ได้ - ตรวจสอบรายละเอียดของข้อมูลหรือผลการปฏิบัติงานก่อนนาส่งทุกครั้ง - ค้นพบข้อผิดพลาดของข้อมูลหรือผลงานที่ปฏิบัติได้ด้วยตนเอง

ระดับที่ 4

- ข้อมูลและผลงานที่ปฏิบัติมีความถูกต้องทุกครั้ง - ประเมินผลการตรวจสอบข้อมูลและผลงานที่ปฏิบัติอยูเ่ สมอ - สามารถแก้ไข ข้อมูลเบื้องต้น หากการปฏิบัติงานไม่มีความละเอียดรอบคอบ

ระดับที่ 5

- มองเห็น ปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการทางานที่ผิดพลาด - คิดหาแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงวิธกี ารในการตรวจสอบการปฏิบัติงานอยูเ่ สมอ

การใช้งาน จริง/ KPI

นัฐกานต์

ชนากานต์

รินดา

เพ็ญพร

เจสิกาญ

จุฑามาศ

ศศินา

สุวพัชร

สิรินทร์

ระดับ

ตัวชี้วัด

เกศสุดา

ที่

วรรณวิวาห์

ผู้รับการประเมิน

นลิน

หัวข้อ นโยบาย เป้าหมายที่ เกี่ยวข้อง

หมายเหตุ

นคุณภาพ ด้านคุณด้าภาพ

16

การติดตามงาน

แบบทดสอบ

ระดับที่ 1

- สามารถติดตามความก้าวหน้าของงานได้ตามระยะเวลาที่กาหนดได้ - เลือกบุคคลที่ต้องติดตามงานได้เหมาะสมกับงาน - การให้ข้อมูลภายหลังจากการติดตามงาน ยังไม่ครบถ้วน

ระดับที่ 2

- บันทึกและสรุปผลการติดตามงานทุกครั้ง - รายงานผลการติดตามงานให้หัวหน้างานและทีมงานทราบ - ให้ข้อมูลและตอบข้อซักถามจากการติดตามงานได้อย่างถูกต้อง

ระดับที่ 3

- สามารถนัดประชุมเพื่อติดตามความคืบหน้าของานจากผู้ที่เกี่ยวข้องได้ - สามารถกระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานเคร่งครัดต่อแผนงานที่กาหนดไว้

ข้อร้องเรียน

ระดับที่ 4 ระดับที่ 5

ด้านคุณภาพ

7

- ประเมินผลการติดตามงานของตนเองได้ - สามารถแก้ไขปัญหาจากการติดตามงาน กรณีติดตามงานไม่ได้ตามเป้าที่กาหนดต่อทีมงานได้ - สามารถโน้วน้าวชักจูงให้ผู้อื่นทางานให้สาเร็จตามเป้าหมายได้ - สามารถสอนแนะนาเทคนิค วิธกี ารติดตามงานให้มีประสิทธิภาพได้

ความรับผิดชอบในงาน

การใช้งาน จริง/ KPI

ระดับที่ 1

- อธิบายขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ที่ได้รับมอบหมายได้อย่างถูกต้องและ ครบถ้วน

ระดับที่ 2

- ยังไม่สามารถปฏิบัติตามขอบเขตหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายงานให้ถูกต้องทั้งหมดได้และไม่ ทันเวลาที่กาหนดได้

ระดับที่ 3

- สามารถปฏิบัติดามขอบเขตหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย งานได้อย่างถูกต้องทั้งหมด ครบถ้วนและ ทันตามกาหนดเวลา

ระดับที่ 4

- สามารถแก้ไขปัญหาในงานที่ ได้รับมอบหมาย ให้สาเร็จลุล่วงตามความรับผิดชอบได้ - สามารถสอนแนะนาเพื่อนร่วมงาน ถึงขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้

ระดับที่ 5

- เป็นต้นแบบอย่างที่ดีให้แก่เพื่อนร่วมงานเกี่ยวกับความรับผิดชอบในงาน - สามารถปฏิบัติงานได้ตามที่ได้รับมอบหมาย และงานไม่เกิดข้อผิดพลาด ส่งงานตามกาหนด - สามารถพัฒนางานที่ได้รับมอบหมาย ให้ดีเกินกว่าที่ได้รับมอบหมาย

นัฐกานต์

ชนากานต์

รินดา

เพ็ญพร

เจสิกาญ

จุฑามาศ

ศศินา

สุวพัชร

สิรินทร์

ระดับ

ตัวชี้วัด

เกศสุดา

ที่

วรรณวิวาห์

ผู้รับการประเมิน

นลิน

หัวข้อ นโยบาย เป้าหมายที่ เกี่ยวข้อง

หมายเหตุ

ณภาพ านคุรการ ด้าด้นบิ

1

การส่งมอบงานตรงเวลา

การใช้งาน แบบทดสอบ จริง/ KPI / ข้อร้องเรียน

2

ด้านบิรการ

ระดับที่ 1

- ไม่ตรวจสอบงานที่ตนเองปฏิบัติอยูใ่ ห้เป็นไปตามแผนที่กาหนดได้ - ไม่สามารถปรับเปลี่ยนแผนและแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องถึงเหตุผลในการส่งมอบงานที่ล่าช้าได้

ระดับที่ 2

- มีความสามารถในการวางแผน ในการทางานในแต่ละขั้นตอนให้เกิดความชัดเจนเพื่อจะได้ ปฏิบัติงานให้มีขอบเขต ให้ทันกาหนดในการส่งมอบงานได้

ระดับที่ 3

- สามารถส่งมอบงานได้ตรงเวลาตามแผนที่กาหนดไว้ได้ แต่งานยังไม่สมบูรณ์มีความผิดพลาดใน งานที่ส่งมอบบ้างบางครั้ง

ระดับที่ 4

- สามารถส่งมอบงานได้ตรงเวลาตามแผนที่กาหนดไว้ งานสมบูรณ์ไม่มีความผิดพลาค - สามารถแก้ไขปัญหา หากงานที่ได้รับมอบหมายไม่สามารถส่งมอบงานได้ - สามารถแจ้งถึงเหตุผลที่ไม่สามารถส่งมอบงานได้ตามแผนไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องได้

ระดับที่ 5

- สามารถสอนวิธหี รือขั้นตอนในการวางแผนการทางาน เพื่อให้งานเป็นไปตามเป้าหมายให้แก่ ผู้อื่นได้ และสามารถประเมินผลผู้เรียนได้

การติดต่อประสานงาน ระดับที่ 1

- ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่น ในงานประจาวัน ได้สาเร็จ อย่างราบรื่น - ประสานงานได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน รวคเร็ว เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเกิดความพอใจ - ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างราบรื่น

ระดับที่ 2

-สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในและนอกหน่วยงานที่มีความแตกต่างทางด้านด้านความ คิดเห็นได้ โดยไม่มีข้อขัดแย้ง เปิดใจยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น - อธิบายรายละเอียดงานได้อย่างถูกต้อง เพื่อการประสานงานที่ราบรื่นและลดข้อขัดแย้ง - สามารถสรุปประเด็นในเรื่องที่ได้รับมอบหมาย แก่ผู้ประสานงานได้ครบถ้วนถูกต้อง

ระดับที่ 3

- ปรับเปลี่ยนวิธกี ารติดต่อประสานงานให้เหมาะสมตามสถานการณ์ - ประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ด้วยขั้นตอนที่เข้าใจงานไม่ซับซ้อน - สามารถให้คาแนะนาแก่ผู้อื่นในเรื่องการประสานงานได้

ข้อร้องเรียน

ระดับที่ 4 ระดับที่ 5

- พัฒนารูปแบบการประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องได้เข้าถึงข้อมูลได้ - จัดลาดับความสาคัญและกาหนดรูปแบบการประสานงานที่เหมาะสม - ให้คาปรึกษา ให้ข้อเสนอแนะ ในการเลือกวิธกี าร และช่วยแก้ไขปัญหาในการประสานงานได้ - ประสานงานกับบุคคลที่มีระดับสูงกว่าได้อย่างมีประสิทธิภาพ

นัฐกานต์

ชนากานต์

รินดา

เพ็ญพร

เจสิกาญ

จุฑามาศ

ศศินา

สุวพัชร

สิรินทร์

ระดับ

ตัวชี้วัด

เกศสุดา

ที่

วรรณวิวาห์

ผู้รับการประเมิน

นลิน

หัวข้อ นโยบาย เป้าหมายที่ เกี่ยวข้อง

หมายเหตุ

แผนงาน นโยบายของปี

แผนกการเงิน

1. คุณภาพ

- จะเน้นเรื องการพัฒนาคุณภาพของงานให้ดียงขึ ิ น ลดการทํางานทีผิดพลาด - ตรวจสอบงานทีซําซ้อนและดําเนิ นการ หาแนวทางในการลดกระบวนการในการทํางาน แต่ ประสิ ทธิภาพต้องดีกว่าเดิม - จัดเรี ยงลําดับความสําคัญงาน เพือให้งานออกมารวดเร็ ว ถูกต้องและแม่นยํา - เน้นการตรวจสอบงาน ดูแลและติดตามงาน ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาอย่างใกล้ชิด เพือลดความ ผิดพลาดทีจะเกิดขึน - ประเมินการทํางานของตนเองและผูใ้ ต้บงั คับบัญชาอยูเ่ สมอ เพือหาจุดทีบกพร่ อง และนํามา ปรับปรุ งและแก้ไข - จะศึกษาและนําเทคโนโลยีมาใช้กบั งานทีทําให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด 2. บริการ - หาแนวทางในการให้บริ การ โดยการนําเทคโนโลยีมาใช้ควบคู่ เพือตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าและของผูร้ ่ วมงานทีต้องใช้ขอ้ มูลจากฝ่ ายการเงิน ให้รวดเร็ วและแม่นยํา - ให้บริ การด้วยใจและให้มุ่งเน้นเรื องการแก้ปัญหา

แผนงานในปี 1. 2. 3. 4. 5. 6.

แผนกการเงิน

จัดเก็บหนีทีครบกําหนดไม่นอ้ ยกว่า % ลดหนีสู ญ ให้เป็ น ศูนย์ ติดตามสิ นค้าตีคืน พัฒนาบุคลากร ในทีม โดยการประเมินผลการทํางานทุกๆไตรมาส ยืนเรื องเสนอเพิมขอปรับเพิมวงเงินกูร้ ะยะสัน เช่น L/C , T/R จัดหาแหล่งเงินทุน เพิมเติม ระยะยาว เพือใช้ดาํ เนินงานก่อสร้างโรงงานสาขา และ บริ ษทั ในเครื อ บุษกร เสาคํา ผูร้ ายงาน

SECRETARY Millada Chortip

How to be a good secretary ?

คุณภาพงานที่จะทาให้ดีขึ้น

1.Time 2.Prudence จัดสรรงาน จัดลาดับความสาคัญ บริหารเวลา

ตรวจสอบเอกสาร ทาความเข้าใจในรายละเอียดของเอกสารต่างๆ ก่อนที่จะนาเสนอหรือรายงานต่อผู้บริหาร

3.Documents จัดเก็บเอกสารและข้อมูลต่างๆ ให้เป็นระเบียบ ง่ายต่อการค้นหา

4.Managing วางแผนติดตามงานต่างๆให้ดี จัดการตารางนัดหมายของผู้บริหาร แจ้งเตือนผู้บริหารให้ทราบก่อนเสมอ เพื่อที่จะได้วางแผนสเตปงานอื่นๆต่อไปได้

5.Coordinate ประสานงานกับหน่วยงานภายนอกและภายใน สอดส่องดูแลความเรียบร้อยต่างๆอยู่เสมอ เพื่อที่หากพบปัญหาจะได้รายงานแก่ผู้บริหารได้ทันที

รับทราบและทาความเข้าใจในสิ่งที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อที่จะได้ไปสื่อสารและประสานงานต่อให้บุคคลภายนอกเข้าใจ

6.Understanding ทาความเข้าใจในรายละเอียดของงานที่เรารับผิดชอบ รวมถึงเข้าใจในงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อที่จะได้จัดการงานต่างๆได้อย่างถูกต้อง และสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหาร

7.Aptitude / Skill ในสถานการณ์ที่ต้องติดตามผู้บริหารไปนอกสถานที่ ต้องกระฉับกระเฉง มีไหวพริบดี แก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ทันท่วงที

8.Development พัฒนาตนเองให้มากยิ่งขึ้น นาความผิดพลาดที่โดนติมาปรับปรุงตนอยู่เสมอ และพยายามไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดเดิมขึ้นซ้าอีก

การบริการที่จะทาให้ดีขึ้น

1.Service mind to MD ดูแลผู้บริหาร ใส่ใจผู้บริหาร รู้ว่าผู้บริหารชอบอะไร ไม่ชอบอะไร ซื่อสัตย์ มีสัมมาคารวะ มีกาลเทศะ วางตัวให้ดี ระวังเรื่องของคาพูดอยู่เสมอ

2.Service mind to others มีอัธยาศัยที่ดีในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน คอยรับฟังปัญหาต่างๆ เพื่อนาเสนอแก่ผู้บริหาร ให้เกิดแนวทางแก้ไขต่อไป

แผนงานนโยบายของป 2566 ที่ทุกแผนกตองผลักดันพัฒนาใหนโยบาย หลักใหชัดเจน และเห็นผลเปนรูปธรรมใหชัดเจนในป 2566 นโยบายเปาหมายหลักของฝายไอที 1.คุณภาพ ทรัพยากร

- มีแผนการอบรมพนักงานเกี่ยวกับความรูการและการแกปญหาเบื้องตน ดานเทคโนโลยีสารสนเทศทุกป - มีองคความรูเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ บนหนาเว็บไซตภายในใหพนักงานสามารถเปดดูวิธกี ารแกปญหาเองได - เพิ่มชองทางการสงเอกสารออนไลนทดแทนการปริน้ งานในรูปแบบกระดาษ ลดขั้นตอนการทํางานและลด - พัฒนาระบบในองคกรใหทันสมัยอยูใหมๆ และรองรับการทํางานไดทกุ ที่ทุกเวลา

2.ดานบริการ อุปกรณพรอม

- มีแผนการ MA การบํารุงรักษาระบบสารสนเทศ เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร&ปริ้นเตอร และ เซิรฟเวอร เพื่อให ใชไดตามปกติ - มีชองทางการทํางานใหแกพนักงานสามารถทํางานไดทุกที่ - สามารถรีโมทซัพพอรตแกปญ  หาบริษัทในเครือได - เพิ่มชองทางการติดตอและแกปญ  หาผานทางเว็บไซตออนไลน ใหสามารถดูสถานะการบริการได

Project IT 2566

หัวข้อ

01 ขึนระบบ Network & CCTV Center

03 Upgrade UPS Server

05 ระบบโรงแรม Chill Chill

02 Upgrade Computer สํานักงาน

04 Upgrade Server VMware

06

อบรบพนักงานความรู้พืนฐาน การแก้ปัญหาเบืองต้นด้านไอที

ขึนระบบ Network & CCTV Center วัตถุประสงค์ เพิ มระบบให้สอดคล้องกับการทํางานของ ระบบ Sky Line ประโยชน์ทีได้รบั รองรับการทํางานทีเกียวข้องกับระบบ Sky Line และมีความปลอดภัย งบประมาณ : IP Phone 105,000 บาท Network MPLS 6,000/เดือน CCTV 250,000 บาท Rack & UPS 30,000 บาท ผูด้ แู ลโครงการ : ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

Upgrade Computer สํานักงาน วัตถุประสงค์ เพือเพิ มประสิ ทธิ ภาพในการทํางาน ประโยชน์ทีได้รบั ได้ Computer ทีสามารถ Support เกียวกับโปรแกรมการทํางานในปัจจุบนั และอนาคต งบประมาณ : 510,000 บาท ผูด้ แู ลโครงการ : ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

Upgrade UPS Server วัตถุประสงค์ เพือเพิ มการสํารองไฟให้มีระยะเวลาเพิ มมากขึนและป้ องกัน Server มีปัญหาช่วงทีไฟดับ เป็ นระยะเวลานาน ประโยชน์ทีได้รบั สามารถรองรับการสํารองไฟฟ้ า จากเดิ ม 30 นาทีเป็ น 1-2 ชม. เพือป้ องกัน Server มี ปัญหาในช่วงเวลาทีไฟฟ้ าดับเกิ น 30 นาที งบประมาณ : 65,500 บาท ผูด้ แู ลโครงการ : ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

Upgrade Server VMware วัตถุประสงค์ เพิ มประสิ ทธิ ภาพของ Server ให้รองรับกับการใช้งานในปัจจุบนั ที เพิ มมากขึน ประโยชน์ทีได้รบั ในส่วนของการจัดการ Server ต่างๆมีประสิ ทธิ ภาพมากยิ งขึนในการรองรับกับ โปรแกรมที มีอยู่ งบประมาณ : 80,000 บาท ผูด้ แู ลโครงการ : ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

ระบบโรงแรม Chill Chill วัตถุประสงค์ รองรับการทํางานในส่วนต่างๆของโรงแรม ประโยชน์ทีได้รบั บริหารจัดการระบบNetworkและโปรแกรมต่างๆทีมีการใช้งานได้ด้วยตนเอง งบประมาณ : 50,000 บาท ผูด้ แู ลโครงการ : ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

06 อบรบพนักงานความรูพ้ นฐานการแก้ ื ปัญหาเบืองต้น

วัตถุประสงค์ เพิ มความรูก้ ารแก้ปัญหาเบืองต้นกับอุปกรณ์ด้านไอที

ประโยชน์ทีได้รบั เพิ มความรูค้ วามเข้าใจให้แก่พนักงานเพือแก้ปัญหาเบืองต้นและลดชัวโมงการแจ้งซ่อม ไอที งบประมาณ : - บาท ผูด้ แู ลโครงการ : ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

Project Plan IT ลํา ดับ 1

2

3

4

5

หัวข้อ

Month Week

ระบบ CCTV&Network (Center) 1.1เปรียบเทียบราคา Plan จัดทํา เอกสารขออนุมัติ ACT 1.2ขันตอนการสั งซือ Plan เปิ ดเอกสาร PR/PO ACT 1.3การติดตังและทดสอบใช้งาน Plan นัดหมายติดตัง ACT อัพเกรดคอมพิวเตอร์ สํานักงาน 2.1เปรียบเทียบราคา Plan จัดทํา เอกสารขออนุมัติ ACT 2.2ขันตอนการสั งซือ Plan เปิ ดเอกสาร PR/PO ACT 2.3การติดตังและทดสอบใช้งาน Plan Install Windows และ Program ACT อัพเกรดเครื องสํารองไฟ Server 3.1เปรียบเทียบราคา Plan จัดทํา เอกสารขออนุมัติ ACT 3.2ขันตอนการสั งซือ Plan เปิ ดเอกสาร PR/PO ACT 3.3การติดตังและทดสอบใช้งาน Plan นัดหมายติดตัง ACT อัพเกรด Server Vmware 4.1เปรียบเทียบราคา Plan จัดทํา เอกสารขออนุมัติ ACT 4.2ขันตอนการสั งซือ Plan เปิ ดเอกสาร PR/PO ACT 4.3การติดตังและทดสอบใช้งาน Plan นัดหมายติดตัง ACT ระบบโรงแรม Chill Chill 5.1เปรียบเทียบราคา Plan จัดทํา เอกสารขออนุมัติ ACT 5.2ขันตอนการสั งซือ Plan เปิ ดเอกสาร PR/PO ACT 5.3การติดตังและทดสอบใช้งาน Plan นัดหมายติดตัง ACT อบรบพนักงานความรู้ พนฐานการแก้ ื ปัญหา 6.1 นัดหมายอบรบพนักงาน Plan อบรมพนักงาน ACT

มกราคม

กุ ม ภาพันธ์

มีนาคม

Project Plan IT 2566 เมษายน พฤษภาคม

มิถุนายน

กรกฎาคม

สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

ื อนละ 4 เครือง ก.พ.-ต.ค 66 คอมพิวเตอร์ทงหมด ั 40 เครือง จะขออนุมัตซ ิ อเดื

ลำดับ 1

2

3

4

Project Plan IT 2566 หมายเหตุ เมษำยน พฤษภำคม มิถุนำยน กรกฎำคม สิงหำคม กันยำยน ตุลำคม Month มกรำคม กุมภำพันธ์ มีนำคม หัวข้ อ Week 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 ระบบ CCTV&Network (Center) 1.1เปรี ยบเทียบราคา Plan จัดทาเอกสารขออนุมตั ิ ACT 1.อยูร่ ะหว่างการสั่งซื้ อ 1.2ขั้นตอนการสั่งซื้ อ Plan และรอออฟฟิ ตสร้ างเสร็ จ เปิ ดเอกสาร PR/PO ACT 1.3การติดตั้งและทดสอบใช้งPlan าน นัดหมายติดตั้ง ACT อัพเกรดคอมพิวเตอร์ สำนักงำน 2.1เปรี ยบเทียบราคา Plan จัดทาเอกสารขออนุมตั ิ ACT อยูร่ ะหว่างการดาเนิ นการตามแผน 2.2ขั้นตอนการสั่งซื้ อ คอมพิวเตอร์ ท้ งั หมด 40 เครื่ อง จะขออนุมตั ิซ้ื อเดือนละ 4 เครื่ อง ก.พ.-ต.ค 66 Plan เปิ ดเอกสาร PR/PO 1 2 ACT 2.3การติดตั้งและทดสอบใช้งPlan าน Install Windows และ Program 1 ACT อัพเกรดเครื่ องสำรองไฟ Server 3.1เปรี ยบเทียบราคา Plan จัดทาเอกสารขออนุมตั ิ ACT Finish 3.2ขั้นตอนการสั่งซื้ อ Plan สารองได้นาน 2 ชม เปิ ดเอกสาร PR/PO ACT 3.3การติดตั้งและทดสอบใช้งPlan าน นัดหมายติดตั้ง ACT อัพเกรด Server Vmware 4.1เปรี ยบเทียบราคา Plan อยูร่ ะหว่างเทียบราคา

ลำดับ

5

6

7

Project Plan IT 2566 หมายเหตุ เมษำยน พฤษภำคม มิถุนำยน กรกฎำคม สิงหำคม กันยำยน ตุลำคม Month มกรำคม กุมภำพันธ์ มีนำคม หัวข้ อ Week 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 จัดทาเอกสารขออนุมตั ิ ACT อยูร่ ะหว่างเทียบราคา 4.2ขั้นตอนการสั่งซื้ อ Plan เปิ ดเอกสาร PR/PO ACT 4.3การติดตั้งและทดสอบใช้งPlan าน นัดหมายติดตั้ง ACT ระบบโรงแรม Chill Chill 5.1เปรี ยบเทียบราคา Plan 1.Internet ติดตั้งแล้ว จัดทาเอกสารขออนุมตั ิ ACT 2. NB ทาการสั่งซื้ อ 5.2ขั้นตอนการสั่งซื้ อ Plan 3.โปรแกรมทาการสั่งซื้ อ เปิ ดเอกสาร PR/PO ACT 5.3การติดตั้งและทดสอบใช้งPlan าน นัดหมายติดตั้ง ACT อบรบพนักงำนควำมรู้ พื้นฐำน ตามแผนการอบรม ของทาง Training จัดวันพื่ออบรมรอบ 6.1 นัดหมายอบรบพนักงาน Plan อบรมพนักงาน ACT ปรับปรุ ง ระบบ CCTV บริ ษทั ไอสแตนเลส 5.1เปรี ยบเทียบราคา Plan จัดทาเอกสารขออนุมตั ิ ACT อยูข่ ้ นั ตอนการกาหนดจุดติดตั้ง 5.2ขั้นตอนการสั่งซื้ อ Plan และขอราคา เปิ ดเอกสาร PR/PO ACT 5.3การติดตั้งและทดสอบใช้งPlan าน นัดหมายติดตั้ง ACT

SISTER INTERACTIVE

เครื่องหมายการค้าหลัก เครื่องหมายการค้า สารอง

เครื่องหมายการค้าสารอง

Product สินค้าผลไม้ทมี่ จี าหน่าย

Product สินค้าผลไม้ทมี่ ีจาหน่าย สินค้ามี 2 ขนาด 80 กรัม และขนาด 200 กรัม 1.มะม่วง

2.มะพร้าว

3.สตรอเบอรี่

4.ทุเรียน

5.ส้ม

6.สับปะรด

7.Mix Berry 8.กีว่ี

9.ขนุน

10.ขิง

12.มะละกอ

11.เปลือกส้มโอ

Product สินค้าผลไม้ทม่ี จี าหน่าย

Product สินค้าผลไม้ทม่ี จี าหน่าย รสชาติ Crazy Fruits ขนาด 40 กรัม -

มะม่วงนา้ ปลาหวาน มะม่วงกะปิ หวาน มะม่วงนา้ จิม้ แจ่ว มะม่วงต้มยา มะม่วงพริกเกลือ มะม่วงบ๊วย

Customer Segment ลูกค้าเป้ าหมาย • กลุม่ คนรักสุขภาพ Health Concern Trend • กลุม่ คนรักผลไม้ไทย Thai Fruits Lovers • กลุม่ นักท่องเที่ยว Tourist • กลุม่ นักเดินทาง Camping

ช่องทางการ จัดจาหน่าย • ผู้แทนจาหน่าย Distributor • ค้าส่ง Wholesaler • ค้าปลีก Retails • ลูกค้า End User

POSITION PRODUCT SEED รูปแบบการแข่งขันจะเป็ นการแข่งขันที่เน้นไป ยัง ‘ภาพลักษณ์’ ขององค์กร ด้วยการประกอบธุรกิจที่มงุ่ หา ผลกาไรควบคู่ไปกับการคืนผลกาไรที่ได้ให้กบั สังคมด้วย โดย โครงการคืนผลกาไรต่างๆ จะถูกเรียกว่า CSR พืน้ ที่ทางธุรกิจที่เน้นการแข่งขันในการสร้างความต้องการ (Demand) ใหม่ขนึ ้ มา ผ่านการสร้างสินค้าใหม่ หรือสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าที่มีอยู่แล้ว ซึ่งถือเป็ นตลาดที่มีการแข่งขันไม่สงู มาก และมีค่แู ข่งน้อย แต่การใช้กลยุทธ์นี ้ จะต้องอาศัยความรอบคอบในการสารวจตลาด และเรียนรูพ้ ฤติกรรมของลูกค้า เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ตรงกลุม่ พืน้ ที่ทางธุรกิจที่มีการแข่งขันสูงที่สดุ และมีค่แู ข่งที่มีการนาเสนอสินค้าหรือลักษณะทางธุรกิจที่คล้ายกัน โดยกลยุทธ์ Red Ocean จะเน้นไปที่การเอาชนะคู่แข่งด้วยยอดขาย ผ่านการแข่งขันทางราคา หรือ การจัดโปรโมชัน ผ่านการใช้ประโยชน์จากความต้องการ (Demand) ที่มีอยู่แล้ว

PRICE POSITION SEED ขนาด 80 กรัม Singapore ราคาตา่ สุด 0.42 บาท/กรัม ราคาสูงสุด 1.22 บาท/กรัม PRICE POSITION 1.4

1.22 1.2

SEED 1.17

1 0.8 0.6

0.42 0.4 0.2 0 ช่วงราคา 1

ช่วงราคา 2 SEED

ช่วงราคา 3 ราคาต่าสุด

ราคาสูงสุด

ช่วงราคา

ช่วงราคา 4

PRICE POSITION SEED ขนาด 200 กรัม Singapore ราคาขายตา่ สุด 0.31 บาท/กรัม ราคาขายสูงสุด 1.08 บาท/กรัม PRICE POSITION 1.2

1.08

1

SEED 0.9

0.8 0.6 0.4

0.31

0.2 0 ช่วงราคา 1

ช่วงราคา 2 SEED

ช่วงราคา 3 ราคาต่าสุด

ราคาสูงสุด

ช่วงราคา

ช่วงราคา 4

แผนการจาหน่ ายในประเทศไทย Online - Website - Sale page - Facebook - TIKTOK - Shopee - LAZADA

ผูร้ ับผิดชอบในการทาการตลาด Online Singapore ในช่ วง 3-6 เดือน จะเป็ นบริษัท ……………………

แผนการจาหน่ ายต่ างประเทศ Singapore (Online) - Website - Sale page - Facebook - Shopee - LAZADA

ผูร้ ับผิดชอบในการทาการตลาด Online Singapore ในช่ วง 3-6 เดือน จะเป็ นบริษัท ……………………

งบประมาณในการทาการตลาด 2023 งบประมาณในการจัดทาสื่อ Online ADD Facebook Tiktok

50,000 บาท / ไตรมาส 200,000 บาท / ปี 50,000 บาท / ไตรมาส 200,000 บาท / ปี

งานออกบูธ จัดแสดง สินค้า ภายในประเทศ ไตรมาสละ 1 ครัง้ ปี ละ 4 ครัง้ บูธแสดงสินค้า 95,000 บาท/บูธ (ปี ละ 380,000 บาท) งานออกบูธ จัดแสดง สินค้า ภายในประเทศ 2 ไตรมาสละ 1 ครัง้ ปี ละ 2 ครัง้ บูธแสดงสินค้า 300,000 บาท/บูธ (ปี ละ 760,000 บาท)

รวม 1,540,000

บาท (5.75 % ของยอดขาย)

เป้ าหมายยอดขายทีค่ าดหวัง (ภายในประเทศ) SEED+ CRAZY FRUITS • เป้าหมายยอดขายภายในประเทศ • • • •

ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่

รวม

1 2 3 4

1,280,000 2,560,000 3,200,000 6,500,000

13,540,000 บาท

บาท บาท บาท บาท

(จานวน ซอง (จานวน ซอง (จานวน ซอง (จานวน ซอง

20,000 ซอง) 40,000 ซอง) 50,000 ซอง) 100,000 ซอง)

เป้าหมายยอดขายทีค่ าดหวัง (ต่ างประเทศ) SEED • เป้าหมายยอดขายภายในประเทศ • • • •

ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่

รวม

1 2 3 4

1,280,000 2,560,000 3,200,000 6,500,000

บาท บาท บาท บาท

13,540,000 บาท

(จานวน ซอง (จานวน ซอง (จานวน ซอง (จานวน ซอง

20,000 ซอง) 40,000 ซอง) 50,000 ซอง) 100,000 ซอง)

เป้ าหมายปิ ดยอด 2023

•ยอดขายรวมทัง้ ส่งออกและภายในประเทศ 27,000,000

บาท

ตัวอาคารที่ใช้งาน

อัตรากาลังคน บริ ษทั ซิสเตอร์ อินเตอร์แอคทีฟ จากัด • • • • • • •

ผูจ้ ดั การฝ่ ายผลิต หัวหน้าแผนกผลิต หัวหน้าแผนก QA , QC หัวหน้าแผนกคลัง หัวหน้าแผนกซ่อมบารุง พนักงานผลิตหน่วยงานผลไม้ พนักงานแผนก QA,QC

1 1 1 1 1 1 1

• พนักงานคลังวัตถุดิบ /บรรจุภณ ั ฑ์ • ช่างซ่อมบารุง 1 • พนักงานผลิตหน่วยบรรจุ 1 • พนักงานคลังสินค้าสาเร็จรูป 1

ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง 1 ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง

• • • • • • •

ผูจ้ ดั การทั่วไป หัวหน้าแผนกวางแผน หัวหน้าแผนกบัญชี หัวหน้าแผนกจัดซือ้ หัวหน้าแผนกขนส่ง หัวหน้าแผนกขนาย หัวหน้าแผนกบุคคล

1 1 1 1 1 1 1

ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง

• พนักงานขับรถและขนส่ง • เจ้าหน้าที่แผนกขาย

1 1

ตาแหน่ง ตาแหน่ง

รวม

20

ตาแหน่ง

แผนการรับพนักงานเข้าปฏิบตั ิงาน • Q1 • Q2

พนักงานฝ่ ายผลิต 7 ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่แผนกขาย 1 ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บญ ั ชี 1 ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่ QA/QC 1 ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่แผนกจัดซือ้ 1 ตาแหน่ง *** พนักงานตาแหน่งที่เกี่ยวข้อง เมื่อมียอดขายเต็มอัตราการผลิต 2,000 ซอง / วัน / ไลน์ผลิต เพื่อให้สอดคล้องกับรายได้ขององค์กร • Q3 ตาแหน่งที่เกี่ยวข้องตามความเหมาะสมให้สิทธิ์การร้องขอพนักงานตาแหน่งนัน้ ๆ กับ หัวหน้างาน • Q4

ตาแหน่งที่เกี่ยวข้องตามความเหมาะสมให้สิทธิ์การร้องขอพนักงานตาแหน่งนัน้ ๆ กับ หัวหน้างาน

กระบวนการบรรจุ

แผนดาเนินการจัดทา มาตรฐานทีเ่ กีย่ วข้องกับอาหาร

จัดทามาตรฐานรับรอง ทีเ่ กีย่ วข้องกับอาหาร วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างมาตรฐานสินค้า ให้เป็ นที่ยอมรับ ทัง้ ในประเทศและระดับสากล 2. เพื่อสร้างความหน้าเชื่อถือให้กบั สินค้า 3. เพื่อให้สินค้าสารารถเข้าถึงกลุม่ ลูกค้าได้หลากหลาย

ขอรับรองมาตรฐาน ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร

เครื่องหมายรับรองสินค้า GMP (Good Manufacturing Practice Codex Alimentarius)

ขอรับรองมาตรฐาน ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร

เครื่องหมายรับรองสินค้า HACCP (Hazard Analysis Critical Control Point)

ขอรับรองมาตรฐาน ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร

เครื่องหมายรับรองสินค้า HALAL

ขอรับรองมาตรฐาน ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร

สัญลักษณ์ “ทางเลือกสุขภาพ

ขอรับรองมาตรฐาน ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร

• แนวทางในการทาการเกษตร เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคณ ุ ภาพดีตามมาตราฐานที่ กาหนดโดยองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO)

นโยบายและเป้ าหมายหลักปี 2023 •คุณภาพ •บริการ •สินค้าต้องครบและพร้อม

คุณภาพ • คุณภาพ ด้านการพัฒนาศักยภาพ ขีดความสามารถของพนักงาน • จัดทามาตรฐานและอบรมคุณภาพงานด้านการผลิตสินค้าประเภทอาหาร ที่เกี่ยวข้องกับสินค้าของทางบริษัท • จัดศึกษาดูงานให้กบั พนักงานแต่ละแผนกเพื่อนามาประยุกต์ใช้กบั องค์กร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของบริษัท • เข้าร่วม การสัมมนา ด้านงานขายและด้านการผลิต เพื่อให้พนักงานแต่ละแผนกได้เห็นถึงการดาเนินงานของบริษัทอื่นๆ

• คุณภาพ ด้านการพัฒนาสินค้า • ศึกษา พัฒนา ปรับปรุงสูตร ให้กบั สินค้าเดิม ต่อยอดสินค้าใหม่ เพื่อเพิ่มช่องทางในการขาย • พัฒนาการผลิตสินค้า ลดขัน้ ตอนการผลิต ลดความเสียหายของสินค้า เพิ่มคุณภาพของสินค้า • ศึกษาเทคโนโลยี นวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อนามาพัฒนาการผลิตสินค้า

บริการ • บริการด้วยความรวดเร็ว และแสดงความเป็ นมิตรกับทุกคน • มีความสุภาพทัง้ กาย ภาษาพูด • เราต้องเข้าใจในงานของเรา และสินค้า บริการของเราอย่างถูกต้องและชัดเจน • เราต้องเข้าใจว่า เรา(พนักงาน) คือภาพลักษณ์ของบริษัท • เราต้องให้บริการมากกว่าที่เขาคาดหวัง ด้วยความจริงใจเป็ นมิตร • เราต้องเข้าใจความต้องการของลูกค้าของเราอย่างแท้จริง

สิ นค้ าต้ องครบและพร้ อม • วิเคราะห์ ความต้อการ ของลูกค้า แต่ละพืน้ ที่ เพื่อเสิรฟ์ สินค้าได้ ตรงกับความต้องการของลูกค้าอย่าง ครบถ้วนและทันต่อความต้องการ • Forecast สินค้าแต่ละฤดูกาล แต่ละชนิดเพื่อให้สามารถผลิตและจาหน่ายได้ตลอดเพื่อไม่ให้สินค้าขาด ตลาด หรือช่วงของการขาดตลาดน้อยที่สดุ • วางแผนงาน ในการผลิตและจาหน่าย และ Stock เพื่อให้สินค้ามีเพียงพอกับความต้องการของลูกค้า

 อัตรากาลังพล  การสรรหา คัดเลือก พนักงาน

 การจัดทาสัญญาจ้างพนักงาน  ประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร

 ดาเนินการเกี่ยวกับระเบียบวินัย ดูแล อัพเดท และรับผิดชอบข้อบังคับการทางาน หรือกฎต่างๆ ภายในองค์กร  จัดการบริหารค่าตอบแทน สวัสดิการและผลประโยชน์

 งานด้านสวัสดิการต่าง ๆ  อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน

• การฝึกอบรมและการพัฒนา เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบุคลากรทั้งหมด

• แผนฝึกอบรมประจาปี • ติดตามแผนและควบคุมการฝึกอบรมประจาปี

• อัพเดทผังองค์กร • ทบทวนและอัพเดท JD

• อัพเดทKpi องค์กรและรายบุคค

Team HR ทุก สาขา

แผนการปฏิบัติงาน สอดคล้องต่อนโยบาย ปี 2566

ด้านคุณภาพ

สำหรับองค์กร บุคลำกรถือเป็ นองค์ประกอบสำคัญในกำรขับเคลื่อนองค์กร -รู ้จกั หน้ำที่ -ปฏิบตั ิงำนให้เต็มขีดควำมสำมำรถในหน้ำที่ -มีส่วนร่ วม มีกำรประสำนงำนที่ดีต่อหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในกำรปฏิบตั ิงำน -มีกำรแก้ปัญหำ

ด้านคุณภาพ มุ่งเน้นการสรรหา คัดสรรบุคลากรที่มีคุณภาพ นาข้อผิดพลาดหรือปัญหาที่ผ่านมาในกระบวนการ สรรหามา ปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่กระบวนการงานสรรหา มุ่งเน้นสรรหาบุคลากรที่มีคุณสมบัติตรงต่อความต้องการของหน่วยงาน ปรับปรุงคุณภาพงานสรรหาให้รวดเร็ว และ เพิ่มช่องทางการสรรหาใหม่ ๆ ผู้ผ่านการสัมภาษณ์หากไม่สามารถปฏิบัติงานได้จริงประเมินการปฏิบัติงานไม่ผ่านภายใน 30 - 60 วันหรือทันที่ที่ผลงานไม่ออก เพื่อคัดสรรบุคลากรที่มีคุณภาพ

ด้านคุณภาพ - ตระหนักถึงบทบาท หน้าที่ ในงาน HR ให้มากกว่าเดิม

- ยึดถือกฎระเบียบที่ถูกต้องของบริษัทเป็นที่ตั้ง - สร้างจุดยืนที่ชัดเจนในบทบาทและหน้าที่ของแผนก - อัพเดททบทวนกฎระเบียบให้แก่พนักงานทุกท่านสร้าง การรับรู้แก่พนักงานทุกท่าน

ด้านคุณภาพ

มุ่งเน้นการประเมินผล และ ศักยภาพของบุคลากรให้สะท้อนการทางานจริงและให้ เป็นรูปธรรมมากขึ้น Kpi ที่ตั้งขึ้นมาต้องวัดได้จริง

02

ด้านบริการ ในส่วนงาน payroll - ปรับปรุงโปรแกรม เงินเดือน business plus ประจาปีทุกปี ให้โปรแกรม การทาเงินเดือน มีความทันสมัย และเกิดความรวดเร็ว ในการ ประมวลผล - แผนพัฒนา ปี 2565ที่ผ่านมา การใช้โปรแกรม ในการดู Slip แบบ ออนไลน์ ด้วย business plus ฟังก์ชั่น e-pay เป็นการลดขั้นตอน การปริ้น Slip เงินเดือนแบบกระดาษ สามารถ ดู Slip เงินเดือน ได้รวดเร็ว - แผนพัฒนา ปี 2566 การใช้โปรแกรม ในการลา แบบ ออนไลน์ รวมถึงการตรวจเช็คเวลาการทางาน ด้วย business plus ฟังก์ชั่น e-leave

โปรแกรม e-leave ระหว่างดาเนินการ โปรแกรม e-pay Slip

% สาเร็ จ

สานักงานโต รักษา ตงเป่า สตีล 100% 100% มอนเตอร์สตีล โรงงานสาย 7 ศู น ย์ ก ระจาย 100% 100% สินค้า 100%

สานักงาน โตรักษา 40%

อบรมวิธีการใช้งานและเริ่มทดลองการใช้งาน

มอนสเตอร์ สตีล 5%

อบรมวิธีการใช้งานและเริ่มทดลองการใช้งาน

0%

ดาเนินการเดือน มีนาคม

ศูนย์กระจายสินค้า 0 %

ดาเนินการเดือน มีนาคม

ตงเป่า สตีล 5 %

อบรมวิธีการใช้งานและเริ่มทดลองการใช้งาน

โรงงานสาย 7

งานสรรหา ด้านบริการ 1 รับการร้อง ขออัตรากาลังคน จากหน่วยงาน

3

2 ดาเนินการ สรรหาให้ทัน ระยะเวลาไม่เกิน 30 วัน

ส่งประวัติผู้สมัคร ให้หน่วยงาน สัมภาษณ์

4 ส่งอนุมัติผู้ผ่าน การสัมภาษณ์ เพื่อนัดเริ่มงาน

ด้านบริการ ด้านบริการ ในส่วนงาน สรรหา

01

- สรรหา - สรรหา - สรรหา job db ปัจจุบัน

พนักงาน ให้ทันต่อความต้องการของหน่วยงาน และ ให้สอดคล้องต่อ นโยบาย พนักงาน ตามคุณสมบัติ ที่ระบุไว้ใน Job description พนักงาน ในทุกช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบ ออนไลน์ คือ เว็ปไซต์ ที่ประกาศรับสมัคร ที่เป็นที่นิยมJob thai, face book ชุมชน ต่าง ๆ รูป แบบ ออฟไลน์ การติดประกาศ ตามสถานที่ ที่ได้รับอนุญาต ให้ประกาศรับสมัครงาน มีการเปิดรับสมัคร ทั้งหมด …20… ตาแหน่ง รับ ได้ ……9.….. ตาแหน่ง

% ช่องทางที่มีผู้มาสมัครงาน

ตาแหน่งที่เปิดรับสมัคร % ความสาเร็จ 2.5 2 1.5 1 0.5 0

20%

70%

04 ตาแหน่ง

ตาแหน่งงานที่รับได้

03

ด้านบริการและคุณภาพ

ด้านบริการ ในส่วนงาน HRD / Training

แผนพัฒนา ระบบฝึกอบรม ปี 2566 จัดทาระบบแผนพัฒนา training roadmap ตาม Job description และ competency

ดาเนินการ กาหนดระยะเวลา อย่างเหมาะสม

ขั้นตอนการทางาน ตาม job

ความรู้เกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ - ทักษะการสอนงานสาหรับหัวหน้างาน - ISO 14001 : 2015

ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 1

สารวจความคิดเห็น เกี่ยวกับ ทักษะที่ จาเป็น ของบุคลากร ระบุความ ต้องการ/วาง แผนการพัฒนา

หลักสูตรที่เน้นในการพัฒนา ปี 2566

ขั้นที่ 3 การติดตามผล ติดตามภายหลังจาก อบรมแล้วเสร็จ 1 เดือน โดยหัวหน้า และTraining ร่วมกันประเมินผล โดย ผู้เข้ารับการฝีกอบรม จะต้อง ผ่านเกณฑ์ 70%

หลักสูตรที่ บังคับ ปี 2566 กฎระเบียบบริษัท

ค่านิยมองค์กร SPIRIT วัฒนธรรมกรีน

03 ด้านบริการ ในส่วนงาน

ด้านบริการและคุณภาพ หลักสูตรที่เน้นในการพัฒนา ปี 2566 HRD / Training

แผนพัฒนา ระบบฝึกอบรม ปี 2566 จัดทาระบบแผนพัฒนา training roadmap ตาม Job description และ competency

ทักษะเกี่ยวกับกำร ขั้นตอนกำรทำงำนเครื่ องรี ดแป๊ บ,เครื่ องรี ดตัว ซี ในกลุ่มพนักงำนที่เข้ำใหม่ และ ทบทวนกลุ่มพนักงำนเก่ำ

ดำเนินกำร กำหนดระยะเวลำ อย่ ำงเหมำะสม

ทักษะเกี่ยวกับกำร ขั้นตอนกำรทำงำน กำรคัดเกรดเหล็ก

ทักษะเกี่ยวกับกำรใช้ฉำกวัดองค์ศำ

ขั้นที่ 2

- ISO 14001 : 2015 / 5 ส

ขั้นที่ 1

สำรวจควำมคิดเห็น เกีย่ วกับ ทักษะที่ จำเป็ น ของบุคลำกร ระบุควำม ต้ องกำร/วำง แผนกำรพัฒนำ

ทักษะเกี่ยวกับกำรใช้เครื่ องมือวัด และกำรดูเกรด สิ นค้ำ ให้แก่ พนักงำนฝ่ ำยผลิต ในส่ วนโรงงำน 70 %

ขั้นที่ 3 กำรติดตำมผล ติดตามภายหลังจาก อบรมแล้วเสร็จ 1 เดือน โดยหัวหน้ ำ และTraining ร่ วมกันประเมินผล โดย ผู้เข้ ำรับกำรฝี กอบรม จะต้ อง ผ่ ำนเกณฑ์ 70%

หลักสู ตรที่ บังคับ ปี 2566 - ทักษะกำรสอนงำนสำหรับหัวหน้ำงำน - ISO 14001 : 2015

กฎระเบียบบริ ษทั ค่ำนิยมองค์กร SPIRIT วัฒนธรรมกรี น

03

ด้านบริการและคุณภาพ

Key performance indicator ( KPI ) ด้านบริการ ในส่วนงาน HRD / Training ติดตามการดาเนินงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายที่กาหนด พร้อมรายงานผลการดาเนิน ให้ทุกหน่วยงานทราบ ติดตาม action plan หากไม่เป็นไปตาม เป้าหมาย

ผลการดาเนินงาน ปัจจุบัน

KPI องค์กร

K P I

-

องค์กร 60 % หน่วยงาน 40 %

60%

KPI รายบุคคล -

พนักงานทุกตาแหน่งงาน ต้องมี KPI รายบุคคล เพื่อ ประเมิน ประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงาน

เกรด B 3.57%

เกรด D 1.79% 40%

เกรด C 1.79%

เกรด A 40%

เกรด E 39.29%

ด้านบริการและคุณภาพ

04

ด้านบริการ ในส่วนงาน ความปลอดภัย แผน ดาเนินการเพื่อป้องกัน และลดอุบัติเหตุในการทางาน ปี 2566

ผลการดาเนินงาน ด้านความปลอดภัย

การอบรมให้ความรู้ อบรมให้ความรู้กับพนักงานในวันแรกที่มาเริ่ม งาน และ อบรมทบทวน ให้กับพนักงานซ้าทุกปีในเรื่องเกี่ยวกับ ความปลอดภัยในด้าน - การใช้เครนอย่างถูกวิธี - การใช้รถโฟคลิฟท์อย่างถูกวิธี - การใช้เครนติดรถบรรทุกอย่างถูกวิธี - การใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง - อบรมให้ความรู้กับหัวหน้างานด้าน จป.หัวหน้างาน

เป้าหมายด้านความปลอดภัย อุบัติเหตุในการทางานเป็น 0

เน้นย้าเรื่องการสวมใส่อุปกรณ์ ความปลอดภัยส่วนบุคคล

อุบัติเหตุ ณ ปัจจุบัน 4 ครั้ง

เดินตรวจขั้นตอนการทางาน ภายในคลังสินค้า ทุกวันเพื่อตรวจสอบ การ ใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคล ขั้นตอนการทางานที่ปลอดภัย

จัดหาสวัสดิการเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัย จัดหาอุปกรณ์ ความปลอดภัยที่จาเป็นให้แก่พนักงาน คอยติดตาม การ ใช้งานอุปกรณ์ความปลอดภัย ที่จัดให้พนักงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ด้านสภาพแวดล้อมในการทางาน

ดูแลตรวจสภาพแวดล้อมในการทางานให้ปลอดภัยและเป็นไปตามที่ กฎหมายกาหนด เช่น แสง เสียง ความร้อน ฝุ่น

จัดกิจกรรม 5 ส. -

จัดกิจกรรม 5 ส.เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในการทางานที่ดี จัดกิจกรรม 5 ส. เพื่อ ให้พื้นที่การทางานมีความปลอดภ้ย จัดกิจกรรม 5 ส. เพื่อ สนับสนุน การขอรับรอง ISO 14001 ด้านสิ่งแวดล้อม

ด้านบริการ HR

ด้านบริการ HR

HR TEAM ขอบคุณค่ะ / ครับ

แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ตามแผนงานนโยบายของปี …2566……... แผนก/ฝ่ าย ……วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์………… นโยบายเป้ าหมายหลักของปี นีค้ ือ 1. คุณภาพ 2. บริการ 3. สิ นค้ าต้ องครบและพร้ อมมากทีส่ ุ ด NO

แผนการปฏิบัติงานตามนโยบาย เป้าหมายหลักของปี นี้

วัตถุประสงค์

หน้ าทีร่ ับผิดชอบ

ตัวชีวดั ผลสาเร็จ

ผู้รับผิดชอบ

1 คุณภาพ 1.1 คุณภาพขององค์กร 1.2 คุณภาพของผลิตภัณฑ์ 1.3 คุณภาพของพนักงาน

1. เพื่อพัฒนาคุณภาพที่มีอยู่ ให้มีความสมดุลมากยิ่งขึ้น และให้ ตอบโจทย์กบั นโยบายของปี 2566 2. เพื่อที่จะผลักดันพัฒนาและยกระดับคุณภาพขององค์กร 3. เพื่อปรับปรุ งและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีอยูใ่ ห้ดีข้ ึน รวมไปถึง การสร้างสิ่ งใหม่ๆ 4. เพื่อเพิ่มทักษะในการวิเคราะห์ชิ้นงาน หรื อหน้างานจริ ง

Research&development ศึกษาค้นคว้าสิ นค้าและความ เหมาะสมของชิ้นงาน ศึกษาและสารวจคุณภาพงานจาก หลายๆที่ ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนามาปรับปรุ งและ พัฒนา โดยวิเคราะห์และตรวจสอบอย่างละเอียด เพื่อให้ได้ ประสิ ทธิ ภาพที่ดียิ่งขึ้น นาสิ่ งที่วิเคราะห์ได้มาทาให้เกิดการ เรี ยนรู้อย่างต่อเนื่ องเพื่อช่วยพัฒนาและยกระดับคุณภาพ องค์กร ผลิตภัณฑ์ และ คุณภาพของพนักงาน

1. ทักษะในการรวบรวมข้อมูล สามารถใช้งานได้จริ งกับงานที่มีอยู่ กี่เปอร์เซ็น 2. ประสิ ทธิภาพที่ได้ หลังจากการ วิเคราะห์ต่างๆสามารถใช้ได้จริ งไหม 3. คุณภาพที่ได้กลับมา 4. ระดับความสาเร็ จในการปฏิบตั ิ

1. เพื่อให้ลูกค้าสัมผัสถึงรู ปแบบดีไซน์ที่สวยงาม สะดุดสายตา และตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าให้มากที่สุด 2. เพื่อให้ลูกค้าสัมผัสถึงวัสดุที่ใช้ นั้นมีความเหมาะสม แข็งแรง และมีคุณภาพ 3. เพื่อให้ลูกค้าสัมผัสถึงราคาที่จบั ต้องได้ในคุณภาพที่เหมาะสม 4. เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า รวมถึงความคาดหวังใน คุณภาพแหละการบริ การ

ศึกษาความต้องการ เทรนต่างๆ ความสนใจของลูกค้า รวม ไปถึงการสร้างความพึงพอใจในตัวสิ นค้าและการบริ การ ต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า และความ คาดหวังที่จะได้รับจากสิ นค้าและบริ การนั้น ๆ

1. Feedback คาติชม 2. การวัดผลลัพธิ์ จากสถิติ

R&D Engineer

2 บริการ 1.1 ความพึงพอใจในรู ปแบบดีไซน์ 1.2 ความพึงพอใจในวัสดุที่ใช้ 1.3 ความพึงพอใจในราคา 1.4 ความพึงพอใจในการบริ การ

R&D Engineer

3 สินค้าต้ องครบและพร้ อมมากทีส่ ุ ด Stock production / Production Finish good

เพื่อให้สินค้าครบและมีความพร้อมมากที่สุด เพื่อรองรับการ ปรับปรุ งและพัฒนารู ปแบบดีไซน์ให้มีความเหมาะสม รู ปแบบไม่ซบั ซ้อนและไวต่อการผลิต ต้นทุนต่า กาไรสูง ขายสิ นค้าในรู ปแบบ Full Stock

1. คุณภาพ,ประสิ ทธิภาพที่ได้ 2. ขึ้นอยูก่ บั ผูบ้ งั คับบัญชาสายตรง

R&D Engineer

Action plan-21 กุมภาพันธ์ 2566

Action plan-21 กุมภาพันธ์ 2566

บริษัท มอนสเตอร์ สตีล จำกัด 79/5 หมู่ที่ 3 ต.สำมเมือง อ.สีดำ จ.นครรำชสีมำ 30430 โทร : 044-001854 E-mail : [email protected]

ECRS

วันที่ 10/02/66

ECRS คือทฤษฎีช่วยลดต้นทุนไม่จำเป็ นในกำรทำงำน ที่หลำย ๆ คนมองข้ำม เพรำะทุกธุรกิจย่อมต้องมีตน้ ทุนในกำรดำเนินงำน หำกแต่ ปัจจัยเหล่ำนี้ วันหนึ่งก็ตอ้ งมีกำรบุบสลำยหรื อสูญเสี ยไป ก่อให้เกิดปัญหำต้นทุนสู ญเปล่ำตำมมำ กำรที่เรำรู ้จกั กับเทคนิค ECRS คือตัวช่วยที่จะทำให้องค์กรมีผลประกอบกำรและประสิ ทธิภำพในกำรทำงำนที่ดีข้ ึน และยังช่วยให้ ผูป้ ระกอบกำรตะหนักและหำหนทำงแก้ไขปัญหำกำรลดต้นทุนที่ไร้ประโยชน์ลงได้ แนวคิด ECRS มำจำกกำรใช้ตวั อักษรย่อ 4 ตัวที่มำจำกคำว่ำ Eliminate (กำรกำจัด) Combine (กำรรวมกัน) Rearrange (กำรจัดใหม่) และ Simplify (กำรทำให้ง่ำยขึ้น) ประโยชน์ของ ECRS คือช่วยลดต้นทุนที่ไร้ประโยชน์ลง ช่วยประหยัดทั้งทรัพยำกรต่ำง ๆ ลดควำมสู ญเปล่ำในกำรทำงำน ช่วยให้ระบบ กำรทำงำนในองค์กรมีประสิ ทธิภำพยิง่ ขึ้น แนวคิด ECRS คือทฤษฎีทชี่ ่ วยลดความสู ญเสียจากการทีต่ ้นทุนเกิดความเสียหาย หรื อต้นทุนทีไ่ ม่ได้ สร้ างผลตอบแทนใด ๆ ให้ กบั องค์กร นอกจากนีย้ งั ช่ วยเพิ่มผลผลิตและกาไรให้ มากขึ้น โดยชื่อของแนวคิดนี้มำจำกกำรใช้ตวั อักษรย่อ 4 ตัวที่มำจำกคำว่ำ Eliminate (กำรกำจัด) Combine (กำรรวมกัน) Rearrange (กำรจัดใหม่) และ Simplify (กำรทำให้ง่ำยขึ้น) ซึ่งจริ ง ๆ แล้วเป็ นส่ วนหนึ่งของหลักกำร ที่เรี ยกว่ำ LEAN หรื อที่หลำย ๆ คนอำจรู ้จกั กันว่ำเป็ นหลักกำรที่สนับสนุนให้มีกำรบริ หำรจัดกำรองค์กรให้มีประสิ ทธิภำพมำกขึ้น ลด ขั้นตอนกำรทำงำนที่ซ้ ำซ้อน แนวคิดนี้ได้นำไปใช้ในอุตสำหกรรมใหญ่ ๆ มำกมำย และได้ผลอย่ำงเป็ นรู ปธรรม หลักการECRS Eliminate (การกาจัด) กระบวนกำรนี้เป็ นกำรตัดสิ่ งที่ไม่จำเป็ นออกไปเพื่อลดต้นทุนและระยะเวลำกำรทำงำน ตัวอย่ำงเช่น กำรใช้บรรจุ ภัณฑ์ที่มำกเกินควำมจำเป็ น หรื อขั้นตอนกำรทำงำนที่ตอ้ งใช้ทรัพยำกรบุคคลมำกเกินไป เรำสำมำรถลดทอนขั้นตอนบำงอย่ำงที่ไม่ จำเป็ นออกได้ Combine (การรวมกัน) หำกเรำนำขั้นตอนในกำรทำงำนบำงขั้นมำรวมให้เป็ นขั้นตอนเดียวก็จะช่วยให้ประหยัดเวลำในกำรทำงำนและ อำจช่วยลดจำนวนแรงงำนได้ดว้ ย เช่น ระบบ Milk Run ซึ่งเป็ นระบบที่มีกำรรับและส่ งสิ นค้ำพร้อมกันในรอบเดียว ลดต้นทุนทั้ง แรงงำน เวลำ และน้ ำมัน Rearrange (การจัดใหม่ ) กำรจัดลำดับควำมสำคัญในแต่ละขั้นตอนกำรทำงำนขึ้นมำใหม่ ทำให้กำรทำงำนง่ำยขึ้น ประหยัดเวลำและ ทรัพยำกรอื่น ๆ ได้มำกขึ้น นอกจำกนี้ยงั ช่วยลดโอกำสกำรเกิดควำมผิดพลำดในกำรทำงำนขึ้นด้วย ในบำงครั้งเมื่อเรำนำขั้นตอนกำร ทำงำนมำกำงดูท้งั ระบบแล้วอำจพบว่ำกำรเรี ยงขั้นตอนสลับกันเพียงหนึ่งขั้นอำจทำให้กำรทำงำนล่ำช้ำไปได้มำก ดังนั้นหำกเรำมอง ภำพรวมและจัดระบบใหม่ก็จะช่วยแก้ปัญหำควำมสู ญเปล่ำของทรัพยำกรได้ดียง่ิ ขึ้น Simplify (การทาให้ ง่ายขึน้ ) หำกวิธีหรื อขั้นตอนในกำรทำงำนมีควำมซับซ้อนเกินควำมจำเป็ นอำจทำให้องค์กรสู ญเสี ยทรัพยำกรที่มำก เกินไปโดยใช่เหตุ กำรปรับปรุ งวิธีกำรทำงำนให้ง่ำยขึ้นจะช่วยลดระยะเวลำกำรทำงำนที่ยดื เยื้อและลดโอกำสกำรเกิดควำมผิดพลำดจำก กำรทำงำน เช่น กำรเปลี่ยนที่จดั วำงอุปกรณ์ในกำรทำงำนใหม่ให้หยิบใช้สะดวกกว่ำเดิม หรื อจัดสถำนที่ทำงำนใหม่เพื่อลดทอนเวลำที่ จะต้องเสี ยไป

(…………………………………………….) รักษำกำรผูจ้ ดั กำรโรงงำน

แผนภาพการเคลือนที (Flow Diagram) ชือขบวนการ(SUBJECT CHARTED) : …………………………………………………...................................................................... วันที(DETE) : ……………………………………........................... ..…………………………………………………......................................................................................................................................... จัดทําโดย(CHART BY) : ………………………….................................................... ฝ่ าย(DEPARTMENT) : …………………………………………………………………....................................................................... หมายเลขเอกสาร(CHART NO) : ………………….................................................... สถานะ(Method) : ………………………………………………………………………........................................................................ หน้าที(SHEET NO) : …………………/……………...........

แผนภาพการเคลื่อนที่ (Flow Diagram) ชื่ อขบวนการ(SUBJECT CHARTED) : …………………………………………………...................................................................... วันที(่ DETE) : ……………………………………........................... ..…………………………………………………......................................................................................................................................... จัดทาโดย(CHART BY) : ………………………….................................................... ฝ่ าย(DEPARTMENT) : …………………………………………………………………....................................................................... หมายเลขเอกสาร(CHART NO) : ………………….................................................... สถานะ(Method) : ………………………………………………………………………........................................................................ หน้าที่(SHEET NO) : …………………/……………...........

อบสี

ตากแห ้ง

Raw materail Wood

Flow Process Chart CHART NO. ACTIVITY :

SHEET NO. OF

SUMMARY ACTIVITY

METHOD : PRESENT/PROPOSES

PRESENT

PROPOSE

SAVING

OPERATION TRANSAPORT

LOCATION : OPERATOR (s)

DELAY INSPECTION

CHART BY.

DATE.

APPROVED BY.

DATE.

STORAGE DISTRANCE (ม) TIME นาที

DESCRIPTION 1.เบิกวัตถุดบ ิ เหล็กตามแบบและใบสั่งผลิต 2.คัด/ตัด.ตามขนาดทีก ่ าหนด ิ้ งาน 3.ขึน ้ จิ๊ กเพือ ่ ประกอบขึน ้ ชน ิ้ งานตามแบบ 4.ประกอบชน ื่ ม 5.เชอ ิ้ งานและเก็บรายละอียด 6.เจียร์แต่งชน ิ้ งานตามแบบทีเ่ ขียน 7.ฝ่ ายแบบตรวจเช็คชน 8.QCตรวจสอบคุณภาพและตรวจเช็คDimension 9.รอผลการตรวจ ผ่าน/ไม่ผา่ น(แก ้ไขจุดไหน) 10.เคลือ ่ นย ้าย หรือสง่ ต่อขัน ้ ตอนถัดไป

TIME นาที

DIST เมตร

SYMBOL

REM

ตารางแสดงการใช้ สัญลักษณ์ แทนขันตอนในการทํางาน OPERATIONการปฎิบตั ิงาน/การผลิต A large cirele indicates an operation such as TRANSPORTATIONการเคลือนย้าย An arrow indicates a transportation, such as DELAYการรอระหว่างปฎิบตั ิงาน A large capital D indicates a delay, such as INSPECTIONการตรวจสอบ A square indicates an inspection such as STORAGEขันตอนการจัดเก็บ A triangle indicates a storage, such as

Part เหล็ก

Part ไม้

Part พ่นสี

แฮนด์ลิฟท์

เครนโรงงาน

โฟล์คลิฟท์

คัด/ตัด วัตถุดิบ

ขึนจิกชินงาน

ส่งต่อชินงานตามขันตอน

ฝ่ ายแบบตรวจชินงาน

Raw material

QCตรวจชินงานตัวอย่าง สโตร์ตรวจและตัดสต็อก

Finished stock

คลังสิ นค้า

พ่นสี

โฟล์คลิฟท์

ส่งต่อชินงานตามขันตอน

สโตร์ตรวจและตัดสต็อก

คลังสิ นค้า

แผนปฏิบัติการ (Schedule Plan) ประจาปี …1/2566……... แผนก/ฝ่ าย ……Production………… Plan งานการดาเนินการ เรื่ อง ....การผลิตสินค้ า Short term-1/3….. เป้ าหมาย ..ผลิตสิ นค้ าในรูปแบบ Full Stock เพื่อเตรียมตัวขายสิ นค้ า NO

รายละเอียดการดาเนินการ

ผู้ควบคุมการผลิต

ผู้รับมอบหมาย

1

เคลียร์ งานOrderของปี 2565ให้เสร็ จ

FM

หัวหน้าแผนก

2

ผลิตสิ นค้าห้องตัวอย่าง Chill Chill Hotel

FM

หัวหน้าแผนก

3

ผลิตสิ นค้าสาหรั บจัดโชว์ทCี่ enter

FM

หัวหน้าแผนก

4

ผลิตสิ นค้าสต๊อกขาย 2โมเดล โมเดลละ100ชุด IRN001,IRN002+IRN003=1PCS.

FM

หัวหน้าแผนก

5

ผลิตสิ นค้าสต๊อกขาย 2โมเดล โมเดลละ100ชุด TWN002,TWN003+STN005=1PCS.

FM

หัวหน้าแผนก

6

ผลิตสิ นค้าสต๊อกขาย 2โมเดล โมเดลละ100ชุด CSN003,CHN006

FM

หัวหน้าแผนก

Plan

%

Actual

%

Plan

100%

ระยะเวลา ม.ค.

ก.พ.

100%

ล่าช้าจากการรอไม้

Actual 100% Plan

100%

Plan

100% 10%

Plan

100%

Actual

10%

Plan

100%

Actual

25%

การติดตามผล

จัดส่ งและติดตั้งหน้างาน ตามแผนว เหลือ ผลิตครบจบแล้ โอนย้ายไปทีC่ enter

Actual 100% Actual

เม.ย.

ผลิตครบจบแล้ว เหลือ จัดส่ งและติดตั้งหน้างาน ตามแผนว เหลือ ผลิตครบจบแล้

Actual 100% Plan

มี.ค.

กาลังผลิตตามใบสั่งผลิต กาลังผลิตตามใบสั่งผลิต กาลังผลิตตามใบสั่งผลิต 25/02/66 updete

7 8 9 10 11

= เป้ าหมายทีก ่ าหนด = ผลงานทีท ่ าได ้ 100% = เสร็จครบตามแผน

จัดทาโดย ( นายสุ รเชษฐ์ จันทร์ แก้ว ) (รั กษาการผูจ้ ดั การโรงงาน)

0% = งานยังไม่ได ้เริม ่

อนุมตั ิโดย (................................) (กรรมการผูจ้ ดั การ)

FM-PD-01 Rev.00 /Test

ตารางแสดงการใช้ สัญลักษณ์ แทนขันตอนในการทํางาน OPERATIONการปฎิบตั ิงาน/การผลิต A large cirele indicates an operation such as TRANSPORTATIONการเคลือนย้าย An arrow indicates a transportation, such as DELAYการรอระหว่างปฎิบตั ิงาน A large capital D indicates a delay, such as INSPECTIONการตรวจสอบ A square indicates an inspection such as STORAGEขันตอนการจัดเก็บ A triangle indicates a storage, such as

Part เหล็ก

Part ไม้

Part พ่นสี

แฮนด์ลิฟท์

เครนโรงงาน

โฟล์คลิฟท์

เบิกวุตถุดิบ

คัด/ตัด วัตถุดิบ

ส่ งต่อชินงานตามขันตอน

ฝ่ ายแบบตรวจชินงาน

Raw material

QCตรวจชินงานตัวอย่าง สโตร์ ตรวจและตัดสต็อก

Finished stock

คลังสิ นค้า

Flow Process Chart CHART NO. ACTIVITY :

SHEET NO. OF

SUMMARY ACTIVITY

METHOD : PRESENT/PROPOSES

PRESENT

PROPOSE

SAVING

OPERATION TRANSAPORT

LOCATION : OPERATOR (s)

DELAY INSPECTION

CHART BY.

DATE.

APPROVED BY.

DATE.

STORAGE DISTRANCE (ม) TIME นาที

DESCRIPTION ั 1.เบิกวัตถุดบ ิ เหล็กตามแบบและใบสงผลิ ต 2.คัด/ตัด.ตามขนาดทีกําหนด ิ 3.ขึนจิกเพือประกอบขึนชนงาน ิ 4.ประกอบชนงานตามแบบ ื 5.เชอม ิ 6.เจียร์แต่งชนงานและเก็ บรายละอียด ิ 7.ฝ่ ายแบบตรวจเช็คชนงานตามแบบที เขียน ็ 8.QCตรวจสอบคุณภาพและตรวจเชคDimension 9.รอผลการตรวจ ผ่าน/ไม่ผา่ น(แก ้ไขจุดไหน) 10.เคลือนย ้าย หรือสง่ ต่อขันตอนถัดไป

TIME นาที

DIST เมตร

SYMBOL

REM

Flow Process Chart CHART NO. ACTIVITY :

SHEET NO. OF

SUMMARY ACTIVITY

METHOD : PRESENT/PROPOSES

PRESENT

PROPOSE

SAVING

OPERATION TRANSAPORT

LOCATION : OPERATOR (s)

DELAY INSPECTION

CHART BY.

DATE.

APPROVED BY.

DATE.

STORAGE DISTRANCE (ม) TIME นาที

DESCRIPTION 1.เบิกวัตถุดบ ิ ส ี โป๊ ว ิ ําหรับการพ่นส ี 2.เตรียมชนงานส ิ 3.ล ้างชนงาน(นํ าเปล่า)-(ทินเนอร์) 4.เป่ าแห ้ง ตากแห ้ง 5.โป๊ วส ี 6.ขัดปรับสภาพผิว 7.พ่นสรี องพืน ี ริง 8.พ่นสจ 9.อบส ี 10.ตากแห ้ง 11.QCตรวจคุณภาพ 12.เคลือนย ้าย หรือสง่ ต่อขันตอนถัดไป

TIME นาที

DIST เมตร

SYMBOL

REM

Flow Process Chart CHART NO. ACTIVITY :

SHEET NO. OF

SUMMARY ACTIVITY

METHOD : PRESENT/PROPOSES

PRESENT

PROPOSE

SAVING

OPERATION TRANSAPORT

LOCATION : OPERATOR (s)

DELAY INSPECTION

CHART BY.

DATE.

APPROVED BY.

DATE.

STORAGE DISTRANCE (ม) TIME นาที

DESCRIPTION ั 1.เบิกวัตถุดบ ิ ไม ้ ตามแบบและใบสงผลิ ต 2.วัดตัดไม ้ ตามขนาดทีระบุใบแบบ 3.ลงแป้ ง(BW) 4.ขัดปรับสภาพผิว (BW) 5.พ่นเคลือบ+ขัด(BW) ี รือทําส(ี BW) 6.ย ้อมสห 7.เคลือบผิวไม ้(BW) 8.ปิ ดขอบ(PB) 9.QCตรวจสอบคุณภาพและตรวจเช็คDimension 10.รอผลการตรวจ ผ่าน/ไม่ผา่ น(แก ้ไขจุดไหน) 11.เคลือนย ้าย หรือสง่ ต่อขันตอนถัดไป

TIME นาที

DIST เมตร

SYMBOL

REM

Flow Process Chart CHART NO.

SHEET NO. OF

SUMMARY

ACTIVITY :

ACTIVITY

METHOD : PRESENT/PROPOSES

OPERATION

PRESENT

PROPOSE

SAVING

TRANSAPORT LOCATION : OPERATOR (s)

DELAY INSPECTION

CHART BY.

DATE.

APPROVED BY.

DATE.

STORAGE DISTRANCE (ม) TIME นาที

DESCRIPTION 1.เบิกวัตถุดบ ิ แพ็คกิง 2.ตรวจรับชินงาน 3.เช็คจํานวน 4.เตรียมอุปกรณ์แพ็ค 5.แพ็คกิง 6.ตรวจเช็ค 7.ติดป้ ายบ่งชีและจัดเก็บ

TIME นาที

DIST เมตร

SYMBOL

REM

Flow Process Chart คน(Man type)

วัสดุ(Material type)

เครื องจักร(Machine type)

อืนๆ(Other)

ชือขบวนการ(SUBJECT CHARTED) : ………………………………………………… วันที(DETE) : ……………………………………..................................................... ..…………………………………………………........................................................... จัดทําโดย(CHART BY) : ………………………….................................................... ฝ่ าย(DEPARTMENT) : ………………………………………………………………….. หมายเลขเอกสาร(CHART NO) : ………………….................................................. สถานะ(Method) : ……………………………………………………………………….. หน้าที(SHEET NO) : …………………/……………........... จํานวน ระยะ เวลา ขันตอน ชื อขบวนการ สัญลักษณ์ หมายเหตุ (BAT) (เมตร) (นาที) คัดวัตถุดิบ(เหล็ก) 1 นําไปขันตอนวัด/ตัด วัด/ตัด 2 นําไปรอประกอบ ขึนจิก 3 ขึนจิกแล้วนําไปเตรี ยมประกอบ ประกอบ 4 นําไปเชือม เชือม 5 นําไปเจียร์แต่ง เจียร์แต่ง 6 ฝ่ ายแบบตรวจสอบ 7 QCตรวจคุณภาพพร้อมแจ้งผล 8 เคลือนย้าย 9 งานไม้วดั ขนาด 10 นําไปตัด ตัดไม้ 11 (BW)นําไปลงแป้ง(PB)ปิ ดขอบ ลงแป้ ง(BW) 12 นําไปขัด(BW) ขัดปรับสภาพผิว(BW) 13 นําไปพ่นเคลือบ(BW) พ่นเคลือบ+ขัด(BW) 14 นําไปย้อมสี หรื อทําสี (BW) ย้อมสี หรื อทําสี (BW) 15 นําไปเคลือบผิว(BW) เคลือบผิวไม้(BW) 16 ปิ ดขอบเอจ(PB) 17 QCตรวจคุณภาพ 18 เคลือนย้าย 19 เตรี ยมชินงาน(สี ) 20 นําไปล้าง ล้างชินงาน(นําเปล่า) 21 ล้างชินงาน(ทินเนอร์ ) 22 นําไปโป๊ วสี โป๊ วสี 23 นําไปขัด ขัดปรับสภาพผิว 24 นําไปพ่นสี พ่นรองพืน 25 พ่นสี จริ ง 26 นําไปเข้าเตาอบบ

27 28 29 30 31 32 33 34 35 36

อบสี นําออกไปตากแห้ง ตากแห้ง QCตรวจคุณภาพ เคลือนย้าย ตรวจรับชิ นงาน(แพ็คกิง) เช็คจํานวน เตรี ยมอุปกรณ์แพ็ค นําไปแพ็ค แพ็คกิง ตรวจเช็ค ติดป้ ายบ่งชีและจัดเก็บ รวม

*หมายเหตุ = operation :

= transportation :

= delay

= inspection ;

= storage

แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ตามแผนงานนโยบายของปี …2566……... แผนก/ฝ่าย ……ออกแบบและประเมินราคา………… นโยบายเป้าหมายหลักของปีนี้คือ 1. คุณภาพ 2. บริการ 3. สินค้าต้องครบและพร้อมมากที่สุด แผนการปฏิบัติงานตามนโยบายเป้าหมาย NO หลักของปีนี้ 1 คุณภาพ 1.1 คุณภาพขององค์กร 1.2 คุณภาพของผลิตภัณฑ์ 1.3 คุณภาพของประมาณราคา 1.4 คุณภาพของพนักงาน

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ฝ่ายส่ วนที่เกี่ยวข้องได้เข้าใจถึงเนื้องานโดยกาหนดเอกสารของ ฝ่ ายออกแบบประเมินราคาที่ชดั เจน 2. เพื่อออกแบบดีไซน์ผลิตภัณฑ์ ให้ตรงความต้องการ ความประทับใจกับ ผูซ้ ้ื อ 3. เพื่อใช้ในการควบคุมงบประมาณ และจัดทาราคากลางเพื่อการประกวด ราคากับคู่แข่ง 4. มีความสามารถในการเรี ยนรู้ งานได้เร็ ว และ มีนิสัยที่รักการปรับปรุ ง อย่างต่อเนื่ อง เพื่อการลดต้นทุน เพิ่มประสิ ทธิภาพ และเพิ่มความสามารถ ในการแข่งขันให้กบั องค์กร รวมตลอดถึง “การพัฒนาตนเอง”

วีธีการ

ตัวชีวัดผลสาเร็จ

1. จัดทาเอกสาร รายล่ะเอียดผลิตภัณฑ์และแบบฟอร์มประเมินราคา กาหนดสเปคมาตรฐาน วัสดุหลัก เหล็ก ไม้ สี ฟิ ตติ้ง และทา ประกาศเพื่อให้ส่วนที่เกี่ยวข้องรับทราบ 2.ตีความสิ่ งที่ได้รับมอบหมายมาให้ชดั เจน สอบถามให้ทราบถึง ความต้องการ เพื่อจะได้ไม่เสี ยเวลากันทั้งผูท้ ี่เป็ นเจ้าของโจทย์และ นักออกแบบ และเพื่อให้งานที่ได้ทาเสร็ จแล้วนั้นถูกตีกลับมาแก้ น้อยที่สุด 3.คานวณหาปริ มาณวัสดุ ค่า แรงและค่าดาเนิ นการที่ราคาใกล้เคียง กับค่าใช้จ่ายจริ งมากที่สุด ในการแยกรายการวัสดุ ค่าแรง ค่าใช้จ่าย เครื่ องมือเครื่ องจักร และค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องกับงานโดยมีผลกับ ตัวแปรตามในด้านระยะเวลาของการทางาน 4.การปรับปรุ งอย่างต่อเนื่อง เพิ่มทักษะในองค์ประกอบงานต่างๆ

1. รวบรวมแบบและราคางานที่ได้จดั ทาไว้ แยกเป็ นหมวดหมู่ มีระบบการจัดเก็บที่ดี 2.ประสานทางการตลาดให้ทาการส่ ง Testing ลองตลาด หากพบว่าผลตอบรับจาก ผูบ้ ริ โภคดี จึงดาเนิ นการวางแผนธุรกิจต่อไป 3. ติดตามผลการประกวดราคา เปรี ยบเทียบ ราคากับราคาตลาด 4.การนาเสนอผลงาน ให้เข้าใจง่ายและสื่ อ ถึงรู ปแบบงาน

ผู้รับผิดชอบ

Estimate & Design

Action plan-25 กุมภาพันธ์ 2566

แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ตามแผนงานนโยบายของปี …2566……... แผนก/ฝ่าย ……ออกแบบและประเมินราคา………… นโยบายเป้าหมายหลักของปีนี้คือ 1. คุณภาพ 2. บริการ 3. สินค้าต้องครบและพร้อมมากที่สุด แผนการปฏิบัติงานตามนโยบายเป้าหมาย NO หลักของปีนี้ 2 บริการ 2.1 ความพึงพอใจในรู ปแบบดีไซน์ 2.2 ความพึงพอใจในวัสดุที่ใช้ 2.3 ความพึงพอใจในราคา

วัตถุประสงค์

วีธีการ

ตัวชีวัดผลสาเร็จ

1. เพื่อให้ลูกค้าสัมผัสถึงรู ปแบบดีไซน์ที่สวยงาม สะดุดสายตา และตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าให้มากที่สุด 2. เพื่อให้ลูกค้าสัมผัสถึงวัสดุที่ใช้ นั้นมีความเหมาะสม แข็งแรง และมีคุณภาพ ทันสมัย 3. เพื่อให้ลูกค้าสัมผัสถึงราคาที่จบั ต้องได้ในคุณภาพที่เหมาะสม

ศึกษาตลาดโลก เขาไปถึงไหนแล้ว ความสนใจของลูกค้า รวมไปถึง 1. Feedback คาติชม การสร้างความพึงพอใจในตัวสิ นค้าและการบริ การต่างๆ เพื่อ 2. การวัดผลลัพธิ์ จากสถิติ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และความคาดหวังที่จะได้รับ จากสิ นค้าและบริ การนั้น ๆ เมื่อได้โจทย์ประเภทสิ นค้ามาเบื้องต้น แล้ว จะเริ่ มต้นด้วยการวิจยั การตลาดก่อน ว่าผูใ้ ช้งานของผลิตภัณฑ์ เป็ นใคร? กลุ่มเป้ าหมายมีจานวนเท่าไหร่ ? มีกาลังซื้อมากน้อยแค่ ไหน?

เพื่อให้สินค้าครบและมีความพร้อมมากที่สุด เพื่อรองรับการขายสิ นค้าใน รู ปแบบ Full Stock

ประชุมร่ วมกับทีมการตลาด R&D และทีมเขียนแบบ วางแผน จัดทาแคคตาล็อคเพื่อพร้อมสาหรับงานขาย

ผู้รับผิดชอบ

Estimate & Design

3 สินค้าต้องครบและพร้อมมากที่สุด เล่มคู่มือ แคตตาล็อค และราคา

1. คุณภาพ,ประสิ ทธิภาพที่ได้ 2. ยอดขายตามเป้ า

Estimate & Design

Action plan-25 กุมภาพันธ์ 2566

แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ตามแผนงานนโยบายของปี …2566……... แผนก/ฝ่าย ……หัวหน้าเขียนแบบ………… นโยบายเป้าหมายหลักของปีนี้คือ 1. คุณภาพ 2. บริการ 3. สินค้าต้องครบและพร้อมมากที่สุด แผนการปฏิบัติงานตามนโยบายเป้าหมาย NO หลักของปีนี้ 1 คุณภาพ 1.1 คุณภาพขององค์กร 1.2 คุณภาพของผลิตภัณฑ์ 1.3 คุณภาพของแผนงานและเอกสารที่ เกี่ยวข้อง 1.4 คุณภาพของพนักงาน

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ฝ่ายส่ วนที่เกี่ยวข้องได้เข้าใจถึงเนื้องานโดยกาหนดเอกสารของ ฝ่ ายเขียนแบบที่ชดั เจน 2. เพื่อคัดแบบผลิตภัณฑ์ จัดทาเอกสารที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ให้ได้ตามแผน 3. เพื่อการวางแผนการทางานภายใต้เงื่อนไขของเวลา ของแผนก 4. มีความสามารถในการเรี ยนรู้ งานได้เร็ ว และ มีนิสัยที่รักการปรับปรุ ง อย่างต่อเนื่ อง เพื่อการลดต้นทุน เพิ่มประสิ ทธิภาพ และเพิ่มความสามารถ ในการแข่งขันให้กบั องค์กร รวมตลอดถึง “การพัฒนาตนเอง”

วีธีการ

ตัวชีวัดผลสาเร็จ

1.จัดทาเอกสาร รายล่ะเอียดผลิตภัณฑ์ กาหนดสเปคมาตรฐาน วัสดุ หลัก เหล็ก ไม้ สี ฟิ ตติ้ง และทาประกาศเพื่อให้ส่วนที่เกี่ยวข้อง รับทราบ 2.นาข้อมูลที่ได้มาเริ่ มต้นกระบวนการคิดและทาแบบแผน คิด ภาพรวม คิด Concept คร่ าวๆ แล้วจึงทา Mockup ออกมา อาจจะทา ออกมาหลายแบบและทดลองกับกลุ่มคนที่ตรงเป้ าหมาย ว่าชอบ แบบไหน แล้วนาผลมาเปรี ยบเทียบกัน ทา Present นาเสนอ ออกแบบ เพื่อหาข้อสรุ ปแนวทางการทางานต่อไป หรื อรับการ แก้ไขงานเพิม่ เติม 3.จัดทาเอกสารประมาณรายการ จานวน สเปคของอุปกรณ์ ตามที่ ได้รับมอบหมาย วางแผนการผลิตร่ วมกับฝ่ ายโรงงาน จัดทาเอกสาร ใบรายล่ะเอียดการปล่อย ใบสัง่ ซื้ อ และเบิกวัสดุ 4.การปรับปรุ งอย่างต่อเนื่อง เพิ่มทักษะในองค์ประกอบต่างๆ

1. รวบรวมเอกสารที่ได้จดั ทาไว้แยกเป็ น หมวดหมู่ มีระบบการจัดเก็บที่ดี ประสานงานกับฝ่ ายวางแผนและฝ่ ายผลิต 2.ฝ่ ายผูบ้ ริ หารหรื อฝ่ ายวางแผน เป็ นผูอ้ นุมตั ิ และตัดสิ นใจ ซึ่งเราต้องคอยนาเสนองานใน ทุกๆ ขั้นตอน 3. สามารถทางานตรงตามแผน 4.การนาเสนอผลงาน ให้เข้าใจง่ายและสื่ อ ถึงรู ปแบบงาน

ผู้รับผิดชอบ

หน.เขียนแบบ

Action plan-25 กุมภาพันธ์ 2566

แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ตามแผนงานนโยบายของปี …2566……... แผนก/ฝ่าย ……หัวหน้าเขียนแบบ………… นโยบายเป้าหมายหลักของปีนี้คือ 1. คุณภาพ 2. บริการ 3. สินค้าต้องครบและพร้อมมากที่สุด แผนการปฏิบัติงานตามนโยบายเป้าหมาย NO หลักของปีนี้ 2 บริการ 2.1 ความพึงพอใจในรู ปแบบดีไซน์ 2.2 ความพึงพอใจในวัสดุที่ใช้ 2.3 ความพึงพอใจในราคา

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ลูกค้าสัมผัสถึงรู ปแบบดีไซน์ที่สวยงาม สะดุดสายตา และตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าให้มากที่สุด 2. เพื่อให้ลูกค้าสัมผัสถึงวัสดุที่ใช้ นั้นมีความเหมาะสม แข็งแรง และมีคุณภาพ ทันสมัย 3. เพื่อให้ลูกค้าสัมผัสถึงราคาที่จบั ต้องได้ในคุณภาพที่เหมาะสม

วีธีการ

ตัวชีวัดผลสาเร็จ

ศึกษาตลาดโลก เขาไปถึงไหนแล้ว ความสนใจของลูกค้า รวมไปถึง 1. Feedback คาติชม การสร้างความพึงพอใจในตัวสิ นค้าและการบริ การต่างๆ เพื่อ 2. การวัดผลลัพธิ์ จากสถิติ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และความคาดหวังที่จะได้รับ จากสิ นค้าและบริ การนั้น ๆ เมื่อได้โจทย์ประเภทสิ นค้ามาเบื้องต้น แล้ว จะเริ่ มต้นด้วยการวิจยั การตลาดก่อน ว่าผูใ้ ช้งานของผลิตภัณฑ์ เป็ นใคร? กลุ่มเป้ าหมายมีจานวนเท่าไหร่ ? มีกาลังซื้อมากน้อยแค่ ไหน?

ผู้รับผิดชอบ

หน.เขียนแบบ

3 สินค้าต้องครบและพร้อมมากที่สุด แผนของแผนก แบบ shop drawing เอกสารที่ เพื่อให้สินค้าครบและมีความพร้อมมากที่สุด เพื่อรองรับการขายสิ นค้าใน รู ปแบบ Full Stock เกี่ยวข้อง

ประชุมกาหนดแผนร่ วมกับฝ่ ายโรงงานผลิตและฝ่ ายวิจยั และ พัฒนาผผลิตภัณฑ์

1. คุณภาพ,ประสิ ทธิภาพที่ได้ 2. แผนการผลิต

หน.เขียนแบบ

Action plan-25 กุมภาพันธ์ 2566

แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ตามแผนงานนโยบายของปี …2566……... แผนก/ฝ่ าย ……ออกแบบ………… นโยบายเป้าหมายหลักของปี นีคือ 1. คุณภาพ 2. บริ การ 3. สิ นค้าต้องครบและพร้อมมากทีสุด NO แผนการปฏิบัติงานตามนโยบายเป้าหมายหลักของปี นี 1 คุณภาพ 1.1 คุณภาพขององค์กร 1.2 คุณภาพของเอกสารทีเกียวข้อง 1.3 คุณภาพของผลิตภัณฑ์ 1.4 คุณภาพของพนักงาน

วัตถุประสงค์ 1. เพือพัฒนาคุณภาพทีมีอยู่ ให้มีความสมดุลมากยิงขึน และผลักดันยกระดับคุณภาพขององค์กรให้ตอบโจทย์ นโยบายของปี 2566 2. เพือให้ฝ่ายงานทีเกียวข้องเอกสารงานเขียนแบบเข้าใจใน เนืองานเขียนแบบแต่ละโมเดล 3. เพือคัดวัถุดิบแต่ละแบบผลิตภัณฑ์ของโมเดลให้ง่ายต่อ ฝ่ ายงานทีเกียวข้อง 4. เพือพัฒนาความสามารถในการเรี ยนรู ้งานได้เร็ วและการ ปรับปรุ่ งได้อย่างต่อเนืองเพือลดต้นทุนเพิมประสิ ทธิ ภาพ เพิมความสามารถในการพัฒนาตัวเองในหน้าที

หน้ าทีรับผิดชอบ 1. รับรู ปแบบโมเดล 3D ต้นแบบ ตรวจสอบ รายละเอียดข้อมูลแบบทีได้รับ 2. นําข้อมูลทีได้รับมอบหมายจัดทําเอกสาร หารายละเอียดเพิมเติมของภัณฑ์ กําหนด สเปคมาตรฐาน วัสดุหลัก เช่น เหล็ก ไม้ ฟิ ตติง ให้โมเดลต้นแบบ 3. เช็ควัถุดิบและวัสดุกบั ฝ่ ายงานทีเกียวข้อง 4. ขึนโมเดล3D เขียนแบบดึงภาพฉายและใส่ ขนาดและข้อมูลรายละเอียดประกอบแบบ 5. เก็บรายละเอียดข้อมูลงานเขียนแบบและ ตรวจสอบแบบของแต่ละโมเดล 6. จัดทําเอกสารใบปะหน้าต่อเลขใบสังผลิต - เอกสารรายละเอียดการสังผลิต

ตัวชีวดั ผลสํ าเร็จ

ผู้รับผิดชอบ

1. รวบรวมเอกสารทีจัดทําแยกเป็ น ระบบหมวดหมู่ทีจัดเป็ นระเบียบ 2. ฝ่ ายผูบ้ ริ หารหรื อฝ่ ายวางแผน เป็ นผูอ้ นุมตั ิและตัดสินใจตาม เอกสารทีเกียวข้อง 3. สามารถทํางานตรงตามแผนงาน

เขียนแบบ

- เอกสารรายใบคัดวัถุดิบเพือการสังผลิต - ใบรายการชินส่ วนเฟอร์ นิเจอร์

7. รวบรวมเอกสารส่งฝ่ ายงานทีเกียวข้อง 8. ตรวจสอบโมเดลต้นแบบตามเลขทีใบสังผลิต ประกอบโมเดลเสร็ จ 100% โมเดล 1ตัวแรก

2 บริการ 1.1 การประสานงานข้อมูลเกียวกับแบบ

1. เพือการประสานงานเอกสารข้อมูลเกียวกับแบบให้ ฝ่ ายงานทีเกียวข้องเข้าใจในเนืองานเอกสาร

1. การให้ขอ้ มูลทีเกียวข้องกับงานโมเดลต้นแบบ 1. ประสิทธิภาพคุณภาพการทํางาน เขียนแบบ และเอกสารเกียวข้องกับงานแบบ

Action plan-28 กุมภาพันธ์ 2566

แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ตามแผนงานนโยบายของปี …2566……... แผนก/ฝ่ าย ……ออกแบบ………… นโยบายเป้าหมายหลักของปี นีคือ 1. คุณภาพ 2. บริ การ 3. สิ นค้าต้องครบและพร้อมมากทีสุด NO แผนการปฏิบัติงานตามนโยบายเป้าหมายหลักของปี นี 3 สิ นค้ าต้ องครบและพร้ อมมากทีสุ ด 1.1 ลงเช็คโมเดลต้นแบบทีไลน์ผลิต 1.2 ตรวจสอบโมเดลแบบทีประกอบเสร็ จ100% 1.3 ตรวจสอบโมเดลแพ็คสินสินสต๊อกขาย

วัตถุประสงค์

หน้ าทีรับผิดชอบ

ตัวชีวดั ผลสํ าเร็จ

ผู้รับผิดชอบ

1. เพือให้โมเดลตรงกับแบบและเอกสารประกอบแบบ 1. ลงเช็คหน้างานและตรวจเช็คโมเดลตามเอกสาร 1.ประสิทธิภาพคุณภาพสินค้าทีได้ 2. เพือให้วถั ุดิบถูกครบถ้วนตามเอกสารประกอบแบบ 2. ตรวจสอบวัถุดิบตามเอกสารประกอบแบบ 3. เพือให้สินค้าครบและมีความพร้อมมากทีสุ ด เพือรองรับ การขายสิ นค้าในรู ปแบบ

Action plan-28 กุมภาพันธ์ 2566

แผนปฏิบตั กิ าร (Action Plan) ตามแผนงานนโยบายของปี …2566……... แผนก/ฝ่ าย ……ออกแบบ………… นโยบายเป้าหมายหลักของปี นีคือ

1. คุณภาพ 2. บริ การ 3. สิ นค้ าต้ องครบและพร้ อมมากทีสุ ด

NO แผนการปฏิบัติงานตามนโยบายเป้ าหมายหลักของปี นี

วัตถุประสงค์

วิธีการ

ตัวชีวัดผลสํ าเร็จ

1.เพือพัฒนาแบบสังผลิตให้ไปแนวทางเดียวกันมากขึน 2.เพือพัฒนาแบบสังผลิตให้ดูง่ายมากขึน 3.เพือให้ฝ่ายทีเกี ยวข้องเข้าใจถึงเนืองานโดยกําหนดเอกสาร ฝ่ ายออกแบบีชัดเจน 4.เพือคัดแบบผลิตภัณฑ์ จัดทําเอกสารทีเกี ยวข้องตามทีได้รับ มอบหมาย

1.ขนาดและรู ปแบบกระดาษเขียนแบบควรจะใช้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน เดียวกันและควรปรับขนาดเขียนแบบให้เหมาะสมกับการใช้งานในชีวติ ประจําวันมากขึน 2.ควรจะปรับตําแหน่งของการเขียนแบบให้ดูง่ายมากขึน 3.ควรจะปรับเส้นมีความชัดเจนมากขึน 4.ควรจะกําหนดตัวอักษรให้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน 5.ควรจะกําหนดการเขียนภาพฉาย ให้เป็ นไปในรู ปแบบเดียวกัน 6.จัดทําเอกสาร รายละเอียดผลิตภัณฑ์ กําหนดสเปคมาตรฐาน วัสดุหลัก เหล็ก ไม้ ฟิ ตติง และทําประกาศเพือให้ส่วนทีเกี ยวข้องรับทราบ 7.จัดทําเอกสารใบคัดวัตถุดิบในการแยกวัตถุดิบแต่ละโมเดลตามใบสังผลิต

1.สามารถเข้าใจแบบได้ง่ายมากขึน 2.สามารถสังวัตถุดิบมาตรฐานเพือนํานํามาสต็อกไว้สาํ หรับ งานสต็อกขายได้ 3.สามารถเข้าใจสเปคของแบบสังผลิตได้ง่ายมากขึน

เพือการผลิตงานทีง่ายมากขึน

ให้ขอ้ มูลแก่แผนกต่าง ๆ เพือใช้ในการผลิตแต่ละโมเดลขึน เช่น การบอก การผลิตงานโมเดลต้นแบบง่ายมากขึน ขนาดและระยะของโมเดล การบอกสเปคของโมเดล ฟิ ตติงของโมเดล เป็ น ต้น

เพือให้สินค้าครบและมีความพร้อมมากทีสุด เพือรองรับการ ขายสิ นค้าในรู ปแบบ Full Stock

ทําแบบมาตรฐานเพือง่ายต่อการสังผลิต

ผู้รับผิดชอบ

1 คุณภาพ 1.1 คุณภาพของแบบสังผลิต 1.2 คุณภาพของผลิตภัณฑ์ 1.3 คุณภาพเอกสารทีเกี ยวข้อง

พนังงานเขียนแบบ

2 บริการ การให้ขอ้ มูลในการผลิตงานโมเดลต้นแบบ

3 สินค้าต้ องครบและพร้ อมมากทีสุ ด สต็อกขายพร้อมส่ง

คุณภาพ,ประสิ ทธิภาพของงานสต็อกขาย

Action plan-28 กุมภาพั นธ์ 2566

Action Plan ตามแผนงานนโยบายบริ ษทั มอนสเตอร์ สตีล จากัด ประจาปี 2566 ฝ่ าย/แผนก : จัดซื้อ ลาดับ

แผนงาน นโยบายบริ ษทั

วัตถุประสงค์ - เพื่อให้ได้วตั ถุดิบและอุปกรณ์ ที่ใช้ในการผลิตให้ได้มาตราฐาน - ราคาเหมาะสมหรื อต่ากว่าต้นทุน การผลิต

แผนการทางาน

- จัดหา Sup มากกว่า 1 เจ้าต่อวัตถุ ดิบที่ตอ้ งการ เปรี ยบเทียบราคา และหาเจ้าที่มีมาตราฐานรองรับ - ซื้อของให้ถูกต้องตามสเปคมากที่ 1 คุณภาพ สุ ด หรื อกรณี เทียบสิ นค้า ต้องทาการ แจ้งต่อผูข้ อซื้อเพื่อให้ช่วยตรวจสอบ - ต่อราคางานโครงการ หรื องาน ที่มีจานวนการซื้อมากกว่าปกติ - เพื่อให้ทนั ต่อความต้องการผูใ้ ช้งาน - กรณี งานเร่ งด่วน จัดหาให้ภาย รวดเร็ ว และได้สินค้าที่มีคุณภาพ ใน 1-3 วัน 2 บริ การ - กรณี วตั ถุดิบมาตราฐาน ตั้งกาหนด เวลาการจัดซื้อให้สินค้าคงคลัง ตามจานวน Maximum สม่าเสมอ สิ นค้าต้องครบและพร้อมมาก - เพื่อให้ทนั ต่อความต้องการฝ่ ายขาย - ให้ความร่ วมมือกับทุกหน่วยงาน 3 ที่สุด และลูกค้า ที่ขอความต้องการมาเท่าที่สามารถ

ตัวชี้ วดั ผล (KPI) - เปรี ยบเทียบราคาซื้อวัตถุดิบ มาตราฐานให้ได้ราคาเดิมหรื อ ต่ากว่าราคาเดิมอย่างน้อย 1-3% โดยการจัดทาเอกสารเสนอทุก เดือนต่อผูบ้ งั คับบัญชา

- เก็บข้อมูลวันที่ได้รับ PR และเปรี ยบเทียบกับวันที่เปิ ด PO และได้รับสิ นค้า - ตรวจสอบระบบคงเหลือราย งานผูบ้ งั คับบัญชาทุกเดือน - ขึ้นกับผูบ้ งั คับบัญชา

ผูร้ ับผิดชอบ

จนท.จัดซื้อ

จนท.จัดซื้อ

จนท.จัดซื้อ

จัดทาวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2566

แผนนโยบำยของปี 2566 ฝ่ ำย ประสำนงำน(Monster Steel) ลำดับ

นโยบำยบริษทั

วัตถุประสงค์ - เพื่อให้ลูกค้าและตัวแทนจาหน่ายได้รับสิ นค้าที่มีคุณภาพ

1

คุณภาพ -เพื่อให้ลูกค้าและตัวแทนจาหน่ายได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและ ครบถ้วน

2

บริ การ

แผนกำรทำงำน

ตัวชี้วัดผล(KPI)

- มีการติดตามความพึงพอใจลูกค้าต่อสิ นค้าของบริ ษทั - จัดทาเอกสารแบบสารวจความพึงพอใจลูกค้าต่อ เพื่อนามาปรับปรุ งและพัฒนาสิ นค้าให้มีคุณภาพที่ดี สิ นค้าและบริ การของบริ ษทั ต่อไป - มีการติดตามอัปเดตแคตตาล็อกสิ นค้าให้เป็ นปัจจุบนั - ทาการรี เช็คแคตตาล็อกสิ นค้าทุก 6 เดือน อยู่เสมอ

- เพื่ออานวยความสะดวกในช่องทางการขายสิ นค้าทั้งออฟไลน์ - มีการเปิ ดช่องทางอีคอมเมิร์ซต่างๆ และ ช่องทางอีคอมเมิร์ซ

- มีการจัดทายอดขายส่ งผูบ้ งั คับบัญชาทุกสิ้ นเดือน

- มีทีมเซลล์ออฟไลน์ทุกภาค - เพื่อให้ลูกค้าได้รับสิ นค้าที่ตรงตามความต้องการมากที่สุด

3

สิ นค้าต้องครบและพร้ อม - สต็อกสิ นค้า เพื่อให้สินค้ามีพร้อมจัดส่ งได้ทนั ที ที่สุด - เพื่อคลอบคลุมความต้องการของผูบ้ ริ โภคและอุปโภค

- ส่ งมอบสิ นค้าถูกต้องตามที่ลูกค้าสัง่ ซื้ อ

- สัง่ ผลิตโมเดลสิ นค้าเป็ นต้นแบบมาตรฐาน และ คัดเลือก Mass Production เพื่อสัง่ ผลิตสต็อกสิ นค้า - รวบรวมความต้องการของลูกค้า เพื่อใช้เป็ นแนวทาง ในการพัฒนาสิ นค้า

- ออกเอกสารใบเสนอราคาทุกครั้งเมื่อได้รับOrder เพื่อให้เซลล์หรื อลูกค้าคอนเฟิ ร์ มการสัง่ ซื้ อสิ นค้า นั้นๆ - มีการจัดส่ งโมเดลสิ นค้าต้นแบบให้ทางสานักงาน รับรองคุณภาพตรวจสอบสิ นค้า และออกเอกสาร รับรองสิ นค้าให้กบั บริ ษทั - ทาสรุ ปรายงานความต้องการของลูกค้าทุกสิ้ นเดือน

ลงชื่อ............................................................ผูจ้ ดั ทา ประสานงาน

แผนงานและแนวทางปฏิบัติตามนโยบายบริษทั ปี ตําแหน่ ง ช่ างซ่ อมบํารุ ง .ด้านคุณภาพ - ศึกษาแบบ คู่มือซ่อม หรื อแคตตาล็อกชินส่ วน เพือค้นหาสาเหตุและกําหนดวิธีการแก้ไขให้ถูกต้อง - ซ่อมแซมเครื องจักรอุปกรณ์หรื อชิ นส่ วนทีชํารุ ดโดยใช้เครื องมือ (เช่น ค้อน เครื องชักรอก สว่าน) - ทดสอบการใช้งานเครื องจักรหรื ออุปกรณ์ - บันทึกและประมาณการค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมอุปกรณ์ - ดําเนินการบํารุ งรักษา เพือป้องกันเป็ นประจํา (เช่น ตรวจสอบลูกปื น มอเตอร์ หรื อสายพาน เปลียนตัวกรอง) .ด้านบริการ - ซ่อมบํารุ งรักษาอาคารต่าง ๆ เช่น พืนอาคาร เพดาน ฝาผนัง ประตูไม้ ประตูกระจกอลูมิเนี ยม หน้าต่าง และ อืน ๆ - งานซ่อมบํารุ งระบบไฟฟ้า เครื องใช้ไฟฟ้า เช่น เดินสายไฟฟ้า เปลียนหลอดไฟฟ้ า เครื องปรับอากาศ - ระบบกําลังไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า พัดลม และอืน ๆ เป็ นต้น - งานซ่ อมบํารุ งระบบประปา เครื องสุ ขภัณฑ์ เช่ น เดินท่อนํา ซ่ อมและติดตังเครื องสุ ขภัณฑ์ อ่างนํา ดูแลและ ซ่อมแซมระบบนํา - ซ่อมบํารุ งรักษาเครื องมืออุปกรณ์ เช่น หินเจียร์, เครื องตัดเหล็ก, สว่าน เป็ นต้น - งานซ่อมระบบการสื อสาร ดูแลบํารุ งรักษาระบบโทรศัพท์ - ดูแลและซ่อมบํารุ งระบบเครื องกรองนําภายในโรงงาน - ดําเนินการเกียวกับใบแจ้งซ่อม ขออนุมตั ิจดั หาวัสดุอุปกรณ์ในการซ่อม - วางแผนการให้บริ การประจําวัน และการสํารวจสภาพโรงงาน ระบบไฟฟ้า ระบบประปา เป็ นต้น - การให้บริ การไฟฟ้าฉุ กเฉิ น สําหรับพนักงานภายในโรงงาน - จัดทําสถิติรายการซ่อมต่าง ๆ

แผนงานและแนวทางปฏิบัติติตามนโยบาย ปี ตําแหน่ ง ประสานงานโรงงาน/วางแผนผลิต .ด้านคุณภาพ วางแผนผลิต -

การวางแผนงานให้สอดคล้องกับงานผลิตทีเกิดขึน และความพร้อมของวัสดุและอุปกรณ์ในการลิต ก่อนกําหมด การวางแผนผลิต คํานึงถึงระยะเวลาในการวางแผนงานและปฏิบตั ิติงาน ให้อยูใ่ นระยะเวลาทีกําหนดตามแผนงานทีทําไป ในการปล่อยแบบผลิตจะมีการวางแผนล่วงหน้าทุกครั ง เพราะแผนงานทีทําไปทุกครังจะต้องไม่ให้กระทบกับ แผนงานทีวางแผนไว้ก่อนหน้า

ประสานงานโรงงาน -

จะต้องสร้ างสัมพันธภาพในการทํางาน ร่ วมกันของทุกฝ่ าย โดยอาศัยความเข้าใจ หรื อการตกลงร่ วมกัน มีการ รวบรวมกําลังความคิด วิธีการ เทคนิค และระดมทรัพยากร มาสนับสนุนงานร่ วมกัน เพือให้เกิดความเป็ นอันหนึง อันเดียวกัน เต็มใจทีจะทํางานร่ วมกัน

-

จะต้องปฏิบตั ิงานตามบทบาทหน้าที และ ความรับผิดชอบของแต่ละคน ตามกําหนดเวลาที ตกลงกันให้ตรงเวลา จะต้องพิจารณาความพอเหมาะพอดี ไม่ทาํ งานซ้อนกัน จะต้องมีการสื อสารทีเข้าใจตรงกัน อย่างรวดเร็ ว และราบรื น ต้องสามารถดึงทุกฝ่ ายเข้าร่ วมทํางาน เพือตรงไปสู่จุดหมายเดียวกัน ตามทีกําหนดเป็ นวัตถุประสงค์ของงาน

วิธีทจะให้ ี ได้ รับความร่ วมมือในการประสานงาน การประสานงานไม่ควรจะกระทําโดยใช้อาํ นาจสังการ แต่อย่างเดียว ควรใช้ความสัมพันธ์ทีดีต่อกันเป็ นหลัก เพราะ ความ มีนาใจต่ ํ อกัน ไว้วางใจกันจะเป็ นผลให้เกิดการร่ วมใจมากกว่าการ ใช้อาํ นาจหน้าที พยายามผูกมิตรตังแต่ตน้ และป้ องกัน ไม่ให้เกิด ความรู ้สึกเป็ นปฏิปักษ์มีความหวาดระแวงหรื อกินแหนงแคลงใจ กัน ให้การยอมรับซึงกันและกัน ไม่นินทาว่าร้ายกัน ไม่โยนความผิด ให้แก่ผอู้ ืน เมือมีสิงใดจะช่วยเหลือแนะนํากันได้ก็อย่าลังเล และ พร้อมจะรับฟังคําแนะนําของผูเ้ กี ยวข้องแม้จะ ไม่เห็นด้วยก็อย่า แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ เมือมีการเปลียนแปลงก็ตอ้ งแจ้งให้ทราบ ปัญหาในการติดต่ อประสานงาน ให้ ข้อมูลล่าช้ าเกินไป – การทีติดต่อประสานงานกับ อีกหน่วยงานหนึงล่าช้า นันอาจจะเป็ นเพราะว่ามัวแต่รอข้อมูลจาก อีกหลายหน่วยงาน จึงทําให้ส่งข้อมูลให้หน่วยงานทีเกียวข้องล่าช้า ตามไปด้วย ปัญหานี เกิดขึนบ่อยครัง

รับ - ส่ งข้ อมูลผิดพลาด – การรับ และส่ งมอบข้อมูล รายงาน เอกสารที ผิดพลาด ย่อมนําไปสู่การติดต่อประสานงานที ไม่รู้จบ คนบางคนยังไม่ทนั ฟัง กลับด่วนสรุ ปตามอําเภอใจ หรื อคน บางคนเอาเร็ วไว้ก่อน ส่ งข้อมูลให้ด้วยความรวดเร็ ว แต่ ข้อมูลที นําส่งให้กลับพบแต่ขอ้ ผิดพลาด เพิกเฉย และหลงลืม – การเพิกเฉย ไม่สนใจว่าเป็ น หน้าทีของตนเองทีจะต้องติดตาม ติดต่อประสานงานกับหน่วยงาน อืน ๆ คิดว่าไม่ใช่เรื อง ไม่ใช่หน้าที ไม่เห็นความจําเป็ น หรื อไม่เห็น ความสําคัญของการติดต่อประสานงาน คิดเสี ยแต่ว่ารอให้ อีกฝ่ าย ติดต่อมาเองไม่ดีกว่าหรื อ และบางคนยิงซําร้ายใหญ่ นัดแล้ว แต่ กลับลืมนัดทีรับปากไว้ ไม่ ได้ รับความร่ วมมือ – มีสาเหตุมาจาก มีความคิดที แตกต่างกัน มีอคติต่อกัน ไม่ชอบกัน หรื อปิ ดบังข้อมูล ทําให้ไม่ เกิด ความร่ วมมืออย่างจริ งจัง .ด้านบริการ วางแผนผลิต -

วางแผนงานผลิต เพือให้หน่วยงานทีเกียวข้องเข้าใจง่าย และปฏิบตั ิ ตามแผนผลิตได้อย่างแม่นยํา การปล่อยแผนผลิตแต่ละครัง จะประสานงานกับฝ่ ายทีเกียวข้องทุกครังก่อนปล่อยผลิต เพือให้พนักงานและฝ่ ายที เกียวของรับทราบทีชัดเจน

ประสานงานโรงงาน -

ประสานงานในด้านต่าง ๆให้ชดั เจน รายงานและรับทราบข่าวสารต่าง ๆ เพือประสานงานกับหน่วยงานทีเกียวข้องภายในองค์กรณ์

ใจความสําคัญของการประสานงาน การประสานงานที ดีช่วยให้การทํางานบรรลุเ ป้ าหมายได้ อย่างราบรื นและรวดเร็ ว ทุกคน ทุ กฝ่ ายมีความเข้าใจถึง นโยบายและ วัตถุประสงค์ของหน่วยงานได้ดียิงชึ น ช่วยประหยัดเวลา เงิน วัสดุ และ สิ งของต่างๆ ในการทํางาน ทําให้การ ดําเนิ นงานเป็ นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ เพิมผลสัมฤทธิ ชองงานมากขึน และยังสร้างความกลม เกลียว ความเข้าใจอันดีและความ สามัคคีอีกทังช่วยขจัดข้อขัดแย้งใน การทํางาน ป้ องกันการก้าวก่ายหน้าที ขจัดปั ญหาการทํางานซําซ้อน หรื อเหลือมลํากัน ก่อให้เกิดการทํางานเป็ นทีม สร้างความสํานึกในการ รับผิดชอบร่ วมกัน รวมถึงเข้าใจข้อเท็จจริ งและปั ญหาของหน่ วยงานอืน นําไปสู่การกระตุน้ ความคิดสร้างสรรค์และลู่ทางการปรับปรุ งงานต่อไป

แผนงานนโยบายบริษัท มอนสเตอร์ สตีล ปี แผนก สโตร์ .ด้านคุณภาพ

.ด้ านบริการ

.สิ นค้าต้ องครบและ พร้ อมมากทีสุด

 คุณภาพของ วัตถุดิบ และ วัสดุ ทีใช้ในกระบวนการผลิตต้องมีคุณภาพ และ ความทนทานต่องานผลิต วัตถุดิบหรื ออุปกรณ์ตอ้ งสามารถใช้งานได้ตาม หน้าทีทีกําหนดไว้ วัตถุดิบและวัสดุอุปกรณ์ควรมีอายุใช้งานทียาวนานใน ระดับหนึง ไม่เสี ยง่ายจนเกินไป หรื อไม่เสี ยจนใช้งานไม่ได้ก่อนเวลาอัน สมควร วัสดุอุปกรณ์ควรมีความเสี ยงอันตรายในการใช้นอ้ ยทีสุ ดและมี ความสอดคล้องกับมาตรฐานทีโรงงานกําหนดไว้  ความสอดคล้องกับมาตรฐาน คือผลิตภัณฑ์มีระดับคุณภาพทีสอดคล้องตาม มาตรฐานทีควรเป็ นของสิ นค้า  การกําหนดมาตรฐานคุณภาพ การเตรี ยมระบบการดําเนิ นงาน ขันตอนการ ดําเนินการผลิต การปรับปรุ งแก้ไขข้อบกพร่ อง วัตถุดิบและวัสดุอุปกรณ์ ต้องพร้อมในงานผลิต เพือไม่เกิดความล่าช้า  กําหนดให้สินค้าทีขายให้มีความแข็งแรง มีคุณภาพ และตรงตามมาตรฐานที กําหนดไว้ เพือความสะดวกสําหรับคนจัดสิ นค้าให้สามารถจัดสิ นค้าทีผูซ้ ือ สังได้ถูกต้องตรงตามรายการสังซื อ และช่วยให้การจัดการสต๊อคในระบบมี ประสิ ทธิ ภาพมากขึน  สิ นค้าทีผลิตตรงตามแบบและมีคุณภาพและความแข็งแรงและตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า  สิ นค้าตรงตามแบบและมาตรฐานทีกําหนดไว้  สิ นค้าต้องจบจากกระบวนการผลิต % เท่านันจึงจะสามารถนําส่งเข้า สต็อกและส่งให้ลูกค้า  พืนทีจัดเก็บสิ นค้าทีเพียงพอต่อการจัดเก็บสต็อก  กําหนดวันทีต้องเช็คสต๊อก เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ หรื อทุกเดือน เพือเป็ น การตรวจสอบจํานวนสิ นค้าคงคลัง

นโยบายด้ านคุณภาพ แผนกซ่ อมบารุง 1. งานบารุงรักษาเครื่ องจักร ได้ เป้ าหมาย 100% ตามแผนงานประจาปี 2. ปี 2566 จะเน้ นเรื่ องการบารุงรักษาเครื่ องจักรในรูปแบบการเปลีย่ นอะไหล่ ใหม่ เข้ าไป ทดแทนอะไหล่ ทสี่ ภาพไม่ 100% โดยเป็ นการต่ อยอดจากปี 2565 ทีด่ าเนินการไปแล้ ว และ สามารถพิสูจน์ ได้ ว่า โดยภาพรวมทาให้ ค่าใช้ จ่ายในการบารุ งรักษาน้ อยลงและระยะเวลา เครื่ องจักรเสี ยลดลง 3. ปรับเปลีย่ นอุปกรณ์ ไฟฟ้าทดแทนของเดิม เป็ นแบบอุปกรณ์ ประหยัดพลังงานทั้งหมด 4. อุปกรณ์ ไฟฟ้า หรื อ เครื่ องจักร ทีน่ าเข้ ามาติดตั้งใหม่ จะต้ องเป็ นอุปกรณ์ ทปี่ ระหยัด พลังงานและคุ้มค่ ากับการลงทุน

นโยบายด้ านบริการ แผนกซ่ อมบารุง 1. ปรับเป้าหมายเรื่ องเครื่ องจักรหยุดซ่ อมจากเดิมไม่ เกิน 25 ชม./เดือน ลดลงเท่ ากับ ไม่ เกิน 20 ชม./เดือน เพื่อส่ งผลให้ บริษัท 1. ส่ งสิ นค้ าได้ ตามเวลา สร้ างความน่ าเชื่ อถือให้ กบั บริษัท 2. สามารถช่ วยลดระยะเวลาการทางานของคลังสิ นค้ าลงได้ จากปัญหาเครื่ องจักร เสี ย ทาให้ ช่วยลดค่ าใช้ จ่ายในส่ วนต่ างๆ ของบริษัทฯได้

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.