วิทยาการคำนวณและออกแบบ ม-4 เต็ม Flipbook PDF

วิทยาการคำนวณและออกแบบ ม-4 เต็ม

30 downloads 113 Views 1MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript



แผนการจัดการจัดการเรียนรู้ รายวิชา วิทยาการคำนวณและออกแบบ รหัสวิชา ว31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เวลาเรียน 40 คาบ/สัปดาห์ 1 หน่วยกิต ครูผู้สอน นายสหรัฐ การบรรจง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี



คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา วิทยาการคำนวณและออกแบบ รหัสวิชา ว31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 แผนการจัดการเรียนรู้นี้ จัดทำขึ้นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็น แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง ซึ่งครอบคลุมสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด และจัดทำขึ้นให้สอดคล้องกับ เค้าโครงการจัดการเรียนรู้ (Teach Blueprint) แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา วิทยาการคำนวณและออกแบบ รหัส ว31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน กิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ทำให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้เชิง บูรณาการด้วยวิธีที่หลากหลาย เน้นกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง ทำให้ นักเรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ ด้านคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่ดี นำไปสู่ การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข ขอขอบคุณ ผู้มีส ่วนเกี่ย วข้องทุกฝ่ายที่มีส ่ว นร่ว มให้แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้สำเร็จตรงตาม วัตถุประสงค์ และหวังว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับการนำไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียน การสอน ได้ประสบความสำเร็จ นำไปสู่เป้าหมายคือผู้เรียนมีคุณภาพได้ตามที่มุ่งหวังทุกประการ

นายสหรัฐ การบรรจง ตำแหน่ง ครูอัตราจ้าง



สารบัญ คำนำ....................................................................................................................................................ก สารบัญ....................................................................................................................... ..........................ข หลักการและเป้าหมายหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.............................1 คำอธิบายรายวิชา.............................................................................................................. ...................2 เค้าโครงการจัดการเรียนรู้ (Teach Blueprint)....................................................................................4 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยที่ 1 เรื่อง “แนวคิดเชิงคำนวณ”.......................................................9 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยที่ 2 เรื่อง “แนวคิดเชิงคำนวณเพื่อพัฒนาโครงงาน”......................14 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยที่ 3 เรื่อง “การเขียนรายงานการพัฒนาโครงงาน”........................18 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 หน่วยที่ 4 เรื่อง “ระบบทางเทคโนโลยี”..................................................23 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 หน่วยที่ 5 เรื่อง “กระบวนการเชิงวิศวกรรม”.........................................28 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 หน่วยที่ 6 เรื่อง “ผลงานออกแบบและเทคโนโลยี.”................................35 แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้.....................................................................42 แบบประเมินการจัดการเรียนการสอนโดยผู้นิเทศ..............................................................................43 บันทึกการนิเทศการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ (ก่อน-หลังใช้แผนฯ)....................................................44

1

หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้ 1. เป็น หลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติมีจุดมุ่งหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็ น เป้ า หมาย สำหรั บ พั ฒ นาเด็ ก และเยาวชนให้ ม ี ค วามรู ้ ทั ก ษะเจตคติ แ ละคุ ณ ธรรมบนพื ้ น ฐานของ ความเป็นไทยควบคู่ กับความเป็นสากล 2. เป็น หลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ 3. เป็น หลักสูตรการศึ ก ษาที่ส นองการกระจายอำนาจให้ส ัง คมมีส ่ว นร่ว มในการจัด การศึ ก ษาให้ สอดคล้องกับ สภาพและ ความต้องการของท้องถิ่น 4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลา และการจัดการเรียนรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 6. เป็ น หลั ก สู ต รการศึ ก ษาสำหรั บ การศึ ก ษาในระบบ นอกระบบ และตามอั ธ ยาศั ย ครอบคลุ ม ทุกกลุ่มเป้าหมายสามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์

เป้าหมาย หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 มุ ่ ง พั ฒ นาผู ้ เ รี ย นให้ เ ป็ น คนดี มีปัญญามีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเองมีวินัยและปฏิบัติตามหลักธรรม ของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การเทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักษาการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลกยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มี จ ิ ต สำนึ ก ในการอนุ ร ั ก ษ์ ว ั ฒ นธรรมและภู ม ิ ป ั ญ ญาไทย การอนุ ร ั ก ษ์ แ ละพั ฒ นาสิ ่ ง แวดล้ อ ม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำ ประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

2

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) รายวิชา วิทยาการคำนวณและออกแบบ ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง

ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 รหัสวิชา ว31101 จำนวน 1 หน่วยกิต

ศึ ก ษาการใช้ แ นวคิ ด เชิ ง คำนวณในการพั ฒ นาโครงงาน การพั ฒ นาโครงงานทางด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศ การเขียนรายงานการพัฒนาโครงงาน การประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคำนวณเพื่อพัฒนาโครงงาน โดยให้ นักเรียนศึกษากรณีศึกษาที่ 1 โครงงานพัฒนาเว็บไซต์แนวนำการใช้ห้องสมุด และกรณีศึกษาที่ 2 โครงงาน พัฒนาโปรแกรมแจ้งเตือนการกินยาผ่านสมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ต โดยอาศัยกระบวนการคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking Process) และแบบใช้โครงงานเป็น ฐาน (Project-Based Learning) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการฝึกแก้ปัญหาต่าง ๆ ผ่านกระบวนการ คิด การปฏิบัติอย่างมีระบบและสร้างองค์ความรู้ใหม่จากการใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวัน จนสามารถ นำเอาแนวคิดเชิงคำนวณมาประยุกต์ใช้ในการสร้างโครงงานได้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะความคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอน และเป็นระบบมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาข้อมูลส่วนตัว และการสื่อสารเบื้องต้นในการ แก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนำความรู้ความเข้อใจในวิชาวิทยาการคำนวณและนำ เทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และดำเนินชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและ จินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร ความสามารถในการตัดสินใจ เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ศึกษาองค์ประกอบของระบบทางเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ๆ สาเหตุที่ทำ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม การใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมในการแก้ปัญหา วัสดุ กลไก เครื่องมือในการสร้าง ชิ้นงาน ศึกษาตัวอย่างโครงงานที่น่าสนใจเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาโครงงานนวัตกรรมผ่านกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรมต่อไป โดยอาศัยรูปแบบการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) และรูปแบบการสอน แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญ สถานการณ์การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเองผ่าน กระบวนการการคิดและปฏิบัติโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

3 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะเกี่ยวกับการใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ ใน การออกแบบและพัฒนาเทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ ที่สามารถนำไปใช้ในชีวิต จริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิด ประโยชน์ต่อสังคมและการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการ แก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสารและความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มี คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ว. 4.1 เทคโนโลยี 1. วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์หรือ คณิตศาสตร์รวมทั้งประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อมนุษย์สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็น แนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี 2. ระบุปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหาที่มีความซับซ้อนเพื่อสังเคราะห์วิธีการ เทคนิคในการแก้ปัญหาโดยคำนึงถึงความถูกต้องด้าน ทรัพย์สินทางปัญญา 3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็น ภายใต้เงื่อนไข และทรัพยากรที่มีอยู่ นำเสนอ แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิค หรือวิธีการที่หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์ ช่วยในการออกแบบ วางแผนขั้นตอนการทำงาน และดำเนินการแก้ปัญหา 4. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผล ของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นภายใต้ กรอบเงื่อนไข หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนำเสนอผลการแก้ปัญหา พร้อมทั้งเสนอ แนวทางการพัฒนาต่อยอด 5. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีที่ ซับซ้อนในการแก้ปัญหา หรือพัฒนางาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย ว. 4.2 เทคโนโลยี 1. ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการพัฒนา โครงงานที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่น อย่างสร้างสรรค์และ เชื่อมโยงกับชีวิตจริง รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคเรียน : ปลายภาคเรียน 80 : 20 ครูผู้สอน 1. นายสหรัฐ การบรรจง

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้

เค้าโครงการจัดการเรียน ว31101 วิทยาการค เวลา 40 คา

สัปดาห์ที่

หน่วยที่

1-3

1

แนวคิดเชิงคำนวณ

ว 4.2 ม.4/1

- ปฐมนิเทศ - การสร้างเว็บไซต์ (Google site - แนวคิดเชิงคำนวณ

4-5

2

แนวคิดเชิงคำนวณเพื่อ พัฒนาโครงงาน

ว 4.2 ม.4/1

6-9

3

การเขียนรายงานการพัฒนา ว 4.2 ม.4/1 โครงงาน

10 11 - 13

4

ระบบทางเทคโนโลยี

การพัฒนาโครงงานด้านเทคโนโล - กำหนดปัญหา - วิเคราะห์ระบบ - ออกแบบระบบ - พัฒนาระบบและทดสอบระบบ - ติดตั้งระบบ - บำรุงรักษา - องค์ประกอบของรายงานโครงง - โครงสร้างรายงานของโครงงาน สอบวัด - ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับ

ว 4.1 ม.4/1

สาระสำคัญ

4

นรู้ (Teach Blueprint) คำนวณและออกแบบ าบ/ภาคเรียน

e)

ลยี

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 1 หน่วยกิต

การวัดผลประเมินผล กิจกรรม ปฏิบัติ/ ชิ้นงาน/แบบฝึก ปรนัย/อัตนัย - ศึกษาใบความรู้ - เว็บไซต์แสดงผลงาน นักเรียน - แบบฝึกหัด - ศึกษาใบความรู้ - เขียนแผนภาพบริบท

น้ำหนัก คะแนน/ กำหนดส่ง

จำนวน (คาบ)

บูรณาการ (รหัสวิชา)

สอบก่อนเรียน

6

-

10 คะแนน/ สัปดาห์ที่ 4

นำเสนอการแก้ โจทย์ปัญหาด้วย แนวคิดเชิง คำนวณ

4

-

10 คะแนน/ สัปดาห์ที่ 6

-

8

-

10 คะแนน/ สัปดาห์ที่ 19

-

6

-

5 คะแนน/



งาน - ศึกษาใบความรู้ นฉบับสมบูรณ์ - เขียนรายงานโครงงาน ดผลกลางภาคเรียน บศาสตร์อื่น - ศึกษาใบความรู้

สัปดาห์ที่

หน่วยที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้

14 - 16

5

กระบวนการเชิงวิศวกรรม

ว 4.1 ม.4/2 ว 4.1 ม.4/3 ว 4.1 ม.4/4 ว 4.1 ม.4/5

17 - 19

6

ผลงานออกแบบและ เทคโนโลยี

ว 4.1 ม.4/5

20

สาระสำคัญ

- ระบบทางเทคโนโลยี - ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน - การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลย - กระบวนการออกแบบเชิงวิศวก แก้ปัญหา - การเลือกใช้ วัสดุ เครื่องมือ อุป ที่เกี่ยวข้อง

ประยุกต์ใช้กระบวนการออกแบบ การ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานในชีวิตป

สอบวัด

ยี กรรมกับการ

5 การวัดผลประเมินผล กิจกรรม ปฏิบัติ/ ชิ้นงาน/แบบฝึก ปรนัย/อัตนัย

ประจำวัน

ดผลปลายภาคเรียน

บูรณาการ (รหัสวิชา)

- แบบฝึกหัด

- ศึกษาใบความรู้ - แบบฝึกหัด

ปกรณ์ และความรู้

บเชิงวิศวกรรมใน

จำนวน (คาบ)

-

น้ำหนัก คะแนน/ กำหนดส่ง สัปดาห์ที่ 13

ออกแบบ อุปกรณ์และ นำเสนอแนว ทางการเลือกใช้ วัสดุและ เครื่องมือ พื้นฐาน นำเสนอ กระบวนการ ออกแบบเชิง วิศวกรรมในการ แก้ปัญหาหรือ พัฒนางานใน ชีวิตประจำวัน

6

-

15 คะแนน/ สัปดาห์ที่ 16

6

-

10 คะแนน/ สัปดาห์ที่ 19

สรุปชิ้นงานสำคัญ

เว็บไซต์แสดงผลงานนักเรียน

ลักษณะของ งาน/กิจกรรม เว็บไซต์แสดงผลงานนักเรียน

งานเดี่ยว/ งานกลุ่ม งานเดี่ยว

2

แผนภาพบริบท

เขียนแผนภาพบริบท

งานเดี่ยว

3

การแก้โจทย์ปญ ั หาด้วยแนวคิดเชิง คำนวณ รายงานโครงงาน

นำเสนอการแก้โจทย์ปัญหาด้วย แนวคิดเชิงคำนวณ เขียนรายงานโครงงาน

งานกลุ่ม

อุปกรณ์และแนวทางการเลือกใช้วัสดุ และเครื่องมือ พื้นฐาน การออกแบบเชิงวิศวกรรม

ออกแบบอุปกรณ์และนำเสนอแนว ทางการเลือกใช้วัสดุและเครื่องมือ พื้นฐาน นำเสนอการออกแบบเชิง วิศวกรรม

ที่

ชื่องาน/กิจกรรม

1

4 5

6

งานเดี่ยว งานกลุ่ม

งานกลุ่ม

สรุปการประเมินผล ที่

รายการ

คะแนน

1

ก่อนสอบกลางภาค

30

2

สอบกลางภาค

20

3

หลังสอบกลางภาค

30

4

สอบปลายภาค

20 รวม

100

จำนวนข้อสอบ

ปรนัย 20 ข้อ ปรนัย 20 ข้อ

6

-

ราคา/ ชิ้นงาน -

สัปดาห์ที่ มอบหมาย สัปดาห์ที่ 1

สัปดาห์ที่ 4

ลักษณะของ ชิ้นงานทีส่ ่ง เว็บไซต์

กระดาษ A4

-

สัปดาห์ที่ 5

สัปดาห์ที่ 6

กระดาษ A4

5

กระดาษ A4

-

สัปดาห์ที่ 5

สัปดาห์ที่ 6

กระดาษ A4

5

กระดาษ A4

-

สัปดาห์ที่ 8

สัปดาห์ที่ 19

กระดาษ A4

10

กระดาษ A4

-

สัปดาห์ที่ 14

สัปดาห์ที่ 16

กระดาษ A4

10

กระดาษ A4

-

สัปดาห์ที่ 17

สัปดาห์ที่ 19

กระดาษ A4

10

วัสดุ/อุปกรณ์

ลักษณะการสอบ ในตาราง นอกตาราง

สัปดาห์ที่ส่ง

เวลาที่ใช้ (นาที)



50 นาที



50 นาที

หมายเหตุ

คะแนน 5

ที่

รหัสวิชา

1

ว31101

2

ว31101

3

ว31101

4

ว31101

แบบสรุปการมอบหมายงาน/กิจก โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 2, 3, 6, 7, วิชา/รหัสที่ ครูผู้สอน คะแนน ลักษณะข บูรณาการ 5 เว็บไซต์แส นายสหรัฐ การบรรจง 5 เขียนแ นายสหรัฐ การบรรจง 5 นำเสนอการ นายสหรัฐ การบรรจง แนวค 10 เขียนรา นายสหรัฐ การบรรจง -

5

ว31101

นายสหรัฐ การบรรจง

-

6

ว31101

นายสหรัฐ การบรรจง

-

7

ว31101

นายสหรัฐ การบรรจง

-

สรุป

1) จำนวนคาบสอนในห้องเรียน 40 คาบ / ภาคเรียน 2) จำนวนงานที่มอบหมายตลอดภาคเรียน 2.1) จำนวนงานที่มอบหมาย (ห้องเรียน) จำนวน 6 งาน 2.2) จำนวนงานที่มอบหมาย (การบ้าน) จำนวน ..........งาน 2.2) จำนวนงานมอบหมาย (ออนไลน์) จำนวน 3 งาน รวมงานที่มอบหมาย 9 งาน

10

ออกแบบอุปก ทางการเลือก

10

นำเสนอก ว แ

15

7

กรรมประกอบการเรียนการสอน บุรี อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี , 8, 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วัสดุ/ ราคา/ สัปดาห์ที่ ลักษณะของ ของงาน/กิจกรรม สัปดาห์ที่ส่ง อุปกรณ์ ชิ้นงาน มอบหมาย ชิน้ งานทีส่ ่ง สดงผลงานนักเรียน สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 4 เว็บไซต์ แผนภาพบริบท กระดาษ A4 สัปดาห์ที่ 5 สัปดาห์ที่ 6 กระดาษ A4 -

รแก้โจทย์ปัญหาด้วย คิดเชิงคำนวณ ายงานโครงงาน

กระดาษ A4 กระดาษ A4

กรณ์และนำเสนอแนว กระดาษ A4 กใช้วัสดุและเครื่องมือ พื้นฐาน การออกแบบเชิง กระดาษ A4 วิศวกรรม แบบฝึกหัด คอมพิวเตอร์

-

สัปดาห์ที่ 5 สัปดาห์ที่ 6

กระดาษ A4

สัปดาห์ที่ 8

สัปดาห์ที่ 19 สัปดาห์ที่ 16

กระดาษ A4

สัปดาห์ที่ 19 สัปดาห์ที่ 16

กระดาษ A4

สัปดาห์ที่ 14 สัปดาห์ที่ 17 สัปดาห์ที่ 1

กระดาษ A4

แบบฝึกหัด ออนไลน์

ลงชื่อ.........................................................ครูผสู้ อน (นายสหรัฐ การบรรจง) ลงชื่อ........................................................รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ (นางสาวตติยา อ่วมสอาด)

8 ลงชื่อ........................................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ/กลุ่มวิชา (นางสาวเหมือนจันทร์ จันทร์สุข) ลงชื่อ..........................................................ผู้อำนวยการโรงเรียน ( นายรังสิมันต์ ยาละ )

9

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) รายวิชา วิทยาการคำนวณและออกแบบ หน่วยที่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณ เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ เวลา 300 นาที

ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 รหัสวิชา ว31101 จำนวน 6 คาบเรียน ภาคเรียนที่ 1

๑. สาระสำคัญ แนวคิดเชิงคำนวณ เป็นความสามารถในการแก้ไขปัญหาโดยมุ่งเน้นการคิดเชิงตรรกะ หรือเป็นการแก้ไข ปัญหาอย่างเป็นลำดับขั้นตอน และมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ ๒. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - การพัฒนาโครงงาน - การนำแนวคิดเชิงคำนวณไปพัฒนาโครงงานที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน เช่น การจัดการพลังงาน อาหาร การเกษตร การตลาด การค้าขาย การทำธุรกรรม สุขภาพและสิ่งแวดล้อม ๓. ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.4/1 ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่าง สร้างสรรค์ และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ๔. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับการใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาได้ (K) 2. อภิปรายการใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาตามที่กำหนด (P) 3. เห็นประโยชน์ของการใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา (A) ๕. สมรรถนะสำคัญ  1. ความสามารถในการสื่อสาร  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต  2. ความสามารถในการคิด  5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี  3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๖. สาระการเรียนรู้ 1. แนวคิดเชิงคำนวณ 2. ทักษะของแนวคิดเชิงคำนวณ

10 ๗. คุณลักษณะอันพึงประสงค์  รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  อยู่อย่างพอเพียง  ซื่อสัตย์สุจริต  มุ่งมั่นในการทำงาน  มีวินัย  รักความเป็นไทย  ใฝ่เรียนรู้  มีจิตสาธารณะ ๘. ชิ้นงาน/ภาระงาน - สอบก่อนเรียน - แบบฝึกหัดแนวคิดเชิงคำนวณ - เว็บไซต์แสดงผลงานนักเรียน (Google site) ๙. กระบวนการการจัดการเรียนรู้ (50 นาที) ขั้นนำ ผู้สอนให้นักเรียนสอบก่อนเรียน ผู้สอนแนะนำตัวเอง และข้อตกลงในชั้นเรียน และให้นักเรียนแนะตนเอง - ชั่วโมงที่ 3 – 6 ผู้สอนทบทวนความรู้ที่นักเรียนได้เรียนเมื่อครั้งที่แล้ว โดยมี เนื้อหา ดังนี้ ขั้นสอน - ชั่วโมงที่ 1 – 2 ผู้สอนอธิบายการสร้างเว็บไซต์ (Google site) เพื่อให้นักเรียนสร้างเว็บไซต์แสดงผลงานของตนเอง - ชั่วโมงที่ 3 – 4 ผู้สอนสนทนากับนักเรียนว่า นักเรียนเคยเจอปัญหาอะไรบ้าง จากนั้นให้นักเรียนบอกวิเคราะห์การแก้ไข ปัญหานั้น ๆ ของนักเรียน ผู้สอนให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ จากหนังสือเรียนและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ผู้สอนอธิบายเนื้อหา เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ โดยมีเนื้อหาดังนี้ แนวคิดเชิงคํานวณ (Computational Thinking) เปนกระบวนการแกปญหาในหลากหลายลักษณะเชน การจัดลําดับเชิงตรรกศาสตร การวิเคราะหขอมูลและการสรางสรรควิธีแกปญหาไปทีละขั้นตอน ซึ่งการ คิดเชิงคํานวณนี้สามารถอธิบายการคิดอยางเปนระบบและขั้นตอน เพื่อใหไดมาซึ่งวิธีการแกไขปญหาที่ มนุษยและคอมพิวเตอรสามารถทํางานรวมกันได โดยแนวคิดเชิงคํานวณประกอบดวยลําดับการใช ทักษะยอย 4 ทักษะ ดังนี้

11

- ชั่วโมงที่ 5 – 6 ผู้สอนยกตัวอย่างปัญหามา 2 ปัญหา จากนั้น อธิบายการแก้ปัญหาโดยในแนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ไข ปัญหา ผู้สอนให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดเรื่องแนวคิดเชิงคำนวณ ขั้นสรุป 1. ผู้สอนให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดเรื่องแนวคิดเชิงคำนวณ 2. ผู้สอนถามนักเรียนว่าแนวคิดเชิงคำนวณ มีความสำคัญกับการใช้ชีวิตประจำวันเราอย่างไร 3. ผู้สอนและนักเรียนร่วมกันสรุปแนวคิดเชิงคำนวณ ๑๐. สือ่ /แหล่งเรียนรู้ ๑๐.๑ สื่อการเรียนรู้ 1) Powerpoint เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ ๑๐.๒ แหล่งการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนรายวิชาวิทยาการคำนวณ ม.4

12 ๑๑. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) อธิบายเกี่ยวกับการใช้แนวคิด เชิงคำนวณในการแก้ปัญหาได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) อภิปรายการใช้แนวคิดเชิง คำนวณในการแก้ปัญหาตามที่ กำหนด ด้านค่านิยม (A) เห็ น ประโยชน์ ข องการใช้ แนวคิ ด เชิ ง คำนวณในการ แก้ปัญหา

วิธีการ - ตรวจแบบฝึกหัด แนวคิดเชิงคำนวณ

เครื่องมือ แบบฝึกหัดแนวคิดเชิง คำนวณ

เกณฑ์การประเมิน - นักเรียนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป

- แบบประเมิน

- แบบประเมินการ ปฏิบัติกิจกรรม

- นักเรียนผ่านเกณฑ์ ระดับ ปานกลางขึ้นไป

- การตอบคำถาม ระหว่างเรียน

-

-

13

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้............................... ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ......... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ......................................................................... จำนวน ............. คาบ

ผลการจัดการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….................... …………………………………………………………………………………………………………………………………............................... ปัญหา/อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. แนวทางการแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. ลงชื่อ............................................. (นายสหรัฐ การบรรจง) ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะของหัวหน้ำกลุ่มสาระการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............. ลงชื่อ............................................. ( ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้................. ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............

ลงชื่อ............................................. (นางสาวตติยา อ่วมสอาด) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ

14

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) รายวิชา วิทยาการคำนวณและออกแบบ หน่วยที่ 2 แนวคิดเชิงคำนวณเพื่อพัฒนาโครงงาน เรื่อง การพัฒนาโครงงานด้านเทคโนโลยี เวลา 200 นาที

ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 รหัสวิชา ว31101 จำนวน 4 คาบเรียน ภาคเรียนที่ 1

๑. สาระสำคัญ การพั ฒ นาโครงงานทางด้ า นเทคโนโลยี มี ข ั ้ น ตอนเบื ้ อ งต้ น 6 ขั ้ น ตอน ดั ง นี ้ 1) กำหนดปั ญ หา 2) วิเคราะห์ระบบ 3) ออกแบบระบบ 4) พัฒนาระบบและทดสอบระบบ 5) ติดตั้งระบบ 6) บำรุงรักษา ระบบ ซึ่งการพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยีจะต้องนำแนวคิดเชิงคำนวณมาประยุกต์ใช้ในการทำ โครงงาน ๒. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - การพัฒนาโครงงาน - การนำแนวคิดเชิงคำนวณไปพัฒนาโครงงานที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน เช่น การจัดการพลังงาน อาหาร การเกษตร การตลาด การค้าขาย การทำธุรกรรม สุขภาพและสิ่งแวดล้อม ๓. ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.4/1 ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่าง สร้างสรรค์ และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ๔. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายขั้นตอนเบื้องต้นของการพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยีได้ (K) 2. อภิปรายการพัฒนาโครงงานด้านเทคโนโลยี (P) 3. เห็นความสำคัญของการประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยี (A) ๕. สมรรถนะสำคัญ  1. ความสามารถในการสื่อสาร  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต  2. ความสามารถในการคิด  5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี  3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๖. สาระการเรียนรู้ 1. การพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยี 2. ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานทางเทคโนโลยี

15 ๗. คุณลักษณะอันพึงประสงค์  รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  อยู่อย่างพอเพียง  ซื่อสัตย์สุจริต  มุ่งมั่นในการทำงาน  มีวินัย  รักความเป็นไทย  ใฝ่เรียนรู้  มีจิตสาธารณะ ๘. ชิ้นงาน/ภาระงาน - แบบฝึกหัดที่ 1 การพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยี ๙. กระบวนการการจัดการเรียนรู้ (50 นาที) ขั้นนำ - เช็คชื่อการเข้าร่วมชั้นเรียน - ทบทวนความรู้ที่ได้เรียนเมื่อคาบที่แล้ว ขั้นสอน ชั่วโมงที่ 1 – 2 ผู้สอนสนทนากับนักเรียนว่า นักเรียนเคยทำโครงงานกันไหม ผู้สอนสนทนากับนักเรียนว่า โครงงานที่ทำมีกี่ขั้นตอน ผู้สอนอธิบาย เรื่อง โครงงานด้านเทคโนโลยี โดยมีเนื้อหา ดังนี้ โครงงานด้านเทคโนโลยีจะเป็นการพัฒนาผลงานที่เกิดจากการค้นคว้าและพัฒนาตามความสนใจ โดยใช้ เทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ประมวลผลซอฟต์แวร์ ใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอ ผู้สอนให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง โครงงานด้านเทคโนโลยี จากหนังสือเรียนและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ชั่วโมงที่ 3 – 4 ผู้สอนอธิบายเนื้อหา เรื่อง การพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยี โดยมีเนื้อหาดังนี้ การพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยีจำเป็นต้องใช้แนวคิดเชิงคำนวณ เนื่องจากแนวคิดเชิงคำนวณจะ ช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างเป็นระบบ เป็นขั้นเป็นตอน ดังนั้นการพัฒนาโครงงานทางเทคโนโลยี มี ขั้นตอนเบื้องต้น 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) กำหนดปัญหา 2) วิเคราะห์ระบบ 3) ออกแบบระบบ 4) พัฒนา ระบบและทดสอบระบบ 5) ติดตั้งระบบ 6) บำรุงรักษาระบบ ขั้นสรุป 1. ผู้สอนถามนักเรียนว่าโครงงานด้านเทคโนโลยี คืออะไร 2. ผู้สอนให้นักเรียนวิเคราะห์ความต้องการของระบบธนาคารโรงเรียนลงสมุด 3. ผู้สอนให้นักเรียนแผนภาพบริบทของระบบธนาคารโรงเรียนลงสมุด 4. ผู้สอนและนักเรียนร่วมกันสรุปการพัฒนาโครงงานทางเทคโนโลยี ๑๐. สือ่ /แหล่งเรียนรู้ ๑๐.๑ สื่อการเรียนรู้ 1) Powerpoint เรื่อง การพัฒนาโครงงานทางเทคโนโลยี ๑๐.๒ แหล่งการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนรายวิชาวิทยาการคำนวณ ม.4

16 ๑๑. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้(K) อธิบายขั้นตอนเบื้องต้นของ การพัฒนาโครงงานทางด้าน เทคโนโลยีได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) อภิปรายการพัฒนาโครงงาน ด้านเทคโนโลยี ด้านค่านิยม (A) เห็ น ประโยชน์ ข องการใช้ แนวคิ ด เชิ ง คำนวณในการ แก้ปัญหา

วิธีการ เครื่องมือ - ตรวจแบบฝึกหัด การ แบบฝึกหัดการพัฒนา พัฒนาโครงงานทาง โครงงานทาง เทคโนโลยี เทคโนโลยี - แบบประเมิน

- การตอบคำถาม ระหว่างเรียน

- แบบประเมิน การปฏิบัติกิจกรรม -

เกณฑ์การประเมิน - นักเรียนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป - นักเรียนผ่านเกณฑ์ ระดับ ปานกลางขึ้นไป -

17

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้............................... ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ......... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ......................................................................... จำนวน ............. คาบ

ผลการจัดการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….................... …………………………………………………………………………………………………………………………………............................... ปัญหา/อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. แนวทางการแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. ลงชื่อ............................................. (นายสหรัฐ การบรรจง) ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะของหัวหน้ำกลุ่มสาระการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............. ลงชื่อ............................................. ( ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้................. ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............. ลงชื่อ............................................. (นางสาวตติยา อ่วมสอาด) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ

18

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) รายวิชา วิทยาการคำนวณและออกแบบ หน่วยที่ 3 การเขียนรายงานการพัฒนาโครงงาน เรื่อง การเขียนรายงานการพัฒนาโครงงาน เวลา 300 นาที

ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 รหัสวิชา ว31101 จำนวน 6 คาบเรียน ภาคเรียนที่ 1

๑. สาระสำคัญ หลังการพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยี ทางผู้พัฒนาจะต้องนำขั้นตอนกระบวนการ ตลอดจน ผลงานที่ได้ มานำเสนอในรูปแบบของรายงาน เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถทำความเข้าใจกับเนื้อหาโครงงานได้ จากการอ่านรายงาน โดยการเขียนรายงานของโครงงานมี 3 ส่วน คือ ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนประกอบ เนื้อหาส่วนประกอบท้าย ๒. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - การพัฒนาโครงงาน - การนำแนวคิดเชิงคำนวณไปพัฒนาโครงงานที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน เช่น การจัดการพลังงาน อาหาร การเกษตร การตลาด การค้าขาย การทำธุรกรรม สุขภาพและสิ่งแวดล้อม ๓. ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.4/1 ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่าง สร้างสรรค์ และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ๔. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายขั้นตอนการเขียนรายงานการพัฒนาโครงงานได้ (K) 2. อภิปรายการการเขียนรายงานการพัฒนาโครงงานได้ (P) 3. เห็นความสำคัญของรายงานการพัฒนาโครงงานได้ (A) ๕. สมรรถนะสำคัญ  1. ความสามารถในการสื่อสาร  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต  2. ความสามารถในการคิด  5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี  3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๖. สาระการเรียนรู้ ส่วนประกอบของการเขียนโครงงาน

19 ๗. คุณลักษณะอันพึงประสงค์  รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  อยู่อย่างพอเพียง  ซื่อสัตย์สุจริต  มุ่งมั่นในการทำงาน  มีวินัย  รักความเป็นไทย  ใฝ่เรียนรู้  มีจิตสาธารณะ ๘. ชิ้นงาน/ภาระงาน แบบฝึกหัด รายงานการพัฒนาโครงงานได้ ๙. กระบวนการการจัดการเรียนรู้ (50 นาที) ขั้นนำ - เช็คชื่อการเข้าร่วมชั้นเรียน - ทบทวนความรู้ที่ได้เรียนเมื่อคาบที่แล้ว ขั้นสอน - ชั่วโมงที่ 1 – 2 ผู้สอนสนทนากับนักเรียนว่า นักเรียนเคยทำเล่มรายงานไหม ผู้สอนสนทนากับนักเรียนว่า เล่มรายงานที่นักเรียนเคยทำส่งมีอะไรบ้าง ผู้สอนอธิบาย เรื่อง การเขียนรายงานการพัฒนาโครงงาน โดยมีเนื้อหาดังนี้ หลังการพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยี ทางผู้พัฒนาจะต้องนำขั้นตอนกระบวนการ ตลอดจน ผลงานที่ได้ มานำเสนอในรูปแบบของรายงาน เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถทำความเข้าใจกับเนื้อหาโครงงานได้ จากการอ่านรายงาน โดยการเขียนรายงานของโครงงานมี 3 ส่วน คือ ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนประกอบ เนื้อหา ส่วนประกอบท้าย

20 - ชั่วโมงที่ 3 – 4 ผู้สอนสนทนากับนักเรียนว่า ส่วนประกอบตอนต้นมีอะไรบ้าง มีหลักการการเขียนอย่างไร ผู้สอนอธิบาย ส่วนประกอบตอนต้น โดยมีเนื้อหา ดังนี้ 1. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย 1) ชื่อโครงงาน 2) ชื่อผู้ทำโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทำ 3) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4) คำนำ 5) สารบัญ 6) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) 7) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อ ๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ระยะเวลา และสรุปผล 8) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือหรือ มีส่วนเกี่ยวข้อง ผู้สอนอธิบาย ส่วนประกอบเนื้อเรื่องโดยมีเนื้อหา ดังนี้ ส่วนประกอบเนื้อเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย 1) บทนำ บอกความเป็นมา ความสำคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อ โครงงาน 2) วัตถุประสงค์ของโครงงาน 3) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 4) การดำเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามหัวข้อเรื่อง ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คำตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กำหนด ดังตัวอย่างการ เขียนแผนผังโครงงานต่อไปนี้ ในแผนผังโครงงานทำให้เห็นระบบการทำงานอย่างมีเป้าหมาย มีการวางแผนการทำงาน จะเห็นได้ว่า สิ่งที่ต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคำถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็จะเรียงลำดับทีละ หัวข้อ พร้อมทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการ ทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการ หาคำตอบ การตอบคำถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิด ต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล 5) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคำตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ต้องการทราบ ว่าเป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่ 6) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจำกัดหรือปัญหา อุปสรรค (ถ้า มี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน

21 - ชั่วโมงที่ 5 – 6 ผู้สอนอธิบาย ส่วนประกอบท้าย โดยมีเนื้อหา ดังนี้ ส่วนท้าย ประกอบด้วย 1) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตำรา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สำนักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน ปี. คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์" ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี. หน้า. 2) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์ ขั้นสรุป 1. ผู้สอนให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด เรื่อง การเขียนรายงานการพัฒนาโครงงาน 2. ผู้สอนให้นักเรียนทำรายงาน เรื่องที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี 3. ผู้สอนและนักเรียนร่วมกันสรุปการเขียนรายงานการพัฒนาโครงงาน ๑๐. สือ่ /แหล่งเรียนรู้ ๑๐.๑ สื่อการเรียนรู้ 1) Powerpoint เรื่อง การเขียนรายงานการพัฒนาโครงงาน ๑๐.๒ แหล่งการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนรายวิชาวิทยาการคำนวณ ม.4 ๑๑. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน ด้านความรู้ (K) - ตรวจแบบฝึกหัด การ - แบบฝึกหัด การเขียน - นักเรียนผ่านเกณฑ์ อธิบายขั้นตอนการเขียน เขียนรายงานการ รายงานการพัฒนา ร้อยละ 80 ขึ้นไป รายงานการพัฒนาโครงงานได้ พัฒนาโครงงาน โครงงาน ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - แบบประเมิน - แบบประเมิน - นักเรียนผ่านเกณฑ์ อภิปรายการการเขียนรายงาน การปฏิบัติกิจกรรม ระดับ ปานกลางขึ้นไป การพัฒนาโครงงานได้ ด้านค่านิยม (A) - การตอบคำถาม เห็ น ความสำคั ญ ของรายงาน ระหว่างเรียน การพัฒนาโครงงานได้

22

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้............................... ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ......... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ......................................................................... จำนวน ............. คาบ

ผลการจัดการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….................... …………………………………………………………………………………………………………………………………............................... ปัญหา/อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. แนวทางการแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. ลงชื่อ............................................. (นายสหรัฐ การบรรจง) ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะของหัวหน้ำกลุ่มสาระการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............. ลงชื่อ............................................. ( ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้................. ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............. ลงชื่อ............................................. (นางสาวตติยา อ่วมสอาด) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ

23

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) รายวิชา วิทยาการคำนวณและออกแบบ หน่วยที่ 4 ระบบทางเทคโนโลยี เรื่อง ระบบทางเทคโนโลยี เวลา 300 นาที

ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 รหัสวิชา ว31101 จำนวน 6 คาบเรียน ภาคเรียนที่ 1

๑. สาระสำคัญ ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่างๆ ตั้งแต่สองส่วนขึ้นไปประกอบเข้าด้วยกันและทำงานร่วมกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทำงานของระบบเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วย ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยี อาจมีข้อมูล ย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรับปรุงการทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ โดยระบบทางเทคโนโลยีอาจมีระบบ ย่อยหลายระบบ (sub-systems) ที่ทำงานสัมพันธ์กันอยู่ และหากระบบย่อยใดทำงานผิดพลาดจะส่งผลต่อ การทำงานของระบบอื่นด้วย ๒. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่างๆ ตั้งแต่สองส่วนขึ้นไปประกอบเข้าด้วยกันและทำงาน ร่วมกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทำงานของระบบเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วย ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมี ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรับปรุงการทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ โดยระบบทางเทคโนโลยีอาจมี ระบบย่อยหลายระบบ (sub-systems) ที่ทำงานสัมพันธ์กันอยู่ และหากระบบย่อยใดทำงานผิดพลาดจะ ส่งผลต่อการทำงานของระบบอื่นด้วย ๓. ตัวชี้วัด ว 4.1 ม.4/1 วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ รวมทั้งประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็น แนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี ๔. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์กับเทคโนโลยีได้ (K) 2. อธิบายความสัมพันธ์เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้ (P) 3. เห็นคุณประโยชน์ของการเรียนวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี และตระหนักในคุณค่าของความรู้ทาง เทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน (A)

24 ๕. สมรรถนะสำคัญ  1. ความสามารถในการสื่อสาร  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต  2. ความสามารถในการคิด  5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี  3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๖. สาระการเรียนรู้ ระบบทางเทคโนโลยี ๗. คุณลักษณะอันพึงประสงค์  รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  อยู่อย่างพอเพียง  ซื่อสัตย์สุจริต  มุ่งมั่นในการทำงาน  มีวินัย  รักความเป็นไทย  ใฝ่เรียนรู้  มีจิตสาธารณะ ๘. ชิ้นงาน/ภาระงาน แบบฝึกหัด ระบบทางเทคโนโลยี ๙. กระบวนการการจัดการเรียนรู้ (50 นาที) ขั้นนำ - เช็คชื่อการเข้าร่วมชั้นเรียน - ทบทวนความรู้ที่ได้เรียนเมื่อคาบที่แล้ว ขั้นสอน - ชั่วโมงที่ 1 – 2 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 – 4 คน สืบค้นข้อมูลจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี(การ ออกแบบและเทคโนโลยี) ม.4 หน้า 3 พร้อมทั้งสืบค้นคลิปเกี่ยวกับทุ่นลอยส่งสัญญาณผิวทะเล แล้วให้สมาชิกแต่ละ กลุ่มร่วมกันศึกษาจากคลิปตัวอย่างที่แต่ละกลุ่มเลือกมา โดยศึกษาความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายข้อมูลที่สืบค้นได้ภายในกลุ่ม แล้วร่วมกันสรุปลงในกระดาษ A4 แล้ว นำมาส่งครูเพื่อให้ครูตรวจสอบความถูกต้อง 3. ครูตั้งคำถาม แล้วสุ่มตัวแทนแต่ละกลุ่มตอบคำถาม ดังนี้  ทุ่นลอยส่งสัญญาณผิวทะเล สร้างขึ้นเพื่ออะไร (แนวตอบ : ช่วยแก้ปัญหาและสนองความจำเป็นและความต้องการของมนุษย์)  หลักการในการสร้าง ทุ่นลอยส่งสัญญาณผิวทะเล (แนวตอบ :มนุษย์เรียนรู้ภัยพิบัติ ด้วยหลักการวิทยาศาสตร์และหาทางป้องกันภัยสึนามิ จากปรากฏการณ์ ธรรมชาติ มนุษย์จึงคิดค้นเครื่องมือที่ใช้เตือนภัยโดยอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ เทคโนโลยี มาประดิษฐ์อุปกรณ์ทางเทคโนโลยีขึ้น)  ยกตัวอย่างอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีอื่นๆ ในชีวิตประจำวันที่ช่วยแก้ปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ (แนวตอบ : อุปกรณ์เตือนการเกิดแผ่นดินไหว อุปกรณ์ส่งสัญญาณอุทกภัย เป็นต้น) 4. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์กับเทคโนโลยี - ชั่วโมงที่ 3 – 4

25 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 – 4 คน ร่วมกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับคลิปภัยพิบัติทางธรรมชาติ พร้อมทั้ง สืบค้นอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีที่ช่วยแก้ปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาตินั้น (โดยแต่ละกลุ่มห้ามซ้ำกัน) แล้วร่วมกัน อภิปรายเกี่ยวกับข้อมูลที่สืบค้นได้ภายในกลุ่ม 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปวิธีการใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการแก้ปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ 3. ครูตั้งคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ ดังนี้  วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ช่วยทำให้เข้าใจธรรมชาติได้อย่างไร (แนวตอบ : 1. ใช้ฐานความรู้เดิมต่อยอดไปสู่ความรู้ใหม่ 2. มนุษย์ประสานพลังความคิดของตนเองเพื่อสร้างสองศาสตร์นี้ 3. ใช้ประสานเชื่อมโยงธรรมชาติกับธรรมชาติเพื่อเข้าใจธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง)  ความรู้จากศาสตร์ใดบ้าง ทำให้เกิดเทคโนโลยี (แนวตอบ : วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น)  เทคโนโลยีที่สร้างส่งผลต่อการดำเนินชีวิตอย่างไร (แนวตอบ : การแสวงหาความรู้ อำนวยความสะดวกสบายในชีวิตประจำวัน เป็นต้น) 4. ครู ตั้ ง คำถามให้ น ั ก เรี ย นช่ ว ยกั น หาคำตอบว่ า นั ก เรี ย นรู้ ห รื อ ไม่ ว่ า การสร้ า งอุ ป กรณ์ เ ทคโนโล ความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆ มีอะไรบ้าง อย่างไร (แนวตอบ : 1. วิทยาศาสตร์ โดยใช้ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มา ช่วยออกแบบการสร้างอุปกรณ์ทางเทคโนโลยี 2. คณิตศาสตร์ โดยใช้ประกอบในการสร้างแบบจำลอง 3. วิศวกรรมศาสตร์ สร้างเทคโนโลยีจากธรรมชาติ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ 4. มนุษย์ศาสตร์ ช่วยวิเคราะห์ความต้องการ สื่อสารความต้องการให้ผู้อื่นเข้าใจ และเสนอแนวทาง แก้ปัญหา 5. สังคมศาสตร์ ทำให้มนุษย์ตระหนักถึงหน้าที่ความรับผิดชอบต่อสังคมโดยใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสม มองเห็นผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม) - ชั่วโมงที่ 5 – 6 1. ครู ใ ห้ นั ก เรีย นรวมกลุ่ม เดิ ม ศึ ก ษาค้ น คว้ า คลิป ตัว อย่ างที่ก ลุ่ม ตัว เองสนใจ อภิ ป รายร่ ว มกั นเพื่อหา ข้อสรุป แล้วจัดทำเป็น PowerPoint พร้อมทั้งอธิบายตามประเด็นที่กำหนดให้ ดังนี้  อุ ป กรณ์ ห รื อเทคโนโลยี ที่ ส นใจ  หลั ก การทำงานของอุ ป กรณ์ นั้ น  ความสัมพันธ์กับเทคโนโลยีกับศาสตร์ใดบ้าง อย่างไร 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอความรู้เรื่อง ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ ขณะที่นักเรียน แต่ละกลุ่มนำเสนอให้ครูคอยแนะนำและเสริมข้อมูลที่ถูกต้องให้นักเรียน

26 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสร้างเทคโนโลยี ดังนี้ วิศวกรเป็นผู้สร้างเทคโนโลยี โดยใช้คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการแทนปรากฏการณ์ธรรมชาติและหลักการวิทยาศาสตร์ จากนั้นเขียนออกมาเป็นแบบจำลองทาง คณิตศาสตร์ วิศวกรจะใช้ความรู้พัฒนาหลักการขึ้นมาก่อน และใช้คามรู้มาใช้แก้ปัญหา และข้อสรุป 4. นักเรียนทำกิจกรรม Design Activity จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี(การออกแบบและ เทคโนโลยี) ม.4 หน้า 6 เสร็จแล้วนำส่งครูตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นสรุป 4. ผู้สอนให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด เรื่อง ระบบทางเทคโนโลยี 5. ผู้สอนและนักเรียนร่วมกันสรุประบบทางเทคโนโลยี ๑๐. สือ่ /แหล่งเรียนรู้ ๑๐.๑ สื่อการเรียนรู้ 1) Powerpoint เรื่อง ระบบทางเทคโนโลยี ๑๐.๒ แหล่งการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 ๑๑. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน ด้านความรู้ (K) - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัด ระบบ - นักเรียนผ่านเกณฑ์ อธิบายความสัมพันธ์ของ ระบบทางเทคโนโลยี ทางเทคโนโลยี ร้อยละ 80 ขึ้นไป วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ กับเทคโนโลยีได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - แบบประเมิน - แบบประเมิน - นักเรียนผ่านเกณฑ์ อธิบายความสัมพันธ์ การปฏิบัติกิจกรรม ระดับ ปานกลางขึ้นไป เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ ที่ใช้ ในชีวิตประจำวัน ได้ ด้านค่านิยม (A) - การตอบคำถาม เห็นคุณประโยชน์ของการเรียน ระหว่างเรียน วิชาการออกแบบและ เทคโนโลยี และตระหนักใน คุณค่าของความรู้ทาง เทคโนโลยีที่ใช้ใน ชีวิตประจำวัน

27

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้............................... ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ......... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ......................................................................... จำนวน ............. คาบ

ผลการจัดการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….................... …………………………………………………………………………………………………………………………………............................... ปัญหา/อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. แนวทางการแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. ลงชื่อ............................................. (นายสหรัฐ การบรรจง) ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะของหัวหน้ำกลุ่มสาระการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............. ลงชื่อ............................................. ( ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้................. ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............. ลงชื่อ............................................. (นางสาวตติยา อ่วมสอาด) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ

28

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) รายวิชา วิทยาการคำนวณและออกแบบ หน่วยที่ 5 กระบวนการเชิงวิศวกรรม เรื่อง กระบวนการเชิงวิศวกรรม เวลา 300 นาที

ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 รหัสวิชา ว31101 จำนวน 6 คาบเรียน ภาคเรียนที่ 1

๑. สาระสำคัญ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมช่วยแก้ปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม เช่น ปัญหาด้าน การเกษตร อาหาร พลังงาน การขนส่ง สุขภาพและการแพทย์ การบริการ ซึ่งแต่ละด้านอาจมีได้หลากหลาย ปัญหา เริ่มจากการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโดยอาจใช้เทคนิคหรือวิธีการวิเคราะห์ที่หลากหลาย ช่วยให้ เข้าใจเงื่อนไขและกรอบของปัญหาได้ชัดเจน จากนั้นดำเนินการสืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา ซึ่งนำไปสู่การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจ เลือกข้อมูลที่จำเป็น โดยคำนึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา เงื่อนไขและทรัพยากร เช่น งบประมาณ เวลา ข้อมูล และสารสนเทศ วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ ช่วยให้ได้แนวทางการแก้ปัญหาที่เหมาะสม และการออกแบบแนว ทางการแก้ปัญหาทำได้หลากหลายวิธี เช่น การร่างภาพ การเขียนแผนภาพ การเขียนผังงาน โดยการใช้ ซอฟแวร์ช่วยในการออกแบบและนำเสนอมีหลากหลายชนิดจึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะกับงาน และในการกำหนด ขั้นตอนและระยะเวลาในการทำงานก่อนดำเนินการแก้ปัญหาจะช่วยให้การทำงานสำเร็จได้ตามเป้าหมาย และ ลดข้อผิดพลาดของการทำงานที่อาจเกิดขึ้น ในส่วนการทดสอบและประเมินผลเป็นการตรวจสอบชิ้นงานหรือ วิธีการว่าสามารถแก้ปัญหาได้ตามวัตถุประสงค์ภายใต้กรอบของปัญหา เพื่อหาข้อบกพร่อง และดำเนินการ ปรับปรุง โดยอาจทดสอบซ้ำเพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการนำเสนอผลงานเป็นการ ถ่ายทอดแนวคิดเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทำงานและชิ้นงานหรือวิธีการที่ได้ ซึ่งสามารถทำได้ หลายวิธี เช่น การทำแผ่นนำเสนอผลงาน การจัดนิทรรศการ การนำเสนอผ่านสื่อออนไลน์ หรือการนำเสนอต่อ ภาคธุรกิจเพื่อการพัฒนาต่อยอดสู่งานอาชีพ ซึ่งการออกแบบสามารถเลือกใช้วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติ แตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึงต้องมีการวิเคราะห์สมบัติเพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน ส่วนการสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้ เรื่อง กลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจร สำเร็จรูป และอุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้งรู้จักเก็บรักษา

29 ๒. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - ปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม เช่น ปัญหาด้านการเกษตร อาหาร พลังงาน การขนส่ง สุขภาพและการแพทย์ การบริการ ซึ่งแต่ละด้านอาจมีได้หลากหลายปัญหา - การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโดยอาจใช้เทคนิคหรือวิธีการวิเคราะห์ที่หลากหลาย ช่วยให้เข้าใจเงื่อนไข และกรอบของปัญหาได้ชัดเจน จากนั้นดำเนินการสืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา - การวิเคราะห์ เปรียบเทีย บ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็น โดยคำนึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา เงื่อนไข และทรัพยากร เช่น งบประมาณ เวลา ข้อมูล และสารสนเทศ วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ ช่วยให้ได้แนว ทางการแก้ปัญหาที่เหมาะสม - การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทำได้หลากหลายวิธี เช่น การร่างภาพ การเขี ยนแผนภาพ การเขียน ผังงาน - ซอฟแวร์ช่วยในการออกแบบและนำเสนอมีหลากหลายชนิดจึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะกับงาน - การกำหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการทำงานก่อนดำเนินการแก้ปัญหาจะช่วยให้การทำงานสำเร็จได้ ตามเป้าหมาย และลดข้อผิดพลาดของการทำงานที่อาจเกิดขึ้น - การทดสอบและประเมินผลเป็นการตรวจสอบชิ้นงานหรือวิธีการว่าสามารถแก้ปัญหาได้ตามวัตถุประสงค์ ภายใต้กรอบของปัญหา เพื่อหาข้อบกพร่อง และดำเนินการปรับปรุง โดยอาจทดสอบซ้ำเพื่อให้สามารถ แก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ - การนำเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิดเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทำงานและชิ้นงานหรือ วิธีการที่ได้ ซึ่งสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การทำแผ่นนำเสนอผลงาน การจัดนิทรรศการ การนำเสนอ ผ่านสื่อออนไลน์ หรือการนำเสนอต่อภาคธุรกิจเพื่อการพัฒนาต่อยอดสู่งานอาชีพ - วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึงต้องมีการวิเคราะห์สมบัติเพื่อเลือกใช้ ให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน - การสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้ เรื่อง กลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจรสำเร็จรูป - อุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้งรู้จักเก็บรักษา ๓. ตัวชี้วัด ว 4.1 ม.4/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีความซับซ้อนเพื่อสังเคราะห์วิธีการ เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคำนึงถึง ความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา ว 4.1 ม.4/3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็น ภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิคหรือวิธีการที่ หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบ วางแผนขั้นตอนการทำงานและดำเนินการแก้ปัญหา

30 ว 4.1 ม.4/4 ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์ และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ภายใต้ กรอบเงื่อนไข หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนำเสนอผลการแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งเสนอแนวทางการ พัฒนาต่อยอด ว 4.1 ม.4/5 ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเลกทรอนิกส์ และเทคโนโลยีที่ซับซ้อนในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย ๔. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ระบุปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคมและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ (K) 2. วิเคราะห์แนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนำเสนอผล พร้อมทั้งเสนอแนวทางการพัฒนาต่อยอดได้ (P) 3. เห็นคุณประโยชน์ของการเรียนวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี และตระหนักในคุณค่าของความรู้ทาง เทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน (A) ๕. สมรรถนะสำคัญ  1. ความสามารถในการสื่อสาร  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต  2. ความสามารถในการคิด  5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี  3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๖. สาระการเรียนรู้ กระบวนการเชิงวิศวกรรม ๗. คุณลักษณะอันพึงประสงค์  รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  อยู่อย่างพอเพียง  ซื่อสัตย์สุจริต  มุ่งมั่นในการทำงาน  มีวินัย  รักความเป็นไทย  ใฝ่เรียนรู้  มีจิตสาธารณะ ๘. ชิ้นงาน/ภาระงาน แบบฝึกหัด กระบวนการเชิงวิศวกรรม ๙. กระบวนการการจัดการเรียนรู้ (50 นาที) ขั้นนำ - เช็คชื่อการเข้าร่วมชั้นเรียน - ทบทวนความรู้ที่ได้เรียนเมื่อคาบที่แล้ว ขั้นสอน - ชั่วโมงที่ 1 – 2 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 – 4 คน แล้วให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ การเลือกใช้ วัสดุ เครื่องมือ กลไก อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 หน้า 32 – 34 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายข้อมูลที่สืบค้นได้ภายในกลุ่ ม แล้วร่วมกันสรุปลงในกระดาษ A4 แล้วนำมาส่งครูเพื่อให้ครูตรวจสอบความถูกต้อง

31 3. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ “กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมช่วยแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน อย่างไร” จากนั้นร่วมกันสรุปว่า กระบวนการทางเทคโนโลยีได้ถูกส่งต่อพัฒนามาเป็นกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม เพื่อทำให้การแก้ปัญหามีทางเลือก มีหลักการ และเป็นระบบมากขึ้น ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ ระบุปัญหาในชีวิตจริงหรือนวัตกรรมที่ต้องการพัฒนา รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อ ง ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ทดสอบ ประเมินผล ปรับปรุง และนำเสนอ วิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือผลการพัฒนานวัตกรรม 4. ครูตั้งคำถาม แล้วสุ่มตัวแทนแต่ละกลุ่มตอบคำถาม ดังนี้  ขั้นตอนแรกของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ต้องคำนึงถึงสิ่งใด (แนวตอบ : ระบุปัญหาในชีวิตจริงหรือนวัตกรรมที่ต้องการพัฒนา เป็นการทำความเข้าใจปัญหา วิเคราะห์เงื่อนไขหรือข้อจำกัดของสถานการณ์ปัญหา เพื่อแก้ปัญหาภายใต้ข้อกำหนดขอบเขตของปัญหา ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือวิธีการในการแก้ปัญหา) 5. ครูนำป้ายกระดาษที่เขียนคำว่า “กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมช่วยแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวัน” ไปติดไว้บริเวณหน้าห้อง 6. นักเรียนศึกษาตัวอย่าง การระบุปัญหา จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4 หน้า 24 และอภิปรายหัวข้อที่ครูติดไว้บริเวณหน้าห้อง ครูกำหนดเวลาในการร่วมอภิปราย 5 นาที จากนั้นนักเรียนร่วมกันเสนอปัญหาที่หลากหลาย โดยให้แต่ละกลุ่มจับฉลากขอบเขตบริเวณของการกำหนด ปัญหา ได้แก่ โรงเรียน ห้องสมุด ห้องเรียน และแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน 7. นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกปัญหาตามความสนใจ ตามขอบเขตที่กำหนดให้ โดยแต่ละกลุ่มระบุปัญหาหรือ นวัตกรรมที่ต้องการพัฒนาของกลุ่มตนเอง - ชั่วโมงที่ 3 – 4 1. ครูตั้งคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ ดังนี้  องค์ประกอบของการระบุปัญหา ได้แก่องค์ประกอบใดบ้าง (แนวตอบ : 1. ปัญหา คือ สิ่งที่จำเป็นต้องแก้ไข 2. ใคร คือ ผู้ที่เผชิญปัญหาที่เราจำเป็นต้องแก้ 3. เหตุผล คือ เหตุใดปัญหานี้จึงจำเป็นต้องแก้) 2. นักเรียนแต่ละกลุ่ม ร่วมกันอภิปราย ตั้งคำถามในประเด็นที่กลุ่มตนเองสนใจ ระดมสมองหาอธิบาย สถานการณ์ของปัญหา จัดทำสรุปลงในกระดาษ A4 ตามประเด็น ดังนี้  ปัญหาที่จำเป็นต้องแก้คืออะไร  ใครคือผู้ที่เผชิญปัญหาที่เราจำเป็นต้องแก้  เหตุใดปัญหานี้จึงจำเป็นต้องแก้ แล้วร่วมกันนำเสนอปัญหาพร้อมทั้งวิธีการออกแบบการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการเชิงวิศวกรรม 3. นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ ม ออกมานำเสนอปั ญ หาที่ ต้ อ งการแก้ ไ ข จนครบทุกกลุ่ม เมื่อแต่ละกลุ่มเสนอ ปัญหาที่ต้องการแก้ไขจบแล้วให้นำผลงานไปติดไว้ตามบริเวณรอบๆ ห้องเรียน

32 4. ครูให้เวลานักเรียน 3 นาที ในการเดินชมผลงานปัญหาที่ต้องการแก้ไขของกลุ่มอื่นๆ เพื่อเปรียบเทียบ กับผลงานของกลุ่มตนเอง จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์สถานการณ์ของปัญหาช่วยแก้ปัญหาใน ชีวิตประจำวันอย่างไร 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือปฏิบัติวางแผน วิธีการแก้ไขปัญหาตามขั้นตอนกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม โดยครูเป็นที่ปรึกษาและสังเกตตรวจการเลือกข้อมูลหรือปัญหาที่ผู้เรียนคัดเลือกมา 6. ครูตั้งคำถามให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบว่า สำหรับกระบวนการเชิงวิศวกรรม การระดมความคิดมี ความสำคัญอย่างไร (แนวตอบ : สิ่งสำคัญในการระดมความคิด คือ การคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดแนวคิด ใหม่ๆ การระดมความคิดที่ดีมีขั้นตอน ดังนี้ ตั้งผู้ดำเนินการ กำหนดหัวข้อในการระดมความคิด ระดม ความคิด สรุปผลการระดมความคิด และประเมินความคิด) 7. นักเรียนแต่ละกลุ่ม ร่วมกันศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลโดยออกไปสถานที่ที่กลุ่มตนเองจับฉลากได้ เพื่อ รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถเลือกวิธีการรวบรวมข้อมูลแบบไหนก็ได้ - ชั่วโมงที่ 5 – 6 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มเมื่อรวบรวมข้อมูลเสร็จ แล้วศึกษาตัวอย่าง การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา จาก หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 หน้า 28-29 2. นั ก เรี ย นร่ว มกัน อภิป รายแล้วลงมือปฏิบัติเ ลือ กการออกแบบวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับกลุ่ม ตนเอง เช่น การสร้างภาพร่าง การสร้างผังงาน การสร้างภาพฉาย เป็นต้น พร้อมทั้งวางแผนการ ดำเนินการแก้ปัญหา 3. นักเรียน ร่วมกันอภิปรายแล้วลงมือปฏิบัติเลือกการนำเสนอการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือผล การพัฒนานวัตกรรม ขั้นสรุป 6. ผู้สอนให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด เรื่อง กระบวนการเชิงวิศวกรรม 7. ผู้สอนและนักเรียนร่วมกันสรุปกระบวนการเชิงวิศวกรรม ๑๐. สือ่ /แหล่งเรียนรู้ ๑๐.๑ สื่อการเรียนรู้ 1) Powerpoint เรื่อง กระบวนการเชิงวิศวกรรม ๑๐.๒ แหล่งการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4

33 ๑๑. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ระบุปัญหาหรือความต้องการที่ มีผลกระทบต่อสังคมและ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ มีความซับซ้อนได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) วิเคราะห์แนวทางการปรับปรุง แก้ไข และนำเสนอผล พร้อม ทั้งเสนอแนวทางการพัฒนาต่อ ยอดได้ ด้านค่านิยม (A) เห็นคุณประโยชน์ของการเรียน วิชาการออกแบบและ เทคโนโลยี และตระหนั ก ใน คุณค่าของความรู้ทาง เทคโนโลยีที่ใช้ใน ชีวิตประจำวัน

วิธีการ - ตรวจแบบฝึกหัด กระบวนการเชิง วิศวกรรม

เครื่องมือ - แบบฝึกหัด กระบวนการเชิง วิศวกรรม

เกณฑ์การประเมิน - นักเรียนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป

- แบบประเมิน

- แบบประเมิน การปฏิบัติกิจกรรม

- นักเรียนผ่านเกณฑ์ ระดับ ปานกลางขึ้นไป

- การตอบคำถาม ระหว่างเรียน

-

-

34

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้............................... ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ......... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ......................................................................... จำนวน ............. คาบ

ผลการจัดการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….................... …………………………………………………………………………………………………………………………………............................... ปัญหา/อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. แนวทางการแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. ลงชื่อ............................................. (นายสหรัฐ การบรรจง) ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะของหัวหน้ำกลุ่มสาระการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............. ลงชื่อ............................................. ( ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้................. ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............. ลงชื่อ............................................. (นางสาวตติยา อ่วมสอาด) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ

35

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) รายวิชา วิทยาการคำนวณและออกแบบ หน่วยที่ 6 ผลงานออกแบบและเทคโนโลยี เรื่อง ผลงานออกแบบและเทคโนโลยี เวลา 300 นาที

ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 รหัสวิชา ว31101 จำนวน 6 คาบเรียน ภาคเรียนที่ 1

๑. สาระสำคัญ การสร้างผลงานออกแบบและเทคโนโลยีหรือพัฒนาโครงงาน ควรคำนึงถึงการเลือกใช้วัสดุแต่ละประเภท มีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึงต้องมีการวิเคราะห์สมบัติเพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ ลักษณะของงาน สำหรับการสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้ เรื่อง กลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจรสำเร็จรูป และอุปกรณ์แ ละเครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลาย ประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้งรู้จักเก็บรักษา การใช้กระบวนการเชิง วิศวกรรมมาแก้ปัญหาหรือความต้องการผ่านการพัฒนาโครงงาน ทำให้เกิดทักษะสู่การปฏิบัติ ซึ่งเป็น การศึกษาเรื่องราวด้านวิท ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ผ่านทางโครงงานประเภทประดิษฐ์ เป็น การประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือด้านอื่นๆ มาประดิษฐ์ของเล่น เครื่องมือ เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์ เพื่อประโยชน์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมให้ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น หรือการสร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายแนวคิดต่างๆ ๒. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึงต้องมีการวิเคราะห์สมบัติเพื่อเลือกใช้ ให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน - การสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้ เรื่อง กลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจร สำเร็จรูป - อุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้งรู้จักเก็บรักษา ๓. ตัวชี้วัด ว 4.1 ม.4/5 ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเลกทรอนิกส์ และเทคโนโลยีที่ซับซ้อนในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย

36 ๔. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการออกแบบพัฒนาโครงงาน ระบุปัญหาที่ต้องการแก้หรือตอบสนองความต้องการได้ (K) 2. ลงมือปฏิบัติพัฒนาโครงงานแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการเชิงวิศวกรรมได้ (P) 3. เห็นคุณประโยชน์ของการเรียนวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี และตระหนักในคุณค่าของความรู้ไป แก้ปัญหาใช้ในชีวิตประจำวัน (A) ๕. สมรรถนะสำคัญ  1. ความสามารถในการสื่อสาร  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต  2. ความสามารถในการคิด  5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี  3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๖. สาระการเรียนรู้ ผลงานออกแบบและเทคโนโลยี ๗. คุณลักษณะอันพึงประสงค์  รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  อยู่อย่างพอเพียง  ซื่อสัตย์สุจริต  มุ่งมั่นในการทำงาน  มีวินัย  รักความเป็นไทย  ใฝ่เรียนรู้  มีจิตสาธารณะ ๘. ชิ้นงาน/ภาระงาน แบบฝึกหัด ผลงานออกแบบและเทคโนโลยี ๙. กระบวนการการจัดการเรียนรู้ (50 นาที) ขั้นนำ - เช็คชื่อการเข้าร่วมชั้นเรียน - ทบทวนความรู้ที่ได้เรียนเมื่อคาบที่แล้ว ขั้นสอน - ชั่วโมงที่ 1 – 2 1. ครูพานักเรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนโครงการห้องเรียนสีเขียว เพื่อศึกษาการผลิต กระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนหรือการเขื่อนจำลองผลิตกระแสไฟฟ้า หรือแหล่งเรียนรู้ภายนอกที่ ใกล้โรงเรียน (พิจารณาตามความเหมาะสมและดุลพินิจของครู) แล้วกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยการตั้งคำถามว่า จากการศึกษาการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเขื่อนจำลองหรือจากพลั งงานทดแทน อื่นๆ นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไร 2. ครูตั้งคำถามกระตุ้น ความคิด จากการศึกษาพลังงานทดแทนสามารถนำมาผลิตกระแสไฟฟ้า ได้ นักเรียนสามารถนำเอาหลักการพัฒนาโครงงาน มาใช้ในการสร้างโครงงานสิ่งประดิษฐ์ที่ช่วยในการ ผลิตกระแสไฟฟ้าให้เป็นพลังงานทดแทนได้อย่างไร แล้วให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและตอบ คำถาม (แนวตอบ : เทคโนโลยีปัจจุบันก้าวไกล ในการสร้างสิ่งประดิษฐ์หรือนวัตกรรมต่างๆ เรา สามารถเรียนรู้ได้จากโครงงานวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษาเรื่องราวด้านวิทยาศาสตร์ โดยใช้วิธีการ

37 ทางวิทยาศาสตร์เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาเพื่อให้ได้ผลงานที่มีความสมบูรณ์ โดยโครงงานประเภท ประดิษฐ์ เป็นโครงงานที่เกี่ยวกับการประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือด้านอื่นๆ มา ประดิ ษ ฐ์ เ ครื ่ อ งมื อ เพื ่ อ ประโยชน์ ใ ช้ ส อยต่ า งๆ ซึ ่ ง อาจจะเป็ น สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ใ หม่ หรื อ ปรั บ ปรุ ง เปลี่ยนแปลงของเดิมให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อช่วยในการแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติกำลัง จะขาดแคลน และเป็นการช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้อีกด้วย) 3. ครูให้ความรู้เพิ่มเติม เกี่ยวกับ จุดมุ่งหมายของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ กล่าวคือ ในการทำ โครงงานวิทยาศาสตร์มีจุดมุ่งหมาย ดังนี้ • เพื่อฝึกให้นักเรียนสามารถนำเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ ปัญหา ศึกษาค้นคว้า หรือประดิษฐ์คิดค้น • เพื่อให้นักเรียนใช้ความรู้และประสบการณ์เลือกทำโครงงานตามที่สนใจ โดยการประยุกต์ใช้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในแต่ละท้องถิ่น • เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ หาข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่างๆด้วยตนเอง • เพื่อให้นักเรียนได้แสดงออกซึ่งความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ • เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เห็นคุณค่าของการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใน การแก้ปัญหา 4. ครูนำโปสเตอร์ ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทต่างๆ ไปติดไว้ตามฐาน ครูให้นักเรียน แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยสมาชิกในกลุ่มแยกย้ายไปศึกษาฐานต่างๆ 5. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม อภิปรายร่วมกันแล้วสรุปเกี่ยวกับการรูปแบบและขั้นตอนการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งศึกษา สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม เรื่อง การจัดทำโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ตาม ประเด็นที่กำหนดให้ ดังนี้ • ความหมายและความสำคัญของโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ • หลักการการออกแบบที่ดีควรคำนึงถึงสิ่งใด • ขั้นตอนการทำโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ • การประเมินผลงานโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ - ชั่วโมงที่ 3 – 4 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม สืบค้นคลิปวิดีโอ เกี่ยวกับ การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภท สิ่งประดิษฐ์ระดับประเทศ และการแข่งขันการสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่ช่วยในการผลิตกระแสไฟฟ้า แล้วครู ถามกระตุ้นความสนใจนักเรียนว่า จากคลิปวิดีโอ นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาโครงงานได้ อย่างไร 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปราย เกี่ยวกับ “พลังงานทดแทน” แล้วสุ่มให้นักเรียนตอบเกี่ยวกับ ความหมาย พร้อมยกตัวอย่างบอกข้อดีและข้อจำกัดของแต่ละพลังงาน 3-4 คน (แนวตอบ : พลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานใดๆ ที่ใช้ทดแทนพลังงานหลัก เช่น พลังงาน ชีวภาพ พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานความร้อนใต้พิภพ เป็นต้น ส่วนข้อดีและข้อจำกัดของ พลังงานแสงอาทิตย์ ข้อดี คือ เป็นพลังงานที่สะอาด ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เหมาะกับพื้นที่ที่สาย

38 ส่งไฟฟ้าเข้าไม่ถึง สามารถใช้ได้อย่างไม่มีวันหมด ง่ายต่อการดูแลรักษา แต่มีข้อจำกัด คือ ใช้ต้นทุนสูง ใช้ พื้นที่ติดตั้งมาก ผลิตได้ไม่ส่ำเสมอ ทำให้ขาดความต่อเนื่อง เนื่องจากการเกิดแสงแดดในเวลากลางวัน ซึ่ง ไม่อาจเกิดขึ้นในเวลากลางคืนจึงส่งผลให้กำลังผลิตน้อย) 3. ครูจัดเตรียมผลงานโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ของนักเรียนที่เคยได้รับรางวัลออกมาให้นักเรียน ศึกษา จากผลงานสิ่งประดิษฐ์จริง พร้อมทั้งเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ไม้ โลหะ พลาสติก เชือก สปริง สกรู ล้อและเพลา ลิ่ม หลอดไฟLED ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ แบตเตอรี่ บัซเซอร์ สายไฟ มอเตอร์ วงจรไฟฟ้า แอมมิเตอร์ มัลติมิเตอร์ เป็นต้น ส่วนอุปกรณ์เสริมอื่นๆให้แต่ละกลุ่มเตรียม มาได้ตามส่วนประกอบสำคัญของแต่ละกลุ่ม เช่น โซล่าเซลล์ เปียโซ่อิเล็คทริค หรือจักรยาน กังหันลม เป็นต้น 4. ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ แอมมิเตอร์และมัลติมิเตอร์ ในการทดสอบการใช้อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ เบื้องต้น โดยครูเป็นผู้ให้ตรวจสอบความถูกต้องของทักษะการใช้อุปกรณ์ของนักเรียน 5. ครูกำหนดหัวข้อ สถิติการใช้ไฟฟ้าประจำปีของประเทศไทยและต่างประเทศ แล้วให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มสืบค้นข้อมูล (กลุ่มละ 1 ประเทศ ไม่ซ้ำกัน) แล้วผลัดกันนำเสนอข้อมูลของกลุ่มตนเอง พร้อมทั้ง อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสถิติการใช้ไฟฟ้าทั่วโลก 6. ครู ถ ามคำถามกระตุ ้ น ความคิ ด ว่ า เนื ่ อ งจากสถิ ต ิ ก ารใช้ ไ ฟฟ้ า ประจำปี ข องประเทศไทยและ ต่างประเทศ พบว่ามียอดการใช้ไฟฟ้ามากขึ้นๆ ทุกปี ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกัน หาแนวทาง ในการแก้ปัญหา 7. ครูนำข้อความ “สิ่งประดิษฐ์ที่ช่วยในการผลิตกระแสไฟฟ้า” ติดไว้หน้าห้องเรียน สุ่มถามนักเรียน 3 - 4 คน ให้แสดงคิดเห็น ว่า นักเรียนมีวิธีการพัฒนาโครงงานที่ช่วยในการผลิตกระแสไฟฟ้าอย่างไร? 8. นักเรียนแต่ละกลุ่ม เก็บรวบรวมข้อมูลตามความสนใจของแต่ละกลุ่ม โดยใช้หลักการรวบรวมข้อมูล และแนวคิดที่เกี่ยวข้องตามขั้นตอนกระบวนการเชิงวิศวกรรม 9. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่า ในการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ครั้งนี้เราสร้างเป็นแบบจำลองหรือต้นแบบ โดย ครูเป็นผู้ให้คำปรึกษา และตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาของแต่ละกลุ่ม 10. นักเรียนแต่ละกลุ่มปรึกษาหารือเพื่อออกแบบผลงานพัฒนาโครงงาน ตามขั้นตอนกระบวนการเชิง วิศวกรรม - ชั่วโมงที่ 5 – 6 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ตามที่ได้ออกแบบเอาไว้ ทีละ กลุ่ม หลังจากที่นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานแล้ว ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนกลุ่มอื่นร่วมกันอภิปราย ซักถามข้อสงสัยและข้อเสนอแนะร่วมกัน เมื่อแต่ละกลุ่มเสนอผลงานจบแล้วให้นำผลงานไปติดไว้ตาม บริเวณรอบๆ ห้องเรียน พร้อมทั้งเผยแพร่ผลงานของกลุ่มตนเองทางสื่อออนไลน์ ทางใดก็ได้ เช่น facebook , website โรงเรียน, Dek-D.com เป็นต้น เพื่อนำความรู้ไปใช้บริการสังคม เพื่ออาจเป็น ประโยชน์ต่อผู้อื่นได้ 2. นักเรียนแต่ละกลุ่ม ลงมือปฏิบัติจัดทำการพัฒนาโครงงาน “สิ่งประดิษฐ์ที่ช่วยในการผลิต กระแสไฟฟ้า” โดยมีครูเป็นที่ปรึกษา ให้คำแนะนำในการใช้อุปกรณ์ และเครื่องมือ

39 3. นักเรียนแต่ละคนปฏิบัติหน้าที่ของตนตามข้อตกลงของกลุ่ม พร้อมทั้งร่วมมือกันปฏิบัติกิจกรรม โดย ขอคำปรึกษาจากครูเป็นระยะเมื่อมีข้อสงสัยหรือปัญหาเกิดขึ้น 4. ครูเป็นผู้สังเกตพฤติกรรมการทำโครงงานร่วมกันของนักเรียน 5. นักเรียนแต่ละกลุ่ม ลงมือปฏิบัติจัดทำการพัฒนาโครงงาน “สิ่งประดิษฐ์ที่ช่วยในการผลิต กระแสไฟฟ้า” โดยมีครูเป็นที่ปรึกษา ให้คำแนะนำในการใช้อุปกรณ์ และเครื่องมือ 6. นักเรียนแต่ละคนปฏิบัติหน้าที่ของตนตามข้อตกลงของกลุ่ม พร้อมทั้งร่วมมือกันปฏิบัติกิจกรรม โดย ขอคำปรึกษาจากครูเป็นระยะเมื่อมีข้อสงสัยหรือปัญหาเกิดขึ้น 7. ครูเป็นผู้สังเกตพฤติกรรมการทำโครงงานร่วมกันของนักเรียน 8. นักเรียนแต่ละกลุ่ม ลงมือปฏิบัติจัดทำการพัฒนาโครงงาน “สิ่งประดิษฐ์ที่ช่วยในการผลิต กระแสไฟฟ้า” โดยมีครูเป็นที่ปรึกษา ให้คำแนะนำในการใช้อุปกรณ์ และเครื่องมือ 9. นักเรียนแต่ละคนปฏิบัติหน้าที่ของตนตามข้อตกลงของกลุ่ม พร้อมทั้งร่วมมือกันปฏิบัติกิจกรรม โดย ขอคำปรึกษาจากครูเป็นระยะเมื่อมีข้อสงสัยหรือปัญหาเกิดขึ้น 10. ครูเป็นผู้สังเกตพฤติกรรมการทำโครงงานร่วมกันของนักเรียน ขั้นสรุป 8. ผู้สอนให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด เรื่อง กระบวนการเชิงวิศวกรรม 9. ผู้สอนและนักเรียนร่วมกันสรุปกระบวนการเชิงวิศวกรรม ๑๐. สือ่ /แหล่งเรียนรู้ ๑๐.๑ สื่อการเรียนรู้ 1) Powerpoint เรื่อง ผลงานออกแบบและเทคโนโลยี ๑๐.๒ แหล่งการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4

40 ๑๑. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) อธิบายการออกแบบพัฒนา โครงงาน ระบุปัญหาที่ต้องการ แก้หรือตอบสนองความ ต้องการได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ลงมือปฏิบัติพัฒนาโครงงาน แก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการ เชิงวิศวกรรมได้ ด้านค่านิยม (A) เห็นคุณประโยชน์ของการเรียน วิชาการออกแบบและ เทคโนโลยี และตระหนักใน คุณค่าของความรู้ทาง เทคโนโลยีที่ใช้ใน ชีวิตประจำวัน

วิธีการ - ตรวจแบบฝึกหัด ผลงานออกแบบและ เทคโนโลยี

เครื่องมือ - แบบฝึกหัด ผลงาน ออกแบบและ เทคโนโลยี

เกณฑ์การประเมิน - นักเรียนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป

- แบบประเมิน

- แบบประเมิน การปฏิบัติกิจกรรม

- นักเรียนผ่านเกณฑ์ ระดับปานกลางขึ้นไป

- การตอบคำถาม ระหว่างเรียน

-

-

41

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้............................... ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ......... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ......................................................................... จำนวน ............. คาบ

ผลการจัดการเรียนการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….................... …………………………………………………………………………………………………………………………………............................... ปัญหา/อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. แนวทางการแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….............. ลงชื่อ............................................. (นายสหรัฐ การบรรจง) ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะของหัวหน้ำกลุ่มสาระการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............. ลงชื่อ............................................. ( ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้................. ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............. ลงชื่อ............................................. (นางสาวตติยา อ่วมสอาด) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ

42

43

44

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.