วิจัยทดลอง -ประเด็นท้าทาย 30 ก.ย.65 - Copy Flipbook PDF

วิจัยทดลอง -ประเด็นท้าทาย 30 ก.ย.65 - Copy

9 downloads 104 Views 5MB Size

Recommend Stories


Electronic copy available at:
2.....................................................................................................................................................

ISSN Advance copy
ISSN 2070-6987 Advance copy FAO Fisheries and Aquaculture Report No. 1137 FAO, Informe de Pesca y Acuicultura No 1137 SLC/FIRF R1137 (Bi) WESTERN

SAMPLE COPY EO7406B Copyright COMPANY
DB46?4 4  ;1_      #    5# A9B BA9 BOA9  7 E 4% 6

Story Transcript

1

จัดทำโดย นำยนำวี ยืนนำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนกลำโหมอุทิศ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำนนทบุรี เขต 1

2

คำนำ ชุ ด กิ จ กรรมวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี เรื่ อ ง ไฟฟ้ า พารอบรู้ สำหรั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 3 จัดทำขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือที่ใช้ศึกษาวิจัยในชั้นเรียนและประเด็นท้าทายการ พัฒนางานตามข้อตกลง ซึ่งดำเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนกลาโหมอุทิศ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร แหล่งกำเนิดไฟฟ้ามาจากที่ไหน มีแหล่งกำเนิดใดบ้าง เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านและการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่น ๆ รวมถึงหลักการ ใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย เพื่อให้นักเรียนได้มีอิสระในการศึกษาและสืบค้นข้อมูล โดยมี ครูเป็นผู้ควบคุม สนับสนุน ชี้แนะและจัดกิจกรรมการสอนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีกิจกรรมให้ นักเรียนได้มีส่วนร่วมปฏิบัติเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้หนักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้และ ทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ ประสบการณ์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงเจตคติ ทางวิทยาศาสตร์ ชุ ด กิ จ กรรมวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี เรื่ อ ง ไฟฟ้ า พารอบรู้ สำหรั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 3 เล่มนี้ใช้สำหรับประกอบการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง พลังงานบน โลกของเรา ซึ่งภายในชุดกิจกรรมประกอบด้วยเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ คำถามท้ายกิจกรรม ใบ ความรู้ เกร็ดน่ารู้ ซึ่งแบ่งกิจกรรมออกเป็น 4 ชุดกิจกรรม ได้แก่ ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง แหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตไฟฟ้ามีอะไรบ้าง ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเรา ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ใช้ไฟฟ้าอย่างไรให้ประหยัดและปลอดภัย ผู้สอนหวังหวังเป็นอย่างยิ่งว่า นักเรียนและผู้ที่สนใจในชุดกิจกรรมเล่มนี้จะได้รับความรู้ ความเข้าใจตามเนื้อหาสาระที่นำเสนอ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจำวันได้ รวมถึงนำไปใช้ประกอบการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นาวี ยืนนาน ครู โรงเรียนกลาโหมอุทิศ

3

คำชี้แจง

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเล่มนี้ นักเรียนจะได้ศึกษาเกี่ยวกับ เรื่อง ไฟฟ้าใน บ้านเรา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และประโยชน์ นักเรียนควร ปฎิบัติตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน 2. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อจะได้ทราบว่าหลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรมนี้ แล้วนักเรียนจะสามารถเรียนรู้และเข้าใจในเรื่องอะไรบ้าง 3. ปฎิบัติตามชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยเริ่มตั้งแต่ชุดกิจกรรมที่ 1 ถึงชุด กิจกรรมที่ 4 4. หลังจากทำกิจกรรมในแต่ละชุดเสร็จแล้วให้นักเรียน ตรวจสอบแความเข้าใจโดย การตอบคำถามในหัวข้อ คำถามท้ายกิจกรรม

4

สำรบัญ เรื่อง

หน้า

ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร...............................................................................1 คำชี้แจง การใช้ชุดกิจกรรมที่ 1 ........................................................................................2 ใบความรู้ ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่าง..........................................................................................3 กิจกรรมที่ 1 ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร..................................................................................7 ใบบันทึกกิจกรรมที่ 1 ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร...................................................................8 ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง แหล่งพลังงานใช้ผลิตไฟฟ้ามีอะไรบ้าง...................................................10 คำชี้แจง การใช้ชุดกิจกรรมที่ 2.......................................................................................11 ใบความรู้ แหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตไฟฟ้ามีอะไรบ้าง..........................................................12 กิจกรรมที่ 2 ไฟฟ้ามาจาก……………………………………………............................................16 ใบบันทึกกิจกรรมที่ 2 ไฟฟ้ามาจาก……………………………………………..............................17 ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเรา........................................................................19 คำชี้แจง การใช้ชุดกิจกรรมที่..........................................................................................20 ใบความรู้ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเรา................................................................................21 กิจกรรมที่ 3 มารู้จักเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเรากันเถอะ!!.................................................26 ใบบันทึกกิจกรรมที่ 3 เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเรา.............................................................27 ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ใช้ไฟฟ้าอย่างไรให้ประหยัดและปลอดภัย..............................................29 คำชี้แจง การใช้ชุดกิจกรรมที่ 4......................................................................................30 ใบความรู้ ใช้ไฟฟ้าอย่างไรให้ประหยัดและปลอดภัย......................................................31 กิจกรรมที่ 4 มาใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัยด้วยกันนะ!!..................................39 ใบบันทึกกิจกรรมที่ 4 ใช้ไฟฟ้าอย่างไรให้ประหยัดและปลอดภัย .................................40 เอกสารอ้างอิง..........................................................................................................................42

5

ไฟฟ้ำเกิดขึ้น ได้อย่ำงไร สมำชิกในกลุ่ม

1. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 2. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 3. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 4. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 5. ชื่อ.................................................... นามสกุ ล.....................................................เลขที่....................... 6. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่.......................

6

คำชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรม ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร ใช้เวลาในการเรียนรู้ จำนวน 1 คาบ 50 นาที ประกอบด้วย 1 กิจกรรม คือ

กิจกรรม การเกิดของกระแสไฟฟ้า จุดประสงค์ นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดของกระแสไฟฟ้าได้ ขั้นตอนการปฎิบตั ิ

2.

ศึกษาคำชี้แจงในชุดกิจกรรม ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ของชุดกิจกรรม

3.

ศึกษาใบความรู้ของชุดกิจกรรมให้เข้าใจ

4.

ปฎิบัติกจิ กรรม โดยศึกษาตามลำดับขั้นตอนที่ระบุไว้ ตอบคำถามท้ายกิจกรรม

1.

5.

7

ทรำบหรือไม่วำ่ ? ไฟฟ้ำที่เรำใช้กันอยู่ทุกวันนี้มำจำกไหน ? .... มีวิธีกำร ผลิตอย่ำงไรบ้ำง ? เรำไปหำคำตอบกันเลยดีกว่ำ……..

พีก ่ ำลังซ่อม

เอ๊ะ!! พี่ดาว ซ่อมเป็นด้วยเหรอครับ

พีด ่ าวคะ

หลอดไฟ

กำลังทำอะไร

อยูจ่ า้

อยูเ่ หรอคะ? เป็นสิจะ๊ ไม่ใช่เรือ ่ ง ยากเลย

พี่ดาวคะ อิ นสงสัยมานานแล้วค่ะ ว่าทาไม? พวกหลอดไฟเหล่านี้ ถึงมีแสงสว่างได้คะ ? เพราะอะไรถึงทาให้หลอดไฟสว่างได้เหรอคะ ?

8

อ่อ !!เพราะหลอดไฟต่างๆเหล่านี้ ได้รับพลังงานจากกระแสไฟฟ้า ยังไงหล่ะน้องอิน ทำให้เรามีแสง สว่างจากหลอดไฟไว้ทำกิจกรรม ต่างๆไงหล่ะจ๊ะ

เอ๊ะ !! ว่ำแต่ ไฟฟ้ำ คือ อะไรเหรอครับ พี่ดำว สงสัยจัง!

มาๆนี่ เดี๋ยว พี่จะเล่า ให้ฟังนะจ๊ะ

ไฟฟ้ำ คือ อะไร ?? ไฟฟ้ำเป็นพลังงำนชนิดหนึ่ง ที่สำมำรถเปลี่ยนไปเป็นพลังงำนรูปอื่นได้ ไฟฟ้ำเป็นพลังงำนที่มีควำมจำเป็นในชีวิตประจำวันของเรำ เพรำะเรำนำ พลังงำนไฟฟ้ำนี้มำใช้เป็นพลังงำนให้เครื่องมือเครื่องใช้ต่ำงๆ สำมำรถ ทำงำนได้ เช่น ตู้เย็น เตำรีด โทรทัศน์ พัดลม เครื่องซักผ้ำ ………..

เกร็ดควำมรู้

พลังงาน คือ ความสามารถที่จะทำงานได้ พลังงานทำให้วัตถุ เคลื่อนที่หรือเปลี่ยนแปลงได้ พลังงานมีหลายรูป เช่น พลังงาน แสง เสียง ไฟฟ้า เคมี กล และความร้อน

9 แล้วไฟฟ้ำที่บ้ำนของเรำใช้อยู่เป็น ไฟฟ้ำแบบไหนกันเหรอคะ ?

“ไฟฟ้ำ ที่เรำนิยมใช้กันอยู่ตำมบ้ำนเรือน เรียกว่ำ ไฟฟ้ำกระแส ซึ่งใช้ งำนได้สะดวกและแพร่หลำยที่สุด ไฟฟ้ำกระแสแบ่งได้เป็น 2 ประเภท”

ไฟฟ้ากระแส

ไฟฟ้ากระแสตรง

ไฟฟ้ากระแสสลับ

กระแสไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลไปทางเดียว

กระแสไฟฟ้าที่มิทิศทางการไหลสลับไปมา

ไดนำโมกระแสตรง ถ่ำยไฟฉำย

ไดนำโมกระแสสลับ

เกร็ดความรู้ ถ่านไฟฉายและแบตเตอรี่ เป็ นอุปกรณ์ที่ เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็ นพลังงานไฟฟ้ า แบตเตอรี่

แล้วเด็กๆสงสัยไหมจ๊ะว่ำ

สงสัยค่ะ

ไฟฟ้ำที่เรำใช้กันอยู่

10 สงสัยครับ

ทุกวันนี้ มำจำกไหน ?

พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในปัจจุบันเกือบทั้งหมด ได้มากจาก โรงงานไฟฟ้า ที่มีเครื่องกำเนิด ไฟฟ้าขนาดใหญ่ หรือเรียกว่า ไดนาโม ซึ่งสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในปริมาณมาก กว่าที่ กระแสไฟฟ้าจะส่งมายังบ้านของเราต้องผ่านขั้นตอน ดังนี้

โรงไฟฟ้ำจะอำศัยพลังงำนจำก ทรัพยำกรธรรมชำติไปหมุนเครื่อง

กระแสไฟฟ้ำจถูกส่งมำตำมสำยไฟฟ้ำ

กำเนิดไฟฟ้ำ (ไดนำโม) ขนำดใหญ่เพื่อ

เข้ำสู่สถำนีจ่ำยไฟฟ้ำย่อย

ผลิตกระแสไฟฟ้ำ หม้อแปลง

สถำนีจ่ำยไฟฟ้ำย่อยจะทำหน้ำที่ในกำร จ่ำยไฟฟ้ำไปยังบ้ำนเรือนต่ำงๆ มำตำม สำยไฟฟ้ำนั่นเอง

เกร็ดความรู้ ไดนาโม คือ เครื่องกาเนิ ดไฟฟ้ า ชนิ ดหนึ่ ง ซึ่งอาศัยการเคลื่อนที่ของ ขดลวดผ่านสนามแม่เหล็ก ทาหน้ าที่ เปลี่ยนพลังงานกลเป็ นพลังงานไฟฟ้ า ประดิษฐ์ขึ้นโดย ไมเคิล ฟาราเดย์

กิจกรรมที่ 1 ไฟฟ้ำเกิดขึ้นได้อย่ำงไร

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดของกระแสไฟฟ้าได้

วัสดุ - อุปกรณ์ 1. เครื่องวัดกระแสไฟฟ้า (แอมมิเตอร์) 2. แท่งแม่เหล็ก 3. ชุดกำเนิดไฟฟ้าอย่างง่าย (ไดนาโม)

วิธีทำกิจกรรม 1. นำชุดกำเนิดไฟฟ้าอย่างง่าย (ไดนาโม) ต่อเข้ากับแอมมิเตอร์ 2. ทดลองหมุนขดลวด ช้า – เร็ว ต่างกัน สังเกตเข็มของแอมมิเตอร์ แล้วบันทึกผล 3. ตอบคำถามท้ายกิจกรรม

11

12 ใบบันทึกกิจกรรมที่ 1 ไฟฟ้ำเกิดขึ้นได้อย่ำงไร

คำชี้แจง ให้นักเรียนต่อเครื่องวัดกระแสไฟฟ้ากับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าอย่างง่าย แล้วทำการทดลอง ต่อไปนี้ สังเกตและบันทึกผล

วิธีการทดลอง 1. หมุนขดลวด

2. หมุนขดลวดเร็วขึ้น

3. หมุนขดลวดช้าลง

4. หยุดหมุนขดลวด

ผลการสังเกต ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………………………………

สรุปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….............................

13 คำถำมท้ำยกิจกรรม

1. ไฟฟ้า คือ อะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................ 2. ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................

ใช่หรือมั่ว ชัวร์หรือไม่ ?? .............................. 1 ไฟฟ้า คือ พลังงานชนิดหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนไปเป็นพลังงานรูปอื่นได้ เช่น พลังงานแสง ............................. 2 ไดนาโม เป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล ..............................3 ถ่ายไฟฉาย และ แบตเตอรี่เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ............................. 4 ไฟฟ้าที่เราใช้กันอยู่ตามบ้านเรือนเป็นไฟฟ้ากระแสตรงจากแบตเตอรี่ .............................. 5 กระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้ามาสู่บ้านเราได้โดยส่งต่อมาตามสายไฟ .............................. 6 ไดนาโมอาศัยหลักการเคลื่อนที่ของขดลวดผ่านสนามแม่เหล็กเหนี่ยนำให้เกิดกระแสไฟฟ้า .............................. 7 ผู้คิดค้นไดนาโม คือ ไมเคิล เฟลป์ส .............................. 8 โรงไฟฟ้าจะอาศัยพลังงานจากทรัพยากรธรรมชาติไปหมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า (ไดนาโม) ...............................9 หลอดไฟสว่างได้เพราะอาศัยพลังงานไฟฟ้า ...............................10 แอมมิเตอร์ คือ เครื่องมือวัดพลังงานความร้อน

ง่ำยนิดเดียวเอง!!

14

แหล่งพลังงำนที่ใช้ผลิตไฟฟ้ำ มีอะไรบ้ำง

สมำชิกในกลุ่ม

1. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 2. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 3. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 4. ชื่อ.................................................... นามสกุ ล.....................................................เลขที่....................... 5. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 6. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่.......................

15

คำชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรม ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร ใช้เวลาในการเรียนรู้ จำนวน 1 คาบ 50 นาที ประกอบด้วย 1 กิจกรรม คือ กิจกรรม แหล่งพลังงานธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้ามีอะไรบ้าง? จุดประสงค์ นักเรียนสามารถบอกแหล่งพลังงานธรรมชาติที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า ขั้นตอนการปฎิบตั ิ 1.

ศึกษาคำชี้แจงในชุดกิจกรรม

2. 3.

ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ของชุดกิจกรรม ศึกษาใบความรู้ของชุดกิจกรรมให้เข้าใจ

4.

ปฎิบัติกจิ กรรม โดยศึกษาตามลำดับขั้นตอนที่ระบุไว้

5.

ตอบคำถามท้ายกิจกรรม

16

พี่ดำวครับ !! แล้วแหล่งพลังงำนที่ใช้ใน กำรผลิตกระแสไฟฟ้ำมำจำกไหนเหรอครับ ?

แหล่งพลังงานธรรมชาติที่ใช้ ในการผลิตกระแสไฟฟ้า แหล่งพลังงาน หมุนเวียน

แหล่งพลังงาน ที่มีจากัด

1. แหล่งพลังงำนที่มจ ี ำกัด

คือ แหล่งพลังงำนที่ใช้แล้วหมดไป หรือไม่สำมำรถ สร้ำงขึ้นมำทดแทนได้ในระยะเวลำอันสั้น ได้แก่

โรงไฟฟ้าถ่านหินลิกไนต์แม่เมาะ จ.ลาปาง เป็นแร่เชื้อเพลิงที่เกิดจากการทับถมของซากพืช ซากสัตว์ ถ่ำนหิน

(ฟอสซิล) เป็นเวลาหลายล้านปี ถ่านหินที่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงใน การผลิตกระแสไฟฟ้าของประเทศไทย คือ ถ่านหินลิกไนต์ พบมาก ที่จังหวัดลำปางและกระบี่ ข้อเสีย : การเผาไหม้ของถ่านหินทำให้เกิดสารพิษ บางชนิดเจือปนในอากาศ ส่งผลต่อระบบหายใจ ของคนในชุมชน และส่งผลทำให้เกิดภาวะเรือน กระจก และภาวะโลกร้อน

น้ำมัน

ได้จากการขุดเจาะชั้นหินใต้ดิน น้ำมันที่พบในประเทศไทยมี ปริมาณน้อย ไม่เพียงพอในการผลิตกระแสไฟฟ้า จึงต้องมีการนำเข้า จากต่างประเทศ

17

แก๊สธรรมชำติ

ได้จากการขุดเจาะใต้พื้นทะเล ที่เกิดจากการทับถมกันของซาก พืชซากสัตว์เป็นเวลานาน พบมากในบริเวณอ่าวไทย ในปัจจุบนั มีปริมาณลดลงจึงต้องมีการสำรวจแหล่งพลังงานอื่นๆทดแทน

ภาพการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานความร้อน จากเชื้อเพลิง น้ำมัน ถ่านหิน และแก๊สธรรมชาติ พลังงานทดแทน

2. แหล่งพลังงำนหมุนเวียน

พลังงาน สะอาด

คือ แหล่งพลังงำนที่มีอยู่ตำมธรรมชำติ สำมำรถนำมำใช้ ใหม่ได้ไม่มีวันหมด และสร้ำงขึ้นมำทดแทนได้ในช่วงเวลำสั้นๆ

พลังงาน สีเขียว

ถึงพลังงานเหล่านี้จะใช้ได้อย่างไม่มีวันหมดเนื่องจากเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา เช่น วัฏจักรของน้ำ แต่ก็อาจ เสื่อมสภาพ หรือมีปริมาณที่ลดน้อยลงได้ หากนำแหล่งพลังงานประเภทนี้ไปใช้อย่างไม่ระมัดระวัง แล้วตัวอย่ำงพลังงำนหมุนเวียนนี่ มีอะไรบ้ำงหรือคะ?

พลังงำนแสงอำทิตย์

คือ แสงสว่าง และความร้อน ที่ถูกสร้างขึ้นโดยดวง อาทิตย์จะมีปริมาณพลังงานจำนวนมหาศาล การผลิตกระแสไฟฟ้า จะอาศัยเซลล์สุริยะ ในการเปลี่ยนพลังงานความร้อนจาก แสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า พบได้ที่ จ.แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ สระแก้ว อุบลราชธานี หรือหลังคาอาคารต่างๆ

เป็นพลังงานที่ไม่เป็นมลพิษ ใช้แทนที่พลังงานจากฟอสซิลได้

ข้อดี

เซลล์สุริยะมีราคาแพง ขึ้นอยูก่ ับสภาพอากาศ

ข้อเสีย

18

พลังงำนน้ำ

คือ การอาศัยการไหลของน้ำปริมาณมากๆจาก ที่สูงลงสู่ที่ต่ำ ทำให้แรงดันน้ำสามารถขับเคลื่อน กังหันที่ติดกับแกนของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและเกิดเป็น พลังงานไฟฟ้าขึ้น ซึ่งการผลิตกระแสไฟฟ้านี้ต้อง สร้างเขื่อน เรียกว่า เขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้า

เขื่อนศรีนครินทร์

เขื่อนภูมิพล

ข้อดี

ประหยัด ไร้มลพิษ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้เพียงพอ

ใช้พื้นที่มาก ทำลาย ป่าไม้ทำลายระบบนิเวศ

ข้อเสีย

เขื่อนสิรินธร

เขื่อนสิริกิตต์

19 พลังงำนลม

เกิดจากพลังงานจากการเคลื่อนที่ของอากาศ (ลม)

ปะทะกังหันลม ทำให้กังหันลมหมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ทำ

มีเสียงดัง ลมต้องมีตลอดเวลา พืน้ ที่ที่เหมาะสมมีจากัด

ข้อเสีย

ให้สามารถเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ประเทศไทยผลิต ไฟฟ้าพลังงานลมที่ อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา และ อ.แหลม พรหมเทพ จ.ภูเก็ต

พลังงำนน้ำขึ้น - น้ำลง

โดยการสร้างเขื่อนขวางกั้นตรงปากอ่าวที่มีความกว้างไม่มากนัก หรือขวาง แม่น้ำโดยมีช่องให้น้ำไหลผ่าน ภายในช่องจะมีกังหันซึ่งต่ออยู่กับเครือ่ งกำเนิด ไฟฟ้า กังหันนี้จะหมุนขณะที่น้ำขึ้นน้ำลง ในปัจจุบันมีเพียงในต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา ฝรั่งเศส ที่นำมาใช้ ข้อเสีย

ต้องเป็ นบริเวณที่ติดทะเล มีความแตกต่างของระดับ นา้ ขึน้ – นา้ ลงมากกว่า 5 เมตร

ขณะน้ำขึ้น ขณะน้ำลง

20 นอกจากนี้ยังมีแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพทีอ่ ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ พลังงานชีวมวล พลังงาน คลื่นน้ำ และพลังงานนิวเคลียร์หรือโรงไฟฟ้าปรมณูยังไม่มีในประเทศไทย เกร็ดควำมรู้ โรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์ เป็นกำรใช้พลังงำนปรมำณูผลิตกระแสไฟฟ้ำ โดยนำ ควำมร้อนจำกปฏิกิริยำนิวเคลียร์ไปต้มน้ำให้เดือดกลำยเป็นไอ แล้วให้ไอน้ำหมุน กังหันของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ำเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ำ ประเทศไทยเรำไม่มีโรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์ เนื่องจำกในปัจจุบันยังมีกำรต่อต้ำนอัน เนื่องมำจำกอันตรำยจำกเตำปฏิกรณ์หำกมีกำรระเบิดขึ้น ปัจจุบันโรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์ พบในต่ำงประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกำ ฝรั่งเศส รัสเซีย ญี่ปุ่น ฯลฯ

21 กิจกรรมที่ 2 ไฟฟ้ำมำจำกไหน?

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถบอกแหล่งพลังงานธรรมชาติที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าได้

วัสดุ - อุปกรณ์ 1. ภาพจิ๊กซอร์แหล่งพลังงานธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้าปริศนา 4. ใบความรู้ เรื่อง แหล่งพลังงานธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้า 5. ใบบันทึกกิจกรรมเรื่อง ไฟฟ้ามาจากไหน?

วิธีทำกิจกรรม 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาสุม่ จับหมายเลขของภาพจิก๊ ซอร์ปริศนา 2. นำภาพปริศนาที่ได้มาช่วยกันต่อให้ได้ภาพที่สมบูรณ์ 3. วาดภาพจิก๊ ซอร์ที่ต่อสมบูรณ์แล้วลงในใบกิจกรรม พร้อมระบุวา่ ภาพนั้นคือ อะไร เป็นแหล่งพลังงานธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้าประเภทไหน มีวิธกี ารนำมาผลิตไฟฟ้า อย่างไร และยกตัวอย่างแหล่งพลังงานในประเภทเดียวกันว่ามีอะไรบ้าง

22 ใบบันทึกกิจกรรมที่ 2 ไฟฟ้ำมำจำกไหน?

ภาพนี้ คือ ........................................... เป็นแหล่งพลังงานธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้าประเภท .............................. มีหลักการผลิตกรแสไฟฟ้า คือ ..................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................

ตัวอย่างพลังงานแหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตไฟฟ้าประเภทนี้ได้แก่ ..............................................

23 คำถำมท้ำยกิจกรรม

คำชี้แจง ให้นักเรียนโยงเส้นภาพให้ตรงกับประเภทของแหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตไฟฟ้า

พลังงำนที่มี

พลังงำน

จำกัด

หมุนเวียน

คำชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ ........................ คือแหล่งพลังงำนที่ใช้แล้วหมดไป ต้องใช้เวลำนำนหลำยร้อยล้ำนปีกว่ำจะสร้ำง ขึ้นมำได้อีกและมีปริมำณจำกัด ได้แก่ ถ่ำนหิน ................. และแก๊สธรรมชำติ ซึ่งเรำนำมำเป็น เชื้อเพลิงให้พลังงำนควำมร้อนและแสงสว่ำง เรียกว่ำ เชื้อเพลิงฟอสซิลหรือเชื้อเพลิงซำกดึกดำ-บรรพ์

........................ คือ แหล่งพลังงำนที่ใช้ได้ไม่มีวันหมด สำมำรถสร้ำงทดแทนในช่วงเวลำสั้นๆ ไม่ทำ ให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ลม น้ำ ………………………… คลื่นน้ำในทะเล น้ำขึ้นน้ำลง ชีว มวล ควำมร้อนใต้พิภพและไฮโดรเจน ฯลฯ

24

เครื่องใช้ไฟฟ้ำในบ้ำนเรำ

สมำชิกในกลุ่ม

1. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 2. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 3. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 4. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 5. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 6. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่.......................

25

คำชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรม ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเรา ใช้เวลาในการเรียนรู้ จำนวน

1

คาบ 50 นาที ประกอบด้วย 1 กิจกรรม คือ กิจกรรม มารู้จักเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเรากันเถอะ!! จุดประสงค์ นักเรียนสามารถจำแนกประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านตามการเปลี่ยนรูปพลังงาน ไฟฟ้าได้ ขั้นตอนการปฎิบตั ิ 1.

ศึกษาคำชี้แจงในชุดกิจกรรม

2. 3.

ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ของชุดกิจกรรม ศึกษาใบความรู้ของชุดกิจกรรมให้เข้าใจ

4.

ปฎิบัติกจิ กรรม โดยศึกษาตามลำดับขั้นตอนที่ระบุไว้

5.

ตอบคำถามท้ายกิจกรรม

26 น้องอำร์ต จ๊ะ!! ที่บ้ำนของเรำ มีเครื่องใช้ไฟฟ้ำหลำย ชนิด น้องอำร์ตคิดว่ำ เครื่องใช้ไฟฟ้ำเหล่ำนั้นมีกำร ทำงำนที่เหมือนหรือแตกต่ำงกันอย่ำงไร??

ผมคิดว่าน่าจะทำงานไม่เหมือนกันครับ เช่น หม้อหุงข้าวน่าจะให้พลังงานความร้อนถูกไหมครับ

เก่งมากค่ะ!! เครื่องใช้ไฟฟ้าทำงานได้เพราะใช้พลังงานไฟฟ้า แต่เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดทำงาน แตกต่างกัน บางชนิดให้ความร้อน บางชนิดทำให้เกิดเสียง บางชนิดทำให้เกิดแสงสว่าง บางชนิด ทำให้เกิดการหมุนหรือเคลื่อนที่ เราลองไปทำความรู้จัก และดูตัวอย่างของเครื่องใช้ไฟฟ้ากันจ๊ะ

เครื่องใช้ไฟฟ้ำ คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ำเป็นพลังงำนรูปต่ำงๆ

พลังงานกลและพลังงานความร้อน พลังงานกล

พลังงานแสง พลังงำนไฟฟ้ำ

พลังงานเสียง

พลังงานแสงและพลังงานเสียง พลังงานความร้อน

27 เครื่องใช้ไฟฟ้ำที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ำเป็นพลังงำนแสง

ไฟริมทาง

หลอดไฟ

โคมไฟ

เครื่องใช้ไฟฟ้ำที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ำเป็นพลังงำนเสียง

เครื่องเสียง วิทยุ

ออดหน้าบ้าน

โทรศัพท์บ้าน

เครื่องใช้ไฟฟ้ำที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ำเป็นพลังงำนควำมร้อน

28

กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านขดลวดชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ลวดนิโครม ซึ่งจะทำให้อุปกรณ์ชนิดนั้นๆ ร้อนขึ้นและใช้งานได้ตามต้องการ

เกร็ดความรู้ ขดลวดนิโครม เป็ น โลหะผสมระหว่างนิกเกิล กับโครเมียม ลวดนิโครมมี คุณสมบัติตา้ นทานไฟฟ้า สูง เพื่อให้เกิดความร้อน สูง

เตารีด

หม้อหุงข้าว

กระติกน้ำร้อน

เครื่องปิ้งขนมปัง

เครื่องทำน้ำอุ่น

เกร็ดความรู้ สายดิน คือ สายไฟที่มีไว้เพื่อความ ปลอดภัย โดยจะต่อเข้ากับส่วนโครงภายนอก เครื่อง เมื่อมีไฟฟ้ารั่วจากเครื่องใช้ไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ าจะไหลลงยังพืน้ ดินโดยผ่านสายดิน ที่เราต่อไว้กับเครื่องใช้ไฟฟ้ า ทาให้ไฟฟ้าไม่ผา่ น ร่างกายของผู้สัมผัสเครื่องใช้นั้นๆ

เครื่องใช้ไฟฟ้ำที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ำเป็นพลังงำนกล

29

โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า มอเตอร์ และเครื่องควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ทำให้แกนมอเตอร์หมุน และแกนมอเตอร์ที่ต่อกับอุปกรณ์ อื่นๆ เช่น ใบพัด ทำให้ใบพัดหมุนเป็นพัดลม

พัดลม

เครื่องซักผ้า

เครื่องปั่นน้ำผลไม้

เครื่องดูดฝุ่น

สว่านไฟฟ้า

30 เครื่องใช้ไฟฟ้ำที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ำเป็นพลังงำนแสงและพลังงำนเสียง

โทรทัศน์

คอมพิวเตอร์

เครื่องใช้ไฟฟ้ำที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ำเป็นพลังงำนกลและพลังงำนควำมร้อน

เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกลและพลังงานความร้อนไปพร้อมๆ กันมี อุปกรณ์หลัก 2 อย่าง คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล เช่น มอเตอร์ และอุปกรณ์ที่เปลี่ยน พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน เช่น ลวดนิโครม

เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น ไดร์เป่าผม

กิจกรรมที่ 3

31

มำรู้จักเครื่องใช้ไฟฟ้ำในบ้ำนเรำกันเถอะ!!

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถจำแนกประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านตามการเปลี่ยนรูป พลังงานไฟฟ้าได้

วัสดุ - อุปกรณ์ 1. ใบความรู้ 2. ใบบันทึกกิจกรรม เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเรา

วิธีทำกิจกรรม 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแข่งกันยกตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าที่พบเห็นใน ชีวิตประจำวัน จากนั้นบันทึกเครื่องใช้ไฟฟ้าทีย่ กตัวอย่างมาทั้งหมดลงในใบบันทึก กิจกรรม 2. ให้นักเรียนในกลุ่มช่วยกันจำแนกประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ยกตัวอย่างมาว่า จัดอยู่ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าไปเป็นพลังงานใดบ้าง 3. ให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลการจำแนกหน้าชั้นเรียน 4. ตอบคำถามท้ายกิจกรรม

32 ใบบันทึกกิจกรรมที่ 3 เครื่องใช้ไฟฟ้ำในบ้ำนเรำ

เครื่องใช้ไฟฟ้ำที่ฉันรู้จัก

33 คำถำมท้ำยกิจกรรม

คำชี้แจง ให้นักเรียนนำคำจากกล่องข้อความไปเติมให้ตรงกับประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า พลังงำนแสง

พลังงำนกล

พลังงำนกล + ควำมร้อน

………………………………… …………

………………………………… …………

………………………………… …………

พลังงำนเสียง

พลังงำนควำมร้อน

พลังงำนแสง + เสียง

………………………………… …………

………………………………… …………

………………………………… …………

………………………………… …………

………………………………… …………

………………………………… …………

ใช่หรือมั่ว ชัวร์หรือไม่ ?? .............................. 1 ไมโครโฟน เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง ............................. 2 สายดิน ติดตั้งไว้เพื่อ นำไฟฟ้าไปใช้ในพื้นดิน เช่น รถไฟฟ้าใต้ดนิ .............................. 3 โทรทัศน์และหลอดไฟจัดเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเดียวกันตามการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้า ............................. 4 เครื่องปั่นน้ำผลไม้ และ พัดลม เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าททที่เปลี่ยนไฟฟ้าเป็นพลังงานกล .............................. 5 ลวดนิโครม พบในเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล

34

ใช้ไฟฟ้ำอย่ำงไรให้ประหยัด และปลอดภัย

สมำชิกในกลุ่ม

1. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 2. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 3. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 4. ชื่อ.................................................... นามสกุ ล.....................................................เลขที่....................... 5. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่....................... 6. ชื่อ.................................................... นามสกุล.....................................................เลขที่.......................

35

คำชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรม ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ใช้ไฟฟ้าอย่างไรให้ประหยัดและปลอดภัย ใช้เวลาในการ เรียนรู้ จำนวน 1 คาบ 50 นาที ประกอบด้วย 1 กิจกรรม คือ กิจกรรม มาใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัยด้วยกันนะ!! จุดประสงค์ นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของพลังงานไฟฟ้า และเสนอวิธกี ารใช้ไฟฟ้า อย่างประหยัดและปลอดภัย ขั้นตอนการปฎิบตั ิ 1.

ศึกษาคำชี้แจงในชุดกิจกรรม

2. 3.

ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ของชุดกิจกรรม ศึกษาใบความรู้ของชุดกิจกรรมให้เข้าใจ

4.

ปฎิบัติกจิ กรรม โดยศึกษาตามลำดับขั้นตอนที่ระบุไว้

5.

ตอบคำถามท้ายกิจกรรม

36

ไฟฟ้า นับได้ว่ามีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตประจำวันของเราอย่างมากและช่วยให้เรามีความเป็นอยูท่ ี่ สะดวกสบายมากขึ้น และนอกจากนี้จะเห็นได้ว่าในกระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้า ต้องใช้พลังงานธรรมชาติทั้ง ที่เป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียน และแหล่งพลังงานจำกัดมาเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งพลังงานเหล่านี้เมื่อใช้ ไปแล้วจะค่อยๆ หมดไป โดยเฉพาะแหล่งพลังงานจำกัด ดังนั้น เราทุกคนจึงต้องช่วยกันประหยัดพลังงานไฟฟ้า เพื่อเป็นการช่วยลดการใช้พลังงานในการผลิตกระแสไฟฟ้าลงและมีไฟฟ้าไว้ใช้ตลอดไปอนาคต

กำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำอย่ำงประหยัดและปลอดภัย มีวิธีกำรปฏิบัติดังนี้

โทรทัศน์ วิทยุ

ปิดเครื่องทุกครั้งเมื่อไม่ใช้งาน ควรถอดปลั๊กให้เรียบร้อยหลังการใช้งานทุก ครั้ง โดยเฉพาะโทรทัศน์ไม่ควรปิดด้วยรีโมท คอนโทรลเพราะกระแสไฟฟ้ายังคงไหลอยู่

37

พัดลม

เปิดระดับความเร็วของพัดลมพอสมควร

ในกรณีที่ไม่จำเป็นต้องเปิดพัดลม อาจจะเปิด หน้าต่างเพื่อใช้ลมจากธรรมชาติแทน

หม้อหุงข้ำว

ควรดึงเต้าเสียบออกเมื่อข้าวสุกแล้ว

ใช้ขนาดหม้อที่เหมาะสมกับจำนวนสมาชิก ในครอบครัว

ควรหุงข้าวให้พอดีกับจำนวนผู้ รับประทาน

38

เตำรีด ถอดปลั๊กออกเมื่อเลิกใช้งาน ควรรีดผ้าคราวละมากๆติดต่อกันจน เสร็จ ควรเริ่มรีดผ้าบางๆก่อนขณะที่เตารีดยัง ไม่ร้อนพอสำหรับผ้าที่หน้ากว่า ตั้งปุ่มปรับความร้อนให้เหมาะสมกับชนิดของผ้า รับประทาน หมั่นละลายน้ำแข็งเมื่อเห็นว่ามี น้ำแข็งเกาะหนา อย่าเปิดตู้เย็นบ่อยๆ หรือเปิดทิ้งไว้ นานๆ และอย่านำของร้อนมาแช่ ควรวางตู้เย็นให้อากาศถ่ายเท ได้สะดวก ตั้งสวิตซ์ควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสม กับจำนวนของที่นำมาแช่ เลือกขนาดที่พอเหมาะกับความ ต้องการของครอบครัว

พอสมควร

ตู้เย็น

39 เครื่องปรับอำกำศ

ปิดเครื่องทุกครั้งเมื่อไม่ได้ใช้งาน

ปิดประตู หน้าต่างให้สนิท และติดผ้าม่านเพื่อกัน ความร้อนจากภายนอก

ควรตั้งอุณหภูมิประมาณ 25 องศาเซลเซียส เพราะเป็นอุณหภูมิที่เหมาะสม

หลอดไฟแสงสว่ำง

ปิดไฟเมื่อไม่ได้ใช้งาน ควรใช้แสงสว่างเท่าที่จำเป็น เปลี่ยนจากหลอดไส้เป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ ควรใช้แสงธรรมชาติแทนการเปิดหลอดแสงสว่าง

40

เกร็ดความรู้ เพื่อนๆเคยสังเกตหรือไม่ว่า เหตุใดเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านที่ ใช่อยู่ทุกวันนี้ ทำไมต้องมีฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 เอ๊ะ!! แล้วเจ้าสิ่งนี้มีไว้เพื่อทำอะไร มีประโยชน์อย่างไร วันนี้จะมา แนะนำให้รู้จักความสำคัญของฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 กัน ฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 มีที่มาจาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟฝ.) ได้ส่งเสริมให้ประชาชนร่วมใจ ประหยัดการใช้พลังงานไฟฟ้า และใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อจุดมุ่งหมายในการลดการใช้พลังงานโดยรวม ของประเทศ ข้อมูลภายในฉลากแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพการใช้พลังงานของอุปกรณ์ไฟฟ้า (Energy Efficiency Ratio : EER) ข้อมูลที่แสดงถึงปริมาณการใช้ไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้านั้นๆในแต่ละปี และข้อมูล ที่แสดงถึงจำนวนค่าใช้ไฟฟ้าในแต่ละปี เพื่อให้ประชาชนสามารถนำข้อมูลจากฉลากประหยัดพลังงานนี้ ประกอบการเลือก ซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป

41

กำรใช้เครือ ่ งใช้ไฟฟ้ำอย่ำงปลอดภัย

การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้ปลอดภัย เราต้องดูแลเครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ ไฟฟ้าให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยพร้อมใช้งาน และควรปฏิบัติ ดังนี้

1. สำรวจสายไฟของเครื่องใช้ไฟฟ้าว่า พลาสติกที่หุ้มมีรอยฉีก ขาด หรือชำรุด หรือไม่ ถ้าพบว่าชำรุดไม่ควรนำเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดนั้นมาใช้เพราะไฟฟ้าอาจรั่ว และมาดูดเราได้ 2. เต้ารับและเต้าเสียบต้องไม่แตกร้าวและไม่มีรอยไหม้ เต้าเสียบเมื่อนำไปเสียบ กับเต้ารับต้องติดแน่น 3. หมั่นสำรวจเครือ่ งใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน หากพบว่ามีการชำรุดเสียหาย เช่น แตก ร้าว ไหม้ ต้องรีบซ่อมแซมโดยช่างที่มีความรู้

นอกจากต้องหมั่นดูแลเครื่องใช้ไฟฟ้าและ อุปกรณ์ไฟฟ้าแล้ว เราต้องระมัดระวังในการใช้ ไฟฟ้าด้วยน้องอาร์ต ซึ่งมีวิธีการดังนี้

42

ข้อควรระวังในกำรใช้ไฟฟ้ำ

ขณะเสียบเต้ำเสียบของ เครื่องใช้ไฟฟ้ำต้อง จับให้ถูกวิธี

เมื่อต้องกำรถอดเต้ำเสียบออกจำก เต้ำรับ ให้จับที่ตัวเต้ำเสียบ ไม่ควรจับที่ สำยไฟและกระชำกให้เต้ำเสียบหลุด จำกเต้ำรับ เพรำะอำจถูกไฟฟ้ำดูดได้

เมื่อใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ำเสร็จแล้ว ให้ปิด สวิตซ์และถอดเต้ำเสียบของ เครื่องใช้ไฟฟ้ำออกจำกเต้ำรับทุกคครั้ง

43

เมื่อมือหรือร่างกายเปียกน้ำควรเช็ดให้แห้งก่อนเปิดสวิตซ์ เสียบหรือถอด เต้าเสียบ มิฉะนั้นอาจถูกไฟฟ้าดูดได้

ไม่ควรใช้เต้ารับตัวเดียวกับเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายเครื่องในขณะเดียวกัน เพราะจะทำให้เต้ารับ รับกระแสไฟฟ้ามากเกินไปส่งผลให้เกิดความร้อนสะสมบริเวณนั้น และอาจทำให้เกิดไฟไหม้ได้

44 กิจกรรมที่ 4 มำใช้ไฟฟ้ำอย่ำงประหยัดและปลอดภัยด้วยกันนะ!!

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของพลังงานไฟฟ้า และเสนอวิธกี ารใช้ ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย

วัสดุ - อุปกรณ์ 1. บัตรคำ แสดงข้อความในสถานการณ์ต่างๆ 2. ใบความรู้ เรื่อง ใช้ไฟฟ้าอย่างไรให้ประหยัดและปลอดภัย 3. ใบบันทึกกิจกรรม

วิธีทำกิจกรรม 1. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาจับฉลากหมายเลข “สถานการณ์ปริศนา” 2. เมื่อได้สถานการณ์ปริศนาแล้วให้แต่ละกลุ่มอ่านสถานการณ์ที่ได้รับ 3. ให้นักเรียนระบุวา่ สถานการณ์ที่ได้ไปเกี่ยวข้องกับอะไร มีเครื่องใช้ไฟฟ้า อะไรบ้าง มีวธิ ีการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้านั้นอย่างประหยัดและปลอดภัยได้อย่างไร 4. ส่งตัวแทนแต่ละกลุ่มมานำเสนอสถานการณ์ที่ได้รับหน้าชั้นเรียน

45 ใบบันทึกกิจกรรมที่ 4 ใช้ไฟฟ้ำอย่ำงไรให้ประหยัดและปลอดภัย

สถานการณ์ปริศนาที่ได้รับ เกี่ยวกับ ........................................... เครื่องใช้ไฟฟ้าที่อยู่ในสถานการณ์นี้ ได้แก่ .................................................................................................... แนวทางการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้านี้อย่างประหยัด คือ ........................................................................................ .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... แนวทางการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้านี้อย่างปลอดภัย คือ .................................................................................... .................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................

46 คำถำมท้ำยกิจกรรม

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. เพราะเหตุใดเราควรใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างประหยัดและคุ้มค่ามากที่สุด

............................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... 2. ถ้าวันหนึ่งโลกของเราไม่มีพลังงานไฟฟ้า นักเรียนคิดว่าจะเกิดผลอย่างไร

......................................................................................................................................... ...................... ....................................................................................................................................................................................................... 3. นักเรียนมีวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด อย่างไรบ้าง

............................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................

ถ้านักเรียนต้องอธิบายให้น้องของนักเรียนฟังเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย นักเรียน จะแนะนำน้องของนักเรียนว่าอย่างไรบ้าง วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่าง

วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่าง

ประหยัด

ปลอดภัย

47

เอกสารอ้างอิง ศิริรัตน์ วงศ์ศิริ และ รักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช. (2551). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด. สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. (2555). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3. กรุงเทพฯ: พัฒนา คุณภาพวิชาการ (พว.) จำกัด. บัญชา แสนทวี และคณะ. (2551). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วฒ ั นา พานิช จำกัด. _____. (2554). ไฟฟ้าในบ้าน. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2565, จาก http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=69480

48

ภาคผนวก ช ประมวลภาพการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเรื่อง ไฟฟ้าพารอบรู้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

49

นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ไฟฟ้าในบ้านเรา ก่อนเรียน

สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม

50

นักเรียน เรียนด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง ไฟฟ้าในบ้านเรา

51

นักเรียนบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมและตอบคำถามท้ายกิจกรรมแต่ละชุด

นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ไฟฟ้าในบ้านเรา หลังเรียน

52 ประวัติย่อผู้วิจัย ชื่อ - สกุล

นายนาวี ยืนนาน

วัน เดือน ปี เกิด

26 มิถุนายน 2534

ที่อยู่ปัจจุบัน

48/62 หมู่ 8 ต. กระทุ่มล้ม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73220

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2552 จบระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนปัญญาวรคุณ เขตบางแค กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 – 2558 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั่วไป (กศ.บ. 5 ปี) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ประวัติการทำงาน

พ.ศ.2559 – ปัจจุบัน บรรจุเข้ารับราชการครู และทำการสอนรายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 รวมประสบการณ์ทำงาน 6 ปี

53

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.