ระเบียบวาระการประชุม และรับรองบันทึกการประชุม ครั้งที่ 3 Flipbook PDF

ระเบียบวาระการประชุม และรับรองบันทึกการประชุม ครั้งที่ 3

81 downloads 102 Views 8MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

ระเบียบวาระการประชุม คณะอนุกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน และผูดอยโอกาส ในคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ คนพิการ และผูดอยโอกาส วุฒิสภา ครั้งที่ 4/๒๕๖6 วันจันทรที่ 23 มกราคม ๒๕๖6 เวลา 11.0๐ นาฬิกา ผานสื่ออิเล็กทรอนิกส ................................... ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจงตอที่ประชุม ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองบันทึกการประชุม - รับรองบันทึกการประชุม ครั้งที่ 3/๒๕๖6 วันจันทรที่ 16 มกราคม ๒๕๖6 3.1 พิจารณาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการที่มีสวนรวมของเด็กและเยาวชนรวมถึง งบประมาณที่เกี่ยวของ จาก 3 หนวยงาน คือ 1)กรมปาไม 2)กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช และ 3) กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา 3.2 โครงการของคณะกรรมาธิการฯ ไดแก (1) โครงการ "วุฒิสภา ศรัทธาความดี" (2) โครงการ “เด็กและเยาวชนตนกลาคนดีของสังคม” ประจําป 2565 ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องอื่น ๆ ...................................


บันทึกการประชุม คณะอนุกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน และผู้ด้อยโอกาส ในคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา ครั้งที่ 3/๒๕๖๖ วันจันทร์ที่ 16 มกราคม 256๖ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) ------------------------------- อนุกรรมาธิการผู้มาประชุม ๑. นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ ประธานคณะอนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 2. พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 3. นางจิราภรณ์ เล้าเจริญ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่สอง (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 4. นายศุภชัย สถีรศิลปิน อนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 5. นางงามจิต แต้สุวรรณ อนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 6. นายอัครเดช สุพรรณฝ่าย อนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 7. นายส าราญ อรุณธาดา อนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 8. นายธนะรัตน์ ธาราภรณ์ อนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 9. นายศุภากร ปทุมรัตนาธาร อนุกรรมาธิการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) ๑0. นางณัฐนันท์ สว่างวงศ์ อนุกรรมาธิการและเลขานุการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) 11. นางเพชรรัตน์ มหาสิงห์ อนุกรรมาธิการและผู้ช่วยเลขานุการ (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการผู้ลาประชุม - นางทัศนา ยุวานนท์ ประธานที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ คณะอนุกรรมาธิการผู้ลาประชุม - นางวรภัทร แสงแก้ว อนุกรรมาธิการ เริ่มประชุมเวลา 09.00 นาฬิกา เมื่ออนุกรรมาธิการมาครบองค์ประชุมแล้ว นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ ประธาน คณะอนุกรรมาธิการ ได้กล่าวเปิดประชุม และด าเนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุม สรุปได้ดังนี้ ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งต่อที่ประชุม 1. ด้วยคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมฯ ได้มีก าหนดการเดินทางลงพื้นที่ติดตาม การส่งเสริมพลังทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการท าคุณประโยชน์ต่อส่วนรวม และผลกระทบ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ที่มีต่อเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ


๒ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส เมื่อวันที่ 13 – 15 มกราคม 2566 ณ อ าเภอเมือง จังห วัด ระนอง โดยใน วันเสาร์ที่ 14 มกราคม 2566 เวล า 0 9 .3 0 น าฬิ ก า ได้ ลงพื้ นที่ เพื่ อ สนั บ สนุ น แล ะ ร่วม กิ จก ร ร มงาน วันเด็ ก แห่งช าติ ณ โรงเรียนเกาะพยาม อ าเภอเมือง จังหวัดระนอง โดยบรรยากาศของการจัดกิจกรรมดังกล่าว เป็นไปอย่างสนุกสนาน ทั้งนี้ โรงเรียนเกาะพยามเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ปัจจุบันมีเด็กนักเรียนที่เป็น ชาวไทย ชาวพม่า และชาวมอแกน รวมทั้งสิ้น 116 คน ภายใต้การดูแลของครู จ านวน 4 คน และเปิดสอนในระดับชั้นอนุบาล 2 จนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2. ในวันอังคารที่ 17 มกราคม 2565 คณะท างานพิจารณาศึกษาแนวทางการพัฒนา และการส่งเสริมการด าเนินงานด้านหม่อนไหม น าโดยนางเพ็ญพักตร์ ศรีทอง ประธานคณะท างาน จะได้น าเสนอรายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง “แนวทางการพัฒนาและการส่งเสริมการด าเนินงาน ด้านหม่อนไหม” เพื่อน าเข้าสู่ที่ประชุมวุฒิสภาให้ความเห็นชอบและน าเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อด าเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการต่อไป ที่ประชุมรับทราบ : ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองบันทึกการประชุม ที่ประชุมมีมติรับรองบันทึกการประชุมครั้งที่ 2/๒๕๖6 วันอังคารที่ 10 มกราคม ๒๕๖6 โดยไม่มีการแก้ไข ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา ๓ .1 พิ จารณ าต ารางเป รียบเทียบข้อเสนอแน ะราย งานพิ จ ารณ าศึกษ า เรื่อง (ร่าง) การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กับ กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) สรุปได้ดังนี้ ล ำดับแรก นางเพชรรัตน์ มหาสิงห์อนุกรรมำธิกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร ได้น ำเสนอตำรำงเปรียบเทียบข้อเสนอแนะรำยงำนกำรพิจำรณำศึกษำ เรื่อง กำรพัฒนำคุณภำพชีวิต กลุ่มชำติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กับ กลุ่มชำติพันธุ์มำนิ (ซำไก) สรุปได้ดังนี้ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) ๑) ปัญหาการจัดท าฐานข้อมูลกลุ่มชาติ พันธุ์ ชำวมละบริมีกำรเคลื่อนย้ำย กำรตั้งถิ่นฐำนอยูเป็นประจ ำ จึงท ำให้ไม่ สำมำรถติดตำมสถำนะบุคคลได้ ข้อเสนอแนะ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ควรมี กำรเก็บรวบรวมข้อมูลประชำกรกลุ่ม ช ำ ติ พั น ธุ์ ม ล ะ บ ริให้ เป็ น ปั จ จุ บั น อย่ำงต่อเนื่อง โดยหน่วยงำนในท้องถิ่น เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือ ๑) ปัญหาอคติทางชาติพันธุ์ ปัญหาอคติที่มีต่อกลุ่มชาติพันธุ์มานิ เป็น ปัญหาที่เกิดขึ้นควบคู่กับการพัฒนา นับตั้งแต่ยุค แ ผ น พั ฒ น า เศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห่ ง ช า ติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๖๐๔ - ๒๕๐๙) ที่รัฐมีนโยบายในการเปิด ป่ าให้ สั มปทานป่ าไม้ และยุ คป ราบ คอมมิ วนิ สต์ (พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๒๒) และยุคการส่งเสริมการปลูกพืช เศรษฐกิจ (พ.ศ. ๒๕๓๕ - ๒๕๔๕) ที่ท าให้ชาวมานิถูก “กีดกัน” ออกจากป่า อีกทั้งชาวมานิบางกลุ่มถูกกล่าวหาว่า เป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ จึงน ามาสู่การปราบปรามชาว มานิที่อาศัยอยู่ในป่า หรือแม้กระทั่งในยุคการส่งเสริมการ


๓ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) ศูนย์พัฒนำรำษฎรบนพื้นที่สูง เพื่อน ำมำ ก ำหนดนโยบำยในกำรพัฒนำคุณภำพ ชีวิตของกลุ่มชำติพันธุ์มละบริ ทั้งนี้ ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันดังกล่ำวยังสำมำรถ ใช้สืบค้นและเป็นแหล่งข้อมูลอ้ำงอิงอัน เป็นประโยชน์ต่อกำรท ำควำมเข้ำใจ มรดกทำงภูมิปัญญำควำมเป็นตัวตนของ กลุ่มชำติพันธุ์มละบริ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (พ.ศ. ๒๕๔๖ - ปัจจุบัน) ที่ภาครัฐ ได้ “ ผ น ว ก” น า กลุ่ ม ช า ติ พั น ธุ์ ม า นิ เข้ า สู่ กระบวนการพัฒนาเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยใช้อัต ลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์มาเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยว เช่น การสร้างภาพตัวแทนของชาวมานิให้แต่งกายแบบ เงาะป่าแบบในวรรณกรรม ซึ่งบางอย่างไม่ได้สอดคล้อง กับสภาพความเป็นจริง ท าให้พวกเขารู้สึกกลายเป็นตัว ตลก และถูกมองว่าชาวมานิจ าเป็นต้องได้รับการพัฒนา ให้มีที่อยู่อาศัยแบบเป็นหลักแหล่งรวมกับคนพื้นราบ ซึ่งจริง ๆแล้วอาจไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตจริงของชาวมานิ ท าให้ชาวมานิบางกลุ่มต้องหลบหนีเข้าป่าลึก ดังนั้น เหตุผลต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงนับเป็นสาเหตุ ส่วนหนึ่งที่ท าให้เกิดปัญหาอคติทางชาติพันธุ์ ๒) ปัญหาที่อยู่อาศัยและที่ดินท ากิน 2.1) จังหวัดแพร่ ช ำ ว ม ล ะ บ ริที่ อ ำศั ย อ ยู่ ณ บ้ำนท่ำวะ ต ำบลสะเอียบ อ ำเภอสอง จังหวัดแพร่ ไม่มีที่อยู่อำศัยและที่ดินท ำกิน เป็นของตนเอง ปัจจุบันอำศัยอยู่ในพื้นที่ ข อง ค น อื่ น ใน ชุ ม ช น บ้ ำ น ท่ ำ ว ะ และขำดแคลนสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกใน กำรด ำเนินชีวิต ส่วนชำวมละบริบ้ำน บุญยืน ต ำบลบ้ำนเวียง อ ำเภอร้องกวำง จังหวัดแพร่ แม้ว่ำจะมีที่อยู่อำศัยเป็นของ ตนเอง แต่ไม่มีที่ดินท ำกินเป็นของตนเอง จ ำเป็นต้องเช่ำที่ดินของชำวม้งในหมู่บ้ำน ใกล้เคียงเพื่อท ำอำชีพเกษตรกรรม 2.2) จังหวัดน่าน ช ำ ว ม ล ะ บ ริที่ อ ำศั ย อ ยู่ ในจังหวัดน่ำน ส่วนใหญ่จะอำศัยอยู่ใน พื้นที่ป่ำสงวนและภำยในเขตอุทยำน แห่งชำติ เช่น ๑) ศูนย์ภูฟ้ำพัฒนำ หมู่ที่ ๓ ต ำบลภูฟ้ำ อ ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่ำน อยู่ในพื้นที่ของโครงกำรฟื้นฟูและพัฒนำ ๒) ปัญหาการเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการของรัฐ แบ่งออกเป็น ๒ ด้าน ดังนี้ ๒.๑ ปัญหาด้านสิทธิการเป็นพลเมือง ปัจจุบันพบว่า ยังคงมีกลุ่มชาติพันธุ์มานิในหลายพื้นที่ยังไม่ได้รับบัตร ประจ าตัวประชาชน อาทิ กรณีชาวมานิทุ่งหว้า จังหวัด สตูล ซึ่งอยู่ระหว่างการด าเนินการท าแผนผังเครือญาติ เพื่อเป็นเครื่องมือยืนยันการสืบเชื้อสายและจะน าไปสู่ กระบวนการตรวจ DNA เป็นต้น ดังนั้น ปัญหาดังกล่าวจึง ถือเป็นประเด็นปัญหาส าคัญของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ เนื่องจากโดยวิถีการด ารงชีวิตดั้งเดิมของกลุ่มชาติพันธุ์ มานินั้นจะอาศัยอยู่ในป่า มีการเคลื่อนย้ายไปมาเพื่อหา แหล่งอาหารที่สมบูรณ์ และเพียงพอต่อการด ารงชีวิต ท าให้ไม่สามารถระบุหลักแหล่งหรือก าหนดขอบเขตพื้นที่ อยู่อาศัยที่แน่ชัดได้ ส่งผลต่อการส ารวจและนับจ านวน ประชากรกลุ่มชาติพันธุ์มานิเพื่อรับรองสถานะการเป็น พ ลเมื องต าม กฎห ม ายเป็ นไป อ ย่ างจ ากั ด ดังนั้น สถานการณ์ปัญหาด้านสิทธิการเป็นพลเมืองจึงเป็น สิ่งจ าเป็นเร่งด่วนที่ต้องมีการก าหนดแนวนโยบายและ หลักปฏิบัติเกี่ยวกับการส ารวจ จัดท าข้อมูลกลุ่มชาติ พันธุ์มานิ เพื่อให้การรับรองสถานะการเป็นพลเมืองของ รัฐที่ถูกต้องตามกฎหมาย น าไปสู่การเข้าถึงสิทธิและ


๔ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) ป่ำไม้บ้ำนท่ำวะตำมพระรำชด ำริสมเด็จ พระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพ รัตน รำชสุด ำฯ สยำมบ รม รำชกุม ำรี ๒) บ้ำนห้วยลู่ หมู่ที่ ๕ ต ำบลสะเนียน อ ำเภอเมือง จังหวัดน่ำน อยู่ในพื้นที่ของ โครงกำรฟื้นฟู และพัฒนำป่ำไม้บ้ำนท่ำวะ ตำมพระรำชด ำริสมเด็จพระกนิษฐำธิรำช เจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี และ ๓) บ้ำนห้วย หยวก หมู่ที่ ๖ ต ำบลแม่ขะนิง อ ำเภอ เวียงสำ จังหวัดน่ำน อยู่ในเขตพื้นที่ป่ำ สงวนแห่งชำติ และอำศัยอยู่ร่วมกับชำวม้ง ซึ่งพบปัญห ำเรื่อง สิทธิในที่ดินท ำกิน เนื่องจำกมีชำวมละบ ริอำศัยอยู่เป็น จ ำนวนมำก บำงคนประกอบอำชีพรับจ้ำง เป็นแรงงำนให้กับนำยจ้ำงที่เป็นคนพื้น รำบถูกเอำรัดเอำเปรียบค่ำแรงโดยได้ ค่ำแรงขั้นต่ ำไม่ถึง ๓๐๐ บำทต่อวัน บำง คนถูกจ้ำงเหมำเป็นรำยปี หรือท ำงำน เพื่อแลกกับรถจักรยำนยนต์ ข้อเสนอแนะ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องควรให้ ช ำ วม ล ะบ ริได้ รับ ก ร รม สิท ธิ์ใน ก ำ ร ครอบครองที่ดินท ำกินที่กระจำยอยู่ใน พื้นที่ต่ำง ๆ อย่ำงถูกต้อง เพื่อแก้ไขปัญหำ ด้ำนพื้นที่ท ำกินที่ไม่เพียงพอกับจ ำนวน ประชำกรที่มีอัตรำกำรขยำยตัวเพิ่มขึ้น และควรค ำนึงถึงสิทธิในกำรเลือกปรับตัว เข้ำกับสภำพแวดล้อมภำยใต้บริบทกำร เปลี่ยนแปลงด้วยควำมสมัครใจ เพื่อมิให้ เกิดควำมขัดแย้งตำมมำ สวัสดิการในด้านต่าง ๆ อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ๒.๒ ปัญหาด้านการเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐาน ถือ เป็นประเด็นปัญหาที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากการไม่ได้ รับรองสถานะบุคคลในฐานะพลเมืองของรัฐ ส่งผลให้ ชาวมานิไม่ได้รับบัตรประจ าตัวประชาชนและไม่สามารถ เข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานด้านต่าง ๆ ได้ ประกอบด้วย ๒ .๒ .๑ สิ ท ธิ ก า ร รั กษ าพ ย าบ า ล แ ล ะ สาธารณสุข โดยเฉพาะการได้รับความช่วยเหลือด้าน สาธารณสุขของชาวมานิในช่วงสถานการณ์โรคระบาด โควิด -๑๙ ซึ่งแม้ว่าจะมีหน่วยงานในพื้นที่มีความ พยายามท างานเชิงรุก โดยจัดตั้งทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เข้าไปให้ความรู้เกี่ยวกับโรคดังกล่าว แต่พบว่า ชาวมานิ จะออกมาใช้บริการด้านสาธารณสุขที่สถานพยาบาล ต่อเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินเท่านั้น จากข้อมูลดังกล่าวท าให้ พบว่า สภาพปัญหาด้านสิทธิการรักษาพยาบาลและ สาธารณสุขมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเงื่อนไข ดังนี้ - ศักยภาพและความสามารถในการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บริการสาธารณสุขกับกลุ่มชาติพันธุ์ มานิในพื้นที่ห่างไกล ซึ่งยากต่อการเดินทางเข้าไป ให้บริการด้านการรักษาพยาบาล การส่งเสริม ป้องกัน รักษาโรค ดังนั้น จึงควรมีการศึกษาและพัฒนาแนว ท างก ารให้บ ริก ารส าธ ารณ สุขเอื้ออ าน วยต่อก าร ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และเพิ่มช่องทางในการเข้าถึง บริการสุขภาพที่หลากหลาย สอดคล้องกับบริบทและวิถี การด ารงชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์มานิในแต่ละพื้นที - สภาพปัญหาด้านความรู้ ความเชื่อ เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ พบว่า กลุ่มชาติพันธุ์มานิยังมีความคิด ความเชื่อที่ไม่ ยอมรับการรักษาพยาบาล หรือการส่งเสริมสุขภาพจาก บุคคลภายนอก ดังนั้น จึงต้องมีการพัฒนาแนวทางการ ส่งเสริมสุขภาพและบริการสาธารณสุขที่สามารถเข้าถึง เป็นที่ยอมรับจากกลุ่มชาติพันธุ์มานิที่ชัดเจน ตลอดจน เพิ่มทางเลือกและช่องทางในการเข้าถึงที่หลากหลาย


๕ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) - ปัญ ห าสุขภาพอน ามัยขอ งกลุ่ม ชาติพันธุ์มานิในกลุ่มวัยต่างๆ ได้ปรากฏโรคที่สัมพันธ์กับ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคการตั้งถิ่นฐานอยู่ อาศัยเป็นหลักแหล่งยาวนานมากขึ้น ตลอดจนการมี ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสังคมภายนอก ๒.๒.๒ สิทธิในการรับเงินสวัสดิการ ของรัฐ เช่น เงินเบี้ยผู้สูงอายุและผู้พิการ สิทธิในการรับเงิน อุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ๐ – ๖ ปี รวมทั้งบัตร สวัสดิการแห่งรัฐ ซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ชาวมานิควรได้รับ ตามที่รัฐธรรมนูญก าหนด ซึ่งถือเป็นประเด็นปัญหาส าคัญ ที่สะท้อนให้เห็นการไม่ได้รับการรับรองสถานะบุคคลใน ฐานะพลเมืองของรัฐ ส่งผลให้เป็นข้อจ ากัดในการเข้าถึง สิทธิสวัสดิการต่างๆ ที่รัฐจัดให้ ๒.๒.๓ สิทธิในด้านการศึกษา ปัจจุบัน ชาวมานิที่เข้ามารับการศึกษาในโรงเรียนมีจ านวน ไม่มากนัก อาจเนื่องจากประสบปัญหาด้านการเดินทางที่ ค่อนข้างยากล าบาก ประกอบกับสภาพปัญหาระบบ การศึกษาของไทยที่ก าหนดให้มีรูปแบบเดียวกันทั่วทั้ง ประเทศ ท าให้ชาวมานิต้องเข้าสู่ระบบโรงเรียนร่วมกับ คนพื้นราบ ซึ่ งหลักสูตรการเรียนการสอนอาจไม่ สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบชาวมานิได้นอกจากนี้ การที่ชาวมานิส่งลูกเข้าสู่ระบบการศึกษา เด็กชาวมานิมักจะ ถูกล้อเลียนจากคนพื้นราบ ท าให้ชาวมานิรู้สึกอับอาย และไม่อยากเข้าสู่ระบบโรงเรียนร่วมกับคนพื้นราบ แม้ว่า ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะมีความพยายามในการ แก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยการส่งเจ้าหน้าที่ไปสอนหนังสือ ให้กับเด็ก ๆ กลุ่มชาติพันธุ์มานิในพื้นที่แต่ก็พบอุปสรรค ในการเดินทาง เนื่องจากกลุ่มชาติพันธุ์มานิมีลักษณะวิถีชีวิต ที่มักย้ายที่อยู่ไปเรื่อย ๆ ส่งผลให้ขาดความต่อเนื่องในการ เรียนการสอน


๖ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) ๒.๒.๔ สิทธิในพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่ท ากิน ซึ่งภายหลังจากแหล่งอาหารและความอุดมสมบูรณ์ของป่า เริ่มถดถอย ท าให้ชาวมานิประสบปัญหาด้านที่อยู่อาศัย และเริ่มมีความต้องการที่ดินเพื่อสร้างที่อยู่อาศัยและสร้าง อาชีพที่มั่นคงถาวรมากขึ้น แต่ยังไม่ได้รับการจัดสรรอย่าง ทั่วถึง และเพียงพอต่อการด ารงชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ ในพื้นที่ต่าง ๆ และแม้ว่าในปัจจุบันจะพบความพยายาม ในการด าเนินการจัดสรรที่ดินเพื่อสร้างที่อยู่อาศัย การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพจากเจ้าหน้าที่เขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าแก่กลุ่มชาติพันธุ์มานิในบางพื้นที่ ขณะเดียวกันก็มี การสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลปกป้องผืนป่าร่วมกับ เจ้าหน้าที่ อาทิการก าหนดรังวัดที่ดินในพื้นที่ของชาวมานิ กลุ่มคลองตง ต าบลปะเหลียน อ าเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จ านวน ๖ แปลง โดยให้สิทธิเฉพาะกลุ่มที่ตั้งถิ่นฐานชัดเจน ตลอดจนส่งเสริมอาชีพให้ชาวมานิเรียนรู้วิธีการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ รวมทั้งให้เข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยลาดตระเวน ในการสอดส่องดูแลพื้นที่ป่าจากผู้บุกรุก แต่การให้สิทธิ ดังกล่าวเกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขที่ชาวมานิต้องพิสูจน์ให้เห็นว่า มีการอยู่อาศัยอย่างเป็นหลักแหล่งในพื้นที่ป่า การแก้ไข ปัญหาด้านที่อยู่อาศัย และพื้นที่ท ากิน จึงมีเพียงชาวมานิ บางกลุ่มเท่านั้นที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่อาศัยและท ากิน ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ หรือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฯลฯ ๓) ปัญหาการคมนาคม เนื่ องจ ำก ชุ ม ช น ช ำ ว ม ล ะ บ ริ เป็นชุมชนที่อำศัยและท ำกินอยู่ในพื้นที่ป่ำ สงวน และในเขตอุทยำนแห่งชำติเป็นส่วน ให ญ่ ป ร ะ ก อ บ กั บ พื้ น ที่ ดั ง ก ล่ ำ ว มีข้อจ ำกัดด้ำนกำรคมนำคมที่ยำกล ำบำก เป็ น อุ ป ส ร รคใน ก ำ รเดิ น ท ำงไป ยัง โรงพยำบำล โรงเรียน และไปประกอบ อำชีพ รวมถึงระบบสำธำรณูปโภค ไฟฟ้ำ ป ร ะป ำ ท ำให้ ช ำ วม ล ะบ ริบ ำงส่ วน โดยเฉพำะเด็กไม่ได้ไปโรงเรียน เช่นกรณี เด็กชำวมละบริที่อำศัยอยู่ในชุมชนหมู่บ้ำน ๓) ปัญหาการส่งเสริมอาชีพ เนื่องจำกปัจจุบันได้มีหน่วยงำนเข้ำมำส่งเสริม และให้ควำมรู้ในกำรประกอบอำชีพด้ำนกำรเกษตรให้แก่ ชำวมำนิแล้ว และยังไม่ทั่วถึงและครอบคลุมทุกพื้นที่ ท ำให้ชำวมำนิบำงส่วนต้องออกมำรับจ้ำงเก็บของป่ำ หรือรับจ้ำงอื่น ๆ ซึ่งมักถูกเอำเปรียบจำกนำยจ้ำง อย่างไรก็ดี ควรต้องมีการศึกษาและท าความ เข้าใจบริบทวิถีชีวิตวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์มานิให้ ครอบคลุม ทุกกลุ่ม ทุกพื้นที่เพื่อให้การส่งเสริมและ พัฒนาด้านอาชีพ และรายได้ของกลุ่มชาติพันธุ์ มานิด าเนินไปบนพื้นฐานของการเคารพสิทธิทาง วัฒนธรรมและการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการ


๗ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) ผ ำสุ ก ต ำบ ลภู ฟ้ ำ อ ำเภ อ บ่ อ เก ลื อ จังหวัดน่ำน ต้องเดินทำงจำกชุมชนไปยัง โรงเรียนซึ่งมีระยะทำงเดินทำงทั้งไป และกลับ ๖ กิโลเมตร ข้อเสนอแนะ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องควรปรับปรุง เส้นทำงคมนำคมเพื่อสะดวกต่อกำรสัญจร ไปมำของคนในชุมชน ห รือป รับป รุง เส้นทำงตรงจุดที่เดินทำงล ำบำก เพื่อช่วย ให้คนที่อยู่ในชุมชนเดินทำงได้สะดวก มำกขึ้น ก าหนด ออกแบบ แนวทางในการด ารงชีวิตของกลุ่ม ชาติพันธุ์มานิขณะเดียวกันในกลุ่มที่ยังมีวิถีชีวิตแบบ ดั้งเดิมก็จ ำเป็นต้องมีกำรศึกษำ ส ำรวจสถำนกำรณ์และ สภำพปัญห ำที่เผชิญ โดยเฉพ ำะข้อจ ำกัดเกี่ยวกับ กำรเข้ำถึงและใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรธรรมชำติ เพื่อให้เกิดควำมรู้ ควำมเข้ำใจต่อกำรก ำหนดแนวทำงกำร บริหำรจัดกำรและใช้ประโยชน์ในพื้นที่อนุรักษ์บนพื้นฐำน กำรเคำรพสิทธิทำงวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ภูมิปัญญำของ กลุ่ม ช ำติพั น ธุ์ให้ สอด ค ล้องต ำมเจตน ำรมณ์ ของ รัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๖๐ มำตำรำ ๗๐ ที่ระบุให้รัฐพึง ส่งเสริมและให้ควำมคุ้มครองชำวไทยกลุ่มชำติพันธุ์ต่ำง ๆ ให้มีสิทธิด ำรงชีวิตในสังคมตำมวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตดั้งเดิมตำมควำมสมัครใจได้อย่ำงสงบสุข ๔) ปัญหาการคุมก าเนิด ชำวมละบริไม่ให้ควำมส ำคัญกับ กำรวำงแผนครอบครัว บำงครอบครัว มีอัตรำเด็กที่คลอดใหม่เฉลี่ยครอบครัว ละ ๔ - ๕ คน ซึ่งเป็นจ ำนวนที่มำกเกินไป เมื่อเทียบกับจ ำนวนบุตรของคนพื้นรำบ แต่ลักษณะกำรด ำรงชีวิตของชำวมละบริ มีควำมเห็นว่ำ กำรที่มีบุตรมำกเมื่อโตขึ้น ก็จะน ำบุตรไปเป็นแรงงำนในกำรประกอบ อำชีพ ข้อเสนอแนะ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องควรท ำ ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรวำงแผนครอบครัว ร่วมกับโรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพต ำบล ในกำรสร้ำงองค์ควำมรู้เกี่ยวกับกำรดูแล สุขภำพของแม่ และกำรตั้งครรภ์ตลอดจน ก ำรเลี้ยงดูบุต รเพื่อให้เติบโตอย่ ำงมี คุณภำพในสังคมได้ ๔) ปัญหาเรื่องการปรับตัว เนื่ อ งจ า ก ช า ว ม านิมี จ าน ว น ป ร ะช า ก ร ที่ค่อนข้างน้อย และมีพื้นฐานทางวัฒนธรรมแบบหา ของป่าและล่าสัตว์ดังนั้น ป่ำที่มีอุดมสมบูรณ์จึงเป็น ปัจจัยส ำคัญที่ส่งผลต่อควำมอยู่รอดของวัฒนธรรมของ ชำวมำนิ แต่เนื่องจากปัจจุบันพื้นที่ป่าลดลงไปมาก ส่ งผลให้ก ารห าขอ งป่ าล่ าสัตว์เพี ย งอย่ างเดียว จึงไม่เพียงพอต่อสมาชิกในกลุ่มชาวมานิ ผู้น ากลุ่มจึง จ าเป็นที่จะต้องไปรับจ้างชาวบ้านบริเวณใกล้เคียง เพื่อแลกอาหารมาเลี้ยงดูสมาชิกในกลุ่ม ท าให้ชาวมานิ จ าเป็นต้องมีปฏิสัมพันธ์กับคนภายนอกมากขึ้น กว่าในอดีต จนกลายเป็นระบบการพึ่งพาอาศัยกัน ระหว่างชาวมานิกับคนภายนอก จนเกิดกำรสร้ำงเงื่อนไข ต่อรองต่ำง ๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องมีกำรเฝ้ำระวังและศึกษำ อย่ำงจริงจังต่อไป ทั้งนี้ วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปนี้ท าให้ชาวมานิเริ่ม เปลี่ยนวิถีชีวิตแบบหาของป่า ล่าสัตว์มาเป็นวิถีชีวิต แบบกึ่งสังคมเมืองและเผชิญกับความเปลี่ยนแปลง ในด้านต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว ท าให้ชาวมานิบางกลุ่มที่ไม่ ต้องการเปลี่ยนแปลงและไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับ วิถีชีวิตเหล่านี้ต้องหนีเข้าป่าลึก และบางส่วนอพยพ


๘ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) ไปอยู่ที่ประเทศมาเลเซียที่ยังมีพื้นที่ป่าอุดมสมบูรณ์อยู่ ดังนั้น ประเด็นปัญ หาด้านการป รับตัวของกลุ่ม ชาติพันธุ์มานิจึงไม่ได้มีเพียงกลุ่มชำติพันธุ์มำนิที่ต้อง เผชิญปัญหำเพียงฝ่ำยเดียว หำกแต่เป็นประเด็นปัญหำ ที่เกี่ยวข้องกับทุกคนในสังคมที่ต้องเรียนรู้และท ำควำม เข้ำใจประเด็นควำมหลำกหลำยทำงวัฒนธรรมของกลุ่ม ชำติพันธุ์ให้แพร่หลำย ภำยใต้บรรยำกำศและเงื่อนไข ทำงสังคมที่เอื้อให้ทุกคน ทุกกลุ่มชำติพันธุ์สำมำรถด ำรง อยู่ร่วมกันได้อย่ำงมีคุณค่ำและศักดิ์ศรีตำมวิถีชีวิต วัฒนธรรมดั้งเดิมที่สืบทอดกันมำ ๕) ปัญหาโภชนาการ สืบเนื่องมำจำกสุขภำวะด้ำน โภชนำกำรที่ด้อยคุณค่ำจึงท ำให้ส่งผล กระทบต่อสุขภำพของเด็กที่อยู่ในช่วง ก ำลังเจริญเติบโตมีผลต่อกำรพัฒนำกำร แต่ละด้ำนของเด็กไม่เป็นไปตำมวัย เช่น โรงเรียนภูเค็งพัฒนา ต ำบลแม่ขะนิง อ ำเภอเวียงสำ จังหวัดน่าน มีนักเรียน ๓ ชนเผ่ำเรียนร่วมกัน ได้แก่ ๑) ชำวม้ง ๒ ) ช ำ วม ล ะบ ริ แ ล ะ ๓ ) ช ำ วเมี่ ยน เมื่ อ เป รี ย บ เที ย บ กั น แ ล้ ว พ บ ว่ ำ เด็กชำวมละบริจะมีพัฒนำกำรด้ำนกำร เรียนรู้ที่ช้ำกว่ำเด็กอื่น ๆ ข้อเสนอแนะ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องควร ลงพื้นที่ให้ควำมรู้เกี่ยวกับโภชนำกำรกับ พ่ อ แ ม่ ผู้ป ก ค รอง เพื่ อให้ เด็ กได้ รับ ประทำนอำหำรที่มีประโยชน์ต่อสุขภำพ ร่ำงกำยรวมถึงยังส่งผลต่อกำรเรียน ๕) ปัญหาด้านอื่นๆ ส่ วนให ญ่ มั กเป็ นปั ญ ห าด้ าน ก า รพั ฒ น า โครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภค การคมนาคม การจัดการระบบน้ าอุปโภคบริโภค ไฟฟ้า ตลอดจน ปัญหาด้านการติดต่อสื่อสาร ระบบสัญญาณโทรศัพท์ และการใช้ภาษาที่ยังเป็นข้อจ ากัดต่อการส่งเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์มานิที่เพียงพอ อย่ำงไรก็ตำม สภำพปัญหำดังกล่ำวถือเป็นประเด็นที่มี ควำมสัมพันธ์เชื่อมโยงกับประเด็นปัญหำอื่นๆ เช่น ปัญหำ ด้ำนสิทธิพลเมือง ปัญหำกำรเข้ำถึงสิทธิสวัสดิกำร และบริกำรขั้นพื้นฐำนจำกรัฐ ปัญหำสิทธิในพื้นที่อยู่อำศัย และพื้นที่ท ำกิน เป็นต้น ดังนั้นกำรแก้ไขปัญหำย่อม ไม่สำมำรถด ำเนินกำรแบบแยกส่วนได้ หำกแต่ต้องมี กำรบู รณ ำกำรกำรด ำเนินงำนเพื่อก ำหนดทิศท ำง และแนวนโยบำยที่สอดคล้องเหมำะสมกับบริบท กำรด ำรงชีวิตและวิถีวัฒนธรรมของกลุ่มชำติพันธุ์ โดยให้ควำมส ำคัญต่อกำรเคำรพในคุณค่ำและศักดิ์ศรี ต ลอ ด จน สิท ธิท ำงวัฒ น ธ รรม ของก ลุ่ม ช ำติพั น ธุ์ เป็นสิ่งส ำคัญพื้นฐำน


๙ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) ๖. ปัญหาสัญชาติ เนื่องจากชาวมละบริ และชาวมานิ มีวิถีชีวิตที่คล้ายกัน เพราะว่ามีการ เคลื่อนย้ายการตั้งถิ่นฐานอยู่เป็นประจ า จึงท าให้การพิสูจน์สัญชาติอาจจะติดขัด อยู่บ้าง เช่นกลุ่มชาวมละบริไม่ได้มีการ ตั้ง ถิ่ น ฐ า น ห ลั ก แ ห ล่งที่ แ น่ น อ น แต่ชาวมานิในพื้นที่จังหวัดสตูลมีการตั้ง ถิ่น ฐานเป็นหลักแหล่งและแน่นอน ก็สามารถที่จะด าเนินการขอสัญชาติ ได้ ปัจจุบันพบว่า กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ ในพื้นที่จังหวัดน่านบางส่วนที่ยังมีการ เคลื่อนย้ายการตั้งถิ่นฐานจากพื้นที่ ภาคเหนือแถบตะวันออกไปยังแขวงไชย บุรี ประเทศลาว ซึ่งกลุ่มชาติพันธุ์มละบริ ในส่วนนี้พบว่ามีข้อจ ากัดในการพิสูจน์ สัญชาติ จึงไม่สามารถที่จะด าเนินการขอ สั ญ ช า ติ ไ ด้ ( ข้ อ มู ล จ า ก ศู น ย์ มานุษยวิทยา) ข้อเสนอแนะ หน่ วยงำนที่เกี่ยวข้องค วรเร่ง ส ำรวจข้อมูลกลุ่มชำติพันธุ์มละบริ เพื่อให้ ได้รับกำรรับรองสถำนะกำรได้สัญชำติของ รัฐที่ถูกต้องตำมกฎหมำย น ำไปสู่กำร เข้ำถึงสิทธิและสวัสดิกำร ในด้ำนต่ำง ๆ อย่ำงเท่ำเทียมทั่วถึง


๑๐ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) ๗. ปัญหาการส่งเสริมภูมิปัญญา และการรักษาอัตลักษณ์ ดั้งเดิมของ ชุมชน ในอดีตที่ผ่ำนมำชำวมละบริอำศัยและ ด ำรงชีพอยู่ในป่ำ แต่ปัจจุบันวิถีชีวิตของ ชำวมละบริได้เคลื่อนย้ำยจำกที่อยู่เดิม แ ล ะ ม ำ อ ำ ศั ย อ ยู่ ใน พื้ น ที่ ชุ ม ช น ซึ่งมี ลั กษ ณ ะเป็ นที่ ตั้งถ ำว ร ได้ แ ก่ ๑) ชุมชนห้วยหยวก อ ำเภอเวียงสำ จังหวัดน่ำน ๒) ชุมชนห้วยลู่ อ ำเภอเมือง จังห วั ด น่ ำน ๓ ) ศู น ย์ ภู ฟ้ ำพั ฒ น ำ จังหวัดน่ำน ๔) ชุมชนท่ำวะ หย่อมบ้ำน ท่ำวะ อ ำเภอสอง จังหวัดแพร่ จึงท ำให้ วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป กำรด ำเนินชีวิต เด็กและเยำวชนส่วนหนึ่งถูกกลืนด้วย วั ฒ น ธ ร ร ม ส มั ย ให ม่ แล ะ ห ลง ลื ม วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ดั้งเดิม ของตนเอง ข้อเสนอแนะ หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องควร ร่วมกันอนุรักษ์และฟื้นฟูภำษำและวิถี วัฒนธรรมอันเป็นอัตลักษณ์ของกลุ่มชำติ พั น ธุ์ แ ต่ ล ะพื้ น ที่ โด ย เฉพ ำ ะภ ำษ ำ ที่ประสบภำวะวิกฤตใกล้สูญหำยเพื่อ สร้ำงควำมเข้มแข็งทำงวัฒนธรรมและ ถ่ำยทอดสู่เยำวชนรุ่นใหม่ให้สืบทอด มรดกทำงวัฒนธรรมที่มีควำมแตกต่ำงกัน ในแต่ละพื้นที่ให้คงอยู่สืบไปมิให้สูญ หำยไป


๑๑ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) ข้อเสนอแนะ ๑) หน่วยงานควรก าหนดแนวทางในการ ปฏิบัติงานเพื่อแก้ไขปัญหา ให้ความช่วยเหลือและ พัฒนากลุ่มชาติพันธุ์มานิที่ชัดเจนและเป็นระบบ โดยอาศัยการประสานความร่วมมือกันของทุกภาคส่วน ของสังคม ดังนี้ ๑.๑ การส ารวจและจัดเก็บข้อมูลประชากร วิถีชีวิต วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ความเป็นมา ของกลุ่มชาติพันธุ์มานิโดยการออกแบบแนวทางในการ ส ารวจข้อมูลประชากรในแต่ละพื้นที่ โดยพิจารณ า ตามขอบเขตพื้นที่การปกครองท้องที่ (ต าบล, อ าเภอ, จังหวัด) โดยประสานความร่วมมือกับกรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช กรมป่าไม้ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นหน่วยงาน ก ากับ บริหารและดูแลพื้นที่ป่าไม้ ซึ่งจะช่วยให้การส ารวจ และรวบรวมข้อมูลประชากรมานิที่ครอบคลุมและมีความ เข้าใจในวิถีชีวิตของแต่ละกลุ่มในแต่พื้นที่มากยิ่งขึ้น เพื่อน าไปสู่การพิสูจน์สถานะบุคคลและให้สัญชาติ อย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ ยังเพื่อให้ง่ายต่อการจัดท า แผนและแนวทางการให้ความช่วยเหลือและการส่งเสริม ให้ชาวมานิสามารถเข้าถึงสิทธิที่พึงได้รับ ๑.๒ ควรก าหนดหน่วยงานที่ดูแลกลุ่มบุคคล ดังกล่าวอย่างชัดเจน เช่น ปัญหาด้านสุขภาพอนามัย การขาดแคลนน้ าเพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภค การสร้าง ระบบสาธารณูปโภค เป็นต้น เพื่อให้ง่ายต่อการติดต่อ และประสานความร่วมมือกัน รวมทั้งก าหนดให้มี หน่วยงานหลักเพื่อท าหน้าที่ในการพัฒนาระบบการให้ ความช่วยเหลือ เช่น - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีหน้ าที่ในการจัดการที่อยู่อาศัยและการด ารงชีพ เนื่ องจ ากกลุ่ม ช าวม านิ บ างกลุ่มที่ ยังคงมี วิถีชี วิต และวัฒนธรรมแบบหาของป่าและล่าสัตว์ดั้งเดิมต้องอาศัย ความสมบูรณ์ของพื้นที่ป่าในการด ารงชีวิต ตลอดจน การช่วยเหลือจ้างงานให้เป็นพนักงานอนุรักษ์และดูแล


๑๒ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าในพื้นที่ - กระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่ในการพัฒนาระบบ การแก้ไขปัญหาสถานะบุคคลในลักษณะของ one stop service โดยให้ภาคเอกชนและ ภาควิชาการเข้ามา มีส่วนร่วมในขั้นตอนต่าง ๆ อย่างเหมาะสมและเป็นระบบ ๑.๓ แต่งตั้งคณะท างานที่มีองค์ประกอบของ นั กวิช าก า รห รือผู้ที่ มี ค ว าม รู้ ค ว ามเข้ าใจแล ะ ประสบการณ์ด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา โดยเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์เข้ามาร่วม ด าเนิ น ก า รส า ร ว จ แ ล ะ เก็ บ ร วบ ร ว ม ข้ อ มู ล ก ลุ่ ม ชาติพันธุ์มานิด้วย เพื่อให้มีมุมมองต่อการท าความเข้าใจ วิถีชีวิต วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์มานิให้ครบถ้วน ๒) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษาเพื่อท า ความเข้าใจในวิถีชีวิตวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์มานิ ด้วยวิธีการทางมานุษยวิทยาเพื่อน าไปสู่การก าหนด แนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหาให้ความช่วยเหลือ และพัฒนากลุ่มชาติพันธุ์มานิได้อย่างถูกต้องและ สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน เนื่องจากปัจจุบันวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์มานิใน แต่กลุ่ม แต่ละพื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตไปจากเดิม ดังนั้น จึงควรก าหนดให้มีหน่วยงานก ากับดูแลกลุ่มชาติ พันธุ์มานิอย่างเป็นระบบ เพื่อท าหน้าที่แก้ไขปัญหา พัฒนาคุณภาพชีวิต ติดต่อประสาน ตลอดจนให้ข้อเสนอ เชิงนโยบ ายต่อการขับเคลื่อนการด าเนินงาน โดย ด าเนินงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็น หน่วยงานในระดับพื้นที่มีความใกล้ชิดและเข้าใจในวิถี ชีวิต วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ ทั้งนี้ เพื่อให้ สามารถก าหนดทิศทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต สภาพปัญหาและความต้องการของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ ได้อย่างแท้จริง ๓) ควรส่งเสริมและสนับสนุนการปกป้อง คุ้มครอ งแล ะส่ งเส ริมวิถีชีวิตกลุ่มช าติพันธุ์มานิ ตามกรอบกฎหมายร่างพระราชบัญญัติคุ้มครอง และส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์


๑๓ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) กล่าวคือ ปัจจุบันศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานหลักในการจัดท าร่าง พระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ ซึ่งเป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนปฏิรูปประเทศ ด้านสังคม ที่มุ่งเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และลดความเหลื่อมล้ าทางสังคม โดยเฉพาะในกลุ่มชาติ พันธุ์ที่ประสบปัญหาด้านสิทธิ การถูกเอารัดเอาเปรียบ ตลอดจนการสูญเสียอัตลักษณ์ความภาคภูมิใจในวิถีชีวิต วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลายในสังคม ซึ่งกลุ่มชาติพันธุ์มานิถือเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งในประเทศ ไทยที่มีวิถีชีวิต วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ที่โดดเด่นเฉพาะ ขณะเดียวกันยังเป็นกลุ่มที่อยู่ในสภาวะเปราะบางเสี่ยง ต่อการสูญเสียอัตลักษณ์และวัฒนธรรมทั้งในด้านการใช้ ภาษา วิถีการด ารงชีวิต ภูมิปัญญา เนื่องจากเงื่อนไข การเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลมาจากกระบวนการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ที่กลายเป็นเงื่อนไขผลักดัน ให้กลุ่มชาติพันธุ์มานิต้องออกจากป่า ปรับเปลี่ยนวิถีการ ด ารงชีวิต มีปฏิสัมพันธ์กับสังคม ชุมชนภายนอกมากขึ้น ดังนั้นเพื่อเป็นการคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่ม ชาติพันธุ์มานิ การจัดท าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวจึง เป็นส่วนส าคัญที่จะช่วยให้กลุ่มชาติพันธุ์มานิสามารถ ด ารงชีวิตอยู่ได้ตามวิถีดั้งเดิมหรือสามารถมีส่วนร่วมใน การออกแบบกระบวนการพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่ส่งผล กระทบต่อการด ารงชีวิตภายใต้หลักการคุ้มครองสิทธิทาง วัฒนธรรม และส่งเสริมศักยภาพให้สามารถจัดการตนเอง บนฐานวัฒนธรรม ภูมิปัญญาดั้งเดิมของตน ซึ่งจะน าไปสู่ การสร้างความเสมอภาคและลดความเหลื่อมล้ าทางสังคม ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจในวิถีชีวิต วัฒนธรรมบน พื้นฐานการเคารพและเข้าใจในความแตกต่างหลากหลาย ท างวัฒ น ธรรมของกลุ่มชาติพัน ธุ์ในสังคม ดังนั้น การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์มานิ จึงอาจเป็น เพียงการคอยดูแลให้ได้รับสิทธิต่าง ๆ ตามที่ควรได้รับ เช่น โครงการสวัสดิการต่าง ๆ ของรัฐบาล รวมทั้ง การส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรเพื่อให้มีรายได้ยังชีพ


๑๔ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) เนื่องจากแหล่งอาหารของป่าลดลง เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ สามารถคงวัฒนธรรมดั้งเดิมไว้นอกจากนี้ ยังควรก าหนด มาตรการควบคุมจ านวนสิ่งของที่บุคคลภายนอกน ามา มอบให้ รวมถึงก าหนดจ านวนบุคคลที่เดินทางเข้าไป ในพื้นที่ เพื่อมิให้กระทบต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของกลุ่ม และเป็นการท าลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๔) การจัดท าแผนที่ชุมชน เพื่อจัดสรรพื้นที่ส าหรับอยู่อาศัยและที่ดินท ากินให้กับ กลุ่มชาติพันธุ์มานิทุกกลุ่มที่กระจายอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ ซึ่งมีรูปแบบวิถีการด ารงชีวิตที่แตกต่างกันอย่างถาวร ทั้งนี้ เพื่อแก้ไขปัญหาของชาวมานิที่ประสบปัญหาด้านพื้นที่ท า กินที่ไม่เพียงพอกับจ านวนประชากรที่มีอัตราการขยายตัว เพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ควรค านึงถึงสิทธิในการเลือก ป รับ ตั วเข้ ากับ สภ าพ แ วด ล้อมภ ายใต้บ ริบท ก า ร เปลี่ยนแปลงด้วยความสมัครใจ เพื่อมิให้เกิดความขัดแย้ง ตามมา นอกจากนี้ ยังควรเห็นความส าคัญกับการอนุรักษ์ ผืนป่า ซึ่งเป็นพื้นที่อยู่และยังชีพของมานิเป็นส าคัญ โดย ออกมาตรการควบคุมการบุกรุกป่าอย่างจริงจัง จากคน ภายนอก นายทุน ควบคุมการขยายพื้นที่พืชเศรษฐกิจ ยางพารา และปาล์มน้ ามัน เป็นต้น เพราะท าให้ความ สมดุลของธรรมชาติหายไป รวมทั้งแหล่งยังชีพลดลง ทั้งนี้ การส ารวจ ศึกษา และจัดท าแผนที่ชุมชน เพื่อแสดงให้ เห็นถึงพื้นที่การด ารงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ จึงถือเป็น แน วท างส าคัญ ซึ่งจ ะเป็นพื้ น ฐ าน ต่อก ารก าหน ด แนวนโยบายและหลักปฏิบัติเพื่อการคุ้มครองและส่งเสริม วิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ที่สอดคล้อง เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ วัฒนธรรม วิถีชีวิตและรูปแบบการด ารงชีวิตในปัจจุบัน ของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ เพื่อให้กลุ่มชาติพันธุ์มานิสามารถ


๑๕ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) ด าเนินชีวิต และประกอบอาชีพที่สร้างรายได้อย่างยั่งยืน ๕) การส่งเสริมด้านความมั่นคงในการด ารงชีพ ที่อยู่อาศัย แหล่งอาหาร สิทธิด้านสวัสดิการอื่น ๆ ที่พึง ได้รับจากรัฐ โดยไม่ขัดต่อวิถีชีวิตหรือภูมิปัญญาของ กลุ่มชาติพันธุ์มานิ เนื่องจากการช่วยเหลือด้านสถานะทางทะเบียนราษฎรท า ให้มีกฎหมายและข้อก าหนดต่าง ๆ เข้ามาควบคุมตามมา เช่น ด้านการศึกษาที่จะถูกน าไปก าหนดใช้กับกลุ่มชาติ พันธุ์มานิ หรือการแก้ไขปัญหาเรื่องการจัดการน้ า ซึ่งชาว มานิบางกลุ่มยังไม่มีความรู้เรื่องการบริหารจัดการน้ า ดังนั้น จึงควรส่งเสริมให้ชุมชนร่วมจัดการระบบน้ ากินและ น้ าใช้กับกลุ่มชาวมานิเพื่อสร้างสุขอนามัยให้เกิดขึ้นใน ชุมชน ดังนั้น ควรต้องออกแบบการศึกษาในลักษณะของ การศึกษาตามอัธยาศัยให้สอดคล้องกับการด าเนินชีวิต ของชาวมานิและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงภายนอกด้วย อีกทั้งยังควรกระจายอ านาจการบริหารจัดการทรัพยากร ไปสู่ท้องถิ่นและเครือข่ายภาคประชาสังคมที่มีความ ใกล้ชิด เพื่ อลดภ าระของหน่ วยงาน รัฐส่วนกล าง ขณะเดียวกันยังเป็นส่วนส าคัญที่จะช่วยส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพให้ท้องถิ่นสามารถดูแลและบริหารจัดการ ทรัพยากรเพื่อประชาชนทุกกลุ่มได้อย่างแท้จริง ๖) ควรถอดบทเรียนการท างานของแต่ละหน่วยงาน โดยพิจารณาเลือกใช้โมเดลของจังหวัดใดจังหวัดหนึ่งที่ ประสบความส าเร็จมาใช้เป็นต้นแบบและขยายไปยัง จังหวัดอื่น อย่างไรก็ตาม ไม่ควรน าโมเดลมาใช้ในทุกพื้นที่ เนื่องจากการด ารงชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์มานิมีความ แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ ดังนั้น การค้นหาโมเดลต้นแบบ จึงควรเป็นไปเพื่อค้นหาเงื่อนไขความส าเร็จ ปัญหา อุปสรรค การแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่ม ชาติพันธุ์มานิ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการน าไปประยุกต์ใช้ ให้สอดคล้องตามบริบทพื้นที่และสภาพปัญหาที่ปรากฏ ๗) ควรก าหนดให้เรื่องสิทธิมนุษยชนเป็นวาระแห่งชาติ ซึ่งเป็ น ไป ต า ม ส น ธิ สั ญ ญ า ด้ า น สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น


๑๖ ข้อเสนอแนะ กลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลือง) กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) (เรื่องคุณภาพชีวิต) และอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการ เลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (กลุ่มเปราะบาง) เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ให้ด ารงวิถีไว้ให้ได้ ไม่เลือก ปฏิบัติ โดยรัฐต้องส่งเสริมคุ้มครองสิทธิอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ควรต้องระบุให้ประเด็นที่เกี่ยวข้องกลุ่มชาติพันธุ์ให้ เป็นส่วนหนึ่งของการด าเนินงานเพื่อการคุ้มครองและ ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน เนื่องจากกลุ่มชาติพันธุ์ถือเป็นกลุ่ม คนที่มักถูกละเมิดสิทธิทางวัฒนธรรม เอารัดเอาเปรียบ จากกระบวนการพัฒนาและการประกาศใช้กฎหมายและ แนวนโยบายที่ไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ทั้งนี้ เพื่อเน้นย้ าให้รัฐบาลและสังคมได้ตระหนักและเห็น ความส าคัญ ต่อการเคารพและยอมรับในสิทธิทาง วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ ๘) การสร้างความเข้าใจ ปรับทัศนคติ และความเชื่อ ตลอดจนสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างคนพื้นราบกับกลุ่ม ชาติพันธุ์มานิเพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันได้ เพื่อลดปัญหาเรื่องอคติทางชาติพันธุ์ซึ่งเกิดมา เป็นระยะเวลานาน รวมทั้งส่งเสริมให้กลุ่มชาติพันธุ์มานิได้ มีโอกาสแสดงความคิดเห็นเพื่อน าไปสู่การสร้างเสริม คุณภาพชีวิตที่สอดคล้องกับความต้องการและปัญหา ของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ ดังนั้น การพัฒนากระบวนการ เรียนรู้เพื่อสร้างความเข้าใจและยอมรับความแตกต่าง ห ล า ก ห ล า ย ท าง วั ฒ น ธ ร ร ม ข องก ลุ่ ม ช า ติ พั น ธุ์ จึงจ าเป็นต้องมีการศึกษาและส ารวจสถานการณ์ปัญหาที่ เกิดขึ้นจริงในแต่ละพื้นที่ ขณะเดียวกันการก าหนดกรอบ นโยบายและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ควรมุ่งส่งเสริมและ สนับสนุนให้เกิดการคุ้มครองสิทธิกลุ่มชาติพันธุ์ ตลอดจน การสร้างโอกาสและพื้นที่ของการมีส่วนร่วมระหว่างกลุ่ม ชาติพันธุ์ ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน ภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชน ตลอดจนเครือข่ายภาค ประชาสังคมที่เกี่ยวข้อง แก้ไขปัญหา จำกนั้น ที่ประชุมได้แสดงควำมคิดอย่ำงกว้ำงขวำง สรุปได้ดังนี้


๑๗ ล ำดับแรก นายวัลลภ ตังคณ านุรักษ์ ประธำนคณ ะอนุกรรมำธิกำร ได้ให้ ค ว ำมเห็ น ว่ ำ ข้อเสน อ แน ะบ ำงป ระเด็น มี ลักษณ ะที่ไม่ สอ ดค ล้องกัน จึงเห็ น ค ว ร ให้ฝ่ำยเลขำนุกำรน ำข้อเสนอแนะที่มีลักษณะเหมือนกันและน ำมำเปรียบเทียบ เช่น ปัญหาที่อยู่อาศัย และที่ดินท ากิน ควรเขียนข้อเสนอแนะเช่นเดียวกับรำยงำนกำรพิจำรณำศึกษำ เรื่อง กำรพัฒนำ คุณภำพชีวิตของกลุ่มชำติพันธุ์มำนิ (ซำไก) ว่ำ “หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องควรให้ชำวมละบริมีพื้นที่ดิน ท ำกินที่เพียงพอต่อกำรเลี้ยงดูครอบครัว และค ำนึงถึงกำรกระจำยอยู่ในพื้นที่ต่ำง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหำ ด้ำนที่อยู่อำศัยและพื้นที่ท ำกินที่ไม่เพียงพอกับจ ำนวนประชำกรที่มีอัตรำกำรขยำยตัวเพิ่มขึ้น ซึ่งมีเพียง ชำวมละบริบำงกลุ่มเท่ำนั้นที่ได้รับกำรผ่อนผันให้อยู่อำศัยและท ำกินในพื้นที่เขตอุทยำนแห่งชำติ หรือเขตพื้นที่ป่ำสงวนแห่งชำติ” จากนั้น นางเพชรรัตน์ มหาสิงห์อนุกรรมาธิการและผู้ช่วยเลขานุการ ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า รายงานทั้ง 2 ฉบับ มีข้อเสนอแนะที่เหมือนกัน ได้แก่ ปัญหาที่อยู่อาศัยและที่ดิน ท ากิน 2) ปัญหาสัญชาติ และ 3) ปัญหาการส่งเสริมภูมิปัญญาและการรักษาอัตลักษณ์ดั้งเดิม ของชุมชน จากข้อมูลดังกล่าวจะพบ ว่า ปัญ ห าด้านก ารเข้ าถึงสิท ธิขั้นพื้น ฐาน เรื่อง สิทธิในพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่ท ากิน เป็นข้อเสนอแนะที่มีลักษณะคล้ายกันกับรายงานฉบับนี้ แต่จะมีความแตกต่างกันเกี่ยวกับพื้นที่ในการท ากิน เช่น ปัญหาที่อยู่อาศัยและที่ดินท ากิน ในจังหวัดแพร่ จะพบว่าชาวมละบริที่อาศัยอยู่ ณ บ้านท่าวะ ต าบลสะเอียบ อ าเภอสอง จังหวัดแพร่ ไม่มีที่อยู่อาศัยและที่ดินท ากินเป็นของตนเอง ปัจจุบันอาศัยอยู่ในพื้นที่ของคนอื่นในชุมชนบ้านท่าวะ และขาดแคลนสิ่งอ านวยความสะดวกในการด าเนินชีวิต ส่วนชาวมละบริบ้านบุญยืน ต าบลบ้านเวียง อ าเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ แม้ว่าจะมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง แต่ไม่มีที่ดินท ากินเป็นของตนเอง จ าเป็นต้องเช่าที่ดินของชาวม้งในหมู่บ้านใกล้เคียงเพื่อท าอาชีพเกษตรกรรม ส่วนจังหวัดน่านชำวมละบริ ที่อำศัยอยู่ในจังหวัดน่ำน ส่วนใหญ่จะอำศัยอยู่ในพื้นที่ป่ำสงวนและภำยในเขตอุทยำนแห่งชำติ เช่น ๑) ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา หมู่ที่ ๓ ต าบลภูฟ้า อ าเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน อยู่ในพื้นที่ของโครงกำรฟื้นฟู และพัฒนำป่ำไม้บ้ำนท่ำวะตำมพระรำชด ำริสมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพ รัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ๒) บ้านห้วยลู่ หมู่ที่ ๕ ต าบลสะเนียน อ าเภอเมือง จังหวัดน่าน อยู่ในพื้นที่ของโครงกำรฟื้นฟู และพัฒนำป่ำไม้บ้ำนท่ำวะตำมพระรำชด ำริสมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี และ ๓) บ้านห้วยหยวก หมู่ที่ ๖ ต าบลแม่ขะนิง อ าเภอเวียงสา จังหวัดน่าน อยู่ในเขตพื้นที่ป่ำสงวนแห่งชำติ และอำศัยอยู่ร่วมกับ ชำวม้ง ซึ่งพบปัญหำเรื่อง สิทธิในที่ดินท ำกิน เนื่องจำกมีชำวมละบริอำศัยอยู่เป็นจ ำนวนมำกบำงคน ประกอบอำชีพรับจ้ำงเป็นแรงงำนให้กับนำยจ้ำงที่เป็นคนพื้นรำบถูกเอำรัดเอำเปรียบค่ำแรง โดยได้ค่ำแรงขั้นต่ ำไม่ถึง ๓๐๐ บำท ต่อวัน บำงคนถูกจ้ำงเหมำเป็นรำยปี หรือท ำงำนเพื่อแลกกับ รถจักรยำนยนต์ ดังนั้น ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาที่อยู่อาศัยและที่ดินท ากิน คือ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องควรให้ชาวมละบริได้รับกรรมสิทธิ์ในการครอบครองที่ดินท ากินที่กระจายอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ อย่างถูกต้อง เพื่อแก้ไขปัญหาด้านพื้นที่ท ากินที่ไม่เพียงพอกับจ านวนประชากรที่มีอัตราการขยายตัว เพิ่มขึ้น และควรค านึงถึงสิทธิในการเลือกปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลง ด้วยความสมัครใจ เพื่อมิให้เกิดความขัดแย้งตามมา


๑๘ ต่อม า น ายวัลลภ ตั งคณ านุ รักษ์ ป ระ ธ าน คณ ะอนุ ก รรม าธิก าร ได้ให้ความเห็นว่า ข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในที่ดินเป็นปัญหาข้อกฎหมาย เนื่องจากที่ดิน ดังกล่าวเป็นที่ดินที่ผิดกฎหมาย จึงเห็นควรแก้ไขถ้อยค าว่า “หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ชาวมละบริ มีที่ดินท ากินที่กระจายอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ อย่างถูกต้อง เพื่อแก้ไขปัญหาด้านพื้นที่ท ากินที่ไม่เพียงพอ กับจ านวนประชากรที่มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น และควรค านึงถึงสิทธิในการเลือกปรับตัว เข้ากับสภาพแวดล้อมภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลงด้วยความสมัครใจ เพื่อมิให้เกิดความขัดแย้ง ตามมา” ถัดมา นางเพชรรัตน์ มหาสิงห์ อนุ ก รรม าธิก ารแล ะผู้ ช่ วยเล ข านุ ก า ร ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า ส าหรับปัญหาสิทธิในพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่ท ากินของรายงานการพิจารณา ศึกษา เรื่อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ (ซาไก) จะพบว่าปัญหาของชาวมานิ (ซาไก) คือ ภายหลังจากแหล่งอาหารและความอุดมสมบูรณ์ของป่าเริ่มถดถอยท าให้ชาวมานิประสบปัญหา ด้านที่อยู่อาศัย และเริ่มมีความต้องการที่ดินเพื่อสร้างที่อยู่อาศัยและสร้างอาชีพที่มั่นคงถาวรมากขึ้น แต่ยังไม่ได้รับการจัดสรรอย่างทั่วถึง การแก้ไขปัญหาด้านที่อยู่อาศัย และพื้นที่ท ากิน จึงมีเพียงชาวมานิ บางกลุ่มเท่านั้นที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่อาศัยและท ากินในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ หรือเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่า จากประเด็นข้างต้น นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ประธานคณะอนุกรรมาธิการ ได้ให้ความเห็นว่า การแก้ไขปัญหาด้านที่อยู่อาศัย และพื้นที่ท ากิน จึงมีเพียงชาวมานิบางกลุ่มเท่านั้น ที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่อาศัยและท ากินในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ หรือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เป็นข้อเสนอที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาของชาวมละบริ จึงเห็นควรน าประเด็นนี้น าไปเขียนไว้ ในรายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์มละบริ (ผีตองเหลืง) จากนั้น นางเพชรรัตน์ มหาสิงห์อนุ ก รรม าธิก ารแล ะผู้ ช่ วยเล ข านุ ก า ร ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า ส าหรับข้อเสนอแนะของรายงานฉบับนี้ที่มีลักษณะคล้ายกัน คือ 1) ปัญหา การส่งเสริมอาชีพ (มานิ) และปัญหาการส่งเสริมภูมิปัญญาและการรักษาอัตลักษณ์ดั้งเดิมของชุมชน (มละบริ) และ 2) ปัญหาด้านสัญชาติ จากประเด็นข้างต้น นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ประธานคณะอนุกรรมาธิการ ได้ให้ความเห็นว่า เห็นควรน าข้อเสนอแนะด้านปัญหาการส่งเสริมอาชีพ และปัญหาด้านสัญชาติ (มานิ) มาเขียนไว้ในรายงานฉบับนี้เพื่อให้สอดคล้องกัน มติที่ประชุม : ที่ประชุมรับทราบและมอบหมายฝ่ายเลขานุการจัดท าประเด็น ข้อเสนอแนะที่มีลักษณะคล้ายกันและน ามาเปรียบเทียบเพื่อน ามาเสนอต่อที่ประชุมครั้งถัดไป ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องอื่น ๆ ที่ป ระชุมมีมติให้นัดป ระชุมคณ ะอนุกรรมาธิการครั้งต่อไป ในวันจันท ร์ที่ 23 มกราคม ๒๕๖6 เวลา 11.00 นาฬิกา (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์) เมื่อได้เวลาอันพอสมควรแล้ว น ายวัลลภ ตั งคณ านุ รักษ์ ป ระธานคณ ะ อนุกรรมาธิการ ได้กล่าวขอบคุณอนุกรรมาธิการและผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน และปิดการประชุม เลิกประชุมเวลา 10.00 นาฬิกา


๑๙ นายปิยะพงษ์ น้อยเจริญ นักวิชาการสนับสนุนงานวิชาการ ผู้จดบันทึกการประชุม นางสาวภิรมย์ นิลทัพ นิติกรเชี่ยวชาญ ปฏิบัติหน้าที่ก ากับดูแลการปฏิบัติราชการ ของกลุ่มงานคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมฯ/ทาน วันพุธที่ 18 มกราคม ๒๕๖๖


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.