โครงสร้างรายวิชาวิทย์ป.4 Flipbook PDF

โครงสร้างรายวิชาวิทย์ป.4

106 downloads 106 Views 1MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

1

คำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชำ ว 14101 รำยวิชำพื้นฐำน ชั้นประถมศึกษำปีที่ 4

ภำคเรียนที่ 1 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เวลำเรียน 120 ชั่วโมง

ศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับหน้าที่ของส่วนต่างๆของพืช การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต การจาแนกพืชออกเป็นพืช ดอกและพืชไม่มีดอก การจาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ผลของแรงโน้มถ่วงของโลก การใช้เครื่องชั่งสปริงวัดนาหนักของวัตถุ มวลของวัตถุที่มี ผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ ของวัตถุ การจาแนกวัตถุเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุ ทึบแสง สมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความร้อน และการนาฟ้าของวัสดุ การนา สมบัติทางกายภาพของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจาวัน สมบัติของสารทัง 3 สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการสังเกต มวล การต้องการที่อยู่ รูปร่างและปริมาตรของสสาร รวมทังใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวลและปริมาตรของสสารทัง 3 สถานะ แบบรูป เส้น ทางการขึนและการตกของดวงจันทร์ การสร้างแบบจาลองที่อธิบายแบบรูปการ เปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์และพยากรณ์รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ สร้างแบบจาลองแสดง องค์ประกอบของระบบสุริยะ และคาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่างๆ จากแบบจาลองใช้เหตุผลเชิงตรรกะ ใน การแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการผลลัพธ์ จากปัญหาอย่าง่าย ออกแบบและเขียนโปรแกรม โดยใช้ซอฟแวร์หรือสื่อ ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้อินเตอร์เน็ตหาความรู้และประเมินความน่าเชื่อถือ ของข้อมูล รวบรวม ประเมินนาเสนอข้อมูลและสารสนเทศโดยใช้ซอฟแวร์ที่หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้อเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้การสารวจตรวจสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ ทักษะในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ความคิดความเข้าใจสามารถสื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้มีความสามารถในการตัดสินใจการแก้ปัญหาการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวั นมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรมคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ว.1.2 ว.1.3 ว.2.1 ว.2.2 ว.2.3 ว.3.1 ว.4.2

ตัวชี้วัด ป.4/1 ป.4/1,ป.4/2,ป.4/3,ป.4/4 ป.4/1,ป.4/2,ป.4/3,ป.4/4 ป.4/1,ป.4/2,ป.4/3 ป.4/1 ป.4/1,ป.4/2,ป.4/3 ป.4/1,ป.4/2,ป.4/3,ป.4/4,ป.4/5

รวมตัวชีวัด 21 ตัวชีวัด

2

โครงสร้ำงรำยวิชำ

โครงสร้ำงรำยวิชำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำระ / พืนฐาน เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 14101 ชันประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 มำตรฐำน / ตัวชี้วัด / ชื่อหน่วย หน่วยที่ สำระสำคัญ ผลกำรเรียนรู้ กำรเรียนรู้ 1 การเรียนรู้สิ่ง ต่างๆรอบตัว ว.1.2 ป.4/1 2 สิ่งมีชีวิต ส่วนต่างๆของพืชดอกทาหน้าที่แตกต่างกัน บรรยายหน้าที่ของราก - รากทาหน้าที่ดูดนาและแร่ธาตุขึนไปยังลา ลาต้นใบและดอกของ ต้น พืชดอกโดยใช้ข้อมูลที่ - ลาต้นทาหน้าที่ลาเลียงนาต่อไปยังส่วน รวบรวมได้ ต่างๆของพืช - ใบทาหน้าที่สร้างอาหารอาหารที่พืชสร้าง ขึนคือนาตาลซึ่งจะเปลี่ยนเป็นแป้ง - ดอกทาหน้าที่สืบพันธุ์ประกอบด้วย ส่วนประกอบต่างๆได้แก่กลีบเลียงกลีบดอก เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียซึ่งส่วนประกอบ แต่ละส่วนของดอกทาหน้าที่แตกต่างกัน ว.1.3 ป.4/1 สิ่งมีชีวิตมีหลายชนิดสามารถจัดกลุ่มได้โดยใช้ จาแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้ ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะ ความเหมือนและความ ต่างๆเช่นกลุ่มพืชสร้างอาหารเองได้และ แตกต่างของลักษณะ เคลื่อนที่ด้วยตนเองไม่ได้กลุ่มสัตว์กินสิ่งมีชีวิต ของสิ่งมีชีวิตออกเป็น อื่นเป็นอาหารและเคลื่อนที่ได้กลุ่มที่ไม่ใช่พืช กลุ่มพืชกลุ่มสัตว์และ และสัตว์เช่น เห็ด รา จุลินทรีย์ กลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์ ว.1.3 ป.4/2 การจาแนกพืชสามารถใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ จาแนกพืชออกเป็นพืช ในการจาแนกได้เป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก ดอกและพืชไม่มีดอก โดยใช้การมีดอกเป็น เกณฑ์โดยใช้ข้อมูล ที่รวบรวมได้

เวลำ คะแนน (คำบ) 10 5 18

15

3 มำตรฐำน / ตัวชี้วัด / ชื่อหน่วย หน่วยที่ ผลกำรเรียนรู้ กำรเรียนรู้ ว.1.3 ป.4/3 จาแนกสัตว์ออกเป็น สัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ไม่มีกระดูกสัน หลังโดยใช้การมีกระดูก สันหลังเป็นเกณฑ์โดย ใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ ว.1.3 ป.4/4 บรรยายลักษณะเฉพาะ ที่สังเกตได้ของสัตว์มี กระดูกสันหลังใน กลุ่มปลากลุ่มสัตว์ สะเทินนาสะเทินบก กลุม่ สัตว์เลือยคลาน กลุ่มนกและกลุ่มสัตว์ เลียงลูกด้วยนานมและ ยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตใน แต่ละกลุ่ม ว 2.2 ป.4/1 3 แรงและ ระบุผลของแรงโน้มถ่วง พลังงาน ที่มีต่อวัตถุจากหลักฐาน เชิงประจักษ์ ว 2.2 ป.4/2 ใช้เครื่องชั่งสปริงในการ วัดนาหนักของวัตถุ ว 2.2 ป.4/3 บรรยายมวลของวัตถุที่ มีผลต่อการเปลี่ยน แปลงการเคลื่อนที่ของ วัตถุจากหลักฐานเชิง ประจักษ์

สำระสำคัญ

เวลำ คะแนน (คำบ)

การจาแนกสัตว์สามารถใช้การมีกระดูกสัน หลังเป็นเกณฑ์ในการจาแนกได้เป็นสัตว์มี กระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

สัตว์มีกระดูกสันหลังมีหลายกลุ่มได้แก่กลุ่ม ปลา กลุ่มสัตว์สะเทินนาสะเทินบกกลุ่ม สัตว์เลือยคลาน กลุ่มนกและกลุ่มสัตว์เลียงลูก ด้วยนานมซึ่งแต่ละกลุ่มจะมีลักษณะเฉพาะที่ สังเกตได้

แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดที่โลก กระทาต่อวัตถุ มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางโลก และเป็นแรงไม่สัมผัสแรงดึงดูดที่โลกกระทา กับวัตถุหนึ่ง ๆ ทาให้วัตถุตกลงสู่พืนโลก และ ทาให้วัตถุมีนาหนัก วัดนาหนักของวัตถุได้จาก เครื่องชั่งสปริง นาหนักของวัตถุขึนกับมวล ของวัตถุ โดยวัตถุที่มีมวลมากจะมีนาหนักมาก วัตถุที่มีมวลน้อยจะมีนาหนักน้อย มวล คือ ปริมาณเนือของสสารทังหมดที่ ประกอบกันเป็นวัตถุ ซึ่งมีผลต่อความยากง่าย ในการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ วัตถุ ที่มีมวลมากจะเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ได้ ยากกว่าวัตถุที่มีมวลน้อย ดังนันมวลของวัตถุ นอกจากจะหมายถึงเนือทังหมดของวัตถุนัน แล้วยังหมายถึงการต้านการเปลี่ยนแปลงการ เคลื่อนที่ของวัตถุนันด้วย

12

10

4 มำตรฐำน / ตัวชี้วัด / ชื่อหน่วย หน่วยที่ ผลกำรเรียนรู้ กำรเรียนรู้ ว 2.3 ป.4/1 จาแนกวัตถุเป็นตัว กลางโปร่งใส ตัวกลาง โปร่งแสง และวัตถุทึบ แสง โดยใช้ลักษณะการ มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ผ่าน วัตถุนันเป็นเกณฑ์จาก หลักฐานเชิงประจักษ์ ว 2.1 ป.4/1 4 วัสดุและ เปรียบเทียบสมบัติทาง สสาร กายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่นการนา ความร้อนและการนา ไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้ หลักฐานเชิงประจักษ์ จากการทดลองและ ระบุการนาสมบัติเรื่อง ความแข็งสภาพยืดหยุ่น การนาความร้อนและ การนาไฟฟ้าของวัสดุไป ใช้ในชีวิตประจาวันผ่าน กระบวนการออกแบบ ชินงาน ว 2.1 ป.4/2 แลกเปลี่ยนความคิดกับ ผู้อื่นโดยการอภิปราย เกี่ยวกับสมบัติทางกาย ภาพของวัสดุอย่างมี เหตุผลจากการทดลอง

สำระสำคัญ

เวลำ คะแนน (คำบ)

เมื่อมองสิ่งต่าง ๆ โดยมีวัตถุต่างชนิดกันมากัน แสงจะทาให้ลักษณะการมองเห็นสิ่งนันๆ ชัดเจนต่างกันจึงจาแนกวัตถุที่มากันออกเป็น ตัวกลางโปร่งใสซึ่งทาให้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ ชัดเจน ตัวกลางโปร่งแสงทาให้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ไม่ชัดเจนและวัตถุทึบแสงทาให้มองไม่ เห็นสิ่งต่าง ๆ นัน วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพแตกต่าง กันวัสดุที่มีความแข็งจะทนต่อแรงขูดขีด วัสดุ ที่มีสภาพยืดหยุ่นจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างเมื่อมี แรงมากระทาและกลับสภาพเดิมได้ วัสดุที่นา ความร้อนจะร้อนได้เร็วเมื่อได้รับความร้อน และวัสดุที่นาไฟฟ้าได้ จะให้กระแสไฟฟ้าไหล ผ่านได้ ดังนันจึงนาสมบัติต่าง ๆมาพิจารณา เพื่อใช้ในกระบวนการออกแบบชินงานเพื่อใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน

27

15

5 มำตรฐำน / ตัวชี้วัด / หน่วยที่ ผลกำรเรียนรู้ ว 2.1 ป.4/3 เปรียบเทียบสมบัติของ สสารทัง 3 สถานะ จาก ข้อมูลที่ได้จากการ สังเกตมวล การ ต้องการที่อยู่ รูปร่าง และปริมาตรของสสาร ว 2.1 ป.4/4ใช้ เครื่องมือเพื่อวัดมวล และปริมาตรของสสาร ทัง ๓ สถานะ ว.3.1 ป.4/1 อธิบาย แบบรูปเส้นทางการขึน และตกของดวงจันทร์ โดยใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์

ว.3.1 ป.4/2สร้าง แบบจาลองที่อธิบาย แบบรูปการเปลี่ยน แปลงรูปร่างปรากฏของ ดวงจันทร์ และพยากรณ์รูปร่าง ปรากฏของดวงจันทร์

ว.3.1 ป.4/3 สร้าง แบบจาลองแสดง องค์ประกอบของระบบ สุริยะและอธิบาย

5

ชื่อหน่วย กำรเรียนรู้

สำระสำคัญ

เวลำ คะแนน (คำบ)

วัสดุเป็นสสารเพราะมีมวลและต้องการที่อยู่ สสารมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือ แก๊ส ของแข็ง มีปริมาตรและรูปร่างคงที่ ของเหลวมีปริมาตรคงที่ แต่มีรูปร่างเปลี่ยนไป ตามภาชนะ เฉพาะส่วนที่บรรจุของเหลว ส่วน แก๊สมีปริมาตรและรูปร่างเปลี่ยนไปตาม ภาชนะที่บรรจุ

โลกและ อวกาศ

-ดวงจันทร์เป็นบริวารของโลกโดยดวงจันทร์ หมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบโลกขณะที่โลก ก็หมุนรอบตัวเองด้วยเช่นกันการหมุนรอบ ตัวเองของโลก จากทิศตะวันตกไปทิศ ตะวันออกในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเมื่อมอง จากขัวโลกเหนือทาให้มองเห็นดวงจันทร์ ปรากฏขึนทางด้านทิศตะวันออกและตก ทางด้านทิศตะวันตกหมุนเวียนเป็นแบบรูป ซาๆ ดวงจันทร์เป็นวัตถุที่เป็นทรงกลม แต่รูปร่าง ของดวงจันทร์ที่มองเห็นหรือรูปร่างปรากฏ ของดวงจันทร์บนท้องฟ้าแตกต่างกันไปในแต่ ละวันโดยในแต่ละวันดวงจันทร์จะมีรูปร่าง ปรากฏเป็นเสียวที่มีขนาดเพิ่มขึนอย่าง ต่อเนื่องจนเต็มดวงจากนันรูปร่างปรากฏของ ดวงจันทร์จะแหว่งและมีขนาดลดลงอย่าง ต่อเนื่องจนมองไม่เห็นดวงจันทร์ จากนัน รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์จะเป็นเสียวใหญ่ ขึนจนเต็มดวงอีกครังการเปลี่ยนแปลงเช่นนี เป็นแบบรูปซากันทุกเดือน ระบบสุริยะเป็นระบบที่มีดวงอาทิตย์เป็น ศูนย์กลางและมีบริวารประกอบด้วยดาว เคราะห์แปดดวงและบริวาร ซึ่งดาวเคราะห์ แต่ละดวงมีขนาดและระยะห่างจากดวง

13

10

6 มำตรฐำน / ตัวชี้วัด / หน่วยที่ ผลกำรเรียนรู้ เปรียบเทียบคาบการ โคจรของดาวเคราะห์ ต่างๆจาก แบบจาลอง ว4.2 ป.4/1 ใช้เหตุผลเชิงตรรกะใน การแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย

ว4.2 ป.4/2 ออกแบบและเขียน โปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือ สื่อและตรวจหา ข้อผิดพลาดและแก้ไข

6

ชื่อหน่วย กำรเรียนรู้

สำระสำคัญ

อาทิตย์แตกต่างกัน และยังประกอบด้วย ดาว เคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และ วัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ โคจรอยู่รอบดวงอาทิตย์ วัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ เมื่อเข้ามาในชัน บรรยากาศเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกทาให้ เกิดเป็นดาวตกหรือผีพุ่งไต้และอุกกาบาต การออกแบบ - การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ และ หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้ เทคโนโลยี พิจารณาในการแก้ปัญหาการอธิบายการ ทางานหรือการคาดการณ์ผลลัพธ์ - สถานะเริ่มต้นของการทางานที่แตกต่างกัน จะให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน - ตัวอย่างปัญหาเช่นเกมOX, โปรแกรมที่มี การคานวณ, โปรแกรมที่มีตัวละครหลายตัว และมีการสั่งงานที่แตกต่างกัน หรือมีการ สื่อสารระหว่างกัน การเดินทางไปโรงเรียน ด้วยวิธีต่างๆ - การออกแบบโปรแกรมอย่างง่าย เช่นการ ออกแบบโดยใช้ storyboard หรือการ ออกแบบอัลกอริทึม - การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของ คาสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ ตามความต้องการ หากมีข้อผิดพลาดให้ ตรวจสอบการทางานทีละคาสั่ง เมื่อพบจุดที่ ทาให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง ให้ทาการแก้ไขจนกว่า จะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง - ตัวอย่างโปรแกรมที่มีเรื่องราว เช่น นิทานที่ มีการตอบโต้กับผู้ใช้ การ์ตูนสัน เล่ากิจวัตร ประจาวันภาพเคลื่อนไหว - การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรม ของผู้อื่นจะช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุ ของปัญหาได้ดียิ่งขึน - ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, logo

เวลำ คะแนน (คำบ)

40

15

7 มำตรฐำน / ตัวชี้วัด / หน่วยที่ ผลกำรเรียนรู้ ว4.2 ป.4/3 ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหา ความรู้และประเมิน ความน่าเชื่อถือของ ข้อมูล

ว4.2 ป.4/4 รวบรวมประเมิน นาเสนอข้อมูลและ สารสนเทศโดยใช้ ซอฟต์แวร์ทหี่ ลาก หลายเพื่อแก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวัน

ชื่อหน่วย กำรเรียนรู้

สำระสำคัญ - การใช้คาค้นที่ตรงประเด็น กระชับ จะทา ให้ได้ผลลัพธ์ที่รวดเร็วและตรงตามความ ต้องการ -การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น พิจารณาประเภทของเว็บไซต์ (หน่วยงาน ราชการสานักข่าว องค์กร) ผู้เขียน วันที่ เผยแพร่ข้อมูลการอ้างอิง - เมื่อได้ข้อมูลที่ต้องการจากเว็บไซต์ต่าง ๆ จะต้องนาเนือหามาพิจารณาเปรียบเทียบแล้ว เลือกข้อมูลที่มีความสอดคล้องและสัมพันธ์กัน - การทารายงานหรือการนาเสนอข้อมูล จะต้องนาข้อมูลมาเรียบเรียง สรุปเป็นภาษา ของตนเองที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและ วิธีการนาเสนอ (บูรณาการกับวิชาภาษาไทย) - การรวบรวมข้อมูลทาได้โดยกาหนดหัวข้อที่ ต้องการเตรียมอุปกรณ์ในการจดบันทึก - การประมวลผล อย่างง่ายเช่นเปรียบเทียบ จัดกลุ่มเรียงลาดับการหาผลรวม - วิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือกที่เป็นไปได้ ประเมินทางเลือก (เปรียบเทียบตัดสิน) - การนาเสนอข้อมูลทาได้หลายลักษณะตาม ความเหมาะสมเช่นการบอกเล่า เอกสารรายงานโปสเตอร์โปรแกรมนาเสนอ - การใช้ซอฟต์แวร์เพื่อแก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวันเช่นการสารวจเมนูอาหาร กลางวันโดยใช้ซอฟต์แวร์สร้างแบบสอบถาม และเก็บข้อมูลใช้ซอฟต์แวร์ตารางทางานเพื่อ ประมวลผลข้อมูลรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ คุณค่าทางโภชนาการและสร้างรายการอาหาร สาหรับ๕วันใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอผลการ สารวจรายการอาหารที่เป็นทางเลือกและ ข้อมูลด้านโภชนาการ

เวลำ คะแนน (คำบ)

8 มำตรฐำน / ตัวชี้วัด / หน่วยที่ ผลกำรเรียนรู้ ว 4.2 ป.4/5 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างปลอดภัยปฏิบัติ ตามข้อตกลงในการใช้ คอมพิวเตอร์ร่วมกัน ดูแลรักษาอุปกรณ์ เบืองต้นใช้งานอย่าง เหมาะสม

ชื่อหน่วย กำรเรียนรู้

สำระสำคัญ

- การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่นรู้จักข้อมูลส่วนตัวอันตรายจากการ เผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวและไม่บอกข้อมูล ส่วนตัวกับบุคคลอื่นยกเว้นผู้ปกครองหรือครู แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อต้องการความช่วยเหลือ เกี่ยวกับการใช้งาน - ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดูแลรักษา อุปกรณ์เช่นไม่ขีดเขียนบนอุปกรณ์ทาความ สะอาดใช้อุปกรณ์อย่างถูกวิธี - การใช้งานอย่างเหมาะสมเช่นจัดท่านั่งให้ถูก ต้องการพักสายตาเมื่อใช้อุปกรณ์เป็น เวลานานระมัดระวังอุบัติเหตุจาการใช้งาน รวมระหว่างภาค/ปี สอบปลายภาค/ปี รวมตลอดภาค/ปี

เวลำ คะแนน (คำบ)

120

70 30 100

9

หน่วยกำรเรียนรู้อิงมำตรฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 ชื่อวิชำ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ภำคเรียนที่ 1 จำนวน 18 คำบ ครูผู้สอน นำงสำวธีรกำนต์ ประเทืองทิน

เรื่อง สิ่งมีชีวิต รหัสวิชำ ว 14101 จำนวน 4 หน่วยกิต

ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ 4

*************************************************************************************************** 1. มำตรฐำนกำรเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลกำรเรียนรู้ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ มำตรฐำน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทังนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตัวชี้วัด ว 1.2 ป.4/1 บรรยายหน้าที่ของราก ลาต้น ใบ และดอกของพืชดอก โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ มำตรฐำนว1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสาร พันธุกรรมการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิตรวมทังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ว.1.3 ป.4/1 จาแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิตออกเป็น กลุ่มพืชกลุ่มสัตว์และกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์ ว.1.3 ป.4/2 จาแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอกโดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์โดยใช้ข้อมูล ที่รวบรวมได้ ว.1.3 ป.4/3 จาแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังโดยใช้การมีกระดูก สันหลังเป็นเกณฑ์โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ ว.1.3 ป.4/4 บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลากลุ่มสัตว์สะเทิน นาสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลือยคลาน กลุ่มนกและกลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วยนานมและยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในแต่ละ กลุ่ม 2. สำระสำคัญ / ควำมคิดรวบยอด ส่วนต่างๆของพืชดอกทาหน้าที่แตกต่างกัน รากทาหน้าที่ดูดนาและแร่ธาตุขึนไปยังลาต้น ลาต้นทาหน้าที่ลาเลียงนาต่อไปยังส่วนต่างๆของพืช ใบทาหน้าที่สร้างอาหารอาหารที่พืชสร้างขึน คือนาตาล ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นแป้ง ดอกทาหน้าที่สืบพันธุ์ประกอบด้วยส่วนประกอบต่างๆได้แก่ กลีบเลียง กลีบดอก เกสร เพศผู้และเกสรเพศเมียซึ่งส่วนประกอบแต่ละส่วนของดอกทาหน้าที่แตกต่างกัน สิ่งมีชีวิตมีหลายชนิด โดยแต่

10 ละชนิดจะมีลักษณะสาคัญบางอย่างเหมือนกันหรือแตกต่างกันไป ซึ่งสามารถใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดกลุ่ม สิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์และกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์ ในการจาแนกพืชสามารถใช้ลักษณะการมีดอก ของพืชเป็นเกณฑ์ และในการจาแนกสัตว์สามารถใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ได้ ซึ่งสัตว์มีกระดูกสันหลัง มี 5 กลุ่ม และสัตว์มีกระดูกสันหลังแต่ละกลุ่มจะมีลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ต่างกัน 3. สำระกำรเรียนรู้ ส่วนต่าง ๆ ของพืชดอกทาหน้าที่แตกต่างกัน รากทาหน้าที่ดูดนาและแร่ธาตุขึนไปยังลาต้น ลาต้นทา หน้าที่ลาเลียงนาต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช ใบทาหน้าที่สร้างอาหาร อาหารที่พืชสร้างขึนคือนาตาลซึ่งจะ เปลี่ยนเป็นแป้ง ดอกทาหน้าที่สืบพันธุ์ ประกอบด้วยส่วนประกอบต่าง ๆ ได้แก่ กลีบเลียง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซึ่งส่วนประกอบแต่ละส่วนของดอกทาหน้าที่แตกต่างกัน สิ่งมีชีวิตมีหลายชนิด สามารถจัดกลุ่มได้โดยใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะต่าง ๆ เช่น กลุ่มพืชสร้างอาหารเองได้ และเคลื่อนที่ด้วยตนเองไม่ได้กลุ่มสัตว์กินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหารและเคลื่อนที่ได้ กลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์ เช่น เห็ด รา จุลินทรีย์ การจาแนกพืชสามารถใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ในการจาแนกได้เป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก การจาแนกสัตว์สามารถใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ในการจาแนกได้เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่ มีกระดูกสันหลัง สัตว์มีกระดูกสันหลังมีหลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินนาสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลือยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วยนานม ซึ่งแต่ละกลุ่มจะมีลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ 4. สมรรถนะ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ) มีวินัย

ซื่อสัตย์ สุจริต ) ใฝ่เรียนรู้

3) มุ่งมั่นในการทางาน 6) มีจิตสาธารณะ

6. จุดเน้นสู่กำรพัฒนำผู้เรียน ควำมสำมำรถและทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 - (R)eading (อ่านออก) R2 –W(R)iting (เขียนได้) - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา) - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม) - Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ) - Computering and ICT (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)

11 7. กำรบูรณำกำรตำมพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ บูรณำกำรกับหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง เงือ่ นไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม บูรณำกำรข้ำมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ – คาศัพท์ ภาษาไทย – การพูด การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น / การใช้ทักษะทางด้านภาษาเพื่อ พัฒนาการเรียน ศิลปะ ฯ - การวาดภาพและระบายสี 8. กิจกรรมกำรเรียนรู้ บทที่ 1 สิ่งมีชีวิตรอบตัว ศึกษาและสืบค้นข้อมูลโดยใช้กระบวนการทดลองรายงานผลการทดลองและการนาเสนอผลงาน เกี่ยวกับเกี่ยวกับความแตกต่างของกลุ่มสิ่งมีชีวิต เรื่องที่ 1 กำรจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต กิจกรรมที่ 1.1 เราจาแนกสิ่งมีชีวิตได้อย่างไร 1. สารวจและศึกษาสิ่งมีชีวิต 2. จาแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิต ออกเป็นกลุ่มพืชกลุ่มสัตว์และกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์ กิจกรรมที่ 1.2 เราจาแนกสัตว์ได้อย่างไร 1. จาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้ลักษณะภายในบางลักษณะและลักษณะภายนอก เป็นเกณฑ์ 2. จาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังออกเป็นกลุ่ม กิจกรรมที่ 1.3 เราจาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังได้อย่างไร 1.ศึกษาเรื่องสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 2.สังเกตและเปรียบเทียบโครงสร้างของสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสัน หลัง กิจกรรมที่ 1.4 เราจาแนกพืชได้อย่างไร 1. ศึกษาลักษณะของพืชดอกพืชไร้ดอก 2. สารวจพืชใบเลียงเดี่ยวกับพืชใบเลียงคู่ 3. จาแนกพืชออกเป็นพืชใบเลียงเดี่ยวกับพืชใบเลียงคู่ บทที่ 2 ส่วนต่ำงๆของพืชดอก ศึกษาและสืบค้นข้อมูลโดยใช้กระบวนการทดลองรายงานผลการทดลองและการนาเสนอผลงาน เกี่ยวกับโครงสร้างหน้าที่และส่วนต่างๆของพืชดอก

12 เรื่องที่ 1 หน้ำที่ส่วนต่ำง ๆ ของพืชดอก กิจกรรมที่ 1.1 รากและลาต้นของพืชทาหน้าที่อะไร 1. ทบทวนโครงสร้างของพืช 2. ทดลองกิจกรรมหน้าที่ของรากและลาต้น 3. เสนอผลการทดลองร่วมกันอภิปราย 4. ศึกษาท่อลาเลียงของต้นเทียนตัดตามขวาง กิจกรรมที่ 1.2 ใบของพืชทาหน้าที่อะไร 1. ทบทวนโครงสร้างของพืชและหน้าที่ของโครงสร้างของพืช 2. ทดลองอาหารที่พืชสร้างขึนที่ใบ 3. ทดลองตรวจสอบนาตาลในพืช กิจกรรมที่ 1.3 ดอกของพืชทาหน้าที่อะไร 1. สังเกตส่วนประกอบของดอก 2. บรรยายหน้าที่ส่วนต่างๆของดอก 3. ศึกษาเรื่องการสืบพันธุ์ของพืชดอก 9. ชิ้นงำน/ ภำระงำน 1. แบบบันทึกกิจกรรม เราจาแนกสิ่งมีชีวิตได้อย่างไร 2. แบบบันทึกกิจกรรม เราจาแนกสัตว์ได้อย่างไร 3. แบบบันทึกกิจกรรม เราจาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังได้อย่างไร 4. แบบบันทึกกิจกรรม เราจาแนกพืชได้อย่างไร 5. แบบบันทึกกิจกรรม รากและลาต้นของพืชทาหน้าที่อะไร 6. แบบบันทึกกิจกรรม ใบของพืชทาหน้าที่อะไร 7.แบบบันทึกกิจกรรม ดอกของพืชทาหน้าที่อะไร 8. ใบกิจกรรมสารวจพืชใบเลียงเดี่ยวกับพืชใบเลียงคู่ 9. ใบกิจกรรมหน้าที่และส่วนประกอบของพืชดอก 10. ชินงานป๊อปอัพโครงสร้างของพืชดอก 10. สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - สื่อ 1. หนังสือเรียน ป. 4 เล่ม 1 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป. 4 เล่ม 1 3. ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 4. อุปกรณ์การทดลองและสารเคมี เช่น สารละลายไอโอดีน 5. อินเตอร์เน็ต 6. บัตรภาพสิ่งมีชีวิต บัตรภาพสัตว์มีกระดูกสันหลังกลุ่มต่างๆ บัตรภาพโครงสร้างภายในและภายนอก ของสัตว์ 7. สื่อ AR สื่อเสริมเพิ่มความรู้ ของ สสวท. 8. หนังสือป๊อปอัพโครงสร้างของพืชดอก

13 9. ภาพโปสเตอร์ส่วนประกอบของดอกไม้ /ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของดอกไม้ 10.ดอกของพืชชนิดต่างๆเช่น ดอกชบา ดอกกุหลาบ ดอกตาลึง 11. ใบพืชชนิดต่างๆ เช่น ใบชบา ใบหญ้า ใบผักบุ้ง ใบต้อยติ่ง 12. แป้งมันสาปะหลัง แป้งฝุ่น แป้งข้าวเหนียว แป้งข้าวโพด 13. ต้นเทียนหรือต้นกระสังข์ 14. ปลาทูและกุ้ง 15. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน - แหล่งเรียนรู้ (ห้องเรียนแห่งคุณภำพ) you tube 11. กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ กำรประเมินระหว่ำงกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ ชิ้นงำน/ภำระงำน วิธีกำรประเมิน เครื่องมือ 1. แบบบันทึกกิจกรรม 1. ตรวจแบบบันทึก 1. แบบบันทึกกิจกรรม กิจกรรม

เกณฑ์กำรประเมิน 1.นักเรียนร้อยละ 80มี คะแนนจากการทาแบบ บันทึกกิจกรรม ได้ร้อยละ70

2.รำยงำนบันทึกผลกำร ทดลอง 2.1 การกาหนดปัญหา - ตรวจรายงานบันทึก - แบบประเมินทักษะ -ผ่านระดับคุณภาพตังแต่3 ผลการทดลอง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขึนไป 2.2 การตังสมมติฐาน

- ตรวจรายงานบันทึก - แบบประเมินทักษะ -ผ่านระดับคุณภาพตังแต่3 ผลการทดลอง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขึนไป

2.3 วางแผนกาหนด ขันตอนการทางาน

- สังเกต

- แบบประเมินทักษะ -ผ่านระดับคุณภาพตังแต่3 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขึนไป

2.4 ศึกษาค้นคว้า ทดลองสังเกตรวบรวม ข้อมูล 2.5 การวิเคราะห์ข้อมูล

- สังเกต / ตรวจ รายงานบันทึกผลการ ทดลอง - สังเกตตรวจรายงาน บันทึกผลการทดลอง

- แบบประเมินทักษะ -ผ่านระดับคุณภาพตังแต่3 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขึนไป - แบบประเมินทักษะ -ผ่านระดับคุณภาพตังแต่3 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขึนไป

14 2.6การสรุปผลผลการ ทดลอง 3.สมรรถนะที่สำคัญ ของผู้เรียน 3.1 ความสามารถใน การสื่อสาร

- ตรวจรายงานบันทึก ผลการทดลอง

- แบบประเมินทักษะ -ผ่านระดับคุณภาพตังแต่3 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขึนไป

สังเกตพฤติกรรม

แบบประเมินสมรรถนะที่ สาคัญของผู้เรียน

ผ่านระดับดี

ชิ้นงำน/ภำระงำน 3.2 ความสามารถใน การแก้ปัญหา 3.3 ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต 3.4 ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี 4. คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ 4.1 ใฝ่เรียนรู้ 4.2 มุ่งมั่นในการ ทางาน

วิธีกำรประเมิน สังเกตพฤติกรรม

เครื่องมือ แบบประเมินสมรรถนะที่ สาคัญของผู้เรียน แบบประเมินสมรรถนะที่ สาคัญของผู้เรียน แบบประเมินสมรรถนะที่ สาคัญของผู้เรียน

เกณฑ์กำรประเมิน ผ่านระดับดี

สังเกตพฤติกรรม สังเกตพฤติกรรม

- สังเกตพฤติกรรมการ ทางาน - สังเกตพฤติกรรมการ ทางาน

- แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ - แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์

ผ่านระดับดี ผ่านระดับดี

ผ่านระดับคุณภาพตังแต่2 ขึนไป ผ่านระดับคุณภาพตังแต่2 ขึนไป

ประเมินแบบฝึกหัดหน่วยสิ่งมีชีวิต เกณฑ์กำรให้คะแนน - ตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน สิ่งที่ประเมิน

ดีเยี่ยม

2.รำยงำนบันทึกผล กำรทดลอง -กาหนดปัญหา 2.1 การกาหนด สอดคล้องกับ ปัญหา จุดประสงค์และ สอดคล้องกับกิจกรรม การทดลองได้ชัดเจนดี มาก

เกณฑ์กำรให้คะแนน ดี พอใช้ - กาหนดปัญหา สอดคล้องกับ จุดประสงค์และ สอดคล้องกับ กิจกรรมการทดลอง ได้ชัดเจน

-กาหนดปัญหาได้ สอดคล้องกับ จุดประสงค์และ กิจกรรมการทดลอง ได้ยังไม่ชัดเจน

ปรับปรุง - กาหนดปัญหา ไม่ได้สอดคล้องกับ จุดประสงค์และไม่ สอดคล้องกับ กิจกรรมการทดลอง

15 2. 2 การ ตังสมมติฐาน

- ตังสมมติฐานได้ สอดคล้องกับปัญหา และแสดง ความสัมพันธ์ระหว่าง เหตุและผลอย่าง ชัดเจน 2.3 วางแผนกาหนด - วางแผนขันตอนการ ขันตอนการทางาน ทดลองและบันทึกผล การทดลองอย่าง ชัดเจนทาการทดลอง ได้สอดคล้องกับ จุดประสงค์ของการ ทดลองได้ดีมาก

- ตังสมมติฐาน สอดคล้องกับปัญหา และแสดง ความสัมพันธ์ ระหว่างเหตุและผล ยังไม่ชัดเจนดี - วางแผนขันตอนการ ทดลองไม่ครบถ้วนทุก ขันตอนและบันทึกผล การทดลองได้บ้างทา การทดลองได้ สอดคล้องกับ จุดประสงค์ของการ ทดลองได้ดี

- ตังสมมติฐาน สอดคล้องกับปัญหา แต่ไม่แสดง ความสัมพันธ์ ระหว่างเหตุและผล

- ตังสมมติฐานไม่ สอดคล้องกับปัญหา

-วางแผนขันตอนการ ทดลองและบันทึกผล การทดลองได้ พอสมควรทาการ ทดลองบางส่วน สอดคล้องกับ จุดประสงค์ของการ ทดลองได้พอใช้

-วางแผนขันตอนการ ทดลองและบันทึกผล การทดลองด้วยตนเอง ไม่ได้ต้องได้รับการ ช่วยเหลือจึงจะทาการ ทดลองได้

เกณฑ์กำรให้คะแนน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ 2.4 ศึกษาค้นคว้า - สังเกตศึกษาทดลอง - สังเกตศึกษาทดลอง -สังเกตศึกษาทดลอง ทดลองสังเกตรวบรวม รวบรวมข้อมูลอย่าง รวบรวมข้อมูลอย่าง บางส่วนรวบรวม ข้อมูล ถูกต้องครบถ้วนตาม ถูกต้องครบถ้วนตาม ข้อมูลตามแผนที่วาง แผนที่วางไว้บันทึก แผนที่วางไว้บันทึก ไว้บันทึกข้อมูลอย่าง ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ต่อเนื่องและ และแก้ปัญหาการ และแก้ปัญหาการ แก้ปัญหาการทางาน ทางานได้ด้วยตัวเอง ทางานได้ด้วยตัวเอง ได้ด้วยตัวเองเป็น เป็นส่วนใหญ่ต้อง บางส่วนต้องได้รับ ได้รับคาแนะนาเพียง คาแนะนาเพียง เล็กน้อย บางส่วน สิ่งที่ประเมิน

2.5การวิเคราะห์ ข้อมูล

-จาแนกแยกแยะ ข้อมูลเปรียบเทียบ ความเหมือนและ ความแตกต่าง เรียงลาดับวิเคราะห์

-จาแนกแยกแยะ ข้อมูลเปรียบเทียบ ความเหมือนและ ความแตกต่าง เรียงลาดับวิเคราะห์

- จาแนกแยกแยะ ข้อมูลเปรียบเทียบ ความเหมือนและ ความแตกต่าง เรียงลาดับวิเคราะห์

ปรับปรุง - สังเกตศึกษาทดลอง รวบรวมข้อมูลตาม แผนที่วางไว้บันทึก ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง และแก้ปัญหาการ ทางานได้ด้วยตัวเอง ไม่ได้ต้องได้รับ คาแนะนาตลอดเวลา

-จาแนกแยกแยะ ข้อมูลเปรียบเทียบ ความเหมือนและ ความแตกต่าง เรียงลาดับวิเคราะห์

16

2.6 การสรุปผลผล การทดลอง

เหตุผลด้วยตนเองได้ อย่างชัดเจนเหมาะสม กับสิ่งทีศึกษาและ จุดประสงค์ของการ ทดลองดีมาก - สรุปข้อมูลได้ ครบถ้วนถูกต้อง สมบูรณ์และชัดเจน

เหตุผลด้วยตนเอง เหตุผลด้วยตนเองได้ เหมาะสมกับสิ่งที่ เป็นบางส่วนและต้อง ศึกษาและจุดประสงค์ ได้รับคาชีแนะ ของการทดลองดี

เหตุผลด้วยตนเองได้ น้อยมากและต้อง ได้รับคาชีแนะ ค่อนข้างมาก

- สรุปข้อมูลได้ถูกต้อง - สรุปข้อมูลได้ ได้ถูกต้องและสมบูรณ์ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ชัดเจนเป็นส่วนใหญ่ แต่สมบูรณ์ชัดเจน เพียงบางส่วน

- สรุปข้อมูลได้ ถูกต้องและสมบูรณ์ ชัดเจนเพียงบางส่วน

รำยกำรประเมิน ดีเยี่ยม 3 ด้ำนสมรรถนะหลัก มีความสามารถในการ 3.1 ความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ความคิด สื่อสาร ความเข้าใจของตนเองโดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสมได้ อย่างชัดเจนที่สุด 3.2 ความสามารถในการ แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล แก้ปัญหา แสวงหาความรู้มาใช้ใน การแก้ปัญหาตัดสินใจโดย คานึงถึงผลกระทบต่อ ตนเองและผู้อื่นด้วยการ กระทาของเราในแต่ละวัน สามารถสร้างความยั่งยืน ในอนาคตได้อย่างชัดเจน ถูกต้อง 3.3 ความสามารถในการใช้ ทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น ทักษะชีวิต ด้วยความสัมพันธ์อันดีมี วิธีแก้ไขความขัดแย้ง ภายในกลุ่มอย่าง เหมาะสม

ระดับคะแนน ดี มีความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ความคิด ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ ภาษาอย่างเหมาะสมได้ ค่อนข้างชัดเจน แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล แสวงหาความรู้มาใช้ในการ แก้ปัญหาตัดสินใจโดย คานึงถึงผลกระทบต่อตนเอง และผู้อื่นด้วยการกระทาของ เราในแต่ละวันสามารถสร้าง ความยั่งยืนในอนาคตได้ ถูกต้องเป็นบางส่วน

พอใช้ ถ่ายทอดความรู้ความคิด ความเข้าใจของตนเองยัง ไม่ชัดเจนและการใช้ ภาษายังไม่เหมาะสม

แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล แสวงหาความรู้มาใช้ใน การแก้ปัญหาตัดสินใจ โดยคานึงถึงผลกระทบต่อ ตนเองและผู้อื่นด้วยการ กระทาของเราในแต่ละ วันสามารถสร้างความ ยั่งยืนในอนาคตได้ยังไม่ ถูกต้อง ทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น ทางานและอยู่ร่วมกับ ด้วยความสัมพันธ์อันดีมี ผู้อื่นด้วยความสัมพันธ์อัน วิธีแก้ไขความขัดแย้งภายใน ดีไม่สามารถวิธีแก้ไข กลุ่มได้บ้างเป็นบางครัง ความขัดแย้งภายในกลุ่ม ได้

17 3.4 ความสามารถในการใช้ เลือกใช้ข้อมูลในการ เทคโนโลยี สืบค้นในการทางานและ อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่าง เหมาะสม

เลือกใช้ข้อมูลในการสืบค้น ในการทางานได้บ้างและอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้เป็นบางครัง

เลือกใช้ข้อมูลในการ สืบค้นในการทางานได้ บ้างแต่ไม่สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้

เกณฑ์กำรให้คะแนน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ 4. คุณลักษณะอัน -เข้าเรียนตรงเวลา -เข้าเรียนตรงเวลา -เข้าเรียนตรงเวลา พึงประสงค์ ตังใจเรียนเอาใจใส่ ตังใจเรียนเอาใจใส่ ตังใจเรียนเอาใจใส่ใน 4.1 ใฝ่เรียนรู้ และมีความพยายาม และมีความเพียร การเรียนมีส่วนร่วม ในการเรียนรู้มีส่วน พยายามในการ ในการเรียนรู้และเข้า ร่วมในการเรียนรู้และ เรียนรู้มีส่วนร่วมใน ร่วมกิจกรรมการ เข้าร่วมกิจกรรมการ การเรียนรู้และเข้า เรียนรู้ เรียนรู้ต่างๆทังภายใน ร่วมกิจกรรมการ ต่าง ๆ เป็นบางครัง และภายนอกโรงเรียน เรียนรู้ เป็นประจา ต่าง ๆ บ่อยครัง 4.2มุ่งมั่นในการ -ตังใจและรับผิดชอบ - ตังใจและ -ตังใจและรับผิดชอบ ทางาน ในการปฏิบัติหน้าที่ที่ รับผิดชอบในการ ในการปฏิบัติหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ ได้รับมอบหมายให้ สาเร็จมีการปรับปรุง มอบหมายให้สาเร็จมี สาเร็จมีการปรับปรุง และพัฒนาการทางาน การปรับปรุง การทางานให้ดีขึน ให้ดีขึนด้วยตนเอง และพัฒนาการ ทางานให้ดีขึน ชิ้นงำน/ภำระงำน วิธีกำรประเมิน เครื่องมือ 1. ใบกิจกรรมสารวจพืชใบ ตรวจชินงาน เกณฑ์การประเมิน เลียงเดี่ยวกับพืชใบเลียงคู่ (รูบริค) 2. ใบกิจกรรมหน้าที่และส่วน ต่างๆของพืชดอก 3. ชินงานป๊อปอัพโครงสร้าง ของพืชดอก สิ่งที่ประเมิน

ปรับปรุง - ไม่ตังใจเรียนไม่เอา ใจใส่และไม่เพียร พยายามในการ เรียนรู้

-มี่ความตังใจและ รับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย

เกณฑ์กำรประเมิน ผ่านระดับดี

18

สิ่งที่ประเมิน 1. ใบกิจกรรมสารวจพืชใบ เลียงเดี่ยวกับพืชใบเลียงคู่ 2. ใบกิจกรรมหน้าที่และ ส่วนประกอบของพืชดอก 3. ชินงานโครงสร้างของ ดอกไม้ 1. เนือหาถูกต้องสมบูรณ์ 2.งานเรียบร้อย สวยงาม

3. ความรับผิดชอบ

4. การจัดกระทาข้อมูล

5. นาเสนอ

เกณฑ์กำรให้คะแนน ดี พอใช้

ดีเยี่ยม

มีเนือหาถูกต้องครบ5 มีเนือหาไม่ถูกต้อง หัวข้อตามที่กาหนด 1 หัวข้อ ในลักษณะงาน

มีเนือหาไม่ถูกต้อง 2 หัวข้อ

ปรับปรุง มีเนือหาไม่ ถูกต้องมากกว่า 3 หัวข้อ

งานสะอาดมีความ ประณีตตกแต่ง สวยงามเรียบร้อย น่าสนใจ มีความรับผิดชอบส่ง งานทันตามเวลาที่ กาหนด

งานสะอาดมีความ งานสะอาดมีความ งานสะอาด ประณีต ประณีต ตกแต่งสวยงาม

นาเสนอข้อมูลเข้าใจ ง่ายเหมาะสม

นาเสนอข้อมูลพอ เข้าใจได้

มีความรับผิดชอบ แต่ส่งงานเกินเวลา ที่กาหนดเพียง เล็กน้อย จัดทาข้อมูลมีขันตอน จัดทาข้อมูลไม่เป็น เข้าใจง่าย งานเสร็จ ขันตอนแต่เข้าใจ ทันเวลาที่กาหนด ง่าย งานเสร็จ ทันเวลาที่กาหนด

มีความรับผิดชอบ ไม่มีความ ในการส่งงานแต่ส่ง รับผิดชอบใน งานเกินเวลาที่มาก การส่งงานต้อง ติดตามทวงถาม จัดทาข้อมูลเป็น ส่งงานไม่ทัน ขันตอนแต่ไม่ ตามกาหนด เหมาะสม งาน ข้อมูลไม่มีระบบ เสร็จทันเวลาที่ ไม่เข้าใจ กาหนด นาเสนอข้อมูล นาเสนอข้อมูล สับสนบ้างเล็กน้อย ไม่ครบไม่เข้าใจ

เกณฑ์ลาดับคุณภาพ คะแนน 18 – 20 คะแนนลาดับคุณภาพดีเยี่ยม คะแนน 14 – 17 คะแนนลาดับคุณภาพดี คะแนน 10 – 13 คะแนนลาดับคุณภาพพอใช้ คะแนน 0 – 9 คะแนนลาดับคุณภาพปรับปรุง ลงชื่อ…………………………………………………ผู้สอน (นางสาวธีรกานต์ ประเทืองทิน) ตาแหน่ง ครูผู้สอน

19 แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 11 รำยวิชำ พื้นฐำน รหัสวิชำ ว 14101 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 4 ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2564 หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย สิ่งมีชีวิต เวลำ 18 ชั่วโมง เรื่อง ดอกของพืชทำหน้ำที่อะไร เวลำ 1 ชั่วโมง ผู้สอนนำงสำวธีรกำนต์ ประเทืองทิน วันที่.................................................. 1. มำตรฐำนกำรเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลกำรเรียนรู้ 1.1 มำตรฐำนกำรเรียนรู้ มำตรฐำน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์ กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทังนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ 1.2 ตัวชี้วัด / ผลกำรเรียนรู้ ว 1.2 ป.4/1 บรรยายหน้าที่ของราก ลาต้น ใบ และดอกของพืชดอก โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ 2. สำระสำคัญ / ควำมคิดรวบยอด ส่วนต่างๆของพืชดอกทาหน้าที่แตกต่างกัน รากทาหน้าที่ดูดนาและแร่ธาตุขึนไปยังลาต้น ลาต้นทาหน้าที่ลาเลียงนาต่อไปยังส่วนต่างๆของพืช ใบทาหน้าที่สร้างอาหารอาหารที่พืชสร้างขึน คือนาตาล ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นแป้ง ดอกทาหน้าที่สืบพันธุ์ประกอบด้วยส่วนประกอบต่างๆได้แก่ กลีบเลียง กลีบดอก เกสร เพศผู้และเกสรเพศเมียซึ่งส่วนประกอบแต่ละส่วนของดอกทาหน้าที่แตกต่างกัน 3. จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1. สังเกตส่วนประกอบของดอก รวบรวมข้อมูลและบรรยายหน้าที่ส่วนต่าง ๆ ของดอก( K ) 2. อภิปรายและสรุปการทาหน้าที่ร่วมกันของส่วนประกอบของดอก( P ) 3. นาเสนอผลงานหน้าชันเรียนและทางานร่วมกันในกลุ่มได้ ( A ) 4. สำระกำรเรียนรู้ ส่วนต่าง ๆ ของพืชดอกทาหน้าที่แตกต่างกัน รากทาหน้าที่ดูดนาและแร่ธาตุขึนไปยังลาต้น ลาต้นทา หน้าที่ลาเลียงนาต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช ใบทาหน้าที่สร้างอาหาร อาหารที่พืชสร้างขึนคือนาตาลซึ่งจะ เปลี่ยนเป็นแป้ง ดอกทาหน้าที่สืบพันธุ์ ประกอบด้วยส่วนประกอบต่าง ๆ ได้แก่ กลีบเลียง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซึ่งส่วนประกอบแต่ละส่วนของดอกทาหน้าที่แตกต่างกัน 5. สมรรถนะ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

20 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ) ใฝ่เรียนรู้

) อยู่อย่างพอเพียง

3) มุ่งมั่นในการทางาน

7. จุดเน้นสู่กำรพัฒนำผู้เรียน ควำมสำมำรถและทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 - (R)eading (อ่านออก) R2 –W(R)iting (เขียนได้) - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา) - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม) - Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ) - Computering and ICT (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้) 8. กำรบูรณำกำรตำมพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ บูรณำกำรกับหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม บูรณำกำรข้ำมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ – คาศัพท์เกี่ยวกับส่วนประกอบของดอกไม้ ภาษาไทย – การพูด การเขียน การตอบคาถาม ศิลปะ ฯ – การวาดภาพและระบายสี 9. กิจกรรมกำรเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซึ่งมีขันตอนดังนี ขั้นสร้ำงควำมสนใจ (Engagement) 1. ครูทักทายกับนักเรียน แล้วแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ที่จะเรียนในวันนีให้นักเรียนทราบ 2. ครูเขียนคาว่า “พืชดอก” บนกระดาน แล้วให้นักเรียนช่วยกันอธิบายถึงลักษณะของพืชดอกตาม ความรู้ที่มี (แนวคาตอบ มีดอก ใบ และราก) 3. ครูให้นักเรียนช่วยกันบอกชื่อพืชดอกที่นักเรียนรู้จัก และร่วมกันอภิปรายว่าพืชดอกแต่ละชนิดมี ลักษณะใดเหมือนหรือแตกต่างกันบ้าง (แนวคาตอบ พืชดอกที่รู้จัก เช่น ดอกกุหลาบและดอกชบา โดยพืชดอก แต่ละชนิดมีดอกเหมือนกัน แต่มีลักษณะของดอกแตกต่างกัน) 4. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคาตอบจากคาถามของครูตามประสบการณ์ของนักเรียน โดยใช้ คาถามเพื่อการอภิปรายดังนี 4.1 ดอกของพืชที่นักเรียนเคยเห็นมีส่วนประกอบใดบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ)

21 4.2 ดอกของพืชมีความสาคัญอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ) ถ้ามีนักเรียนตอบว่า ดอกมี ความสาคัญเพราะทาหน้าที่สืบพันธุ์ ให้ครูใช้คาถามต่อไปนีในการอภิปรายเพิ่มเติม 4.3 การสืบพันธุ์หมายความว่าอย่างไร (การมีลูกหลานเพื่อดารงพันธุ์ไม่ให้สูญพันธุ์) 4.4 ดอกของพืชสืบพันธุ์ได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ) ขั้นสำรวจและค้นหำ (Exploration) 1.ให้นักเรียนศึกษาเรื่องส่วนประกอบของพืชดอกจากใบความรู้/สื่อส่วนประกอบของดอกไม้/หนังสือ เรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า พืชดอก คือ พืชที่โตเต็มที่แล้วจะผลิตดอกออกมาเพื่อทาหน้าที่ใน การสืบพันธุ์ ดอกของพืชแต่ละชนิดมีรูปร่าง สี มีกลิ่นและลักษณะแตกต่างกันไปตามชนิดของพันธุ์พืช 2.ครูนาภาพโครงสร้างส่วนประกอบของดอกมาติดบนกระดาน แล้วให้นักเรียนสังเกตและร่วมกัน แสดงความคิดเห็นจากภาพว่า หมายเลข 1-9 เป็นโครงสร้างส่วนใดของพืชดอก 3.แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน สารวจพืชดอก ตามขันตอนดังนี คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง-ค่อนข้างเก่ง-ปานกลาง-อ่อน -สังเกตส่วนประกอบของดอก -นาเสนอผลการสังเกตส่วนประกอบของดอก -ร่วมกันลงความเห็นเกี่ยวกับลักษณะส่วนต่าง ๆ ของดอก ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่าดอกของพืชส่วน ใหญ่มีส่วนประกอบ 4 ส่วน คือกลีบเลียงอยู่วงนอกสุด ถัดเข้าไปเป็นกลีบดอก ซึ่งส่วนใหญ่จะมีสีสัน ถัด เข้าไปเป็นเกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซึ่งดอกของพืชบางชนิดจะขาดส่วนใดส่วนหนึ่งไปได้ เช่น ดอก มะละกอมี 3 แบบ คือ มีส่วนประกอบของดอกครบทัง 4 ส่วน บางดอกขาดเกสรเพศผู้ และบางดอกขาด เกสรเพศเมีย -รวบรวมข้อมูลหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบ - นักเรียนอ่านใบความรู้และอภิปรายเกี่ยวกับการทาหน้าที่ร่วมกันของแต่ละส่วนประกอบของดอก นาเสนอผลการอภิปราย -นักเรียนร่วมกันสรุปข้อมูลเกี่ยวกับหน้าที่ของดอก (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม) ขั้นอธิบำยและลงข้อสรุป (Explanation) 1.ให้แต่ละกลุ่มนาข้อมูลมาอภิปรายและสรุปร่วมกันภายในกลุ่ม เพื่อสรุปความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง ส่วนต่างๆ ภายนอกของพืชและหน้าที่ของส่วนต่างๆ เหล่านัน หลังจากทากิจกรรมแล้ว ครูนาอภิปรายผลการทากิจกรรม โดยใช้คาถามกระตุ้นความคิดของนักเรียน ดังต่อไปนี - ดอกของพืชมีส่วนประกอบกี่ส่วน อะไรบ้าง (4 ส่วน กลีบเลียง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสร เพศเมีย) -ส่วนประกอบของดอกแต่ละส่วนมีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบตามลักษณะที่สังเกตได้จริง) - ดอกของพืชแต่ละชนิดมีส่วนประกอบครบทัง 4 ส่วน หรือไม่ (นักเรียนตอบตามข้อมูลจริง เช่น ดอกชบามีส่วนประกอบครบทัง 4 ส่วน แต่ดอกมะละกอบางดอกไม่มีเกสรเพศผู้ บางดอกไม่มีเกสรเพศ เมีย บางดอกมีครบส่วนประกอบครบทัง 4 ส่วน)

22 - กลีบเลียงมีหน้าที่อะไร (ห่อหุ้มดอกที่ยังตูมอยู่) -กลีบดอกมีหน้าที่อะไร (ดึงดูดสัตว์ให้เข้ามาช่วยถ่ายเรณู) -เกสรเพศผู้มีหน้าที่อะไร (สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้) -เกสรเพศผู้ประกอบด้วยส่วนใดบ้าง (ก้านชูอับเรณู อับเรณู) - เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้เรียกว่าอะไร (สเปิร์ม) -สเปิร์มอยู่ในส่วนใด (เรณู) -เกสรเพศเมียมีหน้าที่อะไร (สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย) -เกสรเพศเมียประกอบด้วยส่วนใดบ้าง (รังไข่ ก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรเพศเมีย มีออวุลอยู่ในรัง ไข่) -เซลล์สืบพันธุ์เพศเมียเรียกว่าอะไร (เซลล์ไข่) -เซลล์ไข่อยู่ที่ส่วนใด (ในออวุล) -นักเรียนคิดว่าส่วนประกอบต่าง ๆ ของดอก ทาหน้าที่ร่วมกันในเรื่องใด (ทาหน้าที่ร่วมกันในการ สืบพันธุ์ 2.นักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าดอกของพืชมีส่วนประกอบ 4ส่วน ได้แก่ กลีบเลียง กลีบ ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซึ่งแต่ละส่วนทาหน้าที่ร่วมกันในการสืบพันธุ์ของพืชดอก ขั้นขยำยควำมรู้ (Elaboration) 1.ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่าการสืบพันธุ์ของพืชแบบอาศัยเพศ จะมีการผสมกันของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ หรือสเปิร์มกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือเซลล์ไข่ โดยการที่สเปิร์มจากเรณูที่อยู่ในอับเรณูจะเคลื่อนย้ายไปยัง ยอดเกสรเพศเมียเพื่อเข้าไปผสมกับเซลล์ไข่ในออวุลได้นัน อาจมีตัวช่วย เช่น สัตว์ ลม นาและสิ่งที่ช่วยในการ ดึงดูดสัตว์ คือ สีสันของกลีบดอก และ/หรือกลีบดอก กลิ่น และนาหวาน ขั้นประเมิน (Evaluation) 1.ครูแนะนาให้นักเรียนใช้แอฟลิเคชั่นสาหรับการสังเกตภาพเสมือนจริง (AR)ส่วนประกอบของดอก จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ สสวท. หน้า 94 2.ครูนาอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในขันตอนใดแล้วให้บันทึกในแบบบันทึกกิจกรรม 3. ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นักเรียน เข้าไปทาแบบทดสอบ เรื่อง หน้าที่และ ส่วนประกอบของดอก ใน Google form 4.ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการทางานกลุ่ม และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าชันเรียน 5.ครูตรวจสอบผลการทาใบงาน เรื่อง หน้าที่และส่วนประกอบของดอก /ทาสื่อป๊อปอัพโครงสร้างของ พืชดอกหรือตรวจผลการทากิจกรรมนาสู่การเรียนในแบบฝึกกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 10. สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน ป. 4 เล่ม 1 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป. 4 เล่ม 1 3. สื่อ AR สื่อเสริมเพิ่มความรู้ ของ สสวท.

23 4. หนังสือป๊อปอัพโครงสร้างของพืชดอก 5. ภาพโปสเตอร์ส่วนประกอบของดอกไม้/ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของดอกไม้ 6. แบบทดสอบ เรื่อง หน้าที่และส่วนประกอบของดอก ใน Google form 7.ใบกิจกรรมหน้าที่และส่วนประกอบของพืชดอก - แหล่งเรียนรู้ (ห้องเรียนแห่งคุณภำพ) วีดิทัศน์นีจัดทาขึนภายใต้โครงการ Project 14 ของ สสวท.ดอกของพืชทาหน้าที่อะไร (วิทย์ ป.4 เล่ม 1 หน่วย 2 บท 2) https://www.youtube.com/watch?v=trJb93OE6B8 หน้าที่ส่วนต่างๆของดอก https://www.youtube.com/watch?v=8zWmo2XS7Pg 11. กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ 1. วิธีกำรวัดและประเมินผล วิธีวัดและ รำยกำรวัด ประเมินผล ด้ำนควำมรู้ควำมเข้ำใจ ตรวจใบกิจกรรม (Knowledge : K) หน้าที่และส่วน - สังเกต ระบุส่วนประกอบ ประกอบของพืช ของดอก รวบรวมข้อมูลและ ดอก บรรยายหน้าที่ส่วนต่าง ๆ ของดอก ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร ตรวจใบกิจกรรม (Process : P) หน้าที่และส่วน อภิปรายและสรุปการทา ประกอบของพืช หน้าที่ร่วมกันของ ดอก ส่วนประกอบของดอก ด้ำนเจตคติ/คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ (Attitude : A) การสอบถาม มีวินัย สนใจใฝ่รู้ มุ่งมั่นในการ ทางาน

เครื่องมือกำรวัดและ ประเมินผล

เกณฑ์กำรวัดผลและ ประเมิน

แบบประเมินใบงาน

นักเรียนทาใบงานผ่าน เกณฑ์พอใช้

แบบประเมินใบงาน

นักเรียนทาใบงานผ่าน เกณฑ์พอใช้

การสอบถาม

สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียน รำยกำรวัด วิธีกำร เครื่องมือ 1) การนาเสนอผล - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมินการ การทากิจกรรม ผลการทากิจกรรม นาเสนอผลงาน 2) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม การทางาน การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล รายบุคคล

นักเรียนมีผลการประเมิน ผ่านเกณฑ์ที่ผู้สอน กาหนด

เกณฑ์กำรประเมิน - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

24 3) พฤติกรรม การทางานกลุ่ม 4) คุณลักษณะ อันพึงประสงค์

- สังเกตพฤติกรรม การทางานกลุ่ม - สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น ในการทางาน

- แบบสังเกตพฤติกรรม การทางานกลุ่ม - แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์

- ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

2. เครื่องมือ 2.1หนังสือป๊อปอัพโครงสร้างของพืชดอก 2.2ใบกิจกรรมหน้าที่และส่วนประกอบของพืชดอก 2.3แบบทดสอบ เรื่อง หน้าที่และส่วนประกอบของดอก ใน Google form 3. เกณฑ์กำรประเมิน 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม (ในชันเรียน) ผ่านตังแต่ 4 รายการ ถือว่า ผ่ำน ต่ากว่า 4 รายการถือว่า ไม่ผ่ำน 3.2 ประเมินการทางานกลุ่มผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 3.3 ประเมินชินงาน เกณฑ์การผ่านได้ผ่านคะแนนร้อยละ 80 หรือ ได้คะแนนตังแต่ 14 ขึนไป 3.4การนาเสนอผลงาน เกณฑ์การผ่านได้ผ่านคะแนนร้อยละ 80 หรือ ได้คะแนนตังแต่ 16 ขึนไป 3.5 ทาแบบทดสอบหลังเรียนท้ายเนือหาเรื่อง หน้าที่และส่วนประกอบของดอก ใน Google form ผ่านเกณฑ์ขันต่า 8 คะแนน หรือผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 12. บันทึกหลังแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ - ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ - นักเรียนจานวน.........................................คน - ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม......................คน คิดเป็นร้อยละ.............................. - ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..................คน คิดเป็นร้อยละ.............................. ได้แก่ ……………………………………………………………………………..…………………………………….………............ - นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นักเรียนเด็กพิเศษ ได้แก่ ……………………………………………………………………………..…………………………………….………............ - นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านความรู้ (K) จานวน............................คน ได้แก่ ……………………………………………………………………………..…………………………………….………............ - นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านทักษะ (P) จานวน.............................คน ได้แก่ ……………………………………………………………………………..…………………………………….………............ - นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านคุณลักษณะ (A) จานวน............................คน ได้แก่ ……………………………………………………………………………..…………………………………….………............

25 - ด้ำนควำมรู้ ควำมเข้ำใจ (K) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… - ด้ำนทักษะกระบวนกำร (P) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… - ด้ำนคุณลักษณะ (A) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… - ปัญหำและอุปสรรค / แนวทำงกำรแก้ไข / ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………………ผู้สอน (นางสาวธีรกานต์ ประเทืองทิน) ตาแหน่ง ครู

ความเห็น / ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………………………ผู้บังคับบัญชา (…………...………………………………….) ตาแหน่ง....................................................

26

ภำคผนวก

27 แบบประเมินกำรนำเสนองำน ที่ 1 2 3 4 5

เรื่อง

คะแนน

ความสมบูรณ์ของผลงาน ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ส่งผลงานตามกาหนดเวลาที่กาหนด ความร่วมมือในการทางาน การนาเสนอผลงานตามลาดับ

เกณฑ์กำรประเมิน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน  ผ่ำน

อยู่ในเกณฑ์ ” ” ”  ไม่ผ่ำน

ผลของงานอยู่ในระดับดีมาก ผลของงานอยู่ในระดับดี ผลของงานอยู่ในระดับปานกลาง ผลของงานอยู่ในระดับควรปรับปรุง

เกณฑ์การผ่าน ได้ผ่านคะแนนร้อยละ 80 หรือ ได้คะแนนตังแต่ 16 ขึนไป

ลงชื่อ……………………………..………ผู้ประเมิน (นางสาวธีรกานต์ ประเทืองทิน) ………/…………………./…………

28

รำยละเอียดเกณฑ์กำรให้คะแนนกำรประเมินกำรนำเสนอผลงำน รำยกำรประเมิน 1. ความสมบูรณ์ ของผลงาน 2. ความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่

3. ส่งผลงานตาม กาหนดเวลา ที่กาหนด 4. ความร่วมมือใน การทางาน 5. การนาเสนอผลงาน ตามลาดับ

เกณฑ์กำรให้คะแนน 1.1 ผลงานมีความถูกต้องสมบูรณ์เนือหาครบ ได้ 4 คะแนน 1.2 ผลงานมีความถูกต้องแต่ขาดเนือหา 1 เรื่อง ได้ 3 คะแนน 1.3 ผลงานมีความถูกต้องแต่ขาดเนือหา 2 เรื่อง ได้ 2 คะแนน 1.4 ความถูกต้องแต่ขาดเนือหา 3 เรื่อง ได้ 1 คะแนน 2.1 ทุกคนมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตน ได้ 4 คะแนน 2.2 มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ 1 คน ได้ 3 คะแนน 2.3 มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ 2 คน ได้ 2 คะแนน 2.4 มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ 3 คน ได้ 1 คะแนน 3.1 เสร็จตามเวลาและผลงานมีคุณภาพ ได้ 4 คะแนน 3.2 เสร็จช้ากว่าเวลา 1 นาทีและผลงานมีคุณภาพ ได้ 3 คะแนน 3.3 เสร็จช้ากว่าเวลา 2 นาทีและผลงานมีคุณภาพ ได้ 2 คะแนน 3.4 เสร็จช้ากว่าเวลา 3 นาทีและผลงานไม่มีคุณภาพ ได้ 1 คะแนน 4.1 ทุกคนมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่ ได้ 4 คะแนน 4.2 มีผู้ไม่มีส่วนร่วมและไม่ร่วมมือ 1 คน ได้ 3 คะแนน 4.3 มีผู้ไม่มีส่วนร่วมและไม่ร่วมมือ 2 คน ได้ 2 คะแนน 4.4 มีผู้ไม่มีส่วนร่วมและไม่ร่วมมือ 3 คน ได้ 1 คะแนน 5.1 การนาเสนอผลงานตามลาดับได้ครบถ้วนเป็นไปตามขันตอน ได้ 4 คะแนน 5.2 การนาเสนอผลงานตามลาดับขาดขันตอนไปบ้าง ได้ 3 คะแนน 5.3 การนาเสนอผลงานตามลาดับไม่ครบถ้วนเป็นไปตามขันตอน ได้ 2 คะแนน 5.4 การนาเสนอผลงานตามลาดับขันตอนไม่ครบถ้วน ไม่เป็นไปตาม ขันตอน ได้ 1 คะแนน

29

เลข ที่

รวมคะแนน

มุ่งมั่นในการ ทางาน

ใฝ่รู้ใฝ่เรียน

อยู่อย่างพอเพียง

แบบบันทึกผลประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วเขียนคะแนนลงในช่องระดับคะแนนที่ตรงกับความ เป็นจริง

ชื่อ- สกุล ตังใจเรียน

แสวงหา ความรู้

พอ มี ประมาณ ภูมิคุ้มกัน

ตังใจ ทางาน

เพียร 24 พยายาม

4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

ลงชื่อ..................................................................ผู้ประเมิน (นางสาวธีรกานต์ ประเทืองทิน)

30 รำยละเอียดเกณฑ์กำรให้คะแนนกำรประเมิน ตัวชี้วัด 4 1. ใฝ่เรียนรู้ เข้าเรียนตรงเวลา 1.1 ตังใจ เพียร ตังใจเรียน เอาใจ พยายาม ในการ ใส่และมีความ เรียนและเข้าร่วม เพียรพยายามใน กิจกรรม การเรียนรู้ มีส่วน ร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ ทังภายใน และภายนอก โรงเรียนเป็น ประจา 1.2 แสวงหา ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จากแหล่ง ความรู้จากหนังสือ เรียนรู้ต่าง ๆ ทัง เอกสาร สิ่งพิมพ์ ภายในและ สื่อเทคโนโลยีและ ภายนอกโรงเรียน สารสนเทศ แหล่ง ด้วยการเลือกใช้สื่อ เรียนรู้ทังภายใน อย่างเหมาะสม และภายนอก สรุปเป็นองค์ โรงเรียน เลือกใช้ ความรู้ สามารถ สื่อได้อย่าง นาไปใช้ใน เหมาะสมมีการ ชีวิตประจาวันได้ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ข้อมูล สรุปเป็นองค์ ความรู้และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยวิธีการที่ หลากหลายและ นาไปใช้ใน ชีวิตประจาวันได้

เกณฑ์กำรประเมิน 3 เข้าเรียนตรงเวลา ตังใจเรียน เอาใจ ใส่และมีความ เพียรพยายามใน การเรียนรู้ มีส่วน ร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ บ่อยครัง

2 1 เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตังใจเรียน ตังใจเรียน เอาใจ ใส่ในการเรียนรู้ และเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ บางครัง

ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีและ สารสนเทศ แหล่ง เรียนรู้ทังภายใน และภายนอก โรงเรียน เลือกใช้ สื่อได้อย่าง เหมาะสมมีการ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ข้อมูล สรุปเป็นองค์ ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับผู้อื่น

ศึกษาค้นคว้าหา ไม่ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จากหนังสือ ความรู้ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีและ สารสนเทศ แหล่ง เรียนรู้ทังภายใน และภายนอก โรงเรียน เลือกใช้ สื่อได้อย่าง เหมาะสมมีการ บันทึกความรู้

31

ตัวชี้วัด

เกณฑ์กำรประเมิน

4 2. อยู่อย่ำง รอบคอบมีเหตุผล พอเพียง ไม่เอาเปรียบผู้อื่น 2.1 ดาเนินชีวิต ไม่ทาให้ผู้อื่น อย่างพอประมาณ เดือดร้อนและให้ มีเหตุผล รอบคอบ อภัยเมื่อผู้อื่น มีคุณธรรม กระทาผิดพลาด

3 รอบคอบมีเหตุผล ไม่เอาเปรียบผู้อื่น ไม่ทาให้ผู้อื่น เดือดร้อน

2 รอบคอบมีเหตุผล ไม่ให้ความร่วมมือ ไม่เสียสละในการ ทางาน

2.2 มีภูมิคุ้มกันใน ตัวที่ดี ปรับตัวเพื่อ อยู่ในสังคมได้อย่าง มีความสุข

ใช้ความรู้ข้อมูล ข่าวสารในการวาง แผนการเรียนการ ทางานและใช้ใน ชีวิตประจาวัน ยอมรับการ เปลี่ยนแปลงของ ครอบครัว ชุมชน สังคม แบะ สภาพแวดล้อม

ใช้ความรู้ข้อมูล ไม่วางแผนการ ข่าวสารในการวาง เรียนและการใช้ แผนการเรียนการ ชีวิตประจาวัน ทางานและใช้ใน ชีวิตประจาวัน ยอมรับการ เปลี่ยนแปลงของ ครอบครัว ชุมชน

ตังใจและ รับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ให้สาเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนาการทางาน ให้ดีขึน

ตังใจและ รับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ให้สาเร็จ มีการ ปรับปรุงการ ทางานให้ดีขึน

3.มุ่งมั่นในกำร ทำงำน 3.1 ตังใจและ รับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่การ งาน

ใช้ความรู้ข้อมูล ข่าวสารในการวาง แผนการเรียนการ ทางานและใช้ใน ชีวิตประจาวัน ยอมรับการ เปลี่ยนแปลงของ ครอบครัว ชุมชน สังคม สภาพแวดล้อม และปรับตัวอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข ตังใจและ รับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ให้สาเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนาการทางาน ให้ดีขึนด้วยตนเอง

1 ไม่รอบคอบ ไม่ใช้ หลักเหตุผลในการ ทางาน

ไม่ตังใจการปฏิบัติ หน้าที่การงาน

32

ตัวชี้วัด 4 3.2 ทางานด้วย ทางานด้วยความ ความเพียรพยายาม ขยันอดทน และ และอดทนเพื่อให้ พยายามให้งาน งานสาเร็จตาม สาเร็จตาม เป้าหมาย เป้าหมายภายใน เวลาที่กาหนดไม่ย่อ ท้อต่อปัญหา แก้ปัญหาอุปสรรค ในการทางานและ ชื่นชมผลงานด้วย ความภาคภูมิใจ

เกณฑ์กำรตัดสินระดับคุณภำพ 17 – 20 คะแนน 14 – 16 คะแนน 11 – 13 คะแนน 0 – 10 คะแนน

เกณฑ์กำรประเมิน 3 ทางานด้วยความ ขยันอดทน และ พยายามให้งาน สาเร็จตาม เป้าหมายไม่ย่อท้อ ต่อปัญหา ในการ ทางานและชื่นชม ผลงานด้วยความ ภาคภูมิใจ

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

4 3 2 1

2 ทางานด้วยความ ขยันอดทน และ พยายามให้งาน สาเร็จตาม เป้าหมายและชื่น ชมผลงานด้วย ความภาคภูมิใจ

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

1 ไม่ขยัน อดทนใน การทางาน

ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

33 แบบประเมินสมรรถนะผู้เรียน 5 ด้ำน ชื่อ..............................................................นำมสกุล.....................................................ชั้น ........ เลขที่..... คำชี้แจง : ให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน สมรรถนะที่ประเมิน

3

ระดับคะแนน 2 1

3

ระดับคะแนน 2 1

0

สรุป ผล

0

สรุป ผล

1. ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร 1.1 มีความสามารถในการรับ – ส่งสาร 1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม 1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม 1.4 วิเคราะห์แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล 1.5 เขียนบันทึกเหตุการณ์ประจาวันแล้วเล่าให้เพื่อนฟังได้ สรุปผลกำรประเมิน

2. ควำมสำมำรถในกำรคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ 2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.4 มีความสามารถในการคิดอย่างมีระบบ 2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้ สรุปผลกำรประเมิน

3. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ 3.1 สามารถแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ 3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา 3.3 เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงในสังคม 3.4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ใน การป้องกันและแก้ไขปัญหา 3.5 สามารถตัดสินใจได้เหมาะสมตามวัย สรุปผลกำรประเมิน

สมรรถนะที่ประเมิน 4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต 4.1 เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย 4.2 สามารถทางานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้

34 4.3 นาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน 4.4 จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้เหมาะสม 4.5 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบ ต่อตนเอง สรุปผลกำรประเมิน 5. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี 5.1 เลือกและใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสมตามวัย 5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี 5.3 สามารถนาเทคโนโลยีไปใช้พัฒนาตนเอง 5.4 ใช้เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 5.5 มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี สรุปผลกำรประเมิน สรุปผลกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รำยบุคคล  ดีเยี่ยม  ดี  ผ่ำน

 ไม่ผ่ำน

ลงชื่อ ................................................................................. ผู้ประเมิน (นางสาวธีรกานต์ ประเทืองทิน)

เกณฑ์กำรให้คะแนนระดับคุณภำพ ดีเยี่ยม - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ดี - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครัง ผ่ำน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครัง ไม่ผ่ำน - ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม เกณฑ์กำรสรุปผล ดีเยี่ยม - 13-15 ดี - 9-12 ผ่ำน - 1-8 ไม่ผ่ำน - 0

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

ให้ ให้ ให้ ให้

3 คะแนน 2 คะแนน

1 คะแนน 0 คะแนน

35 กำรประเมินชิ้นงำน

ส่งงานได้ตรงตาม กาหนด (4)

เป็นระเบียบ มีความคิด สร้างสรรค์ สวยงาม(4) เนือหาชัดเจน (4)

ชื่อ-สกุล

ทางานสมบูรณ์ (4)

เลข ที่

เขียนถูกต้องชัดเจน(4)

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน พฤติกรรม รวม (20)

เกณฑ์ลาดับคุณภาพ คะแนน 18 – 20 คะแนนลาดับคุณภาพดีเยี่ยม คะแนน 14 – 17 คะแนนลาดับคุณภาพดี คะแนน 10 – 13 คะแนนลาดับคุณภาพพอใช้ คะแนน 0 – 9 คะแนนลาดับคุณภาพปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ได้ผ่านคะแนนร้อยละ 80 หรือ ได้คะแนนตังแต่ 14 ขึนไป

ลงชื่อ…………………………………………………ผู้สอน (นางสาวธีรกานต์ ประเทืองทิน) ตาแหน่ง ครูผู้สอน

36 ชิ้นงำน/ภำระงำน 1. ใบกิจกรรมสารวจพืชใบ เลียงเดี่ยวกับพืชใบเลียงคู่ 2. ใบกิจกรรมหน้าที่และ ส่วนต่างๆของพืชดอก 3. ชินงานป๊อปอัพ โครงสร้างของพืชดอก สิ่งที่ประเมิน 1. ใบกิจกรรมสารวจพืชใบ เลียงเดี่ยวกับพืชใบเลียงคู่ 2. ใบกิจกรรมหน้าที่และ ส่วนประกอบของพืชดอก 3. ชินงานโครงสร้างของ ดอกไม้ 1. เนือหาถูกต้องสมบูรณ์ 2.งานเรียบร้อย สวยงาม

3. ความรับผิดชอบ

4. การจัดกระทาข้อมูล

5. นาเสนอ

วิธีกำรประเมิน ตรวจชินงาน

ดีเยี่ยม

เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน (รูบริค)

เกณฑ์กำรประเมิน ผ่านระดับดี

เกณฑ์กำรให้คะแนน ดี พอใช้

ปรับปรุง

มีเนือหาถูกต้อง มีเนือหาไม่ถูกต้อง1 ครบ5 หัวข้อตามที่ หัวข้อ กาหนดในลักษณะ งาน

มีเนือหาไม่ถูกต้อง2 มีเนือหาไม่ถูกต้อง หัวข้อ มากกว่า3 หัวข้อ

งานสะอาดมีความ ประณีตตกแต่ง สวยงามเรียบร้อย น่าสนใจ มีความรับผิดชอบ ส่งงานทันตามเวลา ที่กาหนด

งานสะอาดมีความ ประณีต

งานสะอาดมีความ ประณีต ตกแต่งสวยงาม

งานสะอาด

มีความรับผิดชอบแต่ มีความรับผิดชอบ ไม่มีความ ส่งงานเกินเวลาที่ ในการส่งงานแต่ส่ง รับผิดชอบในการส่ง กาหนดเพียงเล็กน้อย งานเกินเวลาที่มาก งานต้องติดตามทวง ถาม จัดทาข้อมูลมี จัดทาข้อมูลไม่เป็น จัดทาข้อมูลเป็น ส่งงานไม่ทันตาม ขันตอนเข้าใจง่าย ขันตอนแต่เข้าใจ ขันตอนแต่ไม่ กาหนด ข้อมูลไม่มี งานเสร็จทันเวลาที่ ง่าย งานเสร็จ เหมาะสมงานเสร็จ ระบบ ไม่เข้าใจ กาหนด ทันเวลาที่กาหนด ทันเวลาที่กาหนด นาเสนอข้อมูล นาเสนอข้อมูลพอ นาเสนอข้อมูล นาเสนอข้อมูลไม่ เข้าใจง่ายเหมาะสม เข้าใจได้ สับสนบ้างเล็กน้อย ครบไม่เข้าใจ

37

ใบกิจกรรม เรื่องส่วนประกอบของพืชดอก

ใบควำมรู้

38

39

40

สื่อประกอบกำรสอน

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.