บทที่3 Flipbook PDF


3 downloads 111 Views 7MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

U B S J H E T C A T M บทที่3 การวิเคราะห์และ การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ

3.1 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณด้วยตารางแจกแจง ความถี่ ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่ได้จากการวัดหรือการนับค่าโดย แสดงเป็นตัวเลยหรือปริมาณที่สามารถน าไปบวก ลบ คูณ หรือหาร และ เปรียบเทียบกันได้อย่างมีความหมาย ข้อมูลเชิงปริมาณสามารถใช้การ แจกแจงความถี่เพื่อจัดระเบียบและนำเสนอข้อมูลได้เช่นเดียวกับข้อมูล เชิงคุณภาพ โดยการเขียนตารางความถี่สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณมี 2 แบบ ได้แก่ 1. ตารางความถี่แบบไม่ได้แบ่งข้อมูลเป็นช่วง 2. ตารางความถี่แบบแบ่งข้อมูลเป็นช่วง

2. ตารางความถี่แบบแบ่งข้อมูลเป็นช่วง ซึ่งเหมาะสำหรับใช้ ในกรณีที่ค่าที่เป็นไปได้ของข้อมูลมีจ านวนมาก ตัวอย่าง เช่น ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ซึ่งมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน โดยครูให้คะแนนเป็นจำนวนเต็ม ถ้าเขียนตาราง ความถี่ สำหรับทุกค่าของคะแนนที่เป็นไปได้ซึ่งมีจำนวน 101 ค่า ซึ่งยากต่อการนำเสนอ ด้วยเหตุนี้จึงแบ่งข้อมูลที่ เป็นไปได้ทั้งหมดออกเป็นช่วงๆ และเรียกแต่ละช่วงว่า อันตรภาคชั้น คือ ช่วงของการแบ่งข้อมูล

3.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแผนภาพ ฮิสโทแกรม เป็นการนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณที่สร้างจากตาราง ความถี่ โดยใช้แท่งสี่เหลี่ยมมุมฉากที่เรียงติดกันบนแกนนอน เมื่อแกนนอนแทนค่าของข้อมูล ความสูงของแท่งสี่เหลี่ยม มุมฉากจะแสดงความถี่ของข้อมูล

ขอบบน ขอบล่าง (UPPER - LOWER BOUNDARY) ขอบ บน ของอันตรภาคชั้นใด หมายถึง ค่ากึ่งกลางระหว่างค่าที่ เป็นไปได้สูงสุดของอันตรภาคชั้นนั้น กับ ค่าที่เป็นไปได้ต่ าสุด ของอันตรภาคชั้นติดกันถัดไป เช่น ขอบบนของอันตรภาค ชั้น 41 - 50 คือ 50+51 / 2 = 50.5 ขอบบนของ อันตรภาคชั้น 51 - 60 คือ 60+61 / 2 = 60.5 เป็นต้น

แผนภาพจุด (DOT PLOT) เป็นการนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้จุดหรือวงกลมเล็กๆ แทนข้อมูลแต่ละตัว เขียนเรียงไว้เหนือเส้นในแนวนอนที่มี สเกล จุดหรือวงกลมเล็กๆ ดังกล่าวจะเรียนกันในแนวตั้งตรง กับตำแหน่งซึ่งแสดงค่าของข้อมูลแต่ละตัว

แผนภาพต้น – ใบ การจัดข้อมูลเป็นกลุ่มนอกจากจะใช้ตารางแจกแจงความถี่ หรือฮิสโทแก รมแล้วอาจจะใช้วิธีการสร้างแผนภาพเพื่อแจกแจงความถี่และวิเคราะห์ ข้อมูลเบื้องต้นไปพร้อมกัน ที่เรียกว่าแผนภาพ ต้น – ใบ (STEM – AND – LEAF PLOT หรือ STEM PLOT) ซึ่งทำได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1จากการเลือกชั่งน้ำหนัก (กิโลกรัม) ของตัวแทนนักเรียนใน ห้องจำนวน 20 คน มีผลดังนี้ 39 43 45 42 52 51 42 40 40 41 35 39 46 44 50 48 47 43 48 38 แบ่งกลุ่มข้อมูลเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 น้ำหนักตั้งแต่ 30 ถึง 39 กิโลกรัม กลุ่มที่ 2 น้ำหนักตั้งแต่ 40 ถึง 49 กิโลกรัม กลุ่มที่ 3 น้ำหนักตั้งแต่ 50 ถึง 59 กิโลกรัม

แผนภาพก่อง แผนภาพกล่องเป็นการนำเสนอข้อมูลโดยน าค่าต่ าสุด ค่า สูงสุด ควอร์ไทล์ที่ 1 ควอร์ไทล์ที่ 2 และควอร์ไทล์ที่ 3 จาก ข้อมูลที่มีการจัดเรียงลำดับค่าจากน้อยไปมาก แล้วแบ่ง ข้อมูลออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน ซึ่งแต่ละส่วนคิดเป็นร้อยละ 25 ของจำนวนข้อมูลทั้งหมด มาสร้างเป็น แผนภาพกล่อง เพื่อแสดงภาพรวมของข้อมูลและการกระจายของข้อมูล ลักษณะของแผนภาพกล่อง เป็นดังนี้

ข้อมูลที่กำหนดให้ต่อไปนี้โดยใช้แผนภาพกล่อง

สมาชิก

นายพีระวัตย์ แก้วบุตร เลขที่4 นายธนากกร แก้วเทพ เลขที่10 นายปฐวี อินอุทัย เลขที่12 นายธนาศักดิ์ พลทองสถิตย์ เลขที่19 นายรามิล นิลลสรี เลขที่20

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.