บทที่ 4 การออกแบบสื่อเสมือนจริง Flipbook PDF

บทที่ 4 การออกแบบสื่อเสมือนจริง

4 downloads 115 Views 3MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

การออกแบบสื่อเสมือนจริง VIRTUAL REALITY MEDIA DESIGN ดร.มหาชาติ อินทโชติ (ศษ.ด.)

1. DESKTOP VR OR WINDOW ON WORLD SYSTEMS (WOW)

2. VIDEO MAPPING

3. IMMERSIVE SYSTEMS

4. TELEPRESENCE

5. AUGMENTED / MIXED REALITY SYSTEMS

ขั้นตอนการออกแบบสื่อเสมือนจริง (VIRTUAL REALITY)

(Alessi & Trollip, 1991)

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนการเตรียม (PREPARATION)

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนการเตรียม (PREPARATION) เป็นการเตรียมพร้อมก่อนที่จะทาการออกแบบสื่อ Virtual Reality ผู้ออกแบบ จะต้อง เตรียมพร้อมในด้านต่างๆ ทั้งความชัดเจน ดังนี้

- การกาหนดเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ - การรวบรวมข้อมูล

การเรียนรู้และค้นคว้าเนื้อหาเพือ่ ให้นาไปสู่การสร้างหรือระดมความคิดใน ที่สุด ขั้นตอนการเตรียมนี้ถือว่า เป็นขั้นตอนที่สาคัญมากตอนหนึ่งที่ผู้ออกแบบต้องใช้เวลาให้ มาก เพราะการเตรียมพร้อมในส่วนนี้ จะทาให้ขั้นตอนต่อไปในการออกแบบเป็นไปอย่าง ต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ

ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน (DESIGN INSTRUCTION)

ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน (DESIGN INSTRUCTION) • การทอนความคิด • การวิเคราะห์งานแนวคิด • การออกแบบขั้นแรก • การประเมินและแก้ไขการออกแบบ ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนนี้เป็นขั้นตอนที่กาหนดว่าบทเรียนจะออกมาในลักษณะใด

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนการเขียนผังงาน (FLOWCHART LESSON)

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนการเขียนผังงาน (FLOWCHART LESSON) • ผังงานเป็นการอธิบายขั้นตอนการทางานของโปรแกรมโดยใช้ชุดสัญลักษณ์ การเขียนผังงาน เป็นสิ่งสาคัญทั้งนี้ก็เพราะสื่อการเรียนรู้ที่ดีจะต้องมีปฏิสัมพันธ์อย่างสม่าเสมอ และสามารถ ถูกถ่ายทอดออกมาได้อย่างชัดเจนที่สุดในรูปของสัญลักษณ์ การเขียนผังงานจะนาเสนอ ลาดับขั้นตอน โครงสร้างของบทเรียน ผังงานทาหน้าที่เสนอข้อมูลเกี่ยวกับ โปรแกรม เช่น อะไรจะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนตอบคาถามผิด เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนการสร้างสตอรี่บอร์ด (CREATE STORYBOARD)

ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนการสร้างสตอรี่บอร์ด (CREATE STORYBOARD) การสร้างสตอรี่บอร์ด เป็นขั้นตอนของการเตรียมการ นาเสนอสื่อในรูปแบบข้อความ ภาพ รวมทั้งสื่อในรูปแบบ มัลติมีเดียต่างๆ ลงบนกระดาษแบบคร่าวๆ เพื่อให้การ นาเสนอเป็นไปอย่างเหมาะสมบนหน้าจอแสดงผลที่ หลากหลาย สตอรี่บอร์ดนาเสนอเนื้อหาและลักษณะของการนาเสนอ ขั้นตอนการสร้างสตอรี่บอร์ดรวมไปถึงการเขียนสคริปต์ที่ ผู้เรียนจะได้เห็นบนหน้าจอ ซึ่ง ได้แก่ เนื้อหา คาถาม ผล ป้อนกลับ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ ในขั้นนี้ควรที่ จะมีการประเมินผลและทบทวนแก้ไขบทเรียนจากสตอรี่บอร์ด นี้ จนกระทั่งผู้ร่วมทีมพอใจกับคุณภาพของบทเรียน

ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนการสร้าง / เขียนโปรแกรม (PROGRAM LESSON)

ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนการสร้าง / เขียนโปรแกรม (PROGRAM LESSON) เป็นกระบวนการเปลี่ยนสตอรี่บอร์ด ให้กลายเป็นสื่อ หรือเป็นการเขียนโปรแกรม เพื่อใช้โปรแกรมช่วยสร้างสื่อที่ซับซ้อนมาก ขึ้นในการสร้างบทเรียน เช่น Unity 3D ใน ขั้นตอนนี้ผู้ออกแบบสื่อ จะต้องรู้จักเลือกใช้ โปรแกรมที่เหมาะสม การใช้โปรแกรมนี้ ผู้ใช้ สามารถได้มาซึ่งงานที่ตรงกับความต้องการ และลดเวลาในการสร้างได้ส่วนหนึ่ง

ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนการผลิตเอกสารประกอบบทเรียน (PRODUCE SUPPORTING MATERIALS)

ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนการผลิตเอกสารประกอบบทเรียน (PRODUCE SUPPORTING MATERIALS) เอกสารประกอบการเรียนเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่ง เอกสารประกอบการเรียนอาจแบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ คู่มือการใช้ของผู้เรียน คู่มือการใช้ของผู้สอน คู่มือสาหรับการแก้ปัญหาเทคนิค ต่างๆ และเอกสารประกอบเพิ่มเติมทั่วๆไป ผู้เรียนและผู้สอนมีความต้องการแตกต่างกันไป ดังนั้นคู่มือสาหรับผู้เรียนและผู้สอนจึงไม่เหมือนกัน

ขั้นตอนที่ 7 ขั้นตอนการประเมินและแก้ไขบทเรียน (EVALUATE AND REVISE)

ขั้นตอนที่ 7 ขั้นตอนการประเมินและแก้ไขบทเรียน (EVALUATE AND REVISE) ขั้นตอนสุดท้ายบทเรียนและเอกสารประกอบทั้งหมดควรที่จะได้รับการประเมิน โดยเฉพาะการ ประเมินในส่วนของการนาเสนอ และการทางานของบทเรียนในส่วนของการนาเสนอนั้น ผู้ที่ควร จะทาการประเมินก็คือ ผู้ที่มีประสบการณ์ในการออกแบบมาก่อน ในการประเมินการทางานของ ผู้ออกแบบควรที่จะทาการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน ในขณะที่ใช้บทเรียนหรือสัมภาษณ์ ผู้เรียนหลังการใช้บทเรียน

หลักการออกแบบสื่อเสมือนจริง (VIRTUAL REALITY)

หลักการออกแบบการสอนที่มีประสิทธิภาพ

หลักการออกแบบการสอนที่มีประสิทธิภาพ ในการออกแบบ จาเป็นต้องศึกษาและเข้าใจขั้นตอนในการออกแบบ เพื่อนามาประยุกต์ เป็นแนวทางในการปฏิบัติและลงมือสร้างสื่อ เพื่อให้ได้ผลงานที่ถูกต้องตามจุดประสงค์ เมื่อศึกษา และเข้าใจในการออกแบบดีแล้วย่อมจะทาให้ผลงานนั้นออกมาอย่างมีประสิทธิภาพ หลักการออกแบบประกอบไปด้วย 9 ขั้นตอน ซึ่งขั้นตอนเหล่านี้ออกแบบสาหรับการ เรียนรู้แบบปกติ แต่ได้นามาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนด้วยสื่อดิจิทัลได้ ด้วยหลักการสอน ประกอบด้วย 9 ขั้นตอนของกาเย (Gagne, 1992) ดังนี้

หลักการสอนประกอบด้วย 9 ขั้นตอนของกาเย (Gagne, 1992) ดังนี้



ขั้นตอนที่ 1 เร้าความสนใจ (Gain Attention)



ขั้นตอนที่ 2 บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objectives)



ขั้นตอนที่ 3 ทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)



ขั้นตอนที่ 4 การเสนอเนื้อหา (Present New Information)



ขั้นตอนที่ 5 ชี้แนวทางการเรียนรู้ (Guide Learning)



ขั้นตอนที่ 6 กระตุ้นการตอบสนอง (Elicit Responses)



ขั้นตอนที่ 7 ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide Feedback)



ขั้นตอนที่ 8 ทดสอบความรู้ (Access Performance)



ขั้นตอนที่ 9 การจาและนาไปใช้ (Promote Retention and Transfer)

CONTACT DETAILS [email protected]

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.