หนังสืออีบุ๊คการพัฒนาชีวิต4 Flipbook PDF

พัฒนาชีวิตและการประกอบการชุมชนรวม1-4เทอมที่7ห้องเสื้อสวนเกษตร

87 downloads 121 Views 84MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

ภาคเรียนที่๑/๒๕๖๕รุ่น๑/๒๕๖๓ หลักสูต สู รศิลปศาสตรบัณ บั ฑิต โครงงาน สาขาการพัฒ พั นาชีวิ ชี ต วิ และประกอบการชุม ชุ ชน คณะศิล ศิปศาสตร์ สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน


รายงานการพัฒนาชีวิต ๔ การพัฒนาและยกระดับโครงงานการประกอบการชุมชน นางสาวยุวดี ราษฎร์นิยม ศูนย์เรียนรู้ของชุมชนเครือข่ายมหาวิทยาลัยชีวิต ศูนย์การเรียนรู้เพื่อปวงชน จังหวัดสมุทรสงคราม หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาชีวิตและประกอบการชุมชน คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการเรียนรู้เพ่ืื่อปวงชน ภาคเรียนที่ ๑ /๒๕๖๕


งานคิดออกแบบไอเดียสร้างสรรค์เพื่อตอบโจทย์ในการทำ ธุรกิจ กิจการ สื่อสาร การโฆษณาทำ การตลาด การคิดค้นสินค้าใหม่ๆ งานครีเอทีฟเป็นงาน ที่ใช้ทั้งความคิดกับการจินตนาการสำ หรับงานออกแบบต้องใช้เวลาอยู่กับตัว เองค่อนข้างสูงและจากประสบการณ์ที่ผ่านมา วิเคราะห์ได้ว่า หากเรามีการ จดจ่อในการทำ งานซึ่งทำ สิ่งที่ตนเองถนัดจะทำ ให้เกิดทักษะมากขึ้นเรื่อยๆผล สำ เร็จที่ได้ ทำ ให้งานมีประสิทธิภาพ ถึงแม้จะต้องใช้เวลาค่อนข้างสูงในบาง ชิ้นงาน ทั้งนี้ทักษะของแต่ละคนแตกต่างกัน บางทัศนะอาจใช้กับคนอื่นไม่ได้ ซึ่งตัวเราจะเป็นผู้เข้าใจและรู้ในตัวเราเองได้ดีที่สุด การออกแบบงานสร้างสรรค์ มิใช่เพียงแต่เรื่องงานเรื่องอาชีพแต่เพียง อย่างเดียว อาจรวมถึงการจัดการในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการจัดการชีวิต การจัดการเวลา การจัดการสุขภาพร่างกายและจิตใจรวมถึงองค์ประกอบอีก หลายๆด้านให้เอื้ออำ นวยต่อการสร้างสรรค์นั้นๆด้วย ซึ่งความหมายของการ สร้างสรรค์นั้นคือทำ ให้มี ให้เป็น ให้อยู่ดีขึ้น นั่นคือการสร้างสรรค์ ถ้าเรามา วิเคราะห์สิ่งรอบตัวเรา ล้วนมีสิ่งดีๆมากมาย แต่เรามิอาจนำ มาใช้ได้ทั้งหมด เพราะสุดท้ายแล้ว เราเองจะต้องเป็นผู้คัดสรร คือการเลือกสิ่งที่เหมาะสมกับ ตัวเรามากที่สุด สำ คัญที่สุด แล้วใช้เวลากับสิ่งนั้น บทนำ ยุวดี ราษฎร์นิยม


คำ นำ บทสรุปผู้ประกอบการชุมชน ส่วนที่ ๑ เป้าหมายชีวิตและโครงงานประกอบการชุมชน เป้าหมายชีวิต โครงงานประกอบการชุมชน ส่วนที่ ๒ กิจกรรมโครงงานและสรุปผลการพัฒนาในช่วงชั้นปีที่ ๒ กิจกรรมพัฒนาโครงงานและผลการพััฒนา ประสบการณ์และความรู้การพัฒนาชีวิตและโครงงานประกอบการชุมชน ส่วนที่ ๓ การพััฒนาชีวิตและประกอบการชุมชน กิจกรรมการพััฒนาศักยภาพผู้ประกอบการชุมชน กิจกรรมการพััฒนาศักยภาพการประกอบการชุมชน ความก้าวหน้าหรือความสำ เร็จของกิจกรรมโครงงาน ปัจจัยที่ทำ ให้ก้าวหน้า หรือประสบความสำ เร็จ ส่วนที่ ๔ การพััฒนาและยกระดับโครงงานประกอบการชุมชน ศักยภาพการประกอบการชุมชน โอกาสและความเป็นไปได้ในการพัฒนาและยกระดับโครงงานประกอบการชุมชน แนวทางการพัฒนาและยกระดับโครงงานประกอบการชุมชน ส่วนที่ ๕ ภาคผนวก บันทึกข้อมูลการปฎิบัติโครงงานประกอบการชุมชน ประมวลภาพกิจกรรมพัฒนาชีวิตและโครงงานประกอบการชุมชน สารบัญ


รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชาการพัฒนาชีวิต๔การพัฒนาและ ยกระดับโครงงานการประกอบการชุมชน เนื้อหาการนำ เสนอเป็นการรายงานความ ก้าวหน้าของการดำ เนินโครงงานครั้งที่๓ประกอบด้วย"การบริหารจัดการ การตลาด การผลิต และการเงิน" ดำ เนินการแบบหนึ่งสมองสองมือ การเริ่มต้นพร้อมกับการ ตั้งเป้าหมายในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ทั้งด้านชีวิตการครองชีพการนำ ความรู้ด้าน การตัดเย็บเสื้อผ้าที่มีอยู่มาเป็นต้นทุนในการพัฒนาต่อยอดเศรษฐกิจของตนเองให้มี การพัฒนาขึ้นและมีจุดยืนที่มั่นคงมีความยั่งยืนโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางในการดำ รงชีวิต พร้อมกับการทำ งานและการจัดการด้านต่างๆการ ลงพื้นที่ศึกษาชุมชนต้นแบบที่เป็นแบบอย่างที่ดี อย่างเช่นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้ามัด ย้อม จากสามกรณีศึกษาและนำ แนวคิดที่ประทับใจที่จุดประกายโดยคุณจินดารัตน์ อ่อนอุระกลุ่มย้อมผ้าบ้านเขายี่สารต้องขอขอบคุณเป็นอย่างสูงสำ หรับในครั้งนี้ และ การศึกษาดูงาน เพื่อเสริมสร้างทักษะการประกอบการชุมชน อย่างร้านสิริสมปอง Farm & Cafe ตลอดจนการศึกษาแนวคิดของคุณ ไชยา ตรีสุวรรณ นักศึกษารุ่นพี่ ของม.ชีวิต ที่ปลดหนี้หลายสิบล้านด้วยวินัย สิ่งที่ได้เรียนรู้มีความสอดคล้องกับโครง งานประกอบการชุมชนของตนเอง จึงได้นำ แนวคิดมาใช้พัฒนาโครงงานและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการโลจิสติกส์ เพื่อสร้าง นวัตกรรมการจัดการแล้วพัฒนาในด้านต่างๆทั้งออนไลน์และออฟไลน์ต่อไป ในรายงานเล่มนี้ได้กล่าวถึงความก้้าวหน้าแบบเป็นขั้นเป็นตอนและเรียบง่าย เป้าหมายที่วางไว้มีการดำ เนินการที่ร้อยเรียงสัมพันธ์กันมีความชัดเจนและดำ เนินไป แบบเดินทีละก้าว กินข้าวทีละคำ ทำ ทีละอย่าง ตามความเหมาะสม โดยปัจจัยหลัก ในการดำ รงชีวิตคือวินัย การจัดการ และเป้าหมาย เพื่อให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ใน ทุกช่วงเวลา ที่ผ่านมาจนถึงวันนี้ นับตั้งแต่การศึกษาเรียนรู้ ที่ มหาวิทยาลัยชีวิต ที่ เน้นเรื่องของประสบการณ์ผู้เรียนเป็นตัวตั้ง " การสอนแบบไม่สอน " การใส่ใจให้ ความสำ คัญจากอาจารย์ทุกท่าน ที่ได้จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสิ่งที่ค้น พบว่า การทำ ให้โครงงานมีความก้้าวหน้าได้ ก็คือวินัย เป้าหมายที่ชัดเจนและมีการ จัดการที่มีหลักและแบบแผนที่ดี การนำ คำ สอนด้านหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ทั้งด้านการดำ เนินชีวิต และการทำ งานให้สมดุลกัน อย่างพอเหมาะพอควรก็ จะรับมือกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงต่างๆได้ จึงพึงระลึกเสมอว่าอาจารย์ทุกท่าน มีความห่วงใยศิษย์ทุกคนให้เจริญก้าวหน้าในชีวิตอย่างเสมอภาค ทั้งนี้ความระลึกได้ ของผู้เรียนในการเรียนรู้ใดๆ หากมีความเอาใจใส่ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ร่วม กันแล้ว"เราจึงจะเข้าใจครูบาอาจารย์"อย่างชัดแจ้งนั่นคือสิ่งสำ คัญจึงได้พยายาม ตั้งใจศึกษาเรียนรู้ตามที่ได้รับมอบหมาย แล้วบูรณาการวิชาเรียนในทุกๆวิชาให้เกิด ประสิทธิผลนำ มาซึ่งประโยชน์ต่อโครงงานให้ได้มากที่สุดตามกำ ลังที่จะกระทำ ได้ ทั้งนี้ "ความภาคภูมิใจ" บ่มเพาะความเป็นคนให้รู้จักการจัดการตนเองอย่างเป็นขั้น เป็นตอนด้วย"หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต" จึงขอกราบขอบพระคุณคณะอาจารย์ สาขาการพัฒนาชีวิต และประกอบการชุมชนคณะศิลปศาสตร์สถาบันการเรียนรู้ เพื่อปวงชน ทุกท่านเป็นอย่างสูงมาณที่นี้ด้วย คำ นำ ยุวดี ราษฎร์นิยม


บทสรุปผู้ประกอบการชุมชน โครงงานที่ข้้าพเจ้าทำ คือ โครงงานห้องเสื้อสวนเกษตร เป็นการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การใช้ ชีวิตในเมืองหลวงมาใช้ชีวิตนอกเมืองที่จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นการเปลี่ยนบริบทแบบท้าทาย ตนเองและนำ ความรู้วิชาชีพด้านการออกแบบตัดเย็บเสื้อผ้ามาสร้างงานโมดิฟายให้กลุ่มเป้าหมาย ทางธุรกิจเพื่อให้เกิดรายได้ พัฒนาเศรษฐกิจครัวเรือนแบบใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงโดยที่ข้้าพเจ้า ใช้ความรู้ที่มีเป็นต้นทุนหลัก ใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่มีอยู่แล้วเช่นจักรอุตสาหกรรมสำ หรับเย็บ และโพ้ง เตารีดไอน้ำ ส่วนใหญ่เป็นอุปกรณ์ที่มีอยู่แล้ว ขอเช่าที่ดิน 1งาน พร้อมที่พักเพื่อทำ ประกอบการห้องเสื้อสวนเกษตรข้าพเจ้าตั้งเป้าหมายไว้ว่าจะขอซื้อที่ดินแปลงนี้ในราคาประเมิณ กรมที่ดิน คือ 4 แสนบาท พร้อมที่พัก ในขณะเดียวกันก็นำ วัสดุ แผ่นฉนวนสำ เร็จรูป AC wall ,มาประกอบเป็นห้องทำ งาน ใช้งบ 1แสน พร้อมระบบไฟฟ้าและปูพื้นกระเบื้อง โครงงานนี้มีความก้้าวหน้า การตั้งเป้าหมายระยะแรกของโครงงานนั้นเหมาะสมกับสถานการณ์ ในยุคปัจจุบัน เน้นความเรียบง่าย จัดการด้านเวลาให้สอดคล้องกับการทำ งาน และการใช้ชีวิต ทำ การกำ หนดเป้าหมาย วิเคราะห์ปัญหาแล้วศึกษาวิธีการเพื่อพัฒนาแผนด้วยอีกส่วนหนึ่ง เปรียบ ได้กับเข็มทิศชี้ทาง สิ่งสำ คัญคือเป้าหมายและวินัย ซึ่งหมายถึงความชัดเจนต่อเป้าหมายหรือการ โฟกัสต่อเนื่องสม่ำ เสมอ มีความสำ คัญมากในเทอมนี้ผู้ศึกษาได้ทักษะและประสบการณ์เพิ่มมากขึ้น ได้พัฒนาสิ่งใหม่ในหลายๆด้านที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโครงงาน เช่นการเรียนรู้ทักษะการ เป็นนายหน้า และจำ หน่ายส้มโอทับทิมสยาม ผ่านออนไลน์ ส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อำ นวยความสะดวกมีความสำ คัญและจำ เป็นมากที่สุด เริ่มจากสืบค้นหาข้อมูลหาแหล่งผลิตและ จุดเด่นในภูมิปัญญาท้องถิ่น การทำ ตลาดออนไลน์ จำ หน่ายสินค้าในท้องถิ่น ตัวอย่างเช่นส้มโอ ทับทิมสยามเป็นกิจกรรมเสริม สินค้าเสื้อหม้อห้อมเป็นกิจกรรมหลักในการเริ่มต้น และงาน ออกแบบเสื้อผ้าตัดเย็บ จัดส่งผ่านทางไปรษณีย์ การเป็นตัวแทนขายอสังหาริมทรัพย์ เป็นการ สะสมความรู้ด้านอสังหาริมทรัพย์ และยังได้ทักษะการทำ หนังสือ E- Book จำ นาน8เล่มในเทอมนี้ เทอมหน้าวางแผนทำ สื่อต่างๆเพิ่มรวมถึงหนังสือ E-Book เพราะรู้สึกชอบและมีความสุขที่ได้ทำ นอกจากนี้จะวางแผนปรับสภาพภฺูมิทัศน์รอบสถานที่อีกครั้ง หลังจากผ่านวิกฤติช่วงน้ำ ท่วมมาแล้ว เพื่อรองรับปัจจัยด้านอาหารร ส่วนแผนการดำ เนินงานเพิ่มเติมนั้นจะปรับปรุงพัฒนาให้ดำ เนินการ ไปตามแผนรวมถึงวิถีชีวิตประจำ วันนั้นให้ปรับตัวในแบบฉบับการใช้ชีวิตกับการทำ งานให้มีความ สุข เป็นเรื่องเดียวกัน ยุวดีราษฎร์นิยม นักศึกษามหาวิทยาลัยชีวิต


ส่วนที่ ๑ เป้าหมายชีวิิตและโครงงานประกอบการชุมชน เป้าหมายชีวิิต คือมีบ้านอยู่ในสวนเกษตรของตนเองและประกอบอาชีพมีรายได้ โดยนำ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำ เนินชีวิต ด้านการพัฒนาชีวิต ทำ งานที่ตนเองถนัดและมีความสุข มีสุขภาพกายใจดี ไร้หนี้สิน ตามแผนชีวิตที่วางไว้ ได้แก่ แผนการงาน การเงิน แผนเวลา และแผนสุขภาพ ด้านการพัฒนาการประกอบการชุมชน เชื่อมโยงงานผ้าไทยและผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติด้วยเอกลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นสินค้า หลัก แล้วนำ แนวคิดงานด้านโมดิฟายมาใช้ร่วมกันกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง และโมเดล เศรษฐกิจ แบบ BCG ในการทำ การประกอบการ 1-3 ปีแรกของห้องเสื้อสวนเกษตรวางเป้าหมายดังนี้ ปีที่1 เป็นเป้าหมายสถานที่ต่างจังหวัด ที่ดิน1งาน อยู่ใกล้ ม.ชีวิต ปีที่2 จัดการเรื่องระบบการประกอบการ สิ่งที่สำ คัญในการจัดระบบคือ การวางแผน มีวินัย และการเรียน รู้เพื่อพัฒนาในการจัดการ ด้านการเงิน การตลาด การผลิต และ การบริหารจัดการ ปีที่3 เป็นเรื่องของรายได้หรือผลประกอบการ การยกระดับการพัฒนา ด้านผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์และการตลาด ตลอดจนนำ แผน พัฒนาการประกอบการมาใช้เพิ่มศักยภาพด้านการประกอบการ ได้แก่ แผนการตลาด แผนการผลิต แผนการบริหารจัดการ และ แผนการเงิน เพื่อสร้างผลประกอบการในปีที่ 3


โครงงานประกอบการชุมชน ชื่อโครงงานประกอบการชุมชน ห้องเสื้อสวนเกษตร สถานที่ประกอบการ 45/1 หมู่ที่4 ตำ บลโรงหีบ อำ เภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม อาจารย์ท่ีี่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์อภิชาติ มหาราชเสนา อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม อาจารย์รมย์ธีรา น้อยประเสริฐ หน่วยการผลิต หน่วยครัวเรือน ระดับการผลิต ระดับต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ


ความเป็นมาของโครงงาน อาชีพตัดเย็บเสื้อผ้าเป็นอาชีพที่ทำ มาตั้งแต่อายุ 16ปี ระหว่างที่เปิดร้านห้อง เสื้อ ก็มีการทำ อาชีพเสริมเพื่อเรียนรู้เก็บเกี่ยวประสบการณ์และหาช่องทางเครือ ข่ายเพื่อเชื่อมต่อสายสัมพันธ์ให้เกิดกลุ่มลูกค้าขึ้นเรื่อยๆตลอดการทำ งาน ในช่วง นั้น ถือว่าได้ประสบการณ์ที่หลากหลาย และรายได้ดี บริษัทมักแจกผ้าให้พนักงาน นำ มาให้ช่างออกแบบตัดชุดกันมากมาย ได้ผลตอบรับดีมาก จนกระทั่งเมื่อ ประมาณปี2544 จึงวางแผนซื้อบ้านในกรุงเทพฯเขตหนองจอก ด้วยงบ6แสนบาท พื้นที่ 26.7 ตารางวา ด้วยการผ่อนเดือนละ 3,500บาท ด้วยการวางแผนครั้งนั้น ทำ ให้การทำ งานมีเป้าหมายที่ชัดเจน จนกระทั่งได้ทำ สัญญาแล้วได้ทำ การเปิดเป็น ห้องเสื้อประจวบเหมาะกับช่วงเวลานั้นการแต่งกายของลูกค้าเกิดการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากนโยบายบริษัทต้องลดรายจ่ายพนักงานทำ ให้งานเริ่มน้อยลง ซึ่งพอดีกับ ปัญหาเรื่องช่างเย็บทำ งานไม่เรียบร้อย ควบคุมยาก รายจ่ายเยอะ ค่าครองชีพสูง ข้าพเจ้าเริ่มเหนื่อยกับชีวิตในเมืองมากขึ้นเรื่อยๆ จะไปทางไหน รถติดใช้เวลามาก เกินความจำ เป็น ความแออัดของที่พัก ทำ ให้เห็นความสำ คัญของการมีที่ดินเพิ่ม ข้าพเจ้าชอบปลูกผักทานเอง แต่มีข้อจำ กัด วันหนึ่ง ข้าพเจ้าคิดจะศึกษาต่อที่ สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน คิดคำ นวนค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปกลับคงจะไม่ ไหว ประกอบกับที่ข้าพเจ้ากำ ลังหาที่ดินต่างจังหวัดเพื่อเปลี่ยนแปลงบริบทการใช้ ชีวิตให้ง่ายขึ้น สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน คือโรงเรียนที่มีแนวทางและหลัก การพัฒนาคนให้ใช้ชีวิตตนเองในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองให้มีรายได้และอยู่ได้ ด้วยตนเอง ข้าพเจ้าคิดว่า ที่นี่คือโรงเรียนในฝันของข้าพเจ้าอย่างแน่นอน โรงเรียน ชีวิต ไม่รอช้า ปักหลักใกล้ๆ อย่างน้อยก็ได้อยู่จังหวัดเดียวกันกับสถาบัน ข้าพเจ้ามีเป้าหมายชีวิตที่จะอยู่แบบสบายๆ ไม่ต้องแออัด รถติดอีก หายใจ แบบโล่งๆ มีอาหาร และค่าครองชีพที่เบาลง การใช้เวลาเหลืออีกไม่มาก อย่าง น้อยได้เรียนที่โรงเรียนในฝัน มหาวิทยาลัยชีวิต พร้อมเครือข่ายเพื่อนที่มีแนวคิด คล้ายกัน แล้วมีบ้านพร้อมที่ดินสักแปลงพร้อมการทำ งานแบบพอเพียงไม่เร่งรีบ มาก เพียงเท่านี้ ก็พอใจแล้ว


การจัดการระบบโลจิสติกส์ ห่วงโซ่คุณค่า - ทำ น้อย ได้มาก การให้คุณค่า สินค้าและผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการจัดการที่มี คุณภาพตั้งแต่การผลิตจนถึงมือลูกค้า เลือกกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน ไม่เน้นเรื่องการลงทุนและการเป็นหนี้ ด้วยการแข่งขันเชิงปริมาณ และการบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี แนวคิดด้านการใช้โมเดล BCG มาพัฒนาเศรษฐกิจแบบฐานราก เป็นการช่วยเหลือสังคมด้านสิ่งแวดล้อม วินัย การวางแผนในด้านต่างๆ เช่น แผนการจัดการ การผลิต การเงิน แผนเวลา สิ่งสำ คัญคือวินัย ถ้าขาดสิ่งนี้ เราจะต้องใช้ทุนเพิ่มขึ้น เช่น ทุนเวลา ทุนเงิน และสุดท้ายคือเป้าหมายจะอาจจะไม่แน่นอน เป้าหมายชัดเจน เดินตามแผน รักษาวินัย รักการเรียนรู้ เป้าหมายจะอยู่ไม่ไกล ถ้าไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่เรียกว่าพัฒนา แนวคิดประกอบการชุมชน


แนวทางพัฒนาการประกอบการชุมชน ออกแบบสร้างเป็นเรื่องราว ประวัติความเป็นมา การเชื่อมต่อ เครือข่ายพันธมิตร เพื่อระดับปลายน้ำ พัฒนาการตลาด การผลิต การจัดการ การเงิน ค้นหาอัตลักษณ์ของห้องเสื้อ หน่วยงานส่งเสริม ประกอบการชุมชน เกษตรครัวเรือน ระบบบัญชีธุรกิจ/ครัวเรือน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.


วัตถุประสงค์ของโครงงาน ๑) มีบ้านอยู่ในสวนเกษตรของตนเองและประกอบอาชีพมีรายได้ โดยนำ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำ เนินชีวิต ๒) ทำ งานที่ตนเองถนัดและมีความสุข มีสุขภาพกายใจดี ไร้หนี้สิน ตามแผนชีวิตที่วางไว้ ๓) เชื่อมโยงงานผ้าไทยและผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติด้วยเอกลักษณ์ภูมิปัญญา ท้องถิ่นให้เป็นสินค้าหลัก แล้วนำ แนวคิดงานด้านโมดิฟายมาใช้ร่วมกันกับ หลักเศรษฐกิจพอเพียง และโมเดลเศรษฐกิจ แบบ BCG ในการ ประกอบ การชุมชน โมดิฟาย/ออกแบบหน้าร้าน/ให้ลูกค้าพึงพอใจแบบกลับมาซื้อซ้ำ ใหม่ ด้วยความละเอียด สวยด้วยฝีมือ บริการด้วยหัวใจ (ด้านการผลิต) บริการก่อนและหลังการขายให้ประทับใจด้วยข้อแนะนำ ที่มีประโยชน์ (ด้านการบริการหลัง การขาย- การตลาด) ส่งข้อมูลข่าวสารผ่านไลน์ OA เพื่อไม่ให้พลาดข่าวสารและสะดวกในการจัดส่งข้อมูล แบบ โพสครั้งเดียวแต่ได้รับรู้พร้อมกัน เป็นการประหยัดเวลา ( การตลาด ) แพ๊คสินค้าให้ปลอดภัยไม่เสียหาย ด้วยความปราณีตใส่ใจ (การจัดการโลจิสติกส์) การตลาด เพื่อสนับสนุนงานขาย โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยส่งเสริม ประสิทธิภาพ กิจกรรมหลักของโครงงาน ประวัติลูกค้าเพื่อจัดเก็บเป็นประวัติโดยแยกส่วน ความร่วมมืือ/ภาคี/เครือข่าย ติดต่อสั่งสินค้าที่โดนใจลูกค้ามาทำ การตลาดจากวิสาหกิจที่ เชื่อมต่กกันไว้ เป็นการลดต้นทุนการผลิต โดยสั่งผ่านออนไลน์ เป็นส่วนใหญ่ ผลที่คาดว่่าจะได้รับ ห้องเสื้อสวนเกษตร เริ่มต้นจากหนึ่งสมองสองมือเพื่อเป็นการลดต้นทุน ดังนั้น จึงสามารถควบคุมความสี่ยงได้ อีกทั้งความใส่ใจต่อกิจกรรมด้านห่วงโซ่คุณค่าจะเพิ่ม ศักยภาพในการประกอบการให้สำ เร็จได้


รายงานการพัฒนาชีวิต และประกอบการชุมชน กรณีศึกษา เพื่อการพัฒนา


สถ าบันก า ร เ รี ย รี นรู้ เ พื่ อปว ง ช น จัดทำ โดย วิชาภูมิปัญญาท้องถิ่น สำ หรับการประกอบการ โคร ง ง าน ห้อง เสื้อ สวนเกษตร น า ง ส า ว ยุ วดี ร าษฎร์ นิ ย ม รุ่ น 2 5 6 3 เ ท อ ม 1 / 2 5 6 4 จั ง ห วัดส มุ ท ร ส ง ค ร า ม


คำ นำ คุณค่าภูมิปัญญาในแต่ละท้องถิ่นที่ทางผู้ศึกษาได้ไปศึกษาจากผู้รู้ นั้น นั้ ห้องเสื้อสวนเกษตรกับสถานการณ์ปัจจุบัน ไม่ได้คาดหวังว่าจะ ต้องโดดเด่นมากเหมือนกับทุกกรณีศึกษาที่ได้ไปเรียนรู้มา แต่เพียง หวังว่าจะนำ บางสิ่งในกรณีนั้น นั้ มาเสริมเพิ่มเติมในตัวเรา ในห้องเสื้อ หรือโครงงานประกอบการของเรา ให้เกิดผลพัฒนาแก่ประกอบการ และการทำ มาหากิน การนำ แนวคิดเกี่ยวกับการต่อสู้กับตัวเองที่จะอนุรักษ์สิ่ ษ์ สิ่ งดีงามใน ท้องถิ่นของคุณจินดารัตน์เกี่ยวกับการย้อมสีผ้าจากเปลือกไม้ตะบูน ทั้ง ทั้ ที่ตนเองไม่ได้มีความถนัดในสิ่งที่จะทำ เลย แต่ความแกร่งทาง ด้านจิตใจและแนวคิดของเธอ ทำ ให้ชนะความยากลำ บากได้อย่าง สวยงาม จนเป็นที่ยอมรับในชุมชน บ้านเขายี่สาร สำ หรับคุณนาง สาวเมืองแพร่ก็คือคนรุ่นใหม่ ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ต่อการ สร้างผลงานในชุมชนท้องถิ่นเมืองลอง ที่มีประวัติความเป็นมาด้าน งานย้อมผ้าหม้อห้อมสีเอกลักษณ์ของเมืองแพร่ ความใส่ใจราย ละเอียดบวกกับความรักในสิ่งที่ทำ จึงส่งผลให้ประสบความสำ เร็จ และไม่ใช่เพียงแค่งานย้อมเท่านั้น นั้ งานผ้าทอมือที่เป็นเอกลักษณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นเมืองลอง ยังถูกสาวสวยคนเก่งคนนี้นำ มาสร้าง คุณค่าให้เกิดมูลค่าได้อย่างน่าชื่นชม และอีกกรณีศึกษาที่ได้ไป ลงพื้นที่มานั้น นั้ ก็ได้เห็นถึงความสามารถในการทำ การตลาดของคุณ บุปผาที่เกษตรสวนนอกอดีตทำ งานในเมืองกรุงเทพแต่กลับมาอยู่ที่ บ้านสวนแล้วสร้างผลผลิตที่เกิดจากมะพร้าวรวมถึงงานมัดย้อมแม้ จะมีงานมัดย้อมจากสีของเปลือกมะพร้าวที่นำ ทรัพยากรในพื้นที่มา ใช้ ให้เกิดประโยชน์และเป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่นสมุทรสงคราม การใช้สื่อออนไลน์ในการทำ ตลาดก็เป็นเสน่ห์ของเธอ ที่ทำ ให้มีคน รู้จักเธอมากมาย ทั้ง ทั้ สามกรณีศึกษาที่ได้นำ มาเผยแพร่นั้น นั้ ที่สำ คัญคือการนำ กรณี ศึกษาดังกล่าวมาวิเคราะห์ หาข้อสรุปเพื่อประโยชน์ในการพัฒนา โครงงานของผู้ศึกษา และทั้ง ทั้ นี้จะเกิดประโยชน์และแนวทางเพื่อนำ มาใช้พัฒนาและเพิ่มความรู้ ให้แก่ผู้สนใจได้ไม่น้อย


สา ร บั ญ 01 ส่วนที่ 1 บทนำ 04 หลักการและเหตุผล 06 จุดมุ่งหมาย 07 ที่มาและความสำ คัญ 32 วิส วิ าหกิจชุมชน เกษตรสวนนอก 36 ส่วนที่3 การนำ ไปใช้ 38 ส่วนที่4 สรุป ห้ อ ง เ สื้ อ ส ว น เ ก ษตร 13 ส่วนที่2 ความรู้ที่ได้ วิส วิ าหกิจชุมชนบ้านแม่ ลานเหนือ 40 ภาคผนวก 39 บรรณานุกรม 25 วิส วิ าหกิจชุมชนเปลือก ไม้กลุ่มบ้านเขายี่สาร


ประวัติความเป็นมา ของห้องเสื้อคือแนวคิดใน การจัดทำ โครงงานประกอบการ ยึดการปฏิบัติตน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง กล่าวคือต้องแก้ไขที่ ตนเองก่อน จำ กัดความต้องการให้รู้จักพอดีไม่ บริโภคเกินความจำ เป็นหรือตกเป็นทาส ของวัตถุ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวคิดที่ถูก หล่อหลอม มาจากความเป็นจริงแห่งธรรมชาติที่ มนุษย์ทุกคนต้องศึกษาให้เข้าใจ และต้องนำ ไปใช้ ในชีวิตประจำ วันเพื่อที่จะได้เข้าใจถึงความเป็นจริง ของธรรมชาติ ความเป็นจริงของชีวิตว่าสิ่งใดควร ทำ สิ่งใดไม่ควรทำ สิ่งใดควรยึดถือเป็นที่พึ่ง สิ่งใด ไม่ควรยึดถือเป็นที่พึ่ง เมื่อได้ศึกษาจนเข้าใจและ นำ ไปปฏิบัติจนเกิดผลแล้ว จะพบความจริงแห่ง ชีวิต ว่าสิ่งที่จำ เป็นต่อการดำ รงชีวิตคืออะไร เมื่อ นั้น นั้ ก็จะได้เข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็น อย่างดี เพราะหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นนโยบาย ที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นจริงของชีวิต ตามหลัก ศาสนานั่น นั่ เอง พอมี พออยู่ พอดี ส่วนที่1 บทนำ 1


การดำ เนินงานที่ผ่านมาของห้องเสื้อ เริ่มต้นที่การลงมือ เรียนรู้ แนวคิดการทำ งาน จากผู้รู้ ผู้ประกอบการแล้วมี วิธีการปรับตัว บริหาร และพัฒนาตนเองในการทำ โครง งานให้เข้ากับสถานการณ์ วิวัฒนาการผ่านช่องทางต่างๆ การออนไลน์ วิธีติดตามลูกค้าเดิม และเพิ่มชิ้น ชิ้ งาน เพื่อ จำ หน่าย การเรียนรู้และลงมือทำ มีอุปสรรคแต่สามารถ หาแนวทางแก้ไขให้เหมาะสมตามเหตุผลพอสมควร ยึด หลักการ พอมี พออยู่ พอดี เพื่อ สามารถปรับตัว พร้อม ปรับเปลี่ยนรับมือกับสถานการณ์ เบื้องต้นใช้ความรู้ที่พอ มี มาตอบโจทย์การทำ โครงงาน ชื่อ ห้องเสื้อในสวน ต่อ มาเมื่อเกิด สถานการณ์โควิดระบาดจึงได้ปรับปรุงวิธีคิด ใหม่ ในรูปแบบการทำ เสื้อผ้าเดิมแต่ ให้มีหลายสิ่งเข้ามา ได้มากขึ้น ประกอบกับการที่ห้องเสื้อมาตั้ง ตั้ อยู่ในพื้นที่ ที่ มีต้นไม้ และสวนอยู่ในบริบทของต่างจังหวัด จึงมีการ ริเริ่มสร้างสรรค์ปลูกผักไว้ทานเองบ้าง พร้อมกับเรียนรู้ เพิ่มเติมพื้นฐานการเกษตรไปในตัวด้วย ทั้ง ทั้ นี้จุดประสงค์ เพื่อวางแผน รองรับในอนาคต ควบคู่ไปกับงานโมดิฟาย เสื้อผ้า พร้อมกับใช้ชื่อห้องเสื้อสวนเกษตร ก่อนหน้านี้เราเกือบลืมไปแล้วว่า ความรู้ที่เรามีนั้น นั้ กินได้ 2


ในเทอมนี้มีเนื้องานที่ปรับให้เข้ากับสถานการณ์มากยิ่งขึ้น นอกเหนือจากการรับงานผ่านช่องทางออนไลน์แล้วยังเพิ่มเติม การเรียนรู้ในสายอาชีพเพื่อพัฒนาช่องทางการทำ มาหากิน เพื่อ ให้เดินหน้าต่อไป ถึงมีอุปสรรคแต่ยังสามารถหาแนวทางแก้ไข ได้ วิชาภูมิปัญญาท้องถิ่นสำ หรับผู้ประกอบการเป็นกรณีศึกษา ที่ให้ลงพื้นที่ค้นหาสิ่งที่เราขาดพร้อมกับนำ ความรู้ในกรณีศึกษา นั้น นั้ มาใช้ในงานห้องเสื้อสวนเกษตร ซึ่งทั้ง ทั้ สามกรณีทำ ให้ได้มุม มองที่แตกต่างกันจึงสะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าในองค์ความรู้และ ภูมิปัญญาของแต่ละท้องถิ่น เสน่ห์ของภูมิปัญญาแต่ละพื้นที่ แท้จริงแล้ว ในแต่ละท้องถิ่น ถึงแม้มีความแตกต่างกันแต่เชื่อ ไหมว่าทุกที่ มีเสน่ห์และความโดดเด่น อันทรงคุณค่าในความ งามที่เราสามารถเรียนรู้ได้ไม่ยากนักในยุคนี้แล้วเราจะสามารถ เชื่อมต่อให้คุณค่าเปลี่ยนเป็นมูลค่าได้อย่างไรนึ่คือความท้าทาย ที่เกิดขึ้น เราจะพัฒนาตนเองอย่างไร 3 1


ออกแบบ งานโมดิฟาย พัฒนาสินค้าหลัก สำ รวจตลาด ความต้องการลูกค้า พัฒนาสินค้ารอง ใช้ความรู้ความถนัด เป็นต้นทุน เกิดประโยชน์สูงสุด ช่วยลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ บอกเล่าคุณค่าภูมิปัญญา สร้างผลงานชิ้นใหม่ ต่อยอดจากชิ้นงานเดิม รักษาสิ่งแวดล้อม เราจะได้เข้าไปนั่งอยู่ ในใจลูกค้าเรา ได้อย่างไร ใส่ใจบริการ กิจกรรม หลักการ แ ล ะ เ ห ตุ ผ ล ปั ญ ญ า เ ป็ น ดั่ ง เ ข็ ม ทิ ศ ปราณีต ใส่ใจรายละเอียด เน้นคุณภาพ ดูแลดุจญาติมิตร ใส่ใจสิ่งแวดล้อม การเริ่มต้นของ แบรนด์มาย MY YUWADEE เรียนรู้ ลงมือทำ สรุปผล วิเคราะห์ พัฒนา ใช้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงนำ ธุรกิจ 4


·ตรวจสอบต้นทุนที่มีในปัจจุบัน เรียนรู้การเดินทาง ประมวลค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ·ดำ เนินงานตามสัดส่วนทุน ใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่ามากที่สุด ลดค่าใช้จ่าย ฟุ่ม ฟุ่ เฟือ ฟื ย ขั้นตอนการเริ่มดำ เนินงาน การเริ่มดำ เนินงาน ขั้นตอน พัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ที่มี เชื่อมต่อเครือข่ายการค้า มีความเข้าใจเรื่องสีย้อมผ้า ประจำ ท้องถิ่น . วัตถุประสงค์ ให้เกิดประสิทธิผล ระหว่างชุมชน จะรู้สึกอย่างไรถ้าได้ยินลูกค้าชมเราว่า เหมือนคนในครอบครัว 5


ปลายน้ำ โดยนำ สินค้าเพื่อนมาทำ ตลาดช่วยลดต้นทุนการผลิต รักษาสิ่งแวดล้อม การเรียนรู้นั้น ไม่มีวันหมดอายุ เรียนรู้เพื่อนำ ไป พัฒนาตนเอง ทำ ตัวเป็นน้ำ ครึ่งแก้วจะทำ ให้เราเป็นที่รักแก่ผู้รู้และพร้อมพัฒนา จากการส่องกระจกสะท้อนจากผู้รู้ ทำ กรณีศึกษาเพื่ออะไร เพื่องานออกแบบในห้องเสื้อ สร้างผลงานชิ้นใหม่จากจุดเด่นประจำ ท้องถิ่นแต่ละภาค นำ ผ้าย้อมจากเพื่อนมาขายได้ไหม สีธรรมชาติที่ใช้ย้อมผ้านั้นเราสามารถตอบได้ว่ามาจากที่ใด กลุ่มรักสุขภาพ แน่นอนว่าความนิยมในการรักสุขภาพคือจุดขายสำ คัญ การทำ งานด้วยความสุขคือความสำ เร็จของห้องเสื้อสวนเกษตร จุดมุ่งหมาย 6


มนุษย์ใช้สีธรรมชาติมาตั้งแต่ครั้งอดีต สีที่ได้จากส่วนต่างๆ ของพืชหรือจาก แร่ธาตุ มีความสัมพันธ์กับมนุษย์มาช้านาน และถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของ การ ดำ เนินชีวิตของมนุษย์ในแต่ละยุคสมัยในอดีตมนุษย์ใช้สีจากพืชในการประกอบ พิธีกรรมต่างๆ ต่อมามีการใช้สีจากพืชแพร่หลายมากขึ้น มีการนำ ไปใช้ในการ งานย้อมสีบนวัตถุหลากหลาย ชนิด เช่น การย้อมผ้า การทำ กระดาษ ตกแต่ง เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องจักสาน การแต่ง สีในอาหาร การย้อมเส้นใยพืชและ การย้อมสีขนสัตว์ เป็นต้น วิวัฒนาการและเทคโนโลยีที่เจริญขึ้น สีธรรมชาติจากพืชได้ลดความ นิยมลง ไป คงเหลือใช้ประโยชน์ของสีจากธรรมชาติเพียงไม่มากในผู้คนบางกลุ่มเท่านั้น ในขณะเดียวกันได้มีการนำ สีสังเคราะห์มาใช้แทนสีธรรมชาติจากพืชสีสังเคราะห์ หรือสีเคมี สามารถสังเคราะห์ได้ในปริมาณมากมีสีสันที่หลากหลายทำ ให้ความ นิยมในการใช้สีสังเคราะห์มีมากขึ้น การใช้สีสังเคราะห์ทดแทนสีจากธรรมชาติ เนื่องจากสีสังเคราะห์มีราคา ถูก ย้อมได้ง่าย สะดวกและมีเฉดสีหลากหลายกว่า สีธรรมชาติ ในการใช้สีเคมีหรือสี สังเคราะห์หากว่าขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูก ต้องในการใช้ จะส่งผลตามมามากมาย เช่น มีสารสีตกค้างในน้ำ ย้อมมาก ก่อให้ เกิดการปนเปื้อนของสารสีในแหล่งน้ำ ธรรมชาติและแหล่งน้ำ ผิวดินเป็นผลก่อให้ เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและต่อสุขอนามัยของผู้ย้อมและชุมชน จาก กระแส ตื่นตัวทางด้านสิ่งแวดล้อมและความต้องการผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ของ ผู้บริโภคในโลกยุคปัจจุบัน จึงได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการใช้สี ธรรมชาติมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีการตระหนักถึงผลเสียของการใช้สีสังเคราะห์ ในอุตสาหกรรมสิ่งทอรวมไปถึงผลกระทบต่อผู้ผลิต ที่มาความสำ คัญ 7


ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม ตั้ง ตั้ แต่ในระหว่างขั้น ขั้ ตอนการผลิตสี การย้อมสี ตลอดจน ถึงการนำ ไปใช้สวมใส่ ดังจะเห็นได้จากมีการ ยกเลิกการผลิต หรือการนำ เข้าวัตถุดิบ ที่เป็นสารก่อมะเร็ง เช่น เบนซิดีน(benzidine)ที่ใช้ในการผลิตสีสังเคราะห์ในหลายประเทศ หรือ มีการออกกฎหมายห้ามนำ เข้าผลิตภัณฑ์สิ่งทอที่ย้อมด้วยสี เอโซ ( azodyes ) ที่สามารถแตกตัว ให้สารอะโรมาติกเอมีน (aromatic amines) ที่มีแนวโน้มเป็นสารก่อมะเร็งได้ ผลจากการ ใช้สี สังเคราะห์ยังสามารถก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมได้ ไม่ ว่าจะเป็นน้ำ เสียที่ยากต่อการบำ บัด มีโลหะหนักบางชนิดปนเปื้อน อยู่เช่น ปรอทและตะกั่ว กั่ รวมไปถึงไอระเหยที่มาจากการต้มย้อม สีสังเคราะห์ ก็อาจส่งผลเป็นอันตราย ต่อผู้ผลิต และผู้ใช้โดยตรง แม้กระทั่ง ทั่ ผลิตภัณฑ์ที่ได้ ก็ยังมีสารพิษจากสีสังเคราะห์เจือปนอยู่ วิธีหนึ่ง ที่จะลดการใช้สีสังเคราะห์ได้ คือ การหันกลับมา ใช้สีจาก ธรรมชาติ ซึ่งหาได้ง่ายในท้องถิ่น ในช่วงเวลาที่ผ่านมาประเทศไทย มีการใช้สีสังเคราะห์ใน ประเทศมากขึ้น ส่งผลให้องค์ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการย้อมสี ธรรมชาติส่วนมากได้สูญหายไปตามกาลเวลา การฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ จึงนับว่ามีปัญหาทั้ง ทั้ ในด้านเทคนิคการย้อมสี รวมถึงปัญหาด้านวิธี การทำ ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการย้อม ปัญหาสำ คัญประการหนึ่งเกิด จากความรู้สึกเปรียบเทียบระหว่าง สินค้าเดิมกับสินค้าใหม่ ที่ผู้ บริโภคคาดหวัง ในด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ใช้สีธรรมชาติให้ ทัดเทียมกับผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการใช้สีสังเคราะห์ จากปัญหาข้าง ต้นดังกล่าวทำ ให้กลุ่มผู้ผลิตผ้าฝ้ายทอมือหรืองานหัตถกรรมเกี่ยว กับการย้อมจำ นวนไม่น้อย ที่ยังนิยมการย้อม ด้วยสีสังเคราะห์ มากกว่าการใช้สีธรรมชาติ 8


ในประเทศไทย มีการศึกษาการสกัดสีจากพืชในท้องถิ่นและ การใช้สีจากธรรมชาติ รวมถึงมีเทคนิควิธีการย้อมเส้นด้ายและ ผ้า ที่แตกต่างกันไป เช่น การสกัดสีน้ำ เงินจากใบ คราม สีฟ้า จาก อัญชัน สีแดงจากครั่ง รั่ รากยอ และแก่นฝาง สีส้ม อมเหลือง จากดอกคำ ฝอย สีเขียวจากใบหูกวาง และสีดำ จากผลมะเกลือ เป็นต้น โดยส่วนใหญ่ภูมิปัญญาการ ย้อมสี ทำ กันเฉพาะชาว บ้านที่สามารถหาส่วนของต้นไม้ที่ให้สีในท้องถิ่นตามฤดูกาล การสกัดใช้การต้มในน้ำ หรือใช้สารอินทรีย์เป็นตัวช่วยสกัด และ นำ สารละลายสีนั้น นั้ ไปทำ การย้อม เส้นด้ายฝ้ายและไหม ก่อนนำ มาทอเป็นผ้าผืนเพื่อไว้ใช้เองหรือไว้จำ หน่ายถึงแม้ว่าสีธรรมชาติ จะมีคุณสมบัติที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้แต่ปัญหาของสีธรรมชาติ ก็มี เช่น การเตรียม สีทำ ได้ยาก สีที่ได้จากการสกัดแต่ละครั้ง รั้ ไม่ เหมือนเดิม กรรมวิธีการย้อมสีบนเส้นใยแต่ละประเภท ยุ่งยาก ซับซ้อน สีไม่คงทน คุณภาพการติดสีต่ำ (low color yield) เมื่อ เปรียบเทียบ กับการใช้สีสังเคราะห์และยังมีปัญหาสีซีด สีตก ใน ระหว่างการนำ ไปใช้งาน หรือมีความคงทน ของสีต่อการซักและ มีความคงทนต่อแสงต่างๆทำ ให้ไม่สนองความต้องการของผู้ใช้ 9


การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการย้อมเช่น อุณหภูมิ เวลาในการ ย้อม และศึกษา เปรียบเทียบคุณภาพการย้อมสีกับการใช้สารดูด ซับสี หรือการใช้สารแทนนิน (tannin) จากส่วน ต่างๆ ของพืช เช่นจากใบเหมือด หรือการใช้สารช่วยติดสี (mordanting) หรือ มอร์แดนท์ (mordants) จำ พวกเกลือของโลหะ ได้แก่ สารส้ม (alum, aluminum potassium sulfate) จุนสี (copper sulfate) และเหล็ก (ferrous sulfate) เป็นต้น ซึ่งมอร์แดนท์เหล่านี้ นอกจากจะให้เฉดสี ที่หลากหลายแล้ว ยังทำ ให้สีสามารถผนึกติด บนเส้นใยได้ดีขึ้นโดยการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนระหว่าง โมเลกุลของสีกับมอร์แดนท์โลหะ (metal dye complexes) ทำ ให้โมเลกุลของสีมีขนาดที่ใหญ่ขึ้นได้สีที่เข้มและส่งผลถึงความ คงทนของสีต่อการซักและต่อการไวแสง โครงการวิจัย การพัฒนา สีธรรมชาติจากเปลือกต้นกระท้อนสำ หรับการย้อมใยฝ้ายและไหม ที่ นำ เสนอนี้ จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการนำ องค์ความรู้และ ทรัพยากรที่มีอยู่ในประเทศมา ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเป็นการต่อยอดงานจากภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อไปได้โดยมีเป้า หมายและวางแผนการทำ งาน “เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอที่ย้อม ด้วยสี ธรรมชาติให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคและรักษา สิ่งแวดล้อม” นอกจากนี้ยังเป็นการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและประยุกต์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยในการใช้สีจากพืชเพื่อการย้อมอีกทางหนึ่ง ด้วย 10


วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ หั ต ถ ก ร ร ม บ้ า น แ ม่ ล า น เ ห นื อ 1 3 7 / 1 ห มู่ 1 1 ต . ห้ ว ย อ้ อ อ . ล อ ง จ . แ พ ร่โ ด ย คุ ณ ห ทั ย รั ต น์ ขั น แ ก้ ว ผ้ า ย้ อ ม สีใ บ ห ม้ อ ห้ อ ม แ ก่ น ข นุ น ใ บ สั ก เ ป ลื อ ก ไ ม้ สิ น ค้ า ท อ มื อ วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น เ ป ลื อ ก ไ ม้ บ้ า น เ ข า ยี่ ส า ร เ ล ข ที่ 1 3 4 ห มู่ ที่ 1 ต . ยี่ ส า ร อ . อั ม พ ว า จ . ส มุ ท ร ส ง ค ร า ม ป ร ะ ธ า น ก ลุ่ ม คื อ คุ ณ จิ น ด า รั ต น์ อ่ อ น อุ ร ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ผ้ า มั ด ย้ อ ม สี จ า ก เ ป ลื อ ก ไ ม้ ต ะ บู น วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น เ ก ษ ต ร ส ว น น อ ก เ ล ข ที่ 1 1 ห มู่ 5 ตำ บ ล บ า ง ยี่ ร ง ค์ อ . บ า ง ค น ที จ . ส มุ ท ร ส ง ค ร า ม ป ร ะ ธ า น ก ลุ่ ม คื อ คุ ณ บุ ป ผ า ไ ว ย เ จ ริ ญ จั ด ตั้ งตั้ ก ลุ่ ม เ มื่ อ 3 ธั น ว า ค ม พ . ศ . 2 5 5 5 ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ า ก ม ะ พ ร้ า ว ร ว ม ถึ ง ผ้ า มั ด ย้ อ ม จ า ก เ ป ลื อ ก ม ะ พ ร้ า ว แ ล ะ ใ บ ลิ้ นลิ้ จี่ 1 1


พัฒนาห้องเสื้อสวนเกษตร จากการนำ ผลิตภัณฑ์เข้ามาเสริม ห ลังจากเ มื่ อได้ พั ฒ น า ห้ องเสื้อแล้วจะ มี ค วา ม เ ป็ น อยู่ ที่ ดีขึ้ น วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร นำ ไ ป ใ ช้ ยุ ว ดี ร า ษ ฎ ร์ นิ ย ม มีความสุขในการทำ งาน แบ่งปันผู้ด้อยโอกาสตามสมควร 12


ส่วนที่2 ความรู้ที่ได้ วิสาหกิจชุมชน ผลิตภัณฑ์และ หัตถกรรม บ้านแม่ลานเหนือ ชื่อสินค้า / ผลิตภัณฑ์ / กิจการ ผ้าทอพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติ ผ้าซิ่น ตีนจกลายโบราณของฝากที่ระลึกจาก ผ้าหม้อห้อมงานผ้าด้นมือ ตุ๊กตาถ่านชา โค กระเป๋าผ้าทอมือ ที่ตั้ง ตั้ ครอบครัว กลุ่ม ชุมชน 137/1 หมู่ 11 ต.ห้วยอ้อ อ.ลอง จ.แพร่ เป็นวิสาหกิจชุมชนที่เน้นความ ยั่ง ยั่ ยืน เป็นหลักและให้ตวามสำ คัญต่อ ประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น ประเภท รายได้ ตลาด แรงงาน ประเภทผ้าทอมือและผ้าย้อมสีธรรมชาติ รายได้จากการขายสินค้า184,319 บาท/ ปีทำ ตลาด ออนไลน์และออฟไลน์ ร้าน ค้าชุมชน การออกบูธเพจกลุ่ม ไลน์ แรงงาน จากฝีมือคนในชุมชน ร่วมแรง ร่วมใจ 13


ความสำ เร็จ การสร้างสรรค์ การสร้างคุณค่า ทางสังคมและมูลค่าทางเศรษฐกิจ สินค้าพื้นเมือง ที่เป็น อัตลักษณ์ มีความ โดดเด่นจาก ท้องถิ่น ผ้าทอ พื้นเมืองมี ลวดลายเฉพาะถิ่นและผ้าย้อมจาก ธรรมชาติ ( หม้อห้อม แก่นขนุน ใบสัก เปลือกไม้ เป็นต้น ) เป็นงานทอมือ และ ปักผ้า ด้นมือ การนำ ทรัพยากรที่มีอยู่ ใน ท้องถิ่น มาใช้ให้เกิดประโยขน์สูงสุด นำ เศษผ้า วัสดุเหลือใช้มาผลิตเป็นสินค้าของ ฝากที่ระลึก สร้างงาน สร้างรายได้ให้กับ ชุมชน 14


คำ ว่า หม้อ คือภาชนะ บรรจุน้ำ ย้อมซึ่งนำ เส้นฝ้าย หรือผ้าผืน ลง ย้อมในหม้อนี้ส่วนห้อม(สีครามหรือสีน้ำ เงิน) หรืออีกนัยหมายถึงต้น ห้อม ดังนั้น ผ้าหม้อห้อม จึงหมายถึงผ้าที่ย้อมด้วยพืชให้สีคราม ทั้ง ห้อม-คราม-เบิก และรวมถึงผ้าที่ย้อมด้วยสีครามสังเคราะห์ ด้วย ชุดหม้อห้อม เป็นชุดพื้นเมืองของหมู่บ้านไทยพวนทุ่งโฮ้งที่สวมใส่มา ตั้งแต่โบราณตามที่เล่าขานกันมา ม่อฮ่อม - ม่อห้อม - หม้อห้อม หลายคนคงจะสับสนว่า คำ ว่า หม้อห้อม เขียนอย่างไรให้ถูก ต้องซึ่ง แต่ละคำ ต่างมีเหตุผลของการใช้ และที่มาคล้ายกัน ดัง ที่มีการอ้างอิงความหมายเอาไว้อย่างหลากหลายเช่นพจนานุกรม ล้านนา - ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง พ ศ. 2533 ให้ความหมาย ไว้ว่า " หม้อห้อม น. หม้อที่บรรจุ ห้อม คือ ครามที่หมักไว้ย้อมผ้า และเรียกผ้าที่ผ่านการย้อมดังกล่าวว่า ผ้าหม้อห้อม" " ห้อม น.ต้นคราม อย่างที่ใช้ย้อมผ้า ให้เป็นสีคราม ซึ่ง มีอยู่ หลาย " พจนานุกรมไทยพวน จัดพิมพ์โดยมูลนิธิไทยพวน ให้ ความหมายไว้ดังนี้ ห้อม หมายถึง น้ำ คราม ( สีครามที่ทำ จาก ใบพืช เรียกว่า ต้นคราม นำ ต้นครามมาเเช่น้ำ จนเน่าเปื่อย แล้วกรองเอากาก ออกทิ้ง ทิ้ ผสมน้ำ ด่าง เถาไม้สะแก ลงไปในน้ำ ครามตามส่วน แล้ว คนด้วยไม้หรือมือทุกเช้าเย็นจนใช้ได้ แล้วกรองไว้อีกทีหนึ่ง เก็บ ไว้ ในหม้อหรือไห เพื่อใช้ย้อมต่อไป ) 15


ความรู้เกี่ย กี่ วกับ กั หม้อ ม้ ห้อ ห้ ม จากคู่มืคู่ อ มื คณะวิท วิ ยาศาสตร์ มหาวิท วิ ยาลัย ลั แม่โม่ จ้ สีจากแร่ธาตุ สีจากสัตว์ สีจากพืชพื สีย้อ ย้ มธรรมชาติมีค มี วามสำ คัญมากขึ้น ขึ้ในปัจ ปั จุบัน บั จากการคำ นึง ถึงความเป็น ป็ มิต มิ ร กับสิ่งแวดล้อมของผู้บผู้ ริโภค จากการลดปริมาณ สารตั้งต้นสังเคราะห์ในการผลิตสีสีย้อ ย้ มธรรมชาติจึงได้รับความนิยม มากขึ้น ขึ้ สามารถจำ แนกสีย้อ ย้ มธรรมชาติออกเป็น ป็ ชนชิดต่างๆ ตาม แหล่งที่มา ได้ดังนี้ สีจากแร่ธาตุจัดเป็น ป็ สีอนินทรีย์ ซึ่งส่วนใหญ่จ ญ่ ะเป็น ป็ ออกไซด์ของ โลหะหรือสารประกอบเชิงซ้อน ของโลหะ สีชนิดนี้ มีค มี วามคงทนสูง และมีเ มี ฉดสีต่างๆ เช่นเลตโครเมตมีสีมีสี เหลือง ออกไซด์ของเหล็กผสม กับออกไซด์ของโครเมีย มี มให้สีกากี และดินแดงที่มีธ มี าตุเหล็กเป็น ป็ ส่วน ประกอบ สีจากสัตว์ ส่วนใหญ่ม ญ่ าจากแมลง เช่น กรดคาร์มินิ มินิ กได้จากแมลง เพศเมีย มี ที่เรียกว่า โคซินีล เนื่องจากโครงสร้างทางเคมีข มี องโคซินีลจะ คล้ายกับกรดเคอร์เมสิกซึ่งเป็น ป็ อนุพัน พั ธ์ของแอนทราควิโนนจึงให้เฉด สีส้มแดงเป็น ป็ ส่วนใหญ่ก ญ่ รดแลคคาอิกสกัดได้จากแมลงคอดคัสแลคชี ที่อาศัยอยู่ ในเปลือกต้นไม้ กิ่งต้นไม้ที่ ม้ ที่ มีแ มี มลงชนิดนี้ อาศัยอยู่ จะ ปกคลุมไปด้วยเรซินสีน้ำ ตาลแดง ที่เรียกว่า ครั่ง โครงสร้างทางเคมี ของกรดแลคคาอิก เป็น ป็ อนุพัน พั ธ์ของ แอนทราควิโนน ให้หลายเฉดสี ได้แก่ สีส้ม แดง แดงอมม่ว ม่ ง ทั้งนี้ขึ้น ขึ้ อยู่กัยู่ กั บค่าพีเ พี อช สีจากพืชพื เป็น ป็ แหล่งใหญ่ข ญ่ องสีย้อ ย้ มธรรมชาติ ทุกส่วนของพืชพื เช่น ราก ลำ ต้น ใบ ดอก ผล ให้เฉดสีหลากหลาย อีกทั้ง การมอร์แดนท์ ด้วยโลหะคนละชนิดจะทำ ให้เฉดสีแตกต่างกันได้ดังแสดงไว้ดังนี้ 16


เมล็ล็ล็ ล็ล็ล็ ดคำคำคำคำคำคำแสด รากพืพืพื พืพืพื ชตระกูกูกู กูกูกู ลเข็ข็ข็ ข็ข็ข็ ม แก่ก่ก่ ก่ก่ก่ นต้ต้ต้ ต้ต้ต้ นยอ แครอทและเมล็ล็ล็ ล็ล็ล็ ดฟัฟัฟัฟัฟัฟั กทอง เปลืลืลื ลืลืลื อกไม้ม้ม้ ม้ม้ม้ ตระกูกูกู กูกูกู ลมัมัมั มัมัมั ลเบอรี่รี่รี่ รี่รี่รี่ รี่รี่รี่ ดอกคำคำคำคำคำคำฝอย แก่ก่ก่ ก่ก่ก่ นขนุนุนุ นุนุนุ น ต้ต้ต้ ต้ต้ต้ นข้ข้ข้ ข้ข้ข้ าวสาลีลีลี ลีลีลี ต้ต้ต้ ต้ต้ต้ นเบอรี่รี่รี่ รี่รี่รี่ จีจีจี รี่รี่รี่จีจีจี น หญ้ญ้ญ้ ญ้ญ้ญ้ าฝรั่รั่รั่ รั่รั่รั่ น ต้ต้ต้ ต้ต้ต้ นเวลด์ด์ด์ ด์ด์ด์ สีสีสี สีสีสี ย้ย้ย้ ย้ย้ย้ อมธรรมชาติติติ ติติติ จากพืพืพื พืพืพื ชและเฉดสีสีสี สีสีสี ที่ที่ที่ ที่ที่ที่ เกิกิกิ กิกิกิ ดจากการประกอบต่ต่ต่ ต่ต่ต่ างชนินินิ นินินิ ดแหล่ล่ล่ ล่ล่ล่ งสีสีสี สีสีสี ย้ย้ย้ ย้ย้ย้ อมธรรมชาติติติ ติติติ สีแดง สีสีสี สีสีสี เหลืลืลื ลืลืลื อง สีสีสี สีสีสี น้ำน้ำน้ำ น้ำน้ำน้ำ เงิงิงิงิงิงินและดำดำดำดำดำดำ สีสีสี สีสีสี เหลืลืลื ลืลืลื องและส้ส้ส้ ส้ส้ส้ ม สีสีสี สีสีสี น้ำน้ำน้ำ น้ำน้ำน้ำ ตาล สีสีสี สีสีสี น้ำน้ำน้ำ น้ำน้ำน้ำ เงิงิงิงิงิงิน เปลืลืลื ลื อ ลื อ ลื อกไม้ม้ม้ ม้ม้ม้ สีสีสี สี เ สี เ สี เขีขีขี ขี ย ขี ย ขี ยวอมเหลืลืลื ลื อ ลื อ ลื อง ใบชา เปลืลืลื ลื อ ลื อ ลื อกวอนันันั นั ท นั ท นั ทสด ต้ต้ต้ ต้ น ต้ น ต้ นเฮนน่น่น่ น่ า น่ า น่ า ต้ต้ต้ ต้ น ต้ น ต้ นครามและต้ต้ต้ ต้ น ต้ น ต้ นฮ่ฮ่ฮ่ ฮ่ อ ฮ่ อ ฮ่ อม ใบขี้ขี้ขี้ ขี้ เ ขี้ เ ขี้ เหล็ล็ล็ ล็ ก ล็ ก ล็ ก สีครามหรือ Indigo เป็นสีของแสงที่เรามองเห็นได้ เป็นสีที่ อยู่กึ่งกลาง ระหว่างสีม่วง และ สีน้ำ เงิน ใน แถบเสปกตัมของแสง สีครามเป็นสีโทนเย็น ให้ ความรู้สึก สุขุม ภูมิฐาน ความสุภาพหนักแน่น เคร่งขรึม สงบ เอาการเอางาน ละเอียด รอบคอบ สง่างาม มีศักดิ์ศ ดิ์ รี สูงศักดิ์ มีฐานะ เป็นระเบียบ ถ่อมตน จงรักภักดี 17


ภูมิปัญญา=เครืื่องตีน้ำ ห้อม การแปลรูปห้อมสดเป็นห้อมเปียก หลังจากได้น้ำ ห้อมที่ผ่านการแช่ ทิ้ง ทิ้ ไว้เป็นเวลา 24-72 ชั่ว ชั่ โมงแล้ว ถัดจากนั้น นั้ คือขั้น ขั้ ตอนการตีน้ำ ห้อมกับปูนขาว การตีน้ำ ห้อมเป็นงานที่ต้องใช้แรงมากเพราะต้องตี ต่อเนื่องกว่า 40นาที ด้วยการใช้ชะลอม "ซวก" หรือตีขึ้น-ลงเป็น จังหวะจนกว่าจะเกิดฟองสีน้ำ เงิน วิทยาลัยชุมชนแพร่จึงได้พัฒนา เครื่องตีน้ำ ห้อม สำ หรับทำ ห้อมเปียกขึ้น เพื่อใช้ทุ่นแรง และเวลาใน เบื้องต้น การใช้เครื่อง ที่ได้พัฒนาขึ้นมา สามารถช่วยสนับสนุน การ ผลิตเนื้อห้อมเปียกในอุตสาหกรรมขนาดเล็กได้ ซึ่งช่วยลดระยะเวลา การผลิตให้ทันต่อรอบการเก็บเกี่ยว ทำ ให้การฟื้นตัวต่อรอบการเก็บ เกี่ยวใหม่ ใช้เวลาน้อยลง ส่งผลให้การผลิต สามารถทำ ได้สม่ำ เสมอ มากขึ้น เกษตรกรสามารถกำ หนดระยะเวลาการเก็บเกี่ยวรอบต่อไป ได้ ประเมินปริมาณค่าใช้จ่าย และความคุ้มทุนในการผลิคด้วย จาก การทำ การศึกษาวิจัยการพัฒนา เครื่องตีน้ำ ห้อม ด้วยเครื่อง ที่พัฒนา ขึ้นนี้ สามารถใช้ในการผลิต เนื้อห้อมเปียก สำ หรับย้อมผ้า ในระดับ อุตสาหกรรม และรองรับการปลูกในพื้นที่ขนาดใหญ่ได้และทำ ให้การ ผลิตเป็นไปได้อย่างต่อเนื่อง จากการประเมินความพึงพอใจ ของผู้ใช้ เครื่องตีน้ำ ห้อมด้วย และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มีความเห็นตรงกัน ว่า เครื่องตีน้ำ ห้อมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพและตรงตามความต้องการ ของผู้ใช้ซึ่งช่วยตอบสนองต่อวิธีการผลิตที่คุ้มค่า อนุรักษ์พ ษ์ ลังงาน รักษาสิ่งแวดล้อม ทดแทนการขาดแคลนแรงงาน และสามารถตอบ สนองกำ ลังการผลิตที่อาจเพิ่มขึ้นในอนาคต บุญญพัฒน์ นามวงศ์พรหม และคณะ. (2556). การวิจัยและ พัฒนาเครื่องตีน้ำ ห้อมเปัยก. วิทยาลัยชุมชนแพร่. 18


ส่ว ส่ นผสม น้ำ คราม 3 ลิตร (ห้อ ห้ มเปีย ปี ก 1 กิโลกรัม รั ผสมน้ำ เปล่า 2 ลิตร) น้ำ ด่าง 3 ลิตร น้ำ ซาวข้า ข้ ว 2 ลิตร ปูน ปู ขาว 300 กรัม รั สูต สู รที่3ที่ สูสูสู สู ต สู ต สู ตรที่ที่ที่ ที่ 1 ที่ 1 ที่ 1 ห้อมเปีย ปี ก 300 กรัม น้ำ เปล่า 2 ลิตร น้ำ ด่าง 0.5 ลิตร ปูน ปู ขาว 10 กรัม การเตรีย รี มน้ำ ย้อ ย้ ม สูสูสู สู ต สู ต สู ตรที่ที่ที่ ที่ 2 ที่ 2 ที่ 2 น้ำ คราม 3 ลิตร (ห้อ ห้ มเปีย ปี ก 1 กิโลกรัม รั ผสมกับน้ำ ด่าง 2 ลิตร) น้ำ ซาวข้า ข้ ว 2 ลิตร ปูน ปู ขาว 300 กรัม รั น้ำ มะขามเปีย ปี ก 200 มิล มิ ลิลิตร สูต สู รที่4ที่ ห้อมเปีย ปี ก 1 กิโลกรัม น้ำ ด่าง 3 ลิตร น้ำ มะขามเปีย ปี ก 100 มิลลิลิตร ปูน ปู ขาว (ไม่กำ หนดปริมาณที่แน่นอนค่อย เติมลงไปจนน้ำ ย้อมในหม้อเป็น ป็ สีน้ำ เงิน) 19


การเตรียมส่วนผสม น้ำ ด่ า ง น้ำ ซ า ว ข้ า ว น้ำ ม ะ ข า ม เ ปี ย ก น้ำ ด่างเป็นส่วนผสมที่สำ คัญ ในการก่อหม้อ น้ำ ด่าง ได้มาจาก การนำ ขี้เ ขี้ ถ้าของต้นกล้วย เหง้ากล้วย ต้นมะขาม ต้นเพกา หรือไม้เบญจพรรณ นำ มาใส่ในภาชนะที่เจาะรูเล็กๆแล้วเติม น้ำ เพื่อให้น้ำ ไหลผ่าน โดยมีอัตราส่วนระหว่างน้ำ กับขี้เ ขี้ ถ้า 1.5 น้ำ ด่างที่ได้ มีค่าความเป็น กรด-ด่าง มากกว่าหรือเทียบเท่า PH-12 การเตรียมน้ำ ซาวข้าวจะเป็นน้ำ ซาวข้าวเหนียว ตามวิถีชีวิต ของชาวไทยพวน น้ำ ที่ได้จากการแช่ข้าวหรือหม่าข้าว นำ น้ำ ที่ได้ หมักต่อไปจนเปรี้ย รี้ ว ( ประมาณ3-4 วัน) เพื่อจะได้นำ ไปผสมกับด่างและน้ำ ห้อมที่เตรียมไว้ ผสมมะขามเปียกกับน้ำ เปล่าในอัตราส่วน 1.1 คั้น คั้ เอาแต่น้ำ 20


การก่อหม้อย้อม ส่วนผสมและขั้น ขั้ ตอนมีดังนี้ ห้อมเปียก/ครามเปียก 1 กิโลกรัม ผสมกับน้ำ ด่าง 2 ลิตร เติมน้ำ ซาวข้าว 2 ลิตร เติมปูนขาว 300 กรัม เติมน้ำ มะขามเปียก 200 มิลลิลิตร (กวนให้เข้ากันดี) ไม่ให้มีห้อมเปียกเหลือเป็นก้อน หลังจากนั้น นั้ กวนส่วนผสมทั้ง ทั้ หมดเข้าด้วยกันประมาณ30-40นาที จนเกิดฟองแสดงว่าเกิดสารครามแล้ว แต่ยังไม่สามารถนำ ไปย้อม ได้ เนื่องจากค่าความเป็น กรด-ด่าง ของน้ำ ย้อมยังไม่อยู่ในสภาพ ที่จะย้อมได้ ค่าความเป็น กรดด่าง ที่เหมาะสมที่จะย้อมคือ PH 10.50-11.00 เมื่อผสมเสร็จแล้วตั้ง ตั้ ทิ้ง ทิ้ ไว้จนกว่าจะได้ค่า PH ที่กำ หนด และโจกน้ำ ย้อมเช้า-เย็น จนกว่าจะใช้ย้อมได้ สังเกตุ จากฟองที่อยู่บนหม้อย้อมมีสีน้ำ เงินเข้มออกม่วง ฟองไม่ยุบ ด้าน ล่างของน้ำ ย้อมมีสีเหลือง เหมือนกับขมิ้น มิ้ จึงสามารถย้อมได้ การเตรียมน้ำ ย้อมสำ หรับเติมลงในหม้อย้อม การเตรียมน้ำ ย้อมสำ หรับการเติมลงในหม้อย้อมใช้ห้อมเปียกหรือ ครามเปียก ผสมกับน้ำ ด่าง ในอัตราส่วน 2.3 กวนให้เป๋็นเนื้อ เดียวกัน แล้ว พักไว้ ใช้เติมลงในหม้อย้อม หลังจากย้อมผ้าเสร็จ 21


จุ จุ จุดเด่ด่ด่ ด่ด่ด่ น จุ จุ จุดด้ ด้ ด้อย เป็ป็ป็ป็ป็ป็ นผลิลิลิลิลิลิตภัภัภั ภัภัภั ณฑ์ฑ์ฑ์ ฑ์ฑ์ฑ์ ที่ที่ที่ ที่ที่ที่ มีมีมี มีมีมี อัอัอั อัอัอั ตลัลัลั ลัลัลั กษณ์ณ์ณ์ ณ์ณ์ณ์ ท้ท้ท้ ท้ท้ท้ องถิ่ถิ่ถิ่ถิ่ถิ่ถิ่น วัวัวั วัวัวั ตถุถุถุ ถุถุถุ ดิดิดิดิดิดิบ หาได้ด้ด้ ด้ด้ด้ ง่ง่ง่ ง่ง่ง่ าย ในชุชุชุ ชุชุชุ มชน ถึถึถึ ถึถึถึ งมีมีมี มีมีมี การ แข่ข่ข่ ข่ข่ข่ งขัขัขั ขัขัขั น แต่ต่ต่ ต่ต่ต่ ชัชัชั ชัชัชั ดเจน และ ปรัรัรั รัรัรั บตัตัตั ตัตัตั วได้ด้ด้ ด้ด้ด้ ง่ง่ง่ ง่ง่ง่ าย ผ้ผ้ผ้ ผ้ผ้ผ้ าหม้ม้ม้ ม้ม้ม้ อห้ห้ห้ ห้ห้ห้ อมย้ย้ย้ ย้ย้ย้ อม(สีสีสี สีสีสี ธรรมชาติติติติติติและเคมีมีมี มีมีมี)ตรง ตามความต้ต้ต้ ต้ต้ต้ องการของลูลูลู ลูลูลู กค้ค้ค้ ค้ค้ค้ า แต่ต่ต่ ต่ต่ต่ เน้น้น้ น้น้น้ นความ เป็ป็ป็ป็ป็ป็ นธรรมชาติติติติติติและหายากเป็ป็ป็ป็ป็ป็ นหลัลัลั ลัลัลั ก ผ้ผ้ผ้ ผ้ผ้ผ้ าพื้พื้พื้ พื้พื้พื้ นเมืมืมื มืมืมื อง ท้ท้ท้ ท้ท้ท้ องถิ่ถิ่ถิ่ถิ่ถิ่ถิ่น ประจำจำจำจำจำจำจัจัจั จัจัจั งหวัวัวั วัวัวั ดแพร่ร่ร่ ร่ร่ร่ มีมีมี มีมีมี การแปรรูรูรู รูรูรู ปเป็ป็ป็ป็ป็ป็ นสิสิสิสิสิสินค้ค้ค้ ค้ค้ค้ าต่ต่ต่ ต่ต่ต่ างๆให้ห้ห้ ห้ห้ห้ เลืลืลื ลืลืลื อกมากมาย และเป็ป็ป็ป็ป็ป็ นงานแฮนด์ด์ด์ ด์ด์ด์ เมด เรื่รื่รื่ รื่รื่รื่ องราวการย้ย้ย้ ย้ย้ย้ อมและการนำนำนำนำนำนำสีสีสี สีสีสี ย้ย้ย้ ย้ย้ย้ อมที่ที่ที่ ที่ที่ที่ เป็ป็ป็ป็ป็ป็ นผ้ผ้ผ้ ผ้ผ้ผ้ า พื้พื้พื้ พื้พื้พื้ นเมืมืมื มืมืมื องสีสีสี สีสีสี ธรรมชาติติติติติติจากพืพืพื พืพืพื ช เช่ช่ช่ ช่ช่ช่ น แก่ก่ก่ ก่ก่ก่ นขนุนุนุ นุนุนุ น ใบสัสัสั สัสัสั ก เปลืลืลื ลืลืลื อกไม้ม้ม้ ม้ม้ม้ ต่ต่ต่ ต่ต่ต่ างๆ นำนำนำนำนำนำมาให้ห้ห้ ห้ห้ห้ คุคุคุ คุคุคุ ณค่ค่ค่ ค่ค่ค่ าได้ด้ด้ ด้ด้ด้ อีอีอี อีอีอี ก อนุนุนุ นุนุนุ รัรัรั รัรัรั กษ์ษ์ษ์ ษ์ษ์ษ์ และ สืสืสื สืสืสื บทอดภูภูภู ภูภูภู มิมิมิมิมิมิปัปัปัปัปัปั ญญาท้ท้ท้ ท้ท้ท้ องถิ่ถิ่ถิ่ถิ่ถิ่ถิ่นเน้น้น้ น้น้น้ น ปลอดภัภัภั ภัภัภั ยต่ต่ต่ ต่ต่ต่ อสุสุสุ สุสุสุ ขภาพของผลิลิลิลิลิลิตและผู้ผู้ผู้ผู้ผู้ผู้บริริริริริริโภค ตอบโจทย์ย์ย์ ย์ย์ย์ ลูลูลู ลูลูลู กค้ค้ค้ ค้ค้ค้ านันันั นันันั กอนุนุนุ นุนุนุ รัรัรั รัรัรั กษ์ษ์ษ์ ษ์ษ์ษ์ ให้ห้ห้ ห้ห้ห้ สีสีสี สีสีสี สัสัสั สัสัสั นสีสีสี สีสีสี สวยงาม ทรงคุคุคุ คุคุคุ ณค่ค่ค่ ค่ค่ค่ า เอกลัลัลั ลัลัลั กษณ์ณ์ณ์ ณ์ณ์ณ์ ของงานผ้ผ้ผ้ ผ้ผ้ผ้ า แต่ต่ต่ ต่ต่ต่ ละชิ้ชิ้ชิ้ชิ้ชิ้ชิ้น ประกอบกักักั กักักั บ ประวัวัวั วัวัวั ติติติติติติ ความเป็ป็ป็ป็ป็ป็ นมาของวัวัวั วัวัวั ฒนธรรมท้ท้ท้ ท้ท้ท้ องถิ่ถิ่ถิ่ถิ่ถิ่ถิ่น 22


ก่อเกิดกลุ่มที่เข้มแข็งสร้างความสามัคคีสร้างรายได้ ให้กับชุมชน อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น สามารถสร้างอัตลักษณ์ที่โดดเด่นให้กับสินค้า ความสำ เร็จ จุดเด่น เป็นผลิตภัณฑ์ ที่มีอัตลักษณ์ท้องถิ่น เป็นผ้า หม้อห้อม (สีธรรมชาติและเคมี)เป็นผ้าพื้นเมืองท้องถิ่นประจำ จังหวัดแพร่ และเป็นผ้าพื้นเมือง สีธรรมชาติจากพืช เช่นแก่นขนุนใบ สัก เปลือกไม้ต่างๆ วัตถุดิบหาได้ง่ายในชุมชนเป็นการ อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้สีสันสีสวยงาม ทรงคุณค่าของงานผ้าแต่ละชิ้นมีการแปรรูปเป็นสินค้า ต่างๆ ให้ตรงตามความต้องการของลูกค้าและปลอดภัย ต่อสุขภาพของผู้ผลิตและบริโภค จุดด้อย การผลิตผ้าพื้นเมืองสีธรรมชาติ มีข้อจำ กัด ในการย้อมสี ที่ไม่สามารถให้สีคงที่ จะเปลี่ยนสีไปตามรอบ ที่ทำ การ ย้อมและไม่สามารถผลิตได้ครั้งละมากๆได้ การย้อมสีเคมี จะติดง่ายกว่าการใช้สีธรรมชาติ งานปักผ้าด้นมือ จะใช้ เวลานานกว่าจะได้ชิ้นงาน ในแต่ละชิ้น 23


เชื่อมโยงเครือข่าย การค้า ภายใต้ความโดดเด่น เเละ เอกลักษณ์เฉพาะตัว แนวคิด การปรับพัฒนา สินค้ากับภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้คุณค่า นำ มูลค่า สร้างเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ เฉพาะ แบรนด์ โลโก้ เพิ่มSTORY พัฒนาแนวคิด จากการเรียนรู้ ทำ น้อยได้มากจำ หน่ายทาง ออนไลน์ลงทุนน้อย สีธรรมชาติ เป็นมิตรต่อสิ่ง แวดล้อม และมีจุดยืน นำ สินค้ารองมาร่วมจำ หน่าย และสร้างมูลค่าเพิ่ม ซึ่ง หลายคนมองข้าม ผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์จากไอ เดีย เกิดขึ้นจากความรักใน สิ่งที่ทำ มนุษย์สัมพันธ์ การเจรจากับ ลูกค้า มีความสำ คัญพอกับ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ แนวทางการนำ มาปรับใช้ ให้เป็นกิจกรรมของตนเอง / โครงงาน 24


วิวิวิ วิวิวิ สาหกิกิกิ กิกิกิ จชุชุชุ ชุชุชุ มชน เปลืลืลื ลืลืลื อกไม้ม้ม้ ม้ม้ม้ บ้บ้บ้ บ้บ้บ้ านเขายี่ยี่ยี่ ยี่ยี่ยี่ สาร ชื่ชื่ชื่ ชื่ชื่ชื่ อสิสิสิสิสิสินค้ค้ค้ ค้ค้ค้ า/ผลิลิลิลิลิลิตภัภัภั ภัภัภั ณฑ์ฑ์ฑ์ ฑ์ฑ์ฑ์/กิกิกิกิกิกิจการ 25 วิสาหกิจชุมชนเปลือกไม้ กลุ่มบ้านเขายี่สาร จำ หน่ายผ้า ชิ้น ผ้ามัดย้อม ย้อมจากสีธรรมชาติจากเปลือกไม้ตะบูน จากใบหูกวางโดยการย้อมใช้ผ้าเส้นใยมัสลิน ผ้าcotton ผ้าฝ้าย ผ้าลินิน ในการมัดย้อมมีความเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะถิ่น ผ้ามัดย้อมจากสีเปลือกไม้ตะบูน และใบหูกวาง


ที่ที่ที่ ที่ ตั้ ที่ ตั้ ที่ ตั้ ตั้ ง ตั้ ตั้ ง ตั้ ตั้ ง ตั้ / ชุชุชุ ชุ ม ชุ ม ชุ มชน แหล่ล่ล่ ล่ ง ล่ ง ล่ งเรีรีรีย รีรีรี นรู้รู้รู้ รู้รู้ ศึ รู้ รู้ ศึ รู้ ศึ ศึ ก ศึ ก ศึ กษาดูดูดู ดู ง ดู ง ดู งาน วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเปลือกไม้ ตะบูนเขายี่สาร เลขที่134 หมู่ ที่1 ตำ บลยี่สาร อำ เภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงครามกลุ่มผ้า มัดย้อม นำ กลุ่มวิสาหกิจโดย ประธานกลุ่มคือคุณจินดารัตน์ นามสกุลอ่อนอุระ 26 ได้รับการสนับสนุนโดย กอง อำ นวยการ รักษาความมั่นคง ภายใน จังหวัดสมุทรสงคราม


กลุ่มวัฒนธรรมท้องถิ่นเน้นอนุรักษ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการมัดย้อม โดยการมัดย้อมที่เป็นเอกลักษณ์ สี จากธรรมชาติ และได้ขยายออก สู่ กลุ่มเครือข่าย โดยแรงงานจาก เครือข่ายชุมชน ใกล้เคียง นอกจาก นี้แล้ว ยังร่วมเป็นวิสาหกิจชุนชนที่ จัดกิจกรรม เพื่อส่วนรวมตามช่วง เทศกาลต่างๆอีกด้วย ทั้งนี้เพื่อ จัด ขยายและประชาสัมพันธ์ การตลาด มีผู้ร่วมเครือข่ายที่เป็นลักษณะกลุ่ม เช่น เกษตรสวนนอก ไฉไลชูเป็นต้น 27 การตลาด รายได้ด้ด้ ด้ด้ด้ แรงงาน การผลิลิลิ ลิลิลิ ต ประวัติการทำ งาน


ทัศน แนวคิด ฉันเป็นที่ปรึกษาฝ่ายบริหาร ที่มีประสบการณ์ ทุกแง่มุมในงานนี้ ตั้งแต่ การดำ เนินงาน ไป จนถึงการตลาด ฉันเก่งในเรื่องกระบวนการ ปรับใช้ให้เหมาะสม โดยการเริ่มจากไม่มีความ รู้เลย "นั่นคือความมั่นใจและพิสูจน์แล้วว่า จริง" การสร้ร้ร้ ร้ร้ร้ างสรรค์ค์ค์ ค์ค์ค์ สร้ร้ร้ ร้ร้ร้ าง คุคุคุ คุคุคุ ณค่ค่ค่ ค่ค่ค่ าทางสัสัสั สัสัสั งคมและ คุคุคุ คุคุคุ ณค่ค่ค่ ค่ค่ค่ าทางเศรษฐกิกิกิกิกิกิจ การมัดย้อม ที่มีเพียง หนึ่งเดียวนั้น ในตัว ชิ้นงานที่มีคุณค่าทาง จิตใจ โดยประธาน กลุ่มได้มีการ อนุรักษ์ ศิลปะ และภูมิปัญญา ท้องถิ่นนี้ใว้ เป็นการ ย้อมผ้าโดยใช้ เส้นใย ธรรมชาติ และด้วยสี จากธรรมชาติขั้นตอน ในการย้อมนั้นอาจใช้ เวลานาน แต่ ได้ชิ้น งานที่ โดดเด่น จึงมี คุณค่าในตัวสูงมาก 28


สตูดิโอ รอลเลีย ความสำ เร็จ 29 ผู้คนในกลุ่มชุมชนบริเวณ ใกล้เคียงมีงานทำ ได้รับ การ สนับสนุนจาก กำ นัน ผู้ใหญ่บ้าน จาก วิทยากร เป็นตัวแทนประจำ จังหวัด มีงานประจำ ปี ช่วยแนะนำ สินค้า อีกทั้งธำ รงค์รักษา วัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น ไว้ได้ไม่ให้สูญหายรวมทั้ง ประกอบด้วยประธานกลุ่ม ที่มีความ เสียสละ อดทน


คุณจินดารัตน์ ได้กล่าว ใว้ตอนหนึ่งถึงความผิด พลาดว่าคือสิ่งที่หายาก ที่สุด การย้อมผ้า สีตะบูนมีลักษณะสีสวยเด่น แต่ใช้ เวลาในการย้อมสีนั้นนานมาก หนึ่งชิ้นอาจใช้ เวลาย้อมถึง ประมาณครึ่งเดือน งานบางชิ้น เราต้องใส่ใจและให้เวลา สำ หรับสีย้อมจากใบ หูกวางนั้น ทำ ง่ายกว่า ซึ่งแต่ละชิ้นสีก็แตก ต่างกันไป ทุกชิ้นในการย้อม ห้ามนำ มาปนกัน โดยเด็ดขาด บางชิ้นอาจมี ชิ้นเดียวในโลก เนื่องจาก การย้อมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะนี้ เอง ผลงานที่ได้ คือจุดขาย ที่เป็นภูมิปัญ ปั ญา ของท้องถิ่น มีเสน่ห์ และมีคุณค่าปลอดภัยต่อ ผู้สวมใส่ และผู้ผลิต ดีต่อสิ่งแวดล้อม ที่ สำ คัญ เป็นงานท้าทาย ลุ้นความแปลกใหม่อยู่ เสมอ 30 จุดเด่น จุดด้อย


แนวทางการนำ มา ปรับใช้ให้เป็นกิจกรรม ของตนเอง / โครงงาน ควรนำ ชิ้นงานตัด ผ้าย้อมมาออกแบบสร้างเป็น เรื่องราว ประวัติความเป็นมา ที่เกี่ยวข้องกับสี ย้อม สีธรรมชาติ ควรมีงานสำ เร็จรูป หรืองาน ชิ้นต่างๆ จึงเห็นได้ว่าชิ้นงานล้วนแล้วมีที่มา มี ประวัติ เรื่องราวน่าค้นหา ส่วนเรื่องเล่าในบริบท ของท้องถิ่นบ้านตะบูน สามารถนำ มาเขียนเป็น เรื่องราวได้ รวมถึง ความตั้งใจ ความทุ่มเทใจ ของประธานกลุ่มเอง สามารถนำ มาเป็นแม่แบบ ความมุ่งมั่น จุดหนึ่งที่มีกรอบแนวคิดที่เข้มแข็ง คือ การอนุรักษ์ การมัดย้อม สีเปลือกไม้ตะบูน นั่นเองประธานที่มีความรับผิดชอบในหน้าที่หัวใจ งามเป็นเอกลักษณ์ถ้ากล่าวถึงผลงานต่างๆ ที่ คุณจินดารัตน์ สร้างสรรค์ขึ้นมา สามารถเพิ่ม เติมมาใช้เป็นงานเสริมสำ หรับโครงงานได้โดยที่ เราอาจมีการเชื่อมต่อ เครือข่ายปลายน้ำ กับทาง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนและทั้งนี้การค้นหาอัตลักษณ์ ของห้องเสื้อของเราเองกับท้องถิ่นที่ตั้ง ให้เกิด เป็น ห้องเสื้อสวนเกษตร ที่สมบูรณ์ลงตัวขึ้นได้ นั้น คือการบ้านในเทอมถัดไป 31


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.