เอกสารประกอบการสอน-385-2 Flipbook PDF

เอกสารประกอบการสอน-385-2

59 downloads 119 Views 5MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

เอกสารประกอบการสอน วิชา สดëðí ความเชียวชญด้านสือดิจท ิ ัล v

v

ดิ จิทัลเทคโนโลยีทีจะเปลียนแปลงโลก

สุดยอดโรงงาน CP ยุ ค 4.0 โรงงาน CP ยุ ค 4.0 ใช้หน ุ่ ยนต์แทนคน ทังโรงงานใช้คนผลัดละแค่ 7 คน วันละ 3 ผลัด หุน ่ ยนต์ Ai ทํางานได้รวดเร็ว แม่นยํา มีประสิทธิภาพมากกว่ามนุษย์ ไม่เหนือย ไม่บ่น ไม่ต้องมีสวัสดิการ ไม่ต้องมีค่าโอที

Artificial Intelligence (AI) Artificial แปลว่า ไม่ใช่ของจริง, ซึงประดิษฐ์ขึน, ของเทียม Intelligence แปลว่า ความฉลาด, ความสามารถในการคิดและเรียนรู ้ Artificial Intelligence = ปญญาประดิ ษฐ์ = คือการทํา machine ให้เก่งเหมือนมนุษย์ ทํางานได้ เหมือนมนุษย์ มีความเปนเหตุเปนผลเหมือนมนุษย์ Ai คือ ระบบคอมพิวเตอร์ประเภทหนึง เปนได้ทังแบบมีตัวตน: เช่น หุน ่ ยนต์/อุ ปกรณ์ หรือ ไม่มีตัวตน: แอพ/โปรแกรม, อั ลกอริทึม ทีมีกลไกการทํางานอย่างชาญฉลาด เลียนแบบความฉลาดของมนุษย์ ซึงเปนกลไกการกระทําทีได้ถูกออกแบบเอาไว้แล้ว ทําให้ระบบนีสามารถมีการกระทําเกิดขึนได้เอง (Automation) โดยทีไม่จาํ เปนต้องรอการสังการจากมนุษย์

เกมหมากรุก AI

ระบบถามตอบ AI ชนะการถามตอบ กับมนุษย์

Artificial Intelligence = ปญญาประดิ ษฐ์ = คือการทํา machine ให้เก่งเหมือนมนุษย์ ทํางานได้ เหมือนมนุษย์ มีความเปนเหตุ เปนผลเหมือนมนุษย์

ต้องสอนมันก่อน + ปอนข้อมู ลให้มัน เปนจํานวนมาก

Artificial Intelligence = ปญญาประดิ ษฐ์ = คือการทํา machine ให้เก่งเหมือนมนุษย์ ทํางานได้ เหมือนมนุษย์ มีความเปนเหตุเปนผลเหมือนมนุษย์

จําแนกเปน 4 ประเภทหลักๆ คือ

1. Acting Humanly

– ทําเลียนแบบมนุษย์

2. Thinking Humanly – คิดเหมือนมนุษย์ 3. Thinking Rationally – คิดอย่างมีเหตุผล 4. Acting Rationally

– ทําอย่างมีเหตุผล

1. Acting Humanly – ทําเลียนแบบมนุษย์ สือสารกับมนุษย์ได้ด้วยภาษาทีมนุษย์ใช้ เช่น ใช้เสียงสังให้ทํางานได้ (Voice Recognition) เปนความสามารถในการจําแนก วิเคราะห์ และ โต้ตอบจากการมีเสียงเปน Input ตัวอย่าง AI ประเภทนี ได้แก่ การแปลภาษาอั ตโนมัติ การสังงานด้วยเสียงเพือให้อุปกรณ์ต่างๆ ทํางาน

2. Thinking Humanly – คิดเหมือนมนุษย์ การทําให้คอมพิวเตอร์คิดได้อย่างมนุษย์ มีประสาทสัมผัสคล้ายมนุษย์ เช่น computer vision รับภาพด้วย sensor รับสัญญาณทีทําให้คอมพิวเตอร์มองเห็น ได้เหมือนมนุษย์มองเห็น และพัฒนาอัลกอริทึม (ขันตอน/โปรแกรม)ทีเลียนแบบ ความคิดของมนุษย์ ตามทีเราใส่ข้อมู ลลงไป เช่น เช่น อุ ปกรณ์ทีมีการจดจําใบหน้า (Face Recognition) หุน ่ ยนต์เคลือนย้ายสิงของ คัดแยกสิงของเพือการขนส่ง ระบบโต้ตอบแบบอั ตโนมัติ (chatbot)

3. Thinking Rationally – คิดอย่างมีเหตุผล การทําให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดได้อย่างมีเหตุผล เช่น ถ้าเจอเหตุการณ์แบบนี ด้วยเหตุผล ตัว Ai หรือหุน ่ ยนต์ก็จะทําอย่างทีมนุษย์คิดเช่น การให้คําแนะนะด้านกฎหมาย ด้านการแพทย์ ด้านบัญชี การเงิน

4. Acting Rationally – ทําอย่างมีเหตุผล การทําให้คอมพิวเตอร์กระทําอย่างมีเหตุผลได้ เช่น รถไร้คนขับทีเลือกเส้นทางทีใกล้ทีสุด, เกมหมากรุก Alpha Go, AI Journalist

AI Journalists - ผู้สือข่าว AI

ในต่างประเทศ มีการใช้ปญญาประดิษฐ์ (AI) ในการเขียนข่าว อย่างข่าวกีฬา รวมถึงข่าวใหม่ๆ ใช้ AI สําหรับข่าวเกียวกับการสืบสวนเชิงลึก ใช้กรองข่าวสารให้กับมนุษย์ ซึงอาจทําให้นักข่าวตกทีนังลําบากได้

Ai จะมาทํางานแทนมนุษย์ Fukoku Mutual Life Insurance บริษัทประกันภัยของญีปุ น ได้ประกาศ เลิกจ้างพนักงาน 34 คน ออกหมดทังแผนก แล้วนํา “Watson” ระบบ AI (Artificial Intelligence) ปญญาประดิษฐ์ขนาดใหญ่จาก IBM ทํางาน แทนที !! IBM Watson จะทําหน้าทีวิเคราะห์ข้อมู ลด้วยระบบ Cognitive Computing ทีสามารถตอบโต้กับมนุษย์ สามารถคิด วิเคราะห์ และตีความ ข้อมู ลได้คล้ายมนุษย์ทุกอย่าง ทังยังอ่านข้อมู ลทีไม่มีโครงสร้างอย่าง ภาพ เสียง และวีดีโอได้ด้วย จากความสามารถนีจึงถูกนํามาใช้กับหน้าที “วิเคราะห์ข้อมู ลผู้ถือกรมธรรม์” สามารถพิจารณาเงินประกันทีต้องจ่ายกับผู้ถือกรมธรรม์ในแต่ละกรณีได้ โดยดูจากประวัติทางการแพทย์เปนหลัก บริษัทมีการเชือว่า AI จะช่วยทําให้ประสิทธิภาพในการทํางานเพิมขึน 30% และยังช่วยลดค่าใช้จ่ายเงินเดือนของพนักงานได้ถึง 140 ล้านเยนต่อป ค่า ลงทุนกับระบบนี 200 ล้านเยน และเสียค่าบํารุงรักษา15 ล้านเยนต่อป เท่านัน

Ai จะมาทํางานแทนมนุษย์ ถ้าอยากรูว้ ่างานทีทําอยู่มีเปอร์เซ็นการโดนกลืนไปมากแค่ ไหน ลองเข้าเว็บ WillRobotsTakeMyJob.com ใส่ตําแหน่งงานทีเราต้องการค้นหา ระบบจะประเมินความเสียงออกมาให้ดูทันที พร้อมคํา อธิบายประกอบ พัฒนาโดย Dimitar Raykov และ Mubashar Iqbal โดยใช้ฐานข้อมู ลจากรายงาน “The Future of Employment: How susceptible are jobs to computerisation?” และจากกระทรวงแรงงานประเทศ อเมริกา

เราจะรับมือกับ AI ได้ อย่างไร การพัฒนา AI อาจจะเปนสิงทีไกลตัว จากสาขาเราศึ กษา แต่การใช้งาน AI เปนสิงทีใกล้ตัวเรามากขึน เราอาจจะไม่จาํ เปนต้องเปนนักพัฒนา แต่เราจําเปนต้องรูจ ้ ัก และเข้าใจกลไกของ AI เพือให้สามารถใช้งาน AI นํา AI มาใช้ประโยชน์ให้ได้มากทีสุด

ดิ จิทัลเทคโนโลยีทีจะเปลียนแปลงโลก

เครืองปรินท์ 3มิติ มีใช้มาเกือบ 40 ปแล้ว แต่ใช้กันในวงจํากัด ในบริษัทขนาดใหญ่ หรือ ใน Lab ใหญ่ๆเท่านัน เครืองปรินท์ 3มิติเริมได้รบ ั ความนิยมประมาณป 2009 เนืองจากราคาทีถูกลง ปจจุ บันใช้กันอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ใช้ในการสร้างชินงาน, โมเดล, อะไหล่, ต้นแบบชินงาน (prototype)

เครืองพิมพ์ 3 มิตินันเริมใช้กันมาในป 1983 แต่ยังไม่แพร่หลาย เพราะราคาสูงและติด สิทธิบัตร ทําให้ต้องรอสิทธิบัตรนันหมดอายุ เสียก่อน ซึงคนทีคิดระบบการพิมพ์ 3 มิติขึน มาคนแรก ชือว่า Charles W. Hull คนอเมริกัน ซึงสิทธิบัตรทีแกเปนคนจด ก็คือ เทคโนโลยีการพิมพ์แบบ SLA หรือ Stereolithography การทีมีสิทธิบัตรในมือ ก็ทําให้ Mr.Chuck Hull จัดตังบริษัท 3D System ขึนมาในป 1986 ซึงถือว่าเปนบริษัททีขาย เครืองพิมพ์ 3 มิติ บริษัทแรกในโลก ซึงในปจจุ บัน ก็ยังดําเนินธุรกิจนีอยู่

3D Printing - เทคโนโลยีการพิมพ์แบบสามมิติ คือการขึนรูปชินงานเปนรูปทรงต่ างๆ ตามต้ องการ โดยเติ มเนือวัสดุเข้าไป

ชินงาน สามารถเปนได้ ตังแต่ ชนๆ ไปจนถึงขนาดใหญ่ ิ

วัสดุทีใช้สาํ หรับ 3D Printing เครืองพิมพ์ 3 มิติ มีหลากหลายชนิด หลากหลายรูปแบบ ซึงจะใช้ วัสดุแตกต่างกันไป เช่นเส้นพลาสติก เรซิน ผงยิปซัม คอนกรีต... เพือให้ 3D Printer สามารถตอบโจทย์การใช้งานได้มากขึน

Polylactic Acid (PLA) เปนพลาสติกทีทําจากวัตถุดิบธรรมชาติเช่นอ้อยหรือแปงข้าวโพด ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติและเปนมิตรกับสิงแวดล้อม มีจุด เด่นคือมีสีให้เลือกเยอะ สีสดใสสะท้อนแสงเล็กน้อย พิมพ์ง่ายมาก (ใช้อุณหภูมิตํา ไม่ต้องใช้ฐานความร้อน) เปนวัสดุแข็ง ไม่ยืดหยุ่น ทนอุ ณหภูมิได้ตํา เพียง 60 องศา เปนวัสดุทีเหมาะกับชินงานทัวไปทีไม่ต้องรับแรงกระแทกหรือทนความร้อนสูง Acrylonitrile Butadiene Styrene (ABS) เปนพลาสติกทีใช้กันแพร่หลายในอุ ตสาหกรรม มีความแข็งแรงทนทานกว่า PLA และยืดหยุ่นเล็กน้อย (นึกถึงบล็อกของเล่น Lego) และทนความร้อนได้สูงกว่า พิมพ์ยากกว่าเล็กน้อยเพราะต้องใช้อุณหภูมิสูงและใช้ฐานทําความร้อนเพือปองกันไม่ให้ขอบชิน งานงอตัว เหมาะสําหรับชินงานทีต้องรับแรง ทนความร้อน ใช้งานกลางแจ้ง ชินส่วนกลไกต่างๆ PETG (Polyethylene terephthalate Glycol-modified) คือวัสดุทีใช้ทําขวดนํา ขวดพลาสติก มีความเหนียวและทนทานเปนเลิศ ไม่ฉีกขาดง่าย ความ แข็งแรงเทียบเท่า ABS แต่ปรินท์ง่ายเหมือน PLA มีสีใสกึงโปร่งแสง ดูสวยไปอี กแบบ เหมาะสําหรับใช้แทน PLA ในงานทีต้องการความแข็งแรงและทน ความร้อนสูง

ประเภทของ 3D Printer 1. ระบบฉีดเส้นพลาสติก (FDM หรือ FFF) 2. ระบบถาดเรซิน (SLA หรือ DLP) 3. ระบบผงยิปซัม+สี Ink Jet 4. ระบบหลอมผงพลาสติก, ผงโลหะ, เซรามิก

5. ระบบอืนๆ

ประเภทของ 3D Printer 1. ระบบฉีดเส้นพลาสติ ก (FDM

FDM หรือ Fused Deposition Modeling เปนเครืองพิมพ์ 3มิติ ทีนิยมใช้กันมากทีสุด เพราะมีราคาถูก มีหลักการทํางานคือ การหลอมเส้นพลาสติกให้กลายเปนของเหลวแล้วฉีดออกมาเปนเส้นผ่านหัวฉีด FDM 3D Printer จะวาดเส้นพลาสติกทีถูกฉีดออกมา เปนรูปร่างในแนบแกนระนาบ เมือเสร็จชันหนึงๆก็จะ พิมพ์ในชันต่อๆไป เมือครบหลายร้อย หรือ หลายพันเลเยอร์ ก็จะได้ออกมาเปนรูปร่าง 3มิติ ตามวัตถุทีเราใส่ เข้าไป โดยวัสดุทีมาในรูปแบบเส้นพลาสติก หรือ Filament PLA, ABS ใช้ได้กับงานทุกประเภท ชินงานทีพิมพ์สามารถขัด/แต่ง/เจาะ ได้ สามารถใช้เปนชินส่วนในเครืองจักรได้ นํามา ใช้ได้จริง อีกทังเครืองยังสามารถใช้วัสดุได้หลากหลาย และหาได้ง่ายตามท้องตลาด เช่น เส้น PLA, ABS, PET, Nylon, Wood (พลาสติกผสมไม้), Bronze (พลาสติกผสมทองเหลือง) เปนต้น

2. ระบบถาดเรซิน (SLA)

มีหลักการทํางาน คือ เครืองระบบนีจะฉายแสงเลเซอร์ไปตัวถาดทีใส่เรซินความไวแสงไว้ เมือเรซินถูกแสงจะแข็งตัวเฉพาะจุ ดทีโดนแสง จึงใช้หลักการแข็งตัวของเรซินนีในการทําชินงานให้เกิดรูปร่างขึนมา เมือทําให้เกิดรูปร่างขึนในชันหนึงๆแล้วเครืองก็จะเริมทําให้แข็งเปนรูปร่างในชันต่อๆไป จนเกินเปนชินงานวัตถุทีจับต้องได้ การพิมพ์ระบบถาดเรซินนี เหมาะกับงานชินเล็กๆทีต้องการความละเอียดสูง เครืองโดยทัวไปจะพิมพ์ชินงานได้ชินไม่ใหญ่ มาก จึงเหมาะกับธุระกิจ เครืองประดับ Jewelry, งานหล่อ, ชินส่วนเล็กในงานอุ ตสาหกรรม, ออกแบบผลิตภัณฑ์, งาน โมเดลฟกเกอร์ หรืองานพระเครือง

3. ระบบผงยิปซัม+สี Ink Jet เปนระบบใช้ผงยิปซัมเปนตัวกลางในการขึนชินงาน ทํางานคล้ายระบบ Inkjet แต่แทนทีจะพิมพ์ไปบนกระดาษ เครืองจะพิมพ์ลงไปบนผงยิปซัม ระบบจะฉีด Blinder หรือ กาว ลงไปด้วยในการผสานผงยิปซัมเข้าด้วยกันเปนรูปร่าง เมือสร้างเสร็จในชันหนึง เครืองจะเกลียผงยิปซัมมาทับเปนชันบางๆ ในชันต่อไป เพือเตรียมพร้อมให้เครืองพิมพ์สีและลงกาวอี กครัง

4. ระบบหลอมผงพลาสติ ก, ผงโลหะ, เซรามิก (SLS หรือ Selective laser sintering) หลักการทํางานคล้ายระบบ SLA แต่แทนทีจะทําให้เรซินแข็งตัวโดยการฉายเลเซอร์ จะใช้วิธียิงเลเซอร์ไป โดยตรงบนผงวัสดุ เช่นผงทองเหลือง ความร้อนจากเลเซอร์จะทําให้ผงวัสดุหลอมละลายเปนเนือเดียวกัน เริมจากถาดทีใส่ผงวัสดุ เครืองจะยิงเลเซอร์ความเข้มข้นสูงไปยังผงทองเหลืองในถาด เมือยิงไปยัง ตําแหน่งใดผงทองเหลืองจะหลวมรวมเปนรูปร่างทีตําแหน่งนันๆ พอพิมพ์เสร็จในเลเยอร์หนึงๆ ครืองจะเกลียผงทองเหลืองบางๆ มาทับในชันต่อไป เพือเริมกระบวนการยิง เลเซอร์เพือหลอมละลายใหม่ ทําไปซําไปเรือยๆ จนเกิดเปนวัตถุทีต้องการ ระบบนีมีข้อดีอย่างมากคือได้งานออกมาเปนโลหะ หรือ พลาสติกพิเศษ โดยใช้ผงของวัสดุนันไปเลย แต่ข้อ เสียสําคัญคือ เครืองมีราคาสูง หากเทียบกับระบบอืน

ประโยชน์ของ 3D Printing 1. ต้ นทุนการผลิตตํา - 3D Printing มีต้นทุนการผลิตทีถูกลง ทําให้การผลิตต่างๆ นันง่าย ไม่ต้องจ้างโรงงานใหญ่ๆ ในการสร้างสรรค์สิงทีต้องการอีกต่อไป ซึงนอกจาก เรืองเครืองพิมพ์แล้ว ตัววัสดุทีใช้ก็มีราคาถูกและหาได้ง่ายด้วยเช่นกัน 2. ผลิตได้ หลากหลายรูปแบบ - เนืองจาก 3D Printing เปนการต่อเติมเนือวัสดุเข้าไป ทําให้สามารถใส่รายละเอียดทีซับซ้อนลงไปในชินงานได้ โดยไม่ต้องกลัวว่าจะเกิดความเสียหาย เพราะสามารถปรินท์ใหม่ได้ ทําให้เกิดความหลากหลายในการใช้งานมากขึน 3. สามารถดั ดแปลงชินงานได้ ตลอดเวลา การสังผลิตสินค้าหรือตัวต้นแบบแต่ละครัง หากไปจ้างโรงงานผลิต กว่าจะสร้างแบบเสร็จ กว่าจะเริมดําเนินการ ย่อมมีระยะเวลาทียาวนาน หากต้องการแก้ไขต้นแบบในจุ ดเล็กๆ น้อยๆ ก็อาจมีค่าใช้จ่ายเพิมขึนมาก เพราะต้องปรับบล็อกใหม่หมด แต่ 3D Printing จะแก้ไขกีรอบ ในจุ ดไหนก็สามารถทําได้ด้วยตัวเองทันที เดิมการสร้างสิงวัตถุต่างๆ ต้องนําวัสดุมาตัดออกให้ได้เปนรูปเปนร่าง ทําให้เกิดการสูญเสีย เพราะส่วนชินเล็ก ชินน้อยทีโดนตัด หรือทําลายไป จะ ไม่สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้อีก แต่ 3D Printing เปนการสร้างโดยการเติมเนือวัสดุเข้ามาทีละน้อย ทําให้เกิดการสูญเสียทีน้อยกว่า จึงเปนหนึงในเครืองมือทีช่วยลดการเกิดขยะ ให้กับโลกใบนี เสริมธุรกิจให้เข้ากับยุ คสมัยแห่งการรักษ์ โลก สู่ธุรกิจสีเขียวทีสร้างแบรนด์ทีดีให้กับกลุ่มเปาหมาย

การเลือกเครืองปริน 3 มิติ ต้องดูหลายๆอย่าง ประกอบกัน เช่น ใครเปนคนใช้เครืองพิมพ์ ? ลักษณะของงานทีพิมพ์เปนแบบไหน? งานทีพิมพ์เสร็จแล้วเอาไปทําอะไร? ขนาดชินงานทีจะพิมพ์ประมาณไหน? งบประมาณทีจะซือมีเท่าไหร่? เครืองทีใช้เทคโนโลยี Powder Bed Fusion เช่น SLS ตัวเครืองจะมีราคาสูง เหมาะสําหรับงานอุ ตสาหกรรม ราคาของตัวเครืองจะขึนอยู่กับขนาดพืนทีการพิมพ์และผงวัสดุทีใช้ ราคาเริมต้นประมาณ 400,000 บาท จนถึง 20,000,000 บาท แต่ถ้าเปนเครืองปรินท์ 3D ชนิด FDM มีตังแต่ราคาหลักพันไปจนถึงหลักล้านบาท

เครืองปริน 3 มิติ Hornet จากจีนราคา 7490 บาท

เครืองปริน 3 มิติ Prusa Mk3s+ ขวัญใจมหาชนชาวโลก เปน เครืองจากยุ โรป มีฟเจอร์ทีครบมากๆ ทังอึด ทังทน แถมพิมพ์สวย

ถ้าผู้ใช้สิงทีจะผลิตของเรา เปนเด็ก ควรเลือกเครืองพิมพ์ทีเปนระบบพลาสติกหรือ FDM เพราะ อั นตรายน้อยสุด และราคาไม่แพง ่ถ้าผู้ใช้เปนผู้ใหญ่ ต้องดูว่างานทีพิมพ์เปนแบบไหน ถ้าเปนงาน รูปปน ศิ ลปะ หรือโมเดล ก็อาจจะเลือกได้ ทังเครืองแบบพลาสติก หรือแบบเรซิน จากนันก็ดูว่าถ้างานทีพิมพ์เสร็จ หากต้องเอาไปขัดทําสี เพือเอาไปจําหน่ายต่อ ก็อาจจะต้องใช้ เครืองพิมพ์ 3 มิติ จําพวกเรซิน เพราะงานทีได้จะละเอี ยด ไม่ต้องขัด และแต่งมาก สามารถลงสี และนํา ไปขายได้เลย

ดิ จิทัลเทคโนโลยีทีจะเปลียนแปลงโลก

เทคโนโลยี Blockchain เปนเทคโนโลยีระบบการจัดเก็บข้อมู ล

  

แบบไม่มีตัวกลาง โดยข้อมู ลทีจัด

เก็บจะถูกร้อยเข้าด้วยกันเสมือนห่วงโซ่   ข้อมู ลทีบันทึกไว้จะได้รบ ั การปกปอง ถูกแชร์และจัดเก็บเปนสําเนาไว้ในเครืองของทุกคนทีใช้ ฐานข้อมู ลเดียวกัน ซึงทุกคนจะรับทราบร่วมกัน ว่าใครเปนเจ้าของและมีสิทธิในข้อมู ลตัวจริง เมือมีการอัปเดตข้อมู ลใด ๆ สําเนาข้อมู ลในฐานเดียวกันก็จะอัปเดตตามไปด้วยทันที ทําให้ การปลอมแปลงข้อมู ลทําได้ยาก การแฮ็กข้อมู ลทําได้ยาก ต้องแฮ็กทุกเครืองหรืออย่างน้อย เปนเทคโนโลยีการแลกเปลียน สกุลเงินดิจิทัล เช่น บิทคอยน์ พัฒนาขึนในป



 



จึงจะแฮ็กได้สาํ เร็จ

มู ลค่า บนอินเทอร์เน็ต ทีเข้ามารองรับการซือขาย

 

โดยคนทีใช้นามแฝงว่า

  

เริมนํามาใช้จริงในป



ส่งข้อมู ล (มู ลค่า) ไปแล้วจะไม่มีสาํ เนา และ มู ลค่าในเครืองทีส่งจะถูกตัดออกตามจํานวน

ส่งข้อมู ลไปแล้ว ยังมี สําเนาอยู่ในเครือง และ สามารถทําสําเนาได้ไม่ จํากัด

 มีคุณสมบัติสาํ คัญ ประการทีทําให้รายการในระบบมีความ ปลอดภัยและมีความน่าเชือถือสูงมาก ได้แก่ 1) เก็บอย่างถาวร - คือจะบันทึกข้อมู ลมีการเข้ารหัส โดยจะเพิมอย่างเดียว ข้อมู ลจะไม่มี การลบหรือเปลียนแปลง 2) เก็บข้อมู ลแบบกระจายศู นย์ (decentralized) - เก็บข้อมู ลแบบกระจายตามจุ ด (node) ไม่มีศูนย์กลางในการเก็บข้อมู ล, แต่ข้อมู ลจะถูกสําเนากระจายเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์จาํ นวน มากใน network เพือยืนยันข้อมู ลกันเอง (ครปโตเคอเรนซี มีข้อมู ลกระจายอยู่ใน คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายกว่า 1 แสนเครือง)

1Block จะเก็บข้อมูล 1 ชุ ด มีส่วน ประกอบ 3 ส่วน ดั งนี 1) ข้อมู ลทีต้องการเก็บบันทึก - เช่น ถ้าเปนบิทคอยท์ ข้อมู ลทีบันทึกคือ รายการรับ-ส่งเงิน 2) ค่าทีได้จากการเข้ารหัส (Hash) - เปรียบได้กับรอยนิวมือทีสแตมปลงไป เพราะ Hash จะมี ค่าเฉพาะไม่ซากั ํ น จะระบุ block และเนือหาใน block ถ้าข้อมู ลเปลียนแปลง Hash ก็จะเปลียนตาม

3) Hash ของข้อมู ลก่อนหน้า - เปรียบได้กับรอยนิวมือทีสแตมปลงไป เพราะ Hash จะมีค่า เฉพาะไม่ซากั ํ น จะระบุ block และเนือหาใน block ถ้าข้อมู ลเปลียนแปลง Hash ก็จะเปลียนตาม

แต่ละ  จะถูกเชือมเข้าด้วยกันด้วย  เหมือนห่วงโซ่ จึงถูกเรียกว่า   สามารถทราบได้ว่าใครเปนเจ้าของของข้อมู ลนันๆ เมือข้อมู ลถูกบันทึกไว้ใน   แล้วจึงยากต่อการเปลียนแปลงหรือถูกแก้ไข

การนําเทคโนโลยี Blockchain ไปใช้ประโยชน์ 1) ด้ านการเงิ นการธนาคาร บล็อกเชนคือเทคโนโลยีตัวช่วยด้านความปลอดภัย



และความน่าเชือถือ

 

ในการทําธุรกรรมการเงินโดยไม่ต้องอาศั ยคนกลาง เช่น การโอนเงินระหว่างประเทศของธุรกิจแบบ

 

  

สามารถโอนโดยไม่ต้องแปลงสกุลเงิน บุ คคลทังสองฝงสามารถแลกเปลียนข้อมู ลกันได้ แม้จะ ไม่เคยรูจ ้ ักกันมาก่อน เหมาะกับการทําธุรกรรมออนไลน์ หรือ

 

เช่น การรับ จ่าย โอน หรือวิเคราะห์ข้อมู ลหุน ้

เพือตัดสินใจลงทุนบนออนไลน์ ช่วยให้การทําธุรกรรมทางการเงินมีความสะดวก ปลอดภัย รวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จ่าย

ตั วอย่าง - ธนาคารกรุงศรีอยุ ธยา ที นําเทคโนโลยีมาประยุ กต์ ใช้ ปลายป 2017 ธนาคารกรุงศรีฯ ได้นาํ นวัตกรรม Krungsri Blockchain Interledger มาให้บริการโอน เงินระหว่างประเทศสําหรับลูกค้ากลุ่มธุรกิจ ทีถือว่าเปนลูกค้า Blockchain รายแรกของไทย คือบริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) กับคู่ค้าในต่างประเทศของไออาร์พีซี ซึงมีผลตอบรับจากกลุ่มธุรกิจ ค่อนข้างดี Krungsri Blockchain Interledger คือ นวัตกรรม Blockchain ธนาคารไทยทีธนาคารกรุงศรีอยุ ธยา ร่วมมือกับ Ripple ในการให้บริการโอนเงินระหว่างประเทศ ผ่านเทคโนโลยีบล็อกเชนของ Ripple สถาบันการเงินหรือธุรกิจทีจะนํา Blockchain มาใช้ต้องลงทะเบียนเข้าร่วมกับ Ripple ซึงมีสถานะ เหมือนกับ Consortium Blockchain ก่อน ต่อมาได้เริมการโอนเงินระหว่างประเทศไทย-สิงคโปร์แบบเรียลไทม์ ผ่านเทคโนโลยีบล็อกเชน โดยร่วม มือกับ MUFG Bank (มิตซู บิชิ ยู เอฟเจ ไฟแนลเชียล กรุป ๊ ) สถาบันการเงินใหญ่ทีสุดในญีปุ น และ ธนาคาร Standard Chartered ประเทศสิงคโปร์ มีการทดสอบระบบใช้งานผ่าน Regulatory Sandbox ของธนาคารแห่งประเทศไทย สามารถประหยัดต้นทุนได้ถึง 50% ทําให้เกิดสภาพคล่องด้านธุรกรรมการเงินของกลุ่มบริษัทในเครือ ตรวจสอบข้อมู ลได้ง่าย รวดเร็วเพียงไม่กีวินาที และไม่ต้องเสียงกับอัตราผันผวนของค่าเงิน ถือเปนตัวอย่างการใช้ Blockchain ในไทยทีประสบความสําเร็จเปนอย่างมาก

ตั วอย่าง - ธนาคารกรุงศรีอยุ ธยา ที นําเทคโนโลยีมาประยุ กต์ ใช้

การนําเทคโนโลยี Blockchain ไปใช้ประโยชน์ 2) ด้ านประกันภัย ใช้ Blockchain ในการทําฐานข้อมู ลลูกค้า ทําให้การทําสัญญามีความยืดหยุ่นมากขึน โดยไม่ยึดติดกับพืนที, เขตประเทศ, กองทุน หรือความล่าช้าในการจัดการเอกสาร การสร้างความโปร่งใส ทังในแง่ของการติดตามเงือนไขในสัญญา, การจ่ายเงิน, การ ตรวจสอบความเสียง และอืนๆ ทําการโอนเงินเบียประกันให้แก่ผู้รบ ั โดยอัตโนมัติตามเงือนไขต่างๆ ได้ ทําให้เทคโนโลยีของธุรกิจประกันมีความคล่องตัวสูงยิงขึนกว่าแต่ก่อน - เช่น การเชือมโยงเอกสารหนังสือคําประกันของคู่ค้า ทําให้ลดขันตอนด้านเอกสารจาก 24 ชัวโมงเหลือเพียง 30 นาที และลดค่าใช้จ่ายลงถึง 50%

การนําเทคโนโลยี Blockchain ไปใช้ประโยชน์ 3) ด้ านธุ รกิจสุขภาพ ใช้เก็บข้อมู ลคนไข้ ทีสามารถแชร์ข้อมู ลข้ามระหว่างแพลตฟอร์มได้ ผู้ใช้สามารถไปใช้ บริการทีไหนก็ได้ เพราะมีข้อมู ลกระจายอยู่ตาม รพ.ต่างๆ ตัวอย่าง เช่น โครงการ Medrec ของทาง MIT หรือ SimplyVital นํา Blockchain มา เก็บข้อมู ลการรักษาของคนไข้ เพิมความโปร่งใส และความปลอดภัย ของไทย คือ โครงการ Block M.D. ของบริษัท Smart Contract Thailand และ FarmaTrust การนํา Blockchain มาช่วยตรวจสอบทีมาของยาแต่ละชนิดปองกันการ ปลอมแปลง

การนําเทคโนโลยี Blockchain ไปใช้ประโยชน์

4) ด้ านธุ รกิจอสังหาริมทรัพย์

ในหลายๆ ประเทศ เช่น สาธารณรัฐมอลตา ประเทศอังกฤษ และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีการนํา Blockchain มาเก็บข้อมู ลแทนโฉนด (Land Registry) หรือการนํา Blockchain มาช่วยในการแบ่งการเปนเจ้าของ (Asset Tokenization)

การนําเทคโนโลยี Blockchain ไปใช้ประโยชน์ ในด้ านอืนๆ ธุ รกิจค้าปลีก – Walmart ได้มีโครงการนําข้อมู ลอาหารทีขายมาเก็บเพือดูสายการผลิตจากโรงงานมาถึงชัน วางของหรือ Singapore Airline ก็ได้นํา Blockchain มาใช้บน loyalty point KrisFlyer เพิมความน่าเชือถือ และสามารแลกเปลียนกันได้ ธุ รกิจพลังงาน – Power Ledger ธุรกิจ Startup จากออสเตรเลียก็ได้ขยายมาทีเมืองไทยเพือพัฒนาการซือ ขายพลังงานแบบ Peer to peer โดยใช้เทคโนโลยี Blockchain หรือ WePower บริษัทจาก Estonia ก็ทํา เรืองคล้าย ๆ กันแต่เน้นไปทางพลังงานทดแทนเปนหลัก ธุ รกิจการศึ กษา – MIT Media Lab และสาธารณรัฐมอลตา ได้มีการออกปริญญาบัตร Certificate และ Transcript บนเทคโนโลยี Blockchain เรียบร้อยแล้ว ด้านการจดสิทธิบัตร การท่า E-voting การทําดิจิทัลไอดีแทนบัตรประชาชน ด้านอืนๆ

ดิ จิทัลเทคโนโลยีทีจะเปลียนแปลงโลก

โจทย์ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ต้ องผลิตกําลังคนที มีสมรรถนะสูง สนองตอบความต้ องการของชาติ

ดิ จิทัลเทคโนโลยีทีจะเปลียนแปลงโลก Metaverse - จักรวาลนฤมิตร

Metaverse - จักรวาล นฤมิตร เปนการเอาตัวเราเข้าไปอยู่ในโลกเสมือนแบบดิจิทัล

ลองเข้า Metaverse เพือทํา นิทรรศการเสมือน แสดงผลงาน เข้าเว็บไซต์ www.spatial.io แล้ว sign in ด้วย Google Account, Apple Account, Micorsoft Account หรือ Email ทีมีอยู่

สร้าง Avatar แทนตัวเรา และ สามารถสร้างกลุ่มกับเพือนๆ หรือคนอืนได้

เลือก space ทีจะใช้

สร้าง space ใหม่ เพือทํา Gallerry แสดงผลงาน สามารถอัพโหลดภาพ วิดีโอ โมเดล 3 มิติ ไฟล์ PDF ...ขนาดไม่เกิน 30 MB รวมทังหมด ไม่เกิน 50 GB โดยคลิกที Upload Art หรือคลิกทีเครืองหมาย +

เมือคลิกทีเครืองหมาย + จะแสดงสือทีได้อัพโหลดข้ามาแล้ว

Gallerry แสดงผลงาน ทีสามารถเชิญคนอืนเข้ามาดูได้

เฟสบุ๊ก’ เปดตัวแว่นตาอัจฉริยะรุน ่ แรก

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.