412141_Introduction_to_Computer48 (1) Flipbook PDF


45 downloads 109 Views 18MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

เอกสารประกอบการสอนวิชา 412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนํา สําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 2548

คํานํา วิชา 412 141 คอมพิวเตอรขน ั้ แนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร เปน วิชาในหมวดศึกษาทั่วไป กลุม  วิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร สําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เนื่องจากนักศึกษาที่เขามาศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแกน โดยเฉพาะคณะมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร มีพื้นฐานดานคอมพิวเตอรทแ ี่ ตกตางกัน ซึง่ ความรูความสามารถดานคอมพิวเตอรเปนพื้น ฐานความรูท  ี่จําเปนสําหรับการศึกษาในวิชาตางๆ ในระดับอุดมศึกษา การศึกษาวิชานี้จะปรับพื้นความรู ความสามารถดานคอมพิวเตอรของนักศึกษาใหมีระดับใกลเคียงกัน นักศึกษาจะไดศึกษา สวนประกอบ ของคอมพิวเตอร ระบบการทํางาน ระบบปฏิบัติการ การใชงานโปรแกรมพื้นฐาน เชน โปรแกรม ประมวลผลคํา โปรแกรมตารางคํานวณอิเล็กทรอนิกส โปรแกรมนําเสนอ และการใชระบบอินเทอรเน็ต เทคโนโลยีดานคอมพิวเตอร มีการพัฒนา และปรับเปลี่ยนอยางตอเนื่องตลอดเวลา ความรูดาน คอมพิวเตอรทจ ี่ ะไดรับจากการศึกษาในวิชานี้ เปนเพียงความรูคอมพิวเตอรเบื้องตนในระดับขั้นพื้นฐาน นักศึกษาจะตองศึกษา คนควา ฝกฝน และเรียนรูเพิ่มเติมอยางตอเนื่องตลอดเวลาเชนเดียวกัน ผูสอนวิชา 412 141 อาจารยจุฑาทิพย ไชยกําบัง รองศาสตราจารยจฑ ุ ารัตน ศราวณะวงศ อาจารยเพ็ญพันธ เพชรศร รองศาสตราจารยมาลี กาบมาลา อาจารยศศิวิมล ฮงมา อาจารยศักดา จันทรประเสริฐ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร



สารบัญ 0บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร................................. 1 24H

ตอนที่ 1 คอมพิวเตอรเบื้องตน....................................................................................... 1 1H

243H

1. การทํางานของคอมพิวเตอร .............................................................................................................................1 2. สวนประกอบของคอมพิวเตอร .........................................................................................................................2 3. ฮารดแวรและซอฟตแวร ...................................................................................................................................2 4. ตัวเครื่อง.........................................................................................................................................................3 5. สวนประกอบภายในเครื่อง ...............................................................................................................................4 2H

24H

3H

245H

4H

246H

5H

247H

6H

248H

ตอนที่ 2 อุปกรณรอบขางของคอมพิวเตอร ..................................................................... 6 7H

249H

1. แผงแปนอักขระ (Keyboard) ...........................................................................................................................6 2. เมาส (Mouse)................................................................................................................................................7 3. จอภาพและการดแสดงผล (Monitor and Video Card)...................................................................................8 4. เครื่องพิมพ (Printer)....................................................................................................................................10 5. สแกนเนอร (Scanner) ..................................................................................................................................12 6. โมเด็ม (Modem) .........................................................................................................................................13 7. การดเสียง (Sound Card).............................................................................................................................14 8H

250H

9H

251H

10H

25H

1H

253H

12H

254H

13H

25H

14H

256H

ตอนที่ 3 หนวยการทํางานที่สําคัญ ............................................................................... 15 15H

257H

1. หนวยประมวลผลกลาง (CPU) ......................................................................................................................15 2. หนวยความจํา (Memory)............................................................................................................................16 3. หนวยความจําแคช (Memory Cache) และบัส (Bus).....................................................................................17 4. หนวยเก็บขอมูลสํารอง...................................................................................................................................17 16H

258H

17H

259H

18H

260H

19H

261H

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows............................ 20 20H

26H

ตอนที่ 1 ประวัติความเปนมา ....................................................................................... 20 21H

263H

1. การใชเมาส (Mouse)....................................................................................................................................21 2. เริ่มเขาสู Microsoft Windows XP ..............................................................................................................21 3. สวนประกอบตางๆ ของ Desktop .................................................................................................................22 4. การเปดใชงานโปรแกรมจากปุม Start............................................................................................................23 5. การเปดหลายโปรแกรมพรอมกัน ..................................................................................................................24 6. รูจักกับหนาตาง ............................................................................................................................................25 7. การจัดเรียงหนาตางบนเดสกทอป .................................................................................................................31 8. การเคลียรพื้นที่บนเดสกทอป........................................................................................................................32 9. การสรางผูมีสิทธิ์ใชงาน (User Account) ......................................................................................................33 10. การออกจากระบบ Windows XP โดยการ Log Off...................................................................................35 2H

264H

23H

265H

24H

26H

25H

267H

26H

268H

27H

269H

28H

270H

29H

271H

30H

27H

31H

273H

ตอนที่ 2 การจัดการไฟล (Files) และโฟลเดอร (Folders).............................................. 36 32H

274H

1. รูจักกับไอคอน (Icons) ไฟล (Files) และโฟลเดอร (Folders) ........................................................................36 2. การดูขอมูลในโฟลเดอรดวย My Computer..................................................................................................38 3. การกําหนดรูปแบบการแสดงไฟลและโฟลเดอร ..............................................................................................39 4. การจัดเรียงไฟลและโฟลเดอร ........................................................................................................................40 5. การฟอรแมตแผนบันทึกขอมูลแบบออน (Floppy disk).................................................................................41 3H

275H

34H

276H

35H

27H

36H

278H

37H

279H

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร



ตอนที่ 3 การจัดการขอมูลดวย Windows Explorer..................................................... 42 38H

280H

1. วิธีเปด Windows Explorer.........................................................................................................................42 2. สวนประกอบของ Windows Explorer..........................................................................................................43 3. วิธีแสดงขอมูลใน Windows Explorer (ดานซาย) .........................................................................................43 4. การสรางโฟลเดอร ........................................................................................................................................44 5. การเลือกไฟลและโฟลเดอร ............................................................................................................................45 6. การเคลื่อนยาย (Move) การคัดลอก (Copy) ไฟลหรือโฟลเดอร....................................................................47 7. การลบไฟลและโฟลเดอร ...............................................................................................................................49 8. การกูไฟลที่ลบจาก Recycle Bin ..................................................................................................................51 9. การคนหาไฟลและโฟลเดอร ...........................................................................................................................51 39H

281H

40H

28H

41H

283H

42H

284H

43H

285H

4H

286H

45H

287H

46H

28H

47H

289H

ตอนที่ 4 การใชงาน Desktop....................................................................................... 53 48H

290H

1. การกําหนดรูปแบบการแสดงหนาจอดวยชุดรูปแบบ (Themes)......................................................................53 2. การกําหนดภาพพื้นหลัง (Wallpaper) ...........................................................................................................54 3. การกําหนดสกรีนเซฟเวอร (Screen Saver)...................................................................................................54 4. การปรับแตงสวนตางๆ ของหนาตาง .............................................................................................................55 5. การสรางไอคอนชอรตคัด (Shortcut Icon)....................................................................................................56 6. การจัดเรียงไอคอนบน Desktop....................................................................................................................57 49H

291H

50H

29H

51H

293H

52H

294H

53H

295H

54H

296H

แนะนํา Microsoft office 2003.................................................... 59 5H

297H

1. Microsoft office Word 2003.....................................................................................................................59 2. Microsoft office Excel 2003.....................................................................................................................59 3. Microsoft office PowerPoint 2003...........................................................................................................60 4. Microsoft office Access 2003...................................................................................................................60 5. Microsoft office Publisher 2003...............................................................................................................60 6. ความตองการดานฮารดแวร ..........................................................................................................................60 56H

298H

57H

29H

58H

30H

59H

301H

60H

302H

61H

30H

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word .................................. 61 62H

304H

ตอนที่ 1 ความสามารถของโปรแกรม ........................................................................... 61 63H

305H

1. ลักษณะตัวชี้ตําแหนงของเมาส ใน Microsoft Office Word 2003.................................................................65 2. การไปยังตําแหนงตางๆ ของเอกสาร .............................................................................................................65 3. การบันทึกขอมูล (Save/Save As) ................................................................................................................66 4. การปดเอกสาร (Close)................................................................................................................................67 5. การสรางเอกสารใหม (New).........................................................................................................................67 6. การกําหนดคาใหกับหนากระดาษเอกสาร (Page Setup).................................................................................68 7. การเปดเอกสารเดิม (Open).........................................................................................................................69 8. การดูเอกสารที่เปดใชงาน..............................................................................................................................69 9. มุมมอง (View) ตางๆ ใน Microsoft Office Word 2003...........................................................................70 10. การเลือกขอความและตัวอักษร....................................................................................................................71 11. การยกเลิกขอความที่ถูกเลือกไว ..................................................................................................................73 12. แถบเครื่องมือ (Toolbars)..........................................................................................................................73 13. การขอความชวยเหลือจาก Microsoft Office Word 2003 .........................................................................74 14. ผูชวยเหลือ (Office Assistant)...................................................................................................................75 15. การออกจากโปรแกรม ................................................................................................................................76 64H

306H

65H

307H

6H

308H

67H

309H

68H

310H

69H

31H

70H

312H

71H

31H

72H

314H

73H

315H

74H

316H

75H

317H

76H

318H

7H

319H

78H

320H

ตอนที่ 2 การตกแตงเอกสาร........................................................................................ 77 79H

321H

1. การยายและการคัดลอกขอความ....................................................................................................................77 80H

32H

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร



2. การกําหนดคาตางๆ ใหกับตัวอักษร ..............................................................................................................81 3. การจัดการเกี่ยวกับยอหนา (Paragraph) .......................................................................................................87 4. การกําหนดกั้นหนาหรือกั้นหลัง (Indents) .....................................................................................................90 5. การกําหนด Tab รูปแบบตาง ๆ....................................................................................................................92 6. การคัดลอกรูปแบบตางๆ ดวย Format Painter............................................................................................94 7. การกําหนดคอลัมน (Column) ใหกับเอกสาร................................................................................................94 7. การกําหนดคอลัมน (Column) ใหกับเอกสาร................................................................................................95 8. การสรางเสนกรอบและใสสีใหกับยอหนาหรือเอกสาร (Border and Shading).................................................96 9. การสรางรูปแบบทรงเรขาคณิตลงในเอกสาร (Objects, Auto Shapes) ดวยแถบเครื่องมือ Drawing .......... 100 10. อักษรศิลป (WordArt)............................................................................................................................ 102 11. การแทรกรูปภาพ .................................................................................................................................... 104 12. การปรับภาพดวยแถบเครื่องมือ Picture .................................................................................................. 105 13. การใสสัญลักษณพิเศษ (Symbol) ลงในเอกสาร....................................................................................... 106 81H

32H

82H

324H

83H

325H

84H

326H

85H

327H

86H

328H

87H

329H

8H

30H

89H

31H

90H

32H

91H

3H

92H

34H

93H

35H

ตอนที่ 3 ระบบอัตโนมัติตางๆ ....................................................................................107 94H

36H

1. การใชงาน Smart Tag Option Button...................................................................................................... 107 2. การตรวจสอบคําสะกดและไวยากรณ (Spelling Check and Grammar Check) ......................................... 107 3. ระบบแกไขคําผิดอัตโนมัติ (Auto Correct)................................................................................................. 111 4. ขอความอัตโนมัติและคํายอ (Auto Text).................................................................................................... 112 5. สัญลักษณหนาขอความและลําดับเลขหนาขอความ (Bullets and Numbering) ........................................... 114 6. การสรางหัวกระดาษและทายกระดาษ (Header and footer)........................................................................ 116 7. การใสเลขหนาใหกับเอกสาร (Page Number) ............................................................................................ 117 8. การคนหาขอความและการแทนที่ขอความ (Find and Replace).................................................................. 118 95H

37H

96H

38H

97H

39H

98H

340H

9H

341H

10H

342H

10H

34H

102H

34H

ตอนที่ 4 การสรางตารางลงในเอกสาร ........................................................................120 103H

345H

1. การสรางตาราง (Table) ............................................................................................................................ 120 2. การจัดแนวขอความในตาราง...................................................................................................................... 122 3. การตกแตงตาราง...................................................................................................................................... 124 104H

346H

105H

347H

106H

348H

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint....................... 126 107H

349H

ตอนที่ 1 รูจักกับ Microsoft PowerPoint ..................................................................126 108H

350H

1. ความรูพื้นฐานที่ควรทราบ ......................................................................................................................... 126 2. ความสามารถของโปรแกรม ....................................................................................................................... 126 3. การเรียกใชโปรแกรม ................................................................................................................................. 127 4. สวนประกอบตางๆ ของหนาตางโปรแกรม.................................................................................................. 127 5. การแสดงหรือซอนแถบเครื่องมือ (Toolbar)............................................................................................... 129 6. แถบเครื่องมือ (Toolbars)......................................................................................................................... 129 7. มุมมอง (View) แสดงสไลด .................................................................................................................... 130 8. ขั้นตอนการทําสไลดและนําเสนองานพรีเซนเตชัน......................................................................................... 131 9. การสรางงานพรีเซนเตชัน ........................................................................................................................... 132 10. การขอความชวยเหลือ (Help) และการเรียกใชผูชวย (Office Assistant) .................................................. 135 11. การบันทึกไฟล (Save)........................................................................................................................... 136 12. การปดงานพรีเซนเตชัน (Close)............................................................................................................. 136 13. การเปดไฟลเดิมมาใชงาน (Open) .......................................................................................................... 136 14. การออกจากโปรแกรม PowerPoint......................................................................................................... 137 109H

351H

10H

352H

1H

35H

12H

354H

13H

35H

14H

356H

15H

357H

16H

358H

17H

359H

18H

360H

19H

361H

120H

362H

12H

36H

12H

364H

ตอนที่ 2 การสรางงานนําเสนอ (Presentation) ดวยตนเอง..........................................138 123H

365H

1. การสรางงานนําเสนอ (Presentation) จากสไลดวาง.................................................................................... 138 2. การเพิ่มสไลดในงานพรีเซนเตชัน ................................................................................................................ 138 124H

36H

125H

367H

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร



3. การเปลี่ยนรูปแบบสไลด (Slide Layout ) ................................................................................................. 139 4. การเพิ่มขอความและการจัดการกับเท็กซบ็อกซ (Text Box)........................................................................ 140 5. การจัดรูปแบบขอความ.............................................................................................................................. 142 6. การจัดวางขอความ .................................................................................................................................... 143 7. การปรับระยะหางระหวางบรรทัด ................................................................................................................ 143 8. การปรับตัวพิมพของขอความ..................................................................................................................... 144 9. การใสสัญลักษณแสดงหัวขอยอยและเลขลําดับ (Bullets and Numbering)................................................. 144 10. การคัดลอกรูปแบบดวย Format Printer ................................................................................................. 146 11. การเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร (Font) ในทุกๆ สไลด................................................................................... 146 12. การแทนที่คําหรือขอความ........................................................................................................................ 146 13. การจัดการกับสไลด ................................................................................................................................. 147 126H

368H

127H

369H

128H

370H

129H

371H

130H

372H

13H

37H

132H

374H

13H

375H

134H

376H

135H

37H

136H

378H

ตอนที่ 3 การใชงานแถบเครื่องมือรูปวาด (Drawing Toolbar) และการจัดการกับวัตถุ (Objects) .................................................................................................................149 137H

379H

1. การเรียกใชแถบเครื่องมือรูปวาด................................................................................................................ 149 2. การวาดรูปดวยแถบเครื่องมือรูปวาด.......................................................................................................... 149 3. การสรางวัตถุดวย Autoshapes.................................................................................................................. 150 4. การจัดการกับวัตถุ (Object)...................................................................................................................... 151 5. การสรางตัวอักษรศิลปดวย Microsoft WordArt.................................................................................... 154 6. การใสรูปภาพจาก Clip Gallery และการปรับแตงภาพดวยแถบเครื่องมือ Picture...................................... 155 7. การแยกสวนประกอบของรูปภาพ Clip Art................................................................................................ 156 8. การนํารูปจากไฟลมาใสในสไลด .................................................................................................................. 157 9. การสรางงานพรีเซ็นเตชันแบบอัลบั้มภาพ ................................................................................................... 158 138H

380H

139H

381H

140H

382H

14H

38H

142H

384H

143H

385H

14H

386H

145H

387H

146H

38H

ตอนที่ 4 การตกแตงพื้นฉากหลังของงานพรีเซ็นเตชัน ..................................................160 147H

389H

1. การตกแตงพื้นฉากหลังของสไลดดวยตนเอง............................................................................................... 160 2. การตกแตงฉากพื้นหลังของสไลดดวยเท็มเพลต (Template)....................................................................... 161 3. การกําหนดชุดสีใหกับสไลดดวย Slide Color Schemes .......................................................................... 162 4. การกําหนดสี Color Schemes ดวยตนเอง ................................................................................................ 162 4. การกําหนดสี Color Schemes ดวยตนเอง ................................................................................................ 163 148H

390H

149H

391H

150H

392H

15H

39H

152H

394H

ตอนที่ 5 การสรางเทคนิคใหงานนําเสนอ.....................................................................164 153H

395H

1. เทคนิคการเปลี่ยนสไลด (Slide Transition)............................................................................................... 164 2. การกําหนดวัตถุใหเคลื่อนที่ขณะนําเสนองานพรีเซนเตชัน (Animation) ....................................................... 165 3. การสรางสไลดสรุป (Summary Slide) ..................................................................................................... 170 4. การแสดงงานพรีเซนเตชัน (Slide Show)................................................................................................... 170 5. การเปลี่ยนแผนสไลดขณะนําเสนอ.............................................................................................................. 170 6. การควบคุมการแสดงสไลด ........................................................................................................................ 171 7. การพิมพงานพรีเซนเตชัน ........................................................................................................................... 172 9. การสรางงานนําเสนอสําหรับเว็บเพจ........................................................................................................... 174 10. เปดไฟลพรีเซนเตชันบนเว็บบราวเซอร ...................................................................................................... 175 11. การบันทึกงานพรีเซนเตชันเปนแพ็กเก็จสําหรับซีดี (Package for CD)...................................................... 176 154H

396H

15H

397H

156H

398H

157H

39H

158H

40H

159H

401H

160H

402H

16H

403H

162H

40H

163H

405H

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel ................................ 175 164H

406H

ตอนที่ 1 รูจักกับ Microsoft office Excel 2003...................................................176 165H

407H

1. การเปดโปรแกรม...................................................................................................................................... 177 2. สวนประกอบตางๆ ของ Microsoft office Excel 2003............................................................................ 178 3. แถบเครื่องมือ (Toolbars) ......................................................................................................................... 179 4. Active Cell หรือ เซลลที่กําลังใชงาน ......................................................................................................... 179 16H

408H

167H

409H

168H

410H

169H

41H

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร



5. การกําหนดคาหนากระดาษ (Page Setup) ใหกับตารางทําการ (Worksheet)............................................. 181 6. การจัดเรียงแฟมตารางทําการบนหนาจอ .................................................................................................... 185 170H

412H

17H

413H

ตอนที่ 2 เซลล (Cell) และตารางทําการ (Worksheet) ................................................187 172H

41H

1. เซลล (Cell) .............................................................................................................................................. 187 2. การตั้งชื่อเซลลหรือชวงของเซลล ................................................................................................................. 189 3. การจัดการขอมูล ....................................................................................................................................... 191 4. การจัดการชองเซลล ................................................................................................................................... 194 5. คําสั่งยกเลิก (Undo) และทําซ้ํา (Redo) .................................................................................................... 197 6. การปรับความกวางของคอลัมนและความสูงของแถว................................................................................... 198 7. การจัดเรียงขอมูล ...................................................................................................................................... 200 8. แผนตารางทําการ (Worksheet) ................................................................................................................ 201 9. การจัดการแผนตารางทําการ ..................................................................................................................... 203 10. การแบงหนาตางโปรแกรม....................................................................................................................... 208 10. การแบงหนาตางโปรแกรม....................................................................................................................... 209 173H

415H

174H

416H

175H

417H

176H

418H

17H

419H

178H

420H

179H

421H

180H

42H

18H

423H

182H

42H

183H

425H

ตอนที่ 3 สูตร (Formulas) และฟงกชัน (Function).....................................................211 184H

426H

1. สูตร (Formulas)....................................................................................................................................... 211 2. ตัวดําเนินการ (Operator) ........................................................................................................................ 211 3. การปอนสูตร............................................................................................................................................. 213 4. การแกไขสูตร ............................................................................................................................................ 213 4. การแกไขสูตร ............................................................................................................................................ 214 5. การคัดลอกสูตร......................................................................................................................................... 214 6. การใชสูตรกับขอมูลที่อยูตางแผนตารางทําการ (Worksheet)...................................................................... 217 7. ฟงกชัน (Functions).................................................................................................................................. 218 8. แนะนําฟงกชันที่สําคัญ................................................................................................................................ 218 9. การใชปุม Insert Function...................................................................................................................... 221 10. AutoSum ............................................................................................................................................... 223 11. AutoCalculation.................................................................................................................................... 223 12. การแจงขอผิดพลาดจากการใชโปรแกรม Microsoft Office Excel 2003 ................................................. 224 185H

427H

186H

428H

187H

429H

18H

430H

189H

431H

190H

432H

19H

43H

192H

43H

193H

435H

194H

436H

195H

437H

196H

438H

197H

439H

ตอนที่ 4 การตกแตงแผนตารางทําการ (Worksheet)..................................................225 198H

40H

1. การตกแตงแผนตารางทําการ..................................................................................................................... 225 2. การปรับเปลี่ยนรูปแบบฟอนต (Font) ........................................................................................................ 225 3. การปรับเปลี่ยนการจัดวางขอความ............................................................................................................. 228 4. การตกแตงโดยใชสี .................................................................................................................................... 231 5. การขีดเสนตาราง....................................................................................................................................... 231 6. AutoFormat ............................................................................................................................................. 232 7. การตกแตง Excel ดวยรูปภาพ.................................................................................................................. 233 8. การคัดลอกรูปแบบโดยใช Format Painter.............................................................................................. 235 9. การกําหนดการแสดงขอมูลตามเงื่อนไข ...................................................................................................... 235 10. การตรวจสอบงานกอนพิมพ ..................................................................................................................... 238 11. การดูเอกสารในรูปเว็บเพจ....................................................................................................................... 239 19H

41H

20H

42H

201H

43H

20H

4H

203H

45H

204H

46H

205H

47H

206H

48H

207H

49H

208H

450H

209H

451H

ตอนที่ 5 การใชแผนภูมิ (Graph) ...............................................................................240 210H

452H

1. การสรางแผนภูมิดวยกราฟวิซารด (Graph Wizard)................................................................................. 240 2. การปรับตกแตงแผนภูมิ............................................................................................................................. 242 3. ชนิดของแผนภูมิ ........................................................................................................................................ 243 4. การใชงานแถบเครื่องมือแผนภูมิ (Chart).................................................................................................. 244 5. การลบแผนภูมิ .......................................................................................................................................... 246 21H

453H

21H

45H

213H

45H

214H

456H

215H

457H

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร



6. เทคนิคอื่นๆ ที่นาสนใจ............................................................................................................................... 247 216H

459H

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต................................................................... 248 217H

460H

ตอนที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอินเทอรเน็ต .............................................................248 218H

461H

1. ความหมายของอินเทอรเน็ต ....................................................................................................................... 248 2. ประวัติของอินเทอรเน็ต .............................................................................................................................. 249 3. อุปกรณที่ตองมีในการใชงานอินเตอรเน็ต ................................................................................................... 251 4. ผูใหบริการอินเทอรเน็ต (Internet Service Provider)................................................................................ 251 5. ระบบการตั้งชื่อประจําเครื่อง....................................................................................................................... 252 219H

462H

20H

463H

21H

46H

2H

465H

23H

46H

ตอนที่ 2 เวิลดไวดเว็บ (World Wide Web, WWW) ..............................................256 24H

467H

1. ความหมาย และลักษณะของเวิลดไวดเว็บ ................................................................................................... 256 2. การเชื่อมตอเขาสูระบบอินเทอรเน็ตเวิลดไวดเว็บ ......................................................................................... 257 3. การใชโปรแกรมเว็บเบราเซอร (Web Browser) เพื่อเปดขอมูลเวิลดไวดเว็บ ................................................ 262 25H

468H

26H

469H

27H

470H

ตอนที่ 3 การคนหาขอมูลดวย Search Engine............................................................267 28H

471H

1. การคนหาขอมูลดวยเว็บไซตบริการคนหาขอมูล .......................................................................................... 267 29H

472H

ตอนที่ 4 การสมัครและการใชอีเมล.............................................................................272 230H

473H

1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอีเมล (E-mail)...................................................................................................... 272 231H

47H

บรรณานุกรม............................................................................. 283 23H

475H

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกีย่ วกับคอมพิวเตอร ตอนที่ 1 คอมพิวเตอรเบื้องตน จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหนักศึกษามีความสามารถดังตอไปนี้ 1. อธิบายวิธีการทํางานของคอมพิวเตอรได 2. บอกสวนประกอบของคอมพิวเตอรได 3. อธิบายเกี่ยวกับฮารดแวรและซอฟตแวรได 4. บอกลักษณะตัวเครื่องคอมพิวเตอรแบบตางๆได 5. บอกสวนประกอบภายในของเครื่องคอมพิวเตอรได

1. การทํางานของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อชวยใหทาํ งานไดเร็ว สะดวก และ แมนยํามากขึ้น การใชคอมพิวเตอรเพื่อใหทาํ งานอยางไดมป ี ระสิทธิภาพ ตองเรียนรู และเขาใจ สวน ประกอบ วิธีการทํางานของคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอรมข ี ั้นตอนการทํางานทีส ่ ําคัญ 4 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนที่ 1 การรับขอมูลและคําสั่ง คอมพิวเตอรรับขอมูลและคําสั่งผานอุปกรณนําเขาขอมูล คือ เมาส คียบอรด สแกนเนอร ไมโครโฟน ฯลฯ ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลหรือคิดคํานวณ ขอมูลทีค ่ อมพิวเตอรรับเขามา จะถูกประมวลผล โดยการทํางานของหนวยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit) ตามคําสั่งของโปรแกรม หรือซอฟตแวร การประมวลผลขอมูล เชน นําขอมูลมาบวก ลบ คูณ หาร ทําการเรียงลําดับขอมูล นํา ขอมูลมาจัดกลุม  นําขอมูลมาหาผลรวม เปนตน ขั้นตอนที่ 3 การแสดงผลลัพธ คอมพิวเตอรจะแสดงผลลัพธของขอมูลที่ปอน หรือแสดงผล จากการประมวลผล ทางจอภาพ (Monitor) เครื่องพิมพ (Printer) หรือลําโพง ขั้นตอนที่ 4 การเก็บขอมูล คอมพิวเตอรจะทําการเก็บผลลัพธจากการประมวลผลไวในหนวย เก็บขอมูล เชน จานบันทึกแบบแข็ง (hard disk) แผนบันทึกขอมูล (floppy disk) ซีดรี อม (CD-ROM) เพื่อใหสามารถนํามาใชใหมไดในอนาคต จากขั้นตอนการทํางานของคอมพิวเตอรขางตน สามารถเขียนเปนแผนภูมิอยางงายๆ ดังนี้ การประมวลผลหรือคิดคํานวณ

CPU Input การรับขอมูลและคําสั่ง

Control Unit

Arithmetic Logic Unit

Main Storage (Program / Data) การเก็บขอมูล

Output นําเสนอผลลัพธ

2

บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

2. สวนประกอบของคอมพิวเตอร การนําคอมพิวเตอรมาใชงาน จะมีสวนประกอบภายในตัวเครือ ่ งคอมพิวเตอร และอุปกรณเสริมตอ พวง ภายนอก ดังนี้

ตัวเครื่อง

โมเด็ม

จอภาพ

คียบอรด

เครื่องพิมพ

เมาส

สแกนเนอร

2.1 จอภาพ (Monitor) อาจเรียกทับศัพทวา มอนิเตอร (Monitor), สกรีน (Screen), ดิส เพลย (Display) ใชแสดงผลทั้งขอความ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว จอภาพในปจจุบัน สวนมากใชจอ แบบหลอดภาพ (CRT หรือ Cathode Ray Tube) และจอแบบผลึกเหลว (LCD หรือ Liquid Crystal Display) 2.2 ตัวเครือ ่ ง (Computer Case) เปนสวนที่เก็บอุปกรณหลักของคอมพิวเตอร เชน CPU, Disk Drive, Hard Disk ฯลฯ 2.3 คียบอรด (Keyboard) หรือแปนพิมพเปนอุปกรณที่ใชพิมพคําสั่ง หรือปอนขอมูลเขาสู คอมพิวเตอร คียบอรดมีลักษณะคลายแปนพิมพดีด แตจะมีปุมพิมพมากกวา 2.4 เมาส (Mouse) เปนอุปกรณที่ใชในการชีต ้ ําแหนงตางๆ บนจอภาพ ซึง่ จะเปนการสั่งให คอมพิวเตอรทาํ งาน เชนเดียวกับการปอนคําสั่งทางคียบอรด 2.5 เครื่องพิมพ (Printer) เปนอุปกรณแสดงผลขอมูลออกมาทางกระดาษ 2.6 สแกนเนอร (Scanner) เปนอุปกรณนาํ เขาขอมูล โดยเอารูปภาพหรือขอความมาสแกน แลวจัดเก็บไวเปนไฟลภาพ เพื่อนําไปใชงานตอไป 2.7 โมเด็ม (Modem) เปนอุปกรณที่ทาํ หนาที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอรใหสามารถสงไป ตามสายโทรศัพทได และแปลงขอมูลจากสายโทรศัพทใหเปนสัญญาณทีค ่ อมพิวเตอรสามารถรับรูได

3. ฮารดแวรและซอฟตแวร คอมพิวเตอร ประกอบดวยอุปกรณทส ี่ ําคัญ 2 สวน ไดแก ฮารดแวร ซอฟตแวร 3.1 ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง สวนที่ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอรทส ี่ ามารถ มองเห็นและสัมผัสได เชน ตัวเครื่อง จอภาพ คียบอรด รวมทั้งอุปกรณรอบขางตางๆ เชน เครื่องพิมพ สแกนเนอร โมเด็ม ฯลฯ

ไมโครโปรเซสเซอร หนวยความจํา อุปกรณเก็บขอมูล อุปกรณรับขอมูล

อุปกรณแสดงผลขอมูล

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

3

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

3.2 ซอฟตแวร (Software) หรืออาจเรียกวาโปรแกรม หมายถึง ชุดคําสั่งที่เขียนขึ้นโดย โปรแกรมเมอร เพื่อสั่งใหเครือ ่ งคอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรจะชวยในการแกปญหาจากตนจนจบ จะ ถูกอานจากหนวยบันทึกขอมูล ไปเก็บไวชวยคราวที่หนวยความจําแรม แลวถูกสงตอไปยังซีพียู เพือ ่ ควบคุมการประมวลผล และคํานวณ ซอฟตแวร แบงออกเปน 2 ประเภทคือ ิ าร (Operating System Software) เปนซอฟตแวรที่ (1) ซอฟตแวรระบบปฏิบัตก ควบคุมการทํางานทั้งหมดของฮารดแวร ซึง่ คอมพิวเตอรทุกเครื่องจะตองมีระบบปฏิบัตก ิ ารอยางใดอยาง หนึ่งเสมอ ระบบปฏิบัติการยอดนิยมในปจจุบน ั นี้ คือ Window Me , Windows XP, OS/2, Unix และ Linux ระบบปฏิบัติจะมีการพัฒนา และปรับปรุงใหมรี ุนใหมอยูเรื่อยๆ

หนาจอ WINDOWS

หนาจอ DOS (2) ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) หมายถึง ชุดคําสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อสั่งให เครื่องคอมพิวเตอรทํางานตางๆ ตามทีผ ่ ูใชตองการ ซอฟตแวรประยุกตจําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ • ซอฟตแวรสําหรับงานเฉพาะดาน (Special Purpose Software) จะมีความ เหมาะสมกับงานเฉพาะดาน เชน โปรแกรมสําหรับการซื้อขาย มีประโยชนกับรานคา หรือ โปรแกรมสําหรับฝากถอนเงิน ก็จะมีประโยชนกับองคกรเกี่ยวกับการเงิน เชน ธนาคาร • ซอฟตแวรสําหรับงานทัว ่ ไป (General purpose Software) เปนซอฟตแวรที่สามารถ นํามาประยุกตใชกับงานสวนตัวไดอยางหลากหลาย ทําใหไดรับความนิยมสูงสุดในปจจุบัน เชน Microsoft Word, Microsoft Excel, Microsoft PowerPoint, Photoshop และ Oracle เปนตน

โปรแกรม บัญชี

โปรแกรม Microsoft PowerPoint

โปรแกรม Photoshop

4. ตัวเครื่อง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร (Computer Case) หมายถึง รูปรางลักษณะทั่วๆ ไปของคอมพิวเตอร ตัวเครื่องจะทําหนาทีห ่ อหุมอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆ ของคอมพิวเตอร ปจจุบันตัวเครือ ่ งมีหลากหลาย รูปแบบ ขึ้นอยูก  ับการออกแบบของผูผลิต ซึง่ สามารถแบงออกไดเปน 4 ประเภท คือ 4.1 ตัวเครือ ่ งแบบแนวนอน (Desktop Case) เปนการวางตัวเครื่องแนวนอนบนโตะ แลวนํา จอภาพมาวางซอนไวบนโตะ 4.2 ตัวเครือ ่ งแบบแนวตั้ง (Tower Case) เปนการวางตัวเครื่องไวใน แนวตั้ง สามารถนํามาวางบนโตะ หรือบนพื้นก็ได แลววางจอภาพไวขางๆ ตัวเครื่อง ปจจุบันตัวเครื่องแบบนี้ไดรับความนิยมมาก เพราะมีขนาดเล็ก ไมกินเนื้อที่และ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

4

บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

เคลื่อนยายไดสะดวก 4.3 ตัวเครือ ่ งแบบรวมในชิ้นเดียว (All-In-One Case) เปนการวางเอาตัวเครือ ่ งและ อุปกรณทั้งหมด รวมเปนชิ้นเดียว คลายกับโทรทัศน ตัวเครือ ่ งแบบนี้สะดวกในการเคลื่อนยายกะทัดรัด แต ไมคอยไดรับความนิยม เพราะหากอุปกรณภายในชํารุดหรือเสียหาย การเปดตัวเครื่องเพื่อซอมทําไดไม สะดวก 4.4 คอมพิวเตอรแบบพกพา เปนคอมพิวเตอรที่สามารถพกพา หรือนําติดตัวไป ใชงานในทีต ่ างๆ ไดอยางสะดวก ตัวเครื่อง และอุปกรณถูกออกแบบใหมีความสามารถ ใกลเคียงกับเครื่องแบบอื่นๆ ตองมีขนาดเล็ก น้ําหนักตองเบา และสามารถใชงานไดระยะ เวลานาน แตมข ี อจํากัดคือ ราคาแพง และการเพิ่มเติมอุปกรณทําไดยาก คอมพิวเตอรแตละแบบ ตางมีขอดีและขอเสียในตัวเอง การเลือกใชงานขึ้นอยูกับ ความเหมาะสมและลักษณะงานของผูใช เชน หากตองเดินทางบอยๆ ก็ควรใชคอมพิวเตอรแบบพกพา เพื่อจะใชทํางานไดสะดวก แตก็มีขอดอยคือ ราคาแพงมากกวาคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ คียบอรด และ จอภาพมีขนาดเล็กกวา

5. สวนประกอบภายในเครื่อง ในตัวเครื่องคอมพิวเตอรจะมีชน ิ้ สวนภายในหลายชิ้น แตละชิน ้ ทําหนาที่เฉพาะอยาง

เมนบอรด หนวยความจําหลัก (RAM)

การดแสดงผล

หนวยความจําหลัก (ROM) หนวยประมวลผลกลาง (CPU)

เมนบอรด (Motherboard) เปนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสหลักของคอมพิวเตอรอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสทุกชิ้นของคอมพิวเตอร จะตองตอเชื่อมเขากับเมนบอรดนี้ หนวยประมวลผลกลาง (CPU-Central Processing Unit) เปนอุปกรณหลักของ คอมพิวเตอร ทําหนาทีค ่ ํานวณ ประมวลผล และควบคุมอุปกรณอื่นๆ ประกอบดวยหนวย ยอย 3 หนวย คือ หนวยความจําหลัก หนวยคณิตศาสตรและตรรกะ หรือหนวยคํานวณ และ หนวยควบคุม หนวยความจําแรม (RAM - Random Access Memory) เปนหนวยความจําหลัก ที่ใช พักขอมูลชั่วคราว ระหวางอุปกรณบันทึกขอมูลตางๆ กับหนวยประมวลผลกลาง เมื่อปด เครื่อง ขอมูลทีอ ่ ยูในแรมจะหายไป หนวยความจํารอม (ROM-Read Only Memory) เปนหนวยความจําถาวร ทีใ่ ชบันทึก ขอมูลของอุปกรณทต ี่ ิดตั้งบนเมนบอรด เชน ขนาดและประเภทของแผนบันทึกขอมูลแบบ แข็งที่ใช ขนาดของแรม หนวยประมวลผลทีใ่ ช การติดตั้งฟลอปปไดรฟ เปนตน และใชเก็บ คําสั่งที่มักใชบอ  ยๆ เชน คําสั่งเริ่มตนการทํางานของคอมพิวเตอร ขอมูลทีบ ่ ันทึกในรอม จะ ยังคงอยูแ  มจะปดเครื่อง มักจะเปนขอมูลที่มีการเปลีย ่ นแปลงนอยมาก โดยเฉพาะขอมูลที่ ใชในการเริ่มระบบ (Start Up) ขอมูลควบคุมการรับสงคําสั่งและขอมูล ตลอดจนการ แสดงผล ชองเสียบอุปกรณเพิ่มเติม (Expansion Slot) หรือเรียกกันทั่วไปวา "สลอต" ทําหนาที่ ใหการดขยาย เสียบเชื่อมตอสัญญาณระหวางการดขยายกับเมนบอรด

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

5

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

การดขยาย (Expansion Card) เปนอุปกรณคลายบัตร หรือการดขนาดใหญ จึงเรียกวา การดขยาย ทําหนาที่เฉพาะดาน เชน การดแสดงผล การดเสียง เปนตน จานบันทึกขอมูลแบบแข็ง (Hard Disk) เปนอุปกรณเก็บขอมูลหลักของเครื่อง คอมพิวเตอร มีความจุขอมูลมากกวาฟลอปปด  ิสก แผนบันทึกขอมูลแบบแข็งจะติดตั้งภายใน ตัวเครื่อง โดยปจจุบันมีความจุในระดับกิกะไบต และคาดวาจะมีความจุระดับเทราไบตใน อนาคตอันใกล เวลาใชงานคอมพิวเตอรจะเรียกโปรแกรมระบบทีส ่ ําคัญจากแผนบันทึก ขอมูลแบบแข็งลงไปในหนวย ความจําแรม

CD-ROM Drive

Floppy Drive Power Supply (ติดตั้งดานหลัง)

Hard Drive (ติดตั้งภายใน)

หนวยขับซีดร ี อม (CD-ROM Drive) เปนอุปกรณเลนแผนซีดีรอม โดยคอมพิวเตอร จะ อานขอมูลที่บันทึกในแผนซีดี และแสดงผลออกมาทางจอภาพ หนวยขับแผนบันทึกขอมูล (Floppy Drive) เปนชองสําหรับอานแผนบันทึกขอมูล ซึ่ง ปจจุบันมีขนาด 3.5 นิ้ว เครื่องคอมพิวเตอรสวนใหญยังจําเปนตองมีหนวยขับชนิดนี้อยูท  ั้ง เครื่อง พีซี โนตบุค หรือแมคอินทอช แตมีแนวโนมวาจะหมดยุคของหนวยขับแผนบันทึก ขอมูลในอีกไมกี่ป หมอแปลงไฟฟา (Power Supply) ติดตั้งอยูภายในเครื่องคอมพิวเตอรดานหลังทํา หนาทีแ ่ ปลงระดับแรง ดันไฟฟาที่ใชตามบานหรือไฟฟาทั่วไปใหเหมาะกับที่ใชใน คอมพิวเตอร

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

6

บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

ตอนที่ 2 อุปกรณรอบขางของคอมพิวเตอร จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหนักศึกษามีความสามารถดังตอไปนี้ 1. บอกลักษณะ และใชคียบอรดได 2. บอกลักษณะ และใชเมาสได 3. บอกลักษณะของจอภาพ และหนวยความจําของการดแสดงผลได 4. บอกลักษณะ และใชเครื่องพิมพได 5. บอกลักษณะของสแกนเนอรได 6. บอกลักษณะของโมเด็ม และการดเสียงได

1. แผงแปนอักขระ (Keyboard) แผงแปนอักขระ หรือคียบอรด เปนอุปกรณสําหรับนําเขาขอมูลชนิดหนึ่ง มีลักษณะเปน สี่เหลีย ่ มผืนผา คลายแปนพิมพของเครื่องพิมพดีด ขนาดไมใหญมาก บนแปนพิมพจะมีปุมตัวอักษร สัญลักษณ และอักขระตางๆ ตามมาตรฐานสากล ซึ่งจะมีปุมตางๆ ทั้งสิ้น 101 ปุม แตปจ  จุบันอาจเพิ่มปุม ั นาขึ้นมาใหมๆ พิเศษมากขึ้นอีก เพื่อสนับสนุนการใช งานโปรแกรมที่พฒ

แปน Escape

กลุมแปนฟงกชน ่ั แปน Backspace กลุมแปนสําหรับแกไขขอความ

แปน Enter ภายในแปนพิมพ จะมีประกอบดวยแปนพิมพที่สาํ คัญ

บนซายสุด

ดังนี้

แปน Escape ใชสําหรับยกเลิกคําสั่ง หรือออกจากโปรแกรมที่กําลังทํางานอยู มีจํานวน 1 แปน อยูท  ี่มม ุ

กลุมแปนฟงกชั่น (Function) อยูดานบนสุด มีทั้งหมด 12 ปุม ตั้งแต F1ถึง F12 ชวยอํานวยความสะดวกใน การทํางานดวย โปรแกรมตางๆ ใหทํางานไดเร็วขึ้น เชน กด F1 เปนการเรียกใชงานระบบความชวยเหลือ (Help) แปนแบ็กสเปซ (Backspace) ใชลบตัวอักษรที่อยูกอนเคอรเซอร ทีละหนึ่งตัว มี 1 ปุม อยูด  านบนถัดจากแปน F11,F12 ลงมา กลุมแปนสําหรับแกไขขอความ มีอยู 6 แปน ถัดจากแปน F12 ลงมา ประกอบดวยแปน Insert, Delete, Home, End, PageUp, PageDown ใชมากในโปรแกรมประเภทเวิรด  สําหรับแทรกขอความ ลบขอความ เลื่อนตําแหนง เคอร เซอรและตําแหนงของกระดาษ แปนเอ็นเทอร (Enter) มีอยู 2 แปน ทําหนาที่บอกใหคอมพิวเตอรเริ่มทําตามคําสั่งที่พิมพไว เชน โปรแกรม Internet Explorer พิมพชื่อเว็บไซตในชอง Address แลวตอง Enter คอมพิวเตอรจะติดตอไปยัง เว็บไซต ในโปรแกรมประมวลผลคํา (Word Processing) กด Enter หมายถึง การขึน ้ บรรทัดใหม ใน โปรแกรมตารางคํานวณอิเล็กทรอนิกส (Spreadsheet) กด Enter หมายถึง ปอนขอมูลเขาไปในเซลล เรียบรอยแลว แปนคอนโทรล (Control-Ctrl) และแปน อัลเทอรเน็ต (Alternate-Alt) มีอยูอยางละ 2 ปุม ทางซายและขวามือ ทําหนาที่รว มกับแปนอื่น เพื่อใหเกิดคําสั่งพิเศษเพิ่มขึ้น มาก เชน Ctrl+แปน S หมายถึง การบันทึกขอมูล, Ctrl+Alt+Del หมายถึง เปดหนาตาง Task Manager เพื่อดูสภาวะการทํางานของโปรแกรมที่กําลังใชงาน เปนตน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

7

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

กลุมแปนนัมเบอร (Numberic Keypad) อยูทางขวาของแปนพิมพ มี 2 สถานะคือ ตัวเลข 0-9 และคียลูกศร ถาอยูในสวานะที่ปุม Num Lock มีติดอยู แสดงวาแปนชุดนี้เปนตัวเลข หรือถาไฟของปุม Num Lock ดับ แสดงวาแปนชุดนี้เปนคีย ลูกศร กลุมแปนเลื่อนเคอรเซอร ใชเลื่อนเคอรเซอรไปยังตําแหนงตางๆ บนจอภาพ แปนสเปซบาร (Spacebar) ่ าวที่สด ุ ของแปนพิมพ อยูดานลางสุด ทําหนาที่พม ิ พตัวอักษรที่เปน มี 1 แปน เปนแปนทีย ชองวาง ครั้งละ 1 ตัวอักษร แปนชิฟต (Shift) มีอยู 2 แปน ซาย-ขวา ทําหนาทีค ่ อยเรียกใชงานตัวอักษรอีกชุดหนึ่ง ที่อยูดา นบนของ แปนพิมพ เหมือนกับการยกแครของแปนพิมพดีด แปน Caps Lock มีหนาทีท ่ ําใหคียบอรดอยูใ นสภาวะ เรียกใชงาน อยูเหนือปุมชิฟต (Shift) ทางซาย ตัวอักษรชุดที่อยูดานบนของแปนพิมพตลอดเวลา ไฟแสดงสถานะ เปนไฟเล็กๆ ทางขวามือดานบนสุดของแปนพิมพ ใชแสดงสถานะของการใชงานปุม  Num Lock, Caps Lock และ Scroll Lock กลุมแปนพิมพอก ั ขระ มีจํานวน 47 แปน เปนแปนกลุมใหญของแปนพิมพ อยูตรงกลาง มีทั้งภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ ตําแหนงคลายกับพิมพดีดทั่วไป แปนพิมพเปนอุปกรณนําเขาขอมูลที่ใชงานมากที่สด ุ เปนอุปกรณหลักในการปอนขอมูล ดังนั้น เราตองใชงานใหคลอง โดยเฉพาะผูที่เคยเรียนพิมพดีดมาจะใชงานคอมพิวเตอรไดคลองกวาผูท  ี่ไมเคย เรียนพิมพดด ี มากอน อยางไรก็ตาม ผูใ ชคอมพิวเตอรทุกคนควรจะหัดพิมพสัมผัสใหคลอง และเรียนรูการ ใชงานแปนพิมพพิเศษตางๆ ตามที่โปรแกรมกําหนดและหมั่นใชงานบอยๆ ก็จะสามารถพิมพคอมพิวเตอร ไดคลองมือและสนุกสนาน ปจจุบัน มีความตองการคียบอรดที่สะดวกตอการพกพา ทํา ใหเกิดนวัตกรรมใหม คือคียบอรดแบบพับได ซึ่งทําไดสารพลาสติกที่ มีการใสวงจรภายใน ที่สามารถพับมวนไดสะดวก อีกทั้งไดมีการออกแบบคียบอรดใหมีรูปทรงตางๆเพื่อความสะดวก เหมาะสมกับการใชงาน และมี  และครบสกปรก ความสวยงามนาใช ในการดูแลรักษา ควรทําความสะอาดดวยน้ํายาทําความสะอาดฝุน ตางๆพรอมทั้งใชผาคลุมทุกครัง้ หลังเลิกใชงาน

2. เมาส (Mouse) เมาส เปนอุปกรณนําเขาขอมูลเชนเดียวกับคียบอรด ทําหนาที่เลื่อนเคอรเซอร หรือสัญลักษณตัว ชี้เมาส (Mouse Pointer) ทีป ่ รากฏบนจอภาพ การเลือกคําสั่งโดยใชเมาสจะใหความสะดวกกวาการใช คียบอรด โดยเฉพาะในโปรแกรม ประเภท Windows สามารถใชงานไดงายๆ ดวยการขยับเมาสเพียง เล็กนอย หนาที่ของเมาส โดยสรุปมีดังนี้ 1. เลือกคําสั่งบนเมนู 2. ใชเลื่อนสัญรูป (Icon) 3. ปรับเปลี่ยนขนาดของวินโดวหรือหนาตาง 4. เริ่มตนใชงานโปรแกรม 5. เลือกออปชันตาง ๆ

เมาสแบบสองปุม

เมาสแบบมีลอหมุน

เมาสแบบมีลูกกลิ้ง (ดานลาง)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

Optical เมาส

8

บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

เมาสมีรูปรางหลากหลายรูปแบบ มีสส ี ันตางๆ กันไปตามการออกแบบของผูผลิต สวนประกอบที่ สําคัญของเมาส ภายในจะมีลก ู กลิ้งกลมสําหรับหมุนเพื่อเลื่อนตัวชี้เมาสไปมา เมาสรุนใหมในปจจุบันเปน เมาสแบบใชแสง (Optical) ทํางานโดยการวัดตําแหนงของแสงที่สะทอนกลับมา นอกจากนี้เมาสรุนใหม ยังมีลอหมุนตรงกลางระหวางปุมซายขวา ในบางโปรแกรม เชน Microsoft Word หรือ Internet Explorer ลอหมุนจะทําหนาที่เปนปุมคําสั่งเพื่อเลื่อนภาพขึ้นหรือลง การใชเมาสที่ถก ู ตอง ควรจับเมาสดวยนิ้วโปงและนิ้วนาง นิ้วชี้จะอยูที่ปุมดานซาย สวนนิ้วกลาง วางที่ปุมขวา อุง มือสําหรับบังคับใหเลื่อนเมาสไปมา เมื่อเราเลื่อนเมาส ตัวชี้เมาสบนจอภาพจะเลื่อนไปมา แสดงวาเมาสกําลังทํางานตามปกติ การใชเมาสมล ี ก ั ษณะดังนี้ 1. การเลื่อนตัวชี้เมาส คือ การขยับเมาสไปมา เพื่อเลื่อนตัวชี้เมาสไปยังตําแหนงทีต ่ องการ 2. การคลิก (Click) คือ การกดปุมซายของเมาสหนึ่งครึ่ง การคลิกมีจุดมุงหมายเพื่อเลือก คําสั่งหรือเลือกสวนตางๆ ที่ปรากฏบนจอภาพ 3. การดับเบิลคลิก (Double Click) คือ การกดปุมซายบนเมาสติดกัน 2 ครั้งอยางรวดเร็ว เพื่อเปดโปรแกรมขึ้นมา การดับเบิลคลิกมีคา เทากับการกดคีย Enter 4. การลากแลวปลอย (Drag and Drop) คือ การเลื่อนตัวชี้เมาสไปชีท ้ ี่สว นใดสวนหนึ่งของ ไอคอน ขอความ หรือภาพทีต ่ องการ แลวกดปุมซายของเมาสคางไว จากนั้นขยับเมาสเพื่อเลื่อนตัวชี้ เมาส ไปยังตําแหนงทีต ่ องการบนจอภาพ แลวจึงปลอยปุม  ซายเมาส 5. การคลิกเมาสปุมขวา (Right Click) คือ การคลิกทีป ่ ุมขวาของเมาสหนึ่งครั้ง ใชเพื่อเปด เมนูยอยขึ้นมา นิยมใชในการเปด โปรแกรม Windows 6. การเลือ ่ นลอหมุน (Wheeling) คือ การขยับลอที่อยูกลางเมาส ระหวางปุมซายและขวาให เลื่อนไปมา ใชเพื่อเลื่อนภาพทีป ่ รากฏบนจอใหขึ้นหรือลง

คลิก

คลิก...คลิก

คลิกแลวลาก

คลิกขวา

การใชเมาส ควรจะใชแผนรองเมาส (Mouse Pad) ที่มีพน ื้ ผิวเรียบ และสะอาด เพื่อใหลูกกลิ้ง เลื่อนไปมาได เมาสแบบลูกกลิ้ง ควรจะถอดมาทําความสะอาดบอยๆ เพื่อใหลูกกลิ้งขยับเลื่อนไปมาได สะดวก หรือหากใชเมาสแบบแสง แผนรองเมาส ไมควรจะเปนภาพที่มล ี วดลาย หรือมีสส ี ันตัดกันมากๆ เพราะแตละสีจะมีคาของแสงสะทอนไมเทากัน ซึ่งจะเปนผลใหขยับตัวชีเ้ มาสไปยังตําแหนงทีต ่ องการได ยาก

3. จอภาพและการดแสดงผล (Monitor and Video Card) 3.1 จอภาพ (Monitor) เปนอุปกรณแสดงขอมูลผลลัพธ (Output) มีรูปรางลักษณะคลายเครือ ่ งรับโทรทัศน สามารถแสดง ผลไดทั้งตัวหนังสือ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ขางในมีแผงวงจร อิเล็กทรอนิกส และหลอดภาพคลายโทรทัศน

หนาจอ

ในอดีตจอภาพมีหลายแบบตั้งแตชนิด Monochrome (จอเขียวหรือจอขาวดํา) CGA (Color Graphics Adapter 4 สี) EGA (Enhanced Graphics Adapter 16 สี) และ VGA (Video Graphics Array 256 สี) ในปจจุบันเราใชจอภาพแสดงผลแบบ Super VGA (Video Graphics Array) เปน มาตรฐานหลักในการแสดงผลบนเครื่องพีซี มีดังนี้

3.1.1 ลักษณะของจอภาพดานประสิทธิภาพ

จอภาพสีเดียว (Monochrome) เปนจอภาพทีใ่ ชกันทั่วไปในสมัยกอน แตปจจุบันใชเฉพาะ ในบางที่เชน เครื่องคิดเงินในรานคา หรือตู ATM ของบางธนาคาร เปนตน มีลักษณะการแสดงผลเปนสี เดียวเชน สีขาว สีเขียว หรือสีสม และแสดงไดเฉพาะตัวอักษรเทานั้น

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

9

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

จอภาพแบบ VGA (Video Graphics Array) มีความละเอียดของพิกเซล 640x480 จุด เหมาะสําหรับการใชงานทัว่ ๆ ไป มีขนาดของจอภาพ 14 หรือ 15 นิ้ว โดยวัดระยะจากมุมหนึ่งไปยังอีกมุม หนึ่งในแนวทแยงบนจอภาพ จอภาพแบบ SVGA (Super Video Graphics Array) จะมีความละเอียดของพิกเซล 800x600 จุด เหมาะสําหรับใชในงานธุรกิจ หรือตามสํานักงานทั่วๆ ไป ขนาดที่นย ิ มคือ 14 หรือ 15 นิ้ว สวนจอที่มีความละเอียดของ พิกเซล 1,280x1,024 จุด เหมาะสําหรับใชในงานออกแบบกราฟกตาง ๆ มีดังนี้

3.1.2 ลักษณะของจอภาพดานสถาปตยกรรมทางฮารดแวร

• จอภาพ CRT (Cathode-Ray tube) เปนจอภาพที่ใชเทคโนโลยีหลอดภาพแบบ CRT มีหลักการทํางานคลายเครื่องรับโทรทัศน ซึ่งจอภาพในปจจุบันจะมีใหเลือกอยู 2 แบบ ไดแก จอภาพแบบธรรมดา หรือ Shadow Mask เปนจอภาพที่ใชหลอดภาพแบบ CRT ธรรมดา มีราคาถูกทีส ่ ด ุ และมีการใชงานกันมากในปจจุบัน พื้นผิว หนาจอสวนใหญจะเปนแบบทีม ่ ีความโคง แตก็จะมีแบบทีท ่ ําการลดสวนโคง ของพื้นผิวหนาจอใหเกือบแบนเรียบดวย ที่เรียกวา แบบ Flat Square (FST) ซึ่งเปนแบบที่นย ิ มใชในปจจุบน ั จอภาพแบบไตรนิตรอน (Trinitron) เปนจอภาพที่ใชหลอดภาพ CRT แบบ Trinitron ที่พัฒนาโดยบริษท ั Sony มีคุณสมบัติพเิ ศษกวาหลอดภาพ แบบ CRT ธรรมดาก็คือ ภาพที่แสดงจะมีความสวางสีสันสดใสสมจริงมากกวา และชวยถนอมสายตาในการใชงานนานๆ จอ Trinitron ซึ่งปจจุบันนี้แทบจะ ถูกแทนทีด ่ วยแบบใหมเรียกวา Flat Display Trinitron (FD Trinitron) ซึ่งก็ ใชหลอดภาพ Trinitron เชนกันแตหนาจอจะมีลักษณะแบนราบ ไมหลอก สายตา • จอภาพแบบแบน (LCD; Liquid Crystal Display) จอภาพผลึกเหลวใชงานกับ คอมพิวเตอรประเภทพกพาเปนสวนใหญ เปนแบงไดเปน Active matrix จอภาพสีสดใสมองเห็นจากหลายมุม เนื่องจากใหความสวาง และสีสันในอัตราทีส ่ ูง มีชื่อเรียกอีกชื่อวา TFT – Thin Film Transistor และ เนื่องจากคุณสมบัติดังกลาว ทําใหราคาของจอประเภทนีส ้ ูงดวย Passive matrix color จอภาพสีคอนขางแหง เนื่องจากมีความสวางนอย และสีสันไมมากนัก ทําใหไมสามารถมองจากมุมมองอื่นได นอกจากมองจาก มุมตรง เรียกอีกชื่อไดวา DSTN – Double Super Twisted Nematic จอภาพที่นิยมใชในปจจุบัน เปนจอแบบ SVGA ขนาด 15 นิ้ว และกําลังจะกลายเปน 17 นิ้ว เนื่องจากมีราคาที่ถูกลง โดยสามารถแสดงความละเอียดของภาพ ไดสูงสุดขนาด 1,280x1,024 พิกเซล ความสามารถแสดงผลพิกเซลบนจอภาพ จํานวนมากในขนาดของจอภาพที่เทาเดิม จะทําใหไดความ ละเอียดของภาพที่มากขึ้น ภาพมีความคมชัด ดูสวยงามขึ้น สามารถแสดงภาพหรือตัวหนังสือในขนาดที่ เล็กมาก โดยยังคงความละเอียด และคมชัด จอภาพในปจจุบันจะเนนเรื่องความปลอดภัยตอผูใชจากการแผรังสี เพราะหากเปนจอรุนเกา รังสี สนามแมเหล็กไฟฟา ที่แผออกมาจากจออาจเปนอันตรายตอสายตาได ผูใชจึงควรหาแผนกรองแสงมาติด ไวที่จอภาพก็จะชวยไดและปจจุบัน จอภาพที่ใชจะมีคุณสมบัติประหยัดพลังงาน ถึงเราจะเปดทิ้งไวเปน เวลานานโดยไมไดใชงานก็จะไมสิ้นเปลืองพลังงานมาก นอกจากนี้ในโปรแกรมวินโดวสยังมีสกรีนเซฟ เวอรชวยในการถนอมจอภาพดวย

จอแบบ VGA

จอแบบ SVGA

จอแบบ LCD

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

10

บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

3.2 การดแสดงผล (Video Card) หรือ Video Adapter บางครัง้ เรียกวา Graphics Board เปนอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสตัวหนึ่งที่เสียบเขาไปในเมนบอรด ทําหนาที่นําขอมูลจากการ ประมวลผลของซีพียู มาประมวลจากดิจิตอลเปนอนาล็อก แลวสงไปยังวงจร ควบคุมสี (RGB Circuit) ที่จอภาพ เพื่อใหปรากฏเปนภาพบนหนาจอ ภายในการดแสดงผลนั้นจะมีหนวยความจํา ซึ่งจะทําหนาทีเ่ ก็บขอมูล ไวชั่วคราวกอนที่จะสงผลลัพธไปยังจอภาพ หนวยความจําของการดแสดงผล ในปจจุบันมีขนาดถึง 64 MB หนวยความจําของการดแสดงผลแบงออกเปน 2 แบบ คือ 1. ดีแรม (Dynamic Random Access Memory – DRAM) ความสามารถในการรับ–สง ขอมูลคอนขางต่ํา ราคาไมสูงนัก ปกติการดแสดงผลที่ใชงานอยูทั่วไปมักใชหนวยความจําประเภทนี้ 2. วีแรม (Video Random Access Memory – VRAM) มีความสามารถในการรับ–สง ขอมูลสูง ใชในงานกราฟก หรืองานที่ตองการภาพสวยงาม นอกจากนี้ยังมีหนวยความจําของการดแสดงผลอีก 2 ประเภท แตไมนิยมใชมากนัก คือ EDO RAM (Extended Data Out RAM) WRAM (Window RAM)

4. เครื่องพิมพ (Printer) เครื่องพิมพ หรือที่เรียกกันทั่วไปวา พรินเตอร (Printer) เปนอุปกรณแสดงผล (Output Device) โดยพิมพขอความออกมาทางกระดาษ แผนใส หรือโปสเตอร สามารถพิมพไดทั้งขาวดําและสี งานที่พิมพดวยเครื่องพิมพสามารถนําไปใชงานไดหลากหลายประเภท เชน รายงานจดหมาย การทําอารตเวิรก  ใบเสร็จ ฯลฯ การที่เราจะใชเครื่องพิมพนั้น สิ่งทีจ ่ ําเปนจะตองรู มีดังนี้ 1. ความเร็วในการพิมพ (Speed) การดูวาเครื่องพิมพนั้นๆ พิมพไดเร็วหรือชา ดูจากอัตรา ความเร็วในการพิมพ จํานวนหนาตอนาที ที่เรียกวา ppm (page per minute) หรือจํานวนตัวอักษรใน หนึ่งวินาที ที่เรียกวา cps (characters per second) เชน เครื่องพิมพ EPson Stylus Color 850 10.0 ppm for black หมายความวา ความเร็วในการพิมพขาวดําไดสูงสุด 10 หนาตอนาที 2. ความละเอียดในการพิมพ (Resolution) เปนการบอกคุณภาพของเครื่องพิมพวา สามารถพิมพงานไดละเอียดมากหรือนอยโดยจะวัดเปนจํานวนจุดที่พิมพในหนึ่งนิ้วที่เรียกวา dpi (dots per inches) เพราะตัวหนังสอหรือภาพที่พิมพอกมานั้นเกิดมาจากจุดเล็กๆ นับพันนับหมื่นจุด มาประกอบ กันขึ้นเปนตัวอักษรหรือภาพ ดังนั้น หากจํานวน dpi มากแสดงวาเครื่องพิมพนั้นพิมพงานไดละเอียดมาก เชน เครื่อง Canon BJC – 6000 Resolution 1440 x dpi black แสดงวา เครื่องพิมพรุนนี้พิมพงาน ขาวดําไดละเอียด 1440 x 720 จุดตอนิ้ว เปนตน เครื่องพิมพที่นย ิ มใชกันอยูทวั่ ไป แบงเปน 3 ประเภทหลักๆ คือ 4.1 เครื่องพิมพแบบกระแทก (Dot – Matrix Printer) ใชระบบหัว เข็มกระแทกบนผาหมึกใหมรี อยหมึกบนกระดาษ โดยทีห ่ ัวพิมพจะมีชด ุ เข็มเรียงกัน เปนชุด เพื่อกระแทกผาหมึกใหหมึกติดลงบนกระดาษทีละจุดเรียงกันเปนตัวอักษร ดังนั้น เวลาพิมพจะมีเสียงกระแทกหัวเข็มดังพอสมควร งานที่ไดมค ี ุณภาพปานกลาง แตไดรับความนิยมอยางกวางขวาง เพราะราคาไมแพง จุดเดนของเครือ ่ งพิมพชนิดหัวเข็มอีกอยางหนึ่งคือ สามารถพิมพกระดาษซอนกันหลายๆ แผนที่ มีหมึกก็อปปได เหมาะทีจ ่ ะใชตามหางราน หรือบริษท ั ที่พิมพใบเสร็จหรือใบบิลแกลูกคา ความเร็วในการพิมพ โดยทั่วไปพิมพได 25 ถึง 450 cps (character per second) หรือตัวอักษร ตอวินาที สวนความละเอียดในการพิมพขึ้นอยูกับชุดหัวพิมพ ถาหัวพิมพ 9 เข็ม งานจะออกมาคอนขาง หยาบ แตถามีหัวพิมพถึง 24 เข็ม งานจะออกมาละเอียดกวา หมึกที่ใชพิมพสําหรับเครื่องพิมพแบบจุดจะเปนผาหมึก โดยผาหมึกในตลับจะถูกเลื่อนไปเรื่อยๆ จนหมดมวน จึงเปลี่ยนใหม กระดาษที่ใชกบ ั เครื่องพิมพแบบนี้ใชไดทั้งกระดาษทีส ่ อดทีละแผน และกระดาษตอเนื่อง ที่ยาว ติดตอกัน โดยมีความกวางขนาด A4 หรือใหญกวาก็ได 4.2 เครื่องพิมพแบบฉีดหมึก (Ink Jet Printer) เปนเครื่องทีใ่ ชวธ ิ ีการฉีดพนหมึกเขาไป เปนจุดๆ บนกระดาษ สามารถพิมพสีหรือขาวดําได คุณภาพของงานพิมพสวยงามกวาเครือ ่ งพิมพแบบจุด นิยมใชในงานตามโรงพิมพทั่วไป

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

11

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

เครื่องพิมพฉีดหมึก

ตลับหมึก

ความเร็วในการพิมพ ถาเปนพิมพสีดาํ จะมีความเร็วปานกลางคือ ตั้งแต 1–10 ppm (page per minute) แตถาเปนพิมพสี ความเร็วจะลดลงอยูที่ 1–6 ppm แลวแตประสิทธิภาพของแตละรุน ความละเอียดของงานที่ได ปจจุบันเครื่องพิมพแบบฉีดหมึกไดรับพัฒนาการความละเอียดมากขึ้น บางรุนสามารถทําไดมากถึง 1440x720 dpi แตสวนใหญจะมีความละเอียดอยูที่ 720 x 360 dpi หมึกพิมพที่นย ิ มใชกันทั่วไปจะเก็บในตลับหมึก เมื่อใชหมดแลวจะเปลีย ่ นตลับใหม ขอควรระวัง ของเครื่องพิมพแบบนี้ก็คือ หมึกจะแหงชา ทําใหเลอะกระดาษ จึงควรเลือกใชหมึกประเภทแหงเร็ว กระดาษที่ใชพม ิ พทั่วไป จะใชขนาด A4 หรือ 8.5x11 นิ้ว บางรุนอาจใชกระดาษใหญกวานี้ได สีทส ี่ ามารถจะเปนแมสห ี ลัก คือ ฟา แดง เหลือง และดํา 4.3 เครื่องพิมพเลเซอร (Laser Printer) เปนเครื่องพิมพแบบจุดและแบบฉีดหมึก สามารถ พิมพไดเร็วและความคมชัดของงานดีมาก จึงไดรับความนิยมนํามาใชงานในสํานักงานทั่วไป อยางไรก็ ตามเครื่องพิมพเลเซอร ยังมีราคาสูงกวาเครื่องพิมพแบบจุดและแบบฉีดหมึก จึงไมเหมาะที่จะนํามาใช สวนตัวเพราะไมคุมคา

เครื่องพิมพเลเซอร

โทนเนอร

ความเร็วในการพิมพ เครื่องพิมพเลเซอรสามารถพิมพไดเร็วตั้งแต 4 ถึง 20 หนาตอนาที (ppm) ขึ้นไป สวนความละเอียดมีตั้งแต 300-1200 dpi จึงทําใหผลงานพิมพคมชัดมากเหมาะสําหรับนํามาใช งานกราฟก ออกแบบสถาปตยกรรม และทําสิง่ พิมพตามโรงพิมพ หมึกพิมพของเครื่องพิมพเลเซอรจะเก็บในตลับที่เรียกวา “โทนเนอร” ภายในเปนผงหมึก เชนเดียวกับหมึกของเครื่องถายเอกสาร เมื่อหมึกหมด ถาไมเปลี่ยนตลับใหมสามารถเติมหมึกใหมได แต คุณภาพอาจจะไมดีเทาของใหม กระดาษที่ใชโดยปกติจะใชขนาด 8.5x11 นิ้ว (A4) แตกส ็ ามารถใชกระดาษขนาดใหญหรือเล็ก กวานี้ได เครื่องพิมพเลเซอรสวนใหญนย ิ มพิมพขาว–ดํา แตบางรุนก็สามารถพิมพสีไดซึ่งก็จะมีราคาสูงกวา เครื่องพิมพขาว–ดําทัว่ ไปมาก ในการใชเครื่องพิมพนั้น สิ่งที่เราควรทราบมีดังนี้

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

12

บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

5. สแกนเนอร (Scanner) สแกนเนอร (Scanner) เปนอุปกรณนําเขาขอมูลประเภทที่ไมสะดวกในการปอนเขาเครื่อง คอมพิวเตอรทางคียบอรดได เชน ภาพโลโก วิวทิวทัศน ภาพถายรูปคน สัตว ฯลฯ เราสามารถใชสแกนเนอรสแกนภาพเขาเก็บไวในเครื่อง เพื่อนําภาพมาแกไขสี รูปราง ตัดแตง และนําภาพไปประกอบงานพิมพอื่นๆได สแกนเนอรภาพนิ่ง เปนสแกนเนอรที่เก็บภาพนิ่ง และสแกนขอความประเภท Text จากเอกสาร โดยไมตองพิมพใหมได ประเภทของสแกนเนอร สแกนเนอรแบงเปน 3 ประเภทหลักๆ คือ

5.1 สแกนเนอรมือถือ (Hand-Held Scanner) มีขนาดเล็ก ราคาไมแพงนัก เก็บภาพขนาดเล็กๆซึ่งไมตองการความละเอียดมากนักได เชน โล โก ลายเซ็น เปนตน

5.2 สแกนเนอรดึงกระดาษ (Sheet-Feed Scanner) เปนสแกนเนอรที่ใหญกวาสแกนเนอรมือถือ ใชหลักการดึงกระดาษขึ้นมาสแกนทีละแผน แตมี ขอจํากัดคือ ถาตองการแสดงภาพจากหนังสือที่เปนรูปเลมตองฉีกกระดาษออกมาทีละแผนทําใหไม สะดวกในการสแกน คุณภาพทีไ ่ ดจากสแกนเนอรประเภทนี้อยูใ นระดับปานกลาง

5.3 สแกนเนอรแทนเรียบ ( Flatbed Scanner) เปนสแกนเนอรที่มีกระจกใสไวสําหรับวางภาพที่จะสแกน เหมือนเครื่องถายเอกสาร คุณภาพของ งานสแกนประเภทนีจ ้ ะดีกวาสแกนเนอรแบบมือถือ หรือสแกนเนอรแบบดึงกระดาษ แตราคาสูงกวาเชนกัน

สแกนเนอรมือถือ

สแกนเนอรดึงกระดาษ

สแกนเนอรแทนเรียบ

การเลือกใชสแกนเนอร มีขอควรพิจารณา ดังนี้ 1. ความละเอียดของงานสแกน ความละเอียดของภาพมีหนวยวัดเปนจุดตอนิ้ว (dpi = dot per inches) สแกนเนอรที่มีคุณภาพดีสามารถสแกนไดละเอียดมากถึง 1200 dpi โดยปกติการใชสแกนเนอร ธรรมดาจะใชความละเอียดเพียง 300 dpi ก็พอ ไมจําเปนตองใหความละเอียดมาก เพราะจะทําใหใชเวลา ในการสแกนมาก 2. การสแกนสี การสแกนเฉดเทา (Grayscale Scanner) จะสแกนภาพออกมาเปนสีเทา ปจจุบัน ไมนิยมใชงานแลว แตนย ิ มใชสแกนเนอรสี (Color Scanner) ซึ่งเหมาะสําหรับการสแกนภาพถายและภาพ จากสิ่งพิมพตางๆ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

13

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

6. โมเด็ม (Modem) โมเด็ม (Modulator and Demodulator) เปนอุปกรณรอบขางสําหรับตอพวงกับคอมพิวเตอร ทํา หนาที่เชื่อมตอกับคอมพิวเตอรที่อยูหางกันมากๆ โดยอาศัยเครือขายของโทรศัพทเขามาชวยในการ สื่อสารรับ-สงขอมูล ความเร็วของโมเด็มมีหนวยเปน บิตตอวินาที (bit per second : bps) หมายความวา ในหนึ่ง วินาที จะมีขอมูลถูกสงออกหรือรับเขามาจํานวนกี่บิต เชน โมเด็มที่มค ี วามเร็ว 56 Kpbs จะสามารถ รับ-สง ขอมูลได 56 กิโลบิตในหนึ่งวินาที

โมเด็มภายใน

โมเด็มภายนอก

โมเด็มทีใ่ ชงานตามบานในปจจุบัน สามารถแบงไดตามลักษณะการติดตั้งใชงาน และตาม ลักษณะของสัญญาณ ดังนีค ้ อ ื โมเด็มตามลักษณะการติดตั้งใชงาน มี 2 ประเภท คือ โมเด็มที่ตด ิ ตัง ้ ภายในเครือ ่ งคอมพิวเตอร (Internal Modem) ซึ่งจะติดตั้งมากับ เครื่องคอมพิวเตอร ราคาไมแพง แตไมสะดวกในการเคลื่อนยาย โมเด็มที่ตด ิ ตัง ้ ภายนอก (External Modem) จะเปนกลองสี่เหลีย ่ มมีสายตอเขากับ CPU นิยมใชมากเพราะเคลื่อนยายสะดวก ติดตั้งงาย และคุณภาพดีพอสมควร โมเด็มตามลักษณะของสัญญาณ มี 2 ประเภท คือ โมเด็มแบบสัญญาณเสียง (Voice Modem) เปนโมเด็มรูปแบบเดิมที่ใชงานโดยทัว่ ไป โมเด็มจะทําหนาที่แปลงสัญญาณดิจท ิ ัล (Digital) ที่ออกจากเครื่องคอมพิวเตอรแปลงให เปนสัญญาณอนาล็อก (Analog) เพื่อสงไปตามสายโทรศัพท และเมื่อถึงปลายทางโมเด็มที่ ปลายทาง ก็จะแปลงกลับจากสัญญาณอนาล็อกเปนสัญญาณดิจิทล ั โมเด็มประเภทนี้ มี ความเร็วสูงสุดในการสงสัญญาณอยูที่ 56 Kbps

โมเด็มแบบสัญญาณดิจิตอล หรือโมเด็มเอดีเอสแอล (ADSL Modem, ADSL = Asymmetric Digital Subscriber Line) เปนโมเด็มที่เปนเทคโนโลยีใหม ที่ใชกับ

ระบบเครือขายโทรศัพทดิจต ิ อลความเร็วสูง หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปวาอินเทอรเน็ตความเร็ว สูง โมเด็มประเภทนี้จะสงสัญญาณดิจท ิ ล ั ไปตามสายโทรศัพทไดโดยไมตองแปลงเปน สัญญาณอนาล็อกกอน ความเร็วในการรับสัญญาณ (Download) กับความเร็วในการสง สัญญาณ (Upload) ของโมเด็มประเภทนีจ ้ ะไมเทากัน โดยความเร็วในการรับสัญญาณ จะ มากกวาความเร็วในการสงสัญญาณ โดยความเร็วในการรับสัญญาณอยูที่ 128 kbps ถึง 2 Mbps ซึ่งเร็วกวาโมเด็มแบบเดิม 2 - 8 เทา การเลือกใชงานโมเด็ม มีขอพิจารณา ดังนี้ 1. ประเภทของระบบโทรศัพทที่เชื่อมตอ ถาเปนการตออินเทอรเน็ตโดยใชระบบโทรศัพทในรูป แบบเดิม จะตองเลือกใชโมเด็มแบบสัญญาณเสียง ซึ่งมีความเร็วอยูที่ 56 Kbps แตถา เปนระบบ โทรศัพททส ี่ ามารถใชสัญญาณ ADSL ได ก็จะสามารถใชโมเด็มแบบ ADSL ได โดยจะตองเลือกใช โมเด็มที่มค ี วามเร็วในอัตราเดียวกับที่เชาใชบริการ ADSL เชน ถาเชาใชบริการ ADSL ที่ความเร็วในการรับ สัญญาณที่ 128 Kbps ก็จะตองเลือกใชโมเด็มทีส ่ ามารถรับสัญญาณไดไมนอยกวา 128 Kbps 2. ความประหยัดเวลา และคาใชจาย โมเด็มในรูปแบบเดิม จะเสียคาบริการติดตอผานคู สายโทรศัพทตามระยะเวลาที่ใช เชน หากติดตอใชบริการอินเทอรเน็ตจากศูนยบริการทองถิ่น ก็จะเสีย คาบริการคิดอัตราเปนครั้งละ แตถา ติดตอไปยังศูนยบริการในจังหวัดอื่น ก็จะเสียคาบริการเปนนาที สวน การใชโมเด็ม ADSL จะเสียคาบริการในอัตราเหมาจายเปนรายเดือน สามารถใชบริการไดตลอด 24 ชม. ทุกวัน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

14

บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

7. การดเสียง (Sound Card) ปจจุบันการดเสียงเปนอุปกรณที่พัฒนาไปมาก ทําใหคอมพิวเตอรสามารถแสดงเสียงไดเหมือน เครื่องเสียง การดเสียงมีชื่อเรียกหลายชื่อ บางทีเรียก ซาวดการด (Sound Card) ซาวดบอรด (Sound Board) หรือออรดิโอซาวด (Audio Sound) อุปกรณที่เกี่ยวของกับการดเสียง คือ ลําโพงหรือหูฟง โดยปกติคอมพิวเตอรจะมีลําโพงเล็กๆ ติด  มีลําโพงขางนอกแถมมาใหดวย ไวขางในมาพรอมกับเครื่อง แตปจจุบันจะมีลําโพงขนาดใหญขึ้น บางรุน นอกจากนั้น การดเสียงสามารถจะติดตั้งไมโครโฟน สําหรับบันทึกเสียงเก็บเปนไฟลเอาไวไดดวย

การเลือกใชการดเสียง ควรคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ 1. คุณภาพของเสียง การจะดูวาการดเสียงใหคุณภาพของเสียงดีหรือไม แคไหนใหดูจาก Sampling Size และ Sampling Rate การดเสียงที่มีขนาดพอใชงานไดควรจะมี Sampling Size 16 บิต และ Sampling Rate 44.1 Khz 2. การพูด และฟงพรอมกัน การดเสียงทีด ่ ีจะตองสามารถสื่อสาร 2 ทางได คือ พูด และฟง โตตอบกันได ในการใชงานระบบเครือขาย

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

15

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

ตอนที่ 3 หนวยการทํางานที่สําคัญ จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหนักศึกษามีความสามารถดังตอไปนี้ 1. อธิบายความหมายและความสําคัญของหนวยประมวลผลกลาง (CPU) ได 2. อธิบายความหมาย ความสําคัญ และหลักการทํางานของหนวยความจําแรม, รอมได 3. บอกวิธีการทํางานของหนวยความจําแคชและบัสได 4. บอกชนิดและประเภทของหนวยเก็บขอมูลได

1. หนวยประมวลผลกลาง (CPU) หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit – CPU) บางทีก็เรียกวา ไมโครโปรเซสเซอร (Microprocessor) หรือ ชิป (Chip) เปนหัวใจของคอมพิวเตอร ทําหนาทีใ่ นการคิดคํานวณ ประมวลผล และควบคุมการทํางานของอุปกรณอื่นในระบบ ลักษณะของซีพียู จะเปนชิน ้ สวนขนาดเล็กมาก ภายในประกอบดวยทรานซิสเตอรประกอบกัน เปนวงจรหลายลานตัว ตัวอยางเชน ซีพียูรุนเพนเทียม จะมีทรานซิสเตอรเล็กๆจํานวนมากถึง 3.1 ลานตัว ซีพียูมีหนวยที่ใชในการบอกขนาดเรียกวา บิต (Bit) ถาจํานวนบิตมากจะสามารถทํางานไดเร็ว มากกวาเครื่อง 16 บิต เปนตน ซีพียูรุนตางๆ โดยทั่วไปมีผูผลิตซีพย ี ูหลักๆ คือ บริษท ั Intel, AMD, Cyrix และ Motorola โดยบริษท ั Intel เปนผูนําในการผลิตรายใหญทส ี่ ุดของโลก ความเร็วของซีพียู (Speed) มีหนวยวัดเปน เมกะเฮริตซ (MHz = MegaHertz) ถาคาตัวเลขยิ่ง สูงแสดงวายิ่งมีความเร็วมาก ปจจุบันความเร็วของซีพียู สามารถทํางานไดถึงระดับ กิกะเฮริตซ (GHz = Gigahertz) โดยมีความเร็วระหวาง 2-3 GHz ในการเลือกใชซีพียู ผูจําหนายจะบอกไววา เครื่องรุนนี้มี ความเร็วเทาไหร เชน Pentium IV 2.8 GHz หมายความวาเปน CPU รุน  เพนเทียมโฟว มีความเร็วในการ ทํางานที่ 2.8 กิกะเฮริตซ 1. ซีพียู Pentium, Pentium II, Pentium III, Pentium IV เปนซีพียูรุน 486 ของบริษัทอิน เทล มีขนาดการเขาออกของขอมูลขนาด 32 บิต ภายในมีสวนคํานวณแบบขนาน สามารถทํางานพรอมกัน ไดหลายๆคําสัง่ โดยเฉพาะ Pentium IV ถือวาใหประสิทธิภาพสูงมาก เหมาะสําหรับการใชงานดาน มัลติมีเดีย 2. ซีพียู AMD 3. ซีพียูเซเลรอน (Celeron)

ซีพียู AMD

ซีพียู Pentium IV

ซีพียู Celeron

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

16

บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

2. หนวยความจํา (Memory) หนวยความจําของคอมพิวเตอรแบงออกเปน 2 ประเภทหลักๆ ดังนี้ 2.1 หนวยความจํารอม (ROM) คําวา ROM ยอมาจาก Read Only Memory เปน หนวยความจําที่เก็บขอมูลแบบถาวร รอมทีใ่ ชบันทึกขอมูลของอุปกรณที่ตด ิ ตั้งบนเมนบอรด เชน ขนาด และประเภทของแผนบันทึกขอมูลแบบแข็งที่ใช ขนาดของแรม หนวยประมวลผลทีใ่ ช การติดตั้งฟลอปป หนวยขับ เปนตน ขอมูลที่บน ั ทึกในรอม จะยังคงอยูแ  มจะปดเครื่อง หนาที่ของรอมคือจะตรวจสอบวามี อุปกรณใดบาง ที่ตด ิ ตั้งใชงาน หากตรวจสอบไมอุปกรณที่สาํ คัญๆ เชน ไมพบแผนบันทึกขอมูลแบบแข็ง ซีพียู หรือแรม รอมจะหยุดการทํางาน 2.2 หนวยความจําแรม (RAM) คําวา RAM ยอมาจาก Random Access Memory เปน หนวยเก็บขอมูลหลักของคอมพิวเตอร แตขอมูลจะสูญหายทันที เมื่อปดเครือ ่ ง ในการใชงานจริง จึงตอง บันทึกขอมูลไวในแผนบันทึกขอมูลแบบแข็งกอนปดเครื่อง Harddisk

หนวยความจําแรม มีหนวยวัดเปน ไบต (byte) ซึ่งถาเปนเครื่องรุนเกาจะนิยมใชหนวยความจํา แรม 8 หรือ 16 เมกะไบต (Megabyte) แตถา เปนเครื่องรุนใหมๆ จะใชแรมขนาด 128 หรือ 256 MB ขึ้น ไป ซึ่งจะทําใหสามารถทํางานกับโปรแกรมรุนใหม หรือกับแฟมขอมูลที่มีขนาดใหญๆ เชน งานมัลติมีเดีย หรืองานกราฟกได 2.2.1 ดีแรม (DRAM) และเอสดีแรม (SDRAM) DRAM เปนหนวยความจําหลักของ เครื่อง นิยมใชมากในสมัยกอนเพราะราคาไมแพง แตปจจุบน ั ใช SDRAM (Synchronous DRAM) ซึ่งมี ประสิทธิภาพสูงกวา ในสมัยกอนอาจจะมีราคาสูง แตปจจุบันราคาถูกกวา คนจึงนิยมใช SDRAM มากขึ้น

SDRAM

DDR RAM

SIMM RAM

2.2.2 ชองเสียบแรม (RAM Socket) เปนชองสําหรับเสียบแผงหนวยความจํา ติดตั้งบน เมนบอรด เราสามารถเพิ่มจํานวนแรมไดอยางงายๆ ไดดวยตนเอง โดยเสียบแผงหนวยความจําเขากับชอง เสียบ ขอจํากัดของการเพิ่มแรม คือ จํานวนของชอง และขนาดของแรมแตละแผงที่นํามาเสียบ ซึ่ง หมายถึงไมสามารถจะเพิ่มแรมขนาดเทาใดก็ได ในจํานวนกี่แผงก็ได

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

17

2.2.3 หนวยความจําเสมือน (Virtual Memory) หมายถึง หนวยความจําประเภทหนึ่งใช สําหรับแสดงผล เปนหนวยความจําที่ถูกสรางขึ้นมาในกรณีที่หนวยความจําแรมไมพอใช โดยระบบ ปฏิบัติการจะมีการนําเอาพื้นทีใ่ นแผนบันทึกขอมูลแบบแข็งบางสวนมาเปนพืน ้ ที่ทาํ งานชั่วคราวในขณะ เปดแฟมขอมูล และจะลบทิ้งเมื่อปดแฟมขอมูล เราจึงเรียกวา “หนวยความจําเสมือน” ขอเสียของการ ใชหนวยความจําเสมือนคือ ถาพื้นทีว่ างมีนอ  ยกวาที่กําหนดไว คอมพิวเตอรจะทํางานชาลง การใชงาน แผนบันทึกขอมูลแบบแข็งจึงมักจะใหมีเนื้อที่ที่ไมไดใชงาน เหลือไวไมนอยกวา 10 เปอรเซ็นต ในการใชงานคอมพิวเตอรนั้น เราจะตองเลือกขนาดของแรมที่เหมาะสม โดยเฉพาะโปรแกรม ปฏิบัติการ (OS) รุนใหมๆ เชน Windows ME, Windows XP เปนระบบปฏิบัติการขนาด 32 บิต ควรใช แรม 128 MB ขึ้นไป หากใชแรมนอยกวานี้เครื่องอาจจะทํางานชามากหรืออาจหยุดชะงักไดงาย

3. หนวยความจําแคช (Memory Cache) และบัส (Bus) 3.1 หนวยความจําแคช (Memory Cache) หนวยความจําแคชเปนหนวยความจําที่ชวยให เครื่องคอมพิวเตอรทํางานไดเร็วขึ้น เปนการเก็บขอมูลที่เราเคยเรียกใชแลวเอาไวในกรณีที่เราตองการ เรียกใชก็มาเรียกขอมูลจากแคช ซึ่งจะดึงขอมูลไดเร็วกวาหนวยความจําดิสกมาก หนวยความจําแคช มี 2 ประเภท คือ แคชภายใน ติดตั้งอยูภายในซีพียู เวลาเครื่องประมวลผล ก็จะเรียกเก็บขอมูลที่เก็บไวที่ แคชใกลๆ ซีพย ี ูมาใชไดอยางรวดเร็ว แคชภายนอก จะติดตั้งอยูบนเมนบอรดเหมือนแรม ถาเครือ ่ งไมพบแคชในซีพียูก็จะมองหา แคชภายนอก ถาพบก็จะนํามาใชงาน ซึ่งก็จะทํางานไดชากวาแคชภายในอยูบาง 3.2 บัส (Bus) เปนเสนทางวิ่งระหวางขอมูลหรือคําสั่ง การวัดขนาดความกวางของ บัส เรา เรียกวา “บิต” 8 บิต เทากับ 1 ไบต หรือ 1 ตัวอักษร สวนความเร็วของ บัส วัดดวยหนวยเมกะเฮิรตซ (Mhz) หรือหนึง่ ลานรอบตอวินาที บัสที่นย ิ มใชในปจจุบันคือ บัสแบบ PCI (Peripheral Component Interconnect) มีความกวาง ของสัญญาณทีใ่ ชรับสงขอมูลถึง 32 หรือ 64 บิต ความเร็วมากกวา 300 MHz ขึ้นไป นอกจากนี้ PCI ยัง สนับสนุนคุณสมบัติ Plug and Play ที่ใชในการติดตั้งโปรแกรมทีใ่ ชควบคุมอุปกรณใหมดว ย

PCI BUS

4. หนวยเก็บขอมูลสํารอง หนวยเก็บขอมูลสํารอง สาเหตุที่เรียกวา หนวยเก็บขอมูลสํารอง เพราะคอมพิวเตอรหรือซีพียูจะ เรียกใชขอมูลจากแรม ที่เปนหนวยเก็บขอมูลหลักกอน และหากขอมูลทีต ่ องการไมมีในแรม ก็จะทําการ อานขอมูลจากหนวยเก็บขอมูลสํารองไปเก็บไวที่แรมกอน ทั้งนี้เพราะหนวยเก็บขอมูลหลัก สามารถ  ดีคอ ื ทํางานติดตอกับซีพียูไดดวยความรวดเร็วกวาหนวยความจําสํารอง แตหนวยเก็บขอมูลสํารอง มีขอ สามารถจะเก็บรักษาขอมูลไวได แมวา  จะปดเครื่อง และเก็บขอมูลไดมากกวาหนวยเก็บขอมูลหลัก

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

18

บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

หนวยเก็บขอมูลสํารอง แบงออกเปน 3 ประเภทหลักๆ คือ

4.1 แผนบันทึกขอมูลแบบออน (Floppy Disk) หรือทีน ่ ิยมเรียกวา ดิสเก็ตต (diskette) มี

ลักษณะเปนแผนแมเหล็ก ทรงกลม มีพลาสติกแข็งเปนกรอบสี่เหลี่ยมครอบไวชั้นนอก ขนาด 3.5 นิ้ว สามารถจุขอมูลได 1.44 MB กอนการใชงานจะตองทําการฟอรแมตแผนกอน ปจจุบันแผนบันทึกขอมูลแบบออนจะฟอรแมตมาจากโรงงานผูผลิตแลว สามารถนํามาใชงานได ทันที การใชงานจะสอดแผนในหนวยขับแผนบันทึกขอมูลแบบออน (Floppy drive) ซึ่งเปนอุปกรณอาน และเขียนแผนบันทึกขอมูลแบบออน ติดตั้งอยูภายในตัวถังของเครื่อง แผนบันทึกขอมูลแบบออนเก็บ ขอมูลไดไมมากนัก เหมาะสําหรับการพกพา เพราะมีขนาดเล็กสามารถนําขอมูลไปใชงานกับคอมพิวเตอร เครื่องอื่นๆ ไดสะดวก

4.2 แผนบันทึกขอมูลแบบแข็ง (Hard Disk) เปนหนวยเก็บขอมูลขนาดใหญสามารถเก็บ ขอมูลไดมากกวาแผนบันทึกขอมูลแบบออนหลายลานเทา แผนบันทึกขอมูลแบบแข็งติดตั้งในตัวเครือ ่ ง พรอมกับอุปกรณอื่นๆ มีขนาดประมาณ 3.5 นิว้ ปจจุบันแผนบันทึกขอมูลแบบแข็งมีขนาดตั้งแต 40 กิกะ ไบต (GB) ขึ้นไป จนถึงระดับ 200-300 กิกะไบต (GB) จึงเก็บขอมูลไดมาก โปรแกรมตางๆ ในปจจุบน ั ตองการพื้นที่ในการเก็บขอมูลมาก โดยเฉพาะโปรแกรมประเภทกราฟกหรือมัลติมีเดีย จําเปนตองใชพื้นที่ เก็บขอมูลมากพอจึงจะใชงานได

4.3 หนวยบันทึกขอมูลแบบแฟลช (Flash Drive) เปนหนวยเก็บขอมูลแบบใหม ทีจ ่ ะมา แทนที่แผนบันทึกขอมูล หนวยบันทึกขอมูลแบบแฟลชมีขนาดประมาณลูกกุญแจ ซึ่งเล็กมากกวาหนวย บันทึกขอมูลแบบอื่นมากจึงเคลื่อนยายสะดวก สามารถรับสงขอมูลกับคอมพิวเตอรผานทางชองทาง (port) USB และมีขนาดความจุตั้งแต 256 กิโลไบต (KB) 512 กิโลไบต, 1024 กิโลไบต (1 กิกะไบต [GB]) จนถึง 2 กิกะไบต ปจจุบันหนวยบันทึกขอมูลแบบแฟลชสามารถใชบันทึกและฟงเพลงที่อยูใน รูปแบบของ MP3 สามารถใชเปนเครื่องบันทึกเสียง และเครือ ่ งเลนวิทยุ FM ไดดวย

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

19

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

4.4 ซีดี–รอม (CD-ROM) ยอมาจากคําวา Compact Disk Read – Only Memory เปน หนวยเก็บขอมูลที่ไดรับความนิยมมากราคาไมแพง มีอายุการใชหลายป และมีขนาดเล็ก ซีดีรอมเปนแผน พลาสติกกลม เสนผานศูนยกลาง 4.75 นิ้ว ผิวหนาเคลือบดวยโลหะสะทอนแสง เพื่อปองกันขอมูลที่ บันทึกไวบันทึกและอานขอมูลดวยแสงเลเซอร

แผนซีดีและซีดีไดรฟสําหรับอานแผน ปกติซีดรี อมในปจจุบัน มีความจุประมาณ 700 MB หรือเทากับหนังสือประมาณ 700,000 หนา หรือเทากับแผนบันทึกขอมูลแบบออนขนาด 1.44 MB ถึง 700 แผน สามารถบันทึกขอมูลไดมาก โดย เฉพาะงานดานมัลติมีเดียทั้งภาพ แสง เสียง ในเวลาเดียวกัน 4.5 ดีวีดี–รอม (DVD-ROM) ยอมาจาก Digital Video Disk Read – Only Memory เปน หนวยเก็บขอมูลรองชนิดหนึ่งที่กําลังไดรับความนิยมมากลักษณะคลายซีดีรอมแตสามารถเก็บขอมูลได มากกวาซีดรี อมหลายเทา คือ ขนาดมาตรฐานเก็บขอมูลได 4.7 GB หรือ 7 เทาของซีดีรอม และพัฒนา ตอเนื่องไปตลอด

ดีวีดแ ี ผนหนึ่งสามารถบรรจุภาพยนตรความยาวถึง 133 นาทีไดโดยใชลก ั ษณะการบีบอัดขอมูล แบบ MPEG-2 และระบบเสียงแบบดอลบี (Dolby AC-3) ปจจุบันดีวีดจ ี งึ นิยมใชในการบันทึกภาพยนตร และมัลติมีเดีย ซึ่งตองการพื้นที่เก็บขอมูลมากกวาแผน CD-ROM เปรียบเทียบคุณสมบัตริ ะหวางแผนบันทึกซีดีรอม (CD-ROM) และแผนบันทึกดีวด ี ีรอม (DVDROM) คุณลักษณะ ขนาดเสนผาศูนยกลาง ความหนา ระยะหางระหวางแทร็ก ขนาดของหลุมที่เล็กทีส ่ ุด ความจุของเลเซอร ความจุของ 1 ดาน ความจุสูงสุดของ 1 แผน อัตราการสงผานขอมูล

CD-ROM 120 มม. 1.2 มม. 1.6 ไมครอน 0.834 ไมครอน 682 MB 682 MB 682 MB 153 KB/วินาที

DVD-ROM 120 มม. 1.2 มม. 0.74 ไมครอน 0.74 ไมครอน 4.7 GB 4.7-8.5 GB 17 GB 1.385 MB/ วินาที

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

20

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

บทที่ 2 ระบบปฏิบัตกิ าร Microsoft Windows จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหนักศึกษามีความสามารถดังตอไปนี้ 1. บอกความหมายและความสําคัญของระบบปฏิบัติการได 2. บอกสวนประกอบของวินโดวส ได 3. บอกลักษณะพิเศษของวินโดวส ได 4. สามารถใชงานวินโดวสเบื้องตนได

ตอนที่ 1 ประวัตคิ วามเปนมา Microsoft Windows เปนระบบปฏิบัติการ ซึ่งเปนตัวกลางในการควบคุมฮารดแวร สามารถ จัดการขอมูลทีอ ่ ยูภายในเครื่องคอมพิวเตอร เชน การเขาถึงขอมูลหรือโปรแกรม ที่อยูในหนวยบันทึก ขอมูล เพื่อสงตอใหกับโปรแกรมใชงานตางๆ ทําการแกไข ลบ หรือ จัดระเบียบขอมูล บริษัท ไมโครซอฟท ไดพฒ ั นาระบบปฏิบต ั ิการ Windows.XP ซึ่งคําวา XP ยอมาจาก eXPerience หมายถึง ประสบการณทส ี่ ะสมมานาน เปนการรวบรวมประสบการณและขอดีของ Windows รุนตางๆ ไวดวยกัน ความสามารถ และการออกแบบของ Windows XP นั้น เปนการผสมผสานการทํางาน ระหวาง Windows.Me และ Windows.2000 ใหมีความสามารถและสวยงามมากยิ่งขึ้น โดยทีช ่ ุด โปรแกรมของ Windows.XP นั้นไดออกมา 3 รุนดวยกัน คือ รุน Home Edition, รุน Professional และรุน Professional 64-Bit Edition รุน Home Edition เหมาะสําหรับผูใชงานตามบานทั่วไป หรือ นักเลนเกมส โดยมีการ ออกแบบที่นาใชมากยิ่งขึ้น และจัดสรรใหใชงานทัว่ ไปอยางมีประสิทธิภาพ มีความ หลากหลาย มีโปรแกรมดานมัลติมีเดีย ดูหนังฟงเพลงบนเครื่อง PC พรอมทั้งทอง อินเทอรเน็ตทีส ่ มบูรณแบบมากยิ่งขึ้น รุน Professional Edition เหมาะสําหรับผูใ ชงานทางธุรกิจ หรือ ผูใ ชงานตามบานที่ ตองการประสิทธิภาพในการทํางาน และความปลอดภัยของขอมูลในระดับสูง รุน Professional 64-Bit Edition เหมาะกับงานทีต ่ องการการประมวลผลสูงกวาปกติ โดยถูกออกแบบมารองรับการทํางานแบบ 64 บิต เพื่อใชกับ CPU Itanium (Pentium 4) ความตองการระบบปฏิบัติการ Windows.XP นั้น จะตองใชทรัพยากรเพิ่มขึ้นมากกวา Windows รุนกอนๆ อยาง Windows 98 หรือ Windows Me อยูคอนขางมาก เนื่องจากประสิทธิภาพและระบบความ ปลอดภัยตางๆ ที่เพิ่มมากยิ่งขึ้น จึงจําเปนตองใชเครื่องคอมพิวเตอรที่มีความเร็วอยางต่ํา 233 MHz แต หากตองการประสิทธิภาพในการทํางานทีค ่ อนขางสูง ควรใชความเร็วซีพียู 300 MHz ขึ้นไป หนวยความจํา (RAM) อยางนอย 64 MB แตแนะนํา 128 MB ขึ้นไป แผนบันทึกขอมูลแบบแข็ง (Hard Disk) มีเนื้อที่เหลืออยางนอย 1.5 GB จอภาพสีและถาจะใหสะดวกยิ่งขึ้นก็จําเปนจะตองมีหนวยขับ ซีดีรอม (CD-ROM Drive) เมาส (Mouse) และแผงแปนอักขระ (Keyboard) ดวย

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

21

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

1. การใชเมาส (Mouse) เมาส (Mouse) เปนอุปกรณที่ใชสําหรับควบคุมตัวชี้ตาํ แหนงบนจอภาพใหผูใชสั่งงานโดยการกด ปุมบนเกมส เชน การเลือกเมนูคําสั่ง การยายขอความ โดยทัว่ ไปเมาสทม ี่ ีจําหนายในทองตลาดมีอยูหลาย ชนิดดวยกัน อาจมีปุมกด 2 ปุม หรือมากกวา แตที่นย ิ มใชในปจจุบันจะเปนแบบ 2 ปุม คือ ปุมซายและ ขวา โดยมีลักษณะการใชงานดังตอไปนี้

คลิก (Click) เลื่อนตัวชี้เมาสไปตําแหนงทีต ่ องการเลือก คลิกแลวปลอยที่ปุม ดานซายของเมาส 1 ครั้ง สวนใหญเปนการเลือกไอคอนหรือปุมคําสั่งหรือคลิกเลือก เมนูที่ตองการ คลิกขวา (Right-click) เลื่อนตัวชี้เมาสไปตําแหนงทีต ่ องการเลือก คลิกแลวปลอย ที่ปุมดานขวาของเมาส 1 ครั้ง มักเปนการเลือกใชเมนูลัด

ดับเบิลคลิก (Double-click)

เลื่อนตัวชีเ้ มาสไปตําแหนงที่ตองการเลือก แลวปลอยที่ปุมดายซายของเมาสตด ิ กันอยางรวดเร็ว 2 ครั้ง

คลิก

แดรก (Drag) เลื่อนตัวชี้เมาสไปตําแหนงที่ตองการเลือกกดที่ปุมดานซายของเมาส คางไว พรอมกับลากเมาสไปในทิศทางทีต ่ อ  งการ มักใชในการเคลื่อนยายวัตถุ หรือ การสรางขอบเขตของการเลือกวัตถุ

คลิก

คลิกขวา

คลิก...คลิก

คลิกแลวลาก

2. เริ่มเขาสู Microsoft Windows XP การเขาสูการทํางานของ Windows.XP จะเกิดขึ้นหลังจากเปดสวิตซเครื่องคอมพิวเตอรที่ตด ิ ตั้ง ระบบปฏิบต ั ิการ Windows.XP เอาไวแลว โดยที่เครื่องคอมพิวเตอรจะทําการโหลดระบบปฏิบัติการโดย อัตโนมัติ ซึ่งการเริ่มตนการทํางานในชวงนี้เรียกวา การบูตระบบ (Booting System) หนาจอจะแสดง สัญลักษณ Windows XP ในขณะที่กําลังบูตระบบ และหลังจากนั้นจะเขาสูหนาจอแสดงรายชื่อผูใ ชงาน (User Account) ภายในเครื่องคอมพิวเตอรนน ั้ ๆ เพื่อใหผูใชเลือกชื่อผูใชงานเพื่อเขาสูระบบ (logon) และ หลังจากเลือกแลว หากไมมีการตั้งรหัสผาน (Password) ก็จะเขาสูหนาจอเริ่มตนการใชงานของ Windows XP Home Edition แตหากมีการตั้งรหัสผานจะตองกรอกรหัสผานใหถูกตอง จึงจะสามารถใช งาน Windows XP ได สําหรับชื่อผูใชงาน (User Account) นั้น ในการติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows XP จะมีขั้นตอน ใหกําหนดชื่อผูใ ชงาน และรหัสผาน เพื่อกําหนดสภาพแวดลอม และรักษาความปลอดภัยของขอมูลของ ผูใชแตละคน และยังสามารถทีจ ่ ะเพิ่มหรือลบชื่อผูใชงานไดภายหลัง

หนาจอแสดงรายชื่อผูมีสิทธิ์ใชงาน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

22

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

3. สวนประกอบตางๆ ของ Desktop ไอคอน ชื่อผูใช

เดสกทอป

ภายในปุม Start

ปุม Start

ทาสกบาร

Desktop คือ พื้นที่ฉากหลังของ Windows ไดถูกจําลองมาจากการทํางานบนโตะทํางาน ซึ่ง ประกอบไปดวยเครื่องมือที่ชวยในการทํางาน โดยจะใชสญ ั ลักษณภาพแทนสิ่งตางๆ ในระบบใหเห็น เหมือนกับสิ่งของที่อยูบนโตะ ผูใชจึงสามารถเรียกใชงานไดอยางสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ยังสามารถ ปรับเปลี่ยนรูปภาพบนเดสกทอปไดตามตองการอีกดวย ไอคอน (Icon) เปนรูปภาพที่ Windows กําหนดใหเปนสัญลักษณแทนสิ่งตางๆ ใน คอมพิวเตอร โดยแตละไอคอนจะมีความหมายและการใชงานที่แตกตางกัน เชน Program Icon ใชแสดง โปรแกรม หรือ Folder Icon ใชแสดงโฟลเดอร เปนตน สําหรับใน Windows XP เมื่อเริ่มตนการใชงานนัน ้ จะเห็นไอคอนเดียวที่เหลืออยูบ  นเดสกทอป นั่นคือ Recycle Bin สวนไอคอนอื่นๆ จะถูกเก็บไวในเมนูของ ปุม Start แถบงาน (Taskbar) เปนแถบที่อยูดานลางจอคอมพิวเตอร แสดงรายชือ ่ หนาตางที่เปดอยูใน ขณะนั้น และยังแสดงแถบเครือ ่ งมือ (Toolbars) ตางๆ เชน Language Bar หรือ Quick Launch เปนตน สวนพื้นที่ดานขวาจะแสดงสถานการณทํางานของระบบ เชน เวลาปจจุบัน ปุม Start ผูใ ชสามารถใชปม ุ Start ในการเรียกใชโปรแกรม คนหาขอมูลทีต ่ องการ หรือขอ ความชวยเหลือได ซึ่งใน Windows XP จะมีการจัดเรียงรายการใหม เชน นํารายการที่เรียกใชบอยๆ มา แสดงใหสามารถใชงานไดสะดวกมากยิ่งขึ้น และยังมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบไอคอนใหมีความสวยงาม นาใชมากยิ่งขึ้น สวนดานบนสุดจะแสดง User Account หรือชื่อของผูใ ชที่เขาใชงาน Windows.XP ในขณะนั้น ซึ่งผูใชแตละคน สามารถจะแยกการทํางานออกจากกันไดอยางชัดเจน เชน สามารถจะเลือก รูปภาพที่แสดงบนเดสกทอปของผูใชแตละคนที่แตกตางกันได แมวาจะทํางานภายในเครื่องคอมพิวเตอร เดียวกันก็ตาม

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

23

4. การเปดใชงานโปรแกรมจากปุม Start ในการเปดใชงานโปรแกรม หรือ เขาถึงทรัพยากรตางๆ นั้น สามารถทําไดหลายวิธี แตวิธี โดยทั่วไปที่นย ิ ม คือ จะใชปุม ซึ่งภายในปุม  Start แบบใหมของ Windows XP Home Edition ไดจัดใหมส ี ิ่งตางๆ ซึ่งจําเปนตอการใชงานไวอยางครบถวน และสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึน ้ โดยจะแสดง สวนประกอบตางๆ ดังรูปตอไปนี้ ไอคอนของโปรแกรมที่ใชงาน บอย ซึ่งสามารถกําหนดไดวา จะใหแสดงทั้งหมดกี่โปรแกรม

ไอคอนของโปรแกรมที่เคย เรียกใชงานครั้งลาสุด และ กําหนดไดวา จะใหแสดง ทั้งหมดกี่โปรแกรม

ไอคอนที่ใชแสดง โฟลเดอรตางๆและ คําสั่งอื่นๆ เชน Help, Search และ RUN

Turn Off Computer เปนการปดการใชงาน เครื่องคอมพิวเตอร

Log Off เปนการออก จากการใชงาน Windows ของ ผูใชงานที่กําลังใชงาน อยู ตัวอยางการเปดโปรแกรมจากปุม Start โดยจะเปดโปรแกรม Paint ซึ่งเปนโปรแกรมที่ใชในการ วาดรูปและตกแตงภาพ มีขั้นตอนดังตอไปนี้ บนแถบงาน (Taskbar) หรือ กดแปน + 1. คลิกปุม 2. เลือก All Programs จะปรากฏโปรแกรมทัง้ หมด 3. เลือก Accessories จะปรากฏเมนูยอย 4. เลือกโปรแกรม Paint 5. โปรแกรมที่เลือกจะเปดขึ้นมา 6. ใหสังเกตทีแ ่ ถบงาน (Taskbar) จะปรากฏปุมแสดงชื่อโปรแกรมที่เปดใชงานดวย All Program สําหรับเรียกใช งานโปรแกรมตางๆ ที่ติดตั้งบน เครื่อง

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

24

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

5. การเปดหลายโปรแกรมพรอมกัน ความสามารถในการทํางานหลายโปรแกรม (Multitasking) ไดพรอมๆ กัน เปนคุณสมบัตท ิ ี่ สําคัญอีกขอหนึ่งของ Windows โดยสามารถทีจ ่ ะเปดโปรแกรมหลายโปรแกรมขึ้นมาพรอมๆ กันได และ ถาโปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่งที่เปดอยูมีปญ  หา ไมสามารถทํางานตอไปได โปรแกรมที่เหลือจะยังคง สามารถทํางานตอไปได จากตัวอยางทีผ ่ านมาไดทาํ การเปดโปรแกรม Paint เอาไว ตอไปจะทําการเปด โปรแกรม Calculator ซึ่งเปนโปรแกรมที่ใชในการคํานวณขึ้นมา โดยที่โปรแกรม Paint ยังคงเปดอยู บนแถบงาน (Taskbar) หรือกดแปน + 1. คลิกปุม 2. เลือก All Programs จะปรากฏโปรแกรมทัง้ หมด 3. เลือก Accessories จะปรากฏเมนูยอย 4. เลือกโปรแกรม Calculator 5. โปรแกรมที่เลือกจะเปดขึ้นมาบนหนาจอ 6. ใหสังเกตทีแ ่ ถบงาน (Taskbar) จะปรากฏปุมแสดงชื่อโปรแกรมที่กําลังเปดใชงานขณะนั้น ทั้งหมด

Note: ใน Windows.XP เมื่อมีการเปดใชงานโปรแกรมหลายๆ โปรแกรมพรอมกัน จนแถบงาน (Taskbar) ไม สามารถไอคอนชื่อโปรแกรมไดหมด แถบงาน (Taskbar)จะมีกลุมโปรแกรมตางๆ ใหโดยอัตโนมัติ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

25

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

6. รูจักกับหนาตาง เมื่อเปดโปรแกรม หรือ ทรัพยากรตางๆ ใน Windows XP ขึ้นมานั้น ผูใชจะเห็นสิ่งตางๆ แสดงอยู ในรูปของหนาตาง หรือ ที่เรียกวา วินโดวส (Windows) ในแตละหนาตางจะมีสวนประกอบพื้นฐานในการ ทํางานที่เหมือนๆ กัน ดังนี้

แถบชื่อเรือ ่ ง เมนู

ปุมควบคุม

แถบเลื่อน

- แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) คือ แถบที่ใชแสดงชื่อโปรแกรม และไฟลเอกสารที่เรียกใชงานอยู - เมนู (Menu bar) คือ สวนที่เก็บคําสั่งตางๆ ทีใ่ ชควบคุมการทํางานของโปรแกรม - ปุมควบคุม (Control Buttons) คือ ปุมทีใ่ ชควบคุมหนาตาง เชน การยอ ขยาย หรือปด หนาตาง - แถบเลื่อน (Scrollbar) คือ แถบสําหรับเลื่อนดูขอมูลในหนาตางทีย ่ งั สามารถแสดงไดไมหมด

6.1 การสลับการทํางานระหวางหนาตาง การเปดหนาตางขึ้นมาใชงานพรอมกันทีละหลายๆ หนาตางนั้น หนาตางทีม ่ ีสถานะแอกทีฟ (Active) หรือพรอมรับคําสั่งจากผูใช คือ หนาตางที่แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) จะมีสีเขมกวาหนาตางอื่นๆ และหากตองการทีจ ่ ะสลับการใชงานไปยังหนาตางอื่นๆ สามารถทําไดหลายวิธีดังนี้ คือ วิธท ี ี่ 1 1. คลิกที่แถบชือ ่ เรื่อง (Title bar) หรือบริเวณใดก็ไดบนหนาตางทีต ่ องการใชงาน 2. ที่แถบชื่อเรือ ่ ง (Title bar)ของหนาตางนัน ้ จะมีสีเขม แสดงวาหนาตางนัน ้ แอกทีฟอยู

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

26

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

วิธท ี ี่ 2 1. คลิกบริเวณปุมแสดงชื่อหนาตางที่ตองการใชงานบนแถบงาน (Taskbar) 2. หนาตางทีต ่ อ  งการใชงานจะอยูในสถานะแอกทีฟ

วิธท ี ี่ 3 กดแปน คางไว และกดแปน ทีละครั้ง จนกรอบสี่เหลีย ่ มเลื่อนมาอยูบนไอคอน ของโปรแกรมที่ตองการใชงาน แลวจึงปลอยแปนทั้งสอง

6.2 การยอหนาตาง (Minimizing a Window) หากเปดหนาตางหลายๆ หนาตางขึ้นมาพรอมๆ กัน อาจบดบังพื้นที่การทํางานบนจอภาพ ผูใช สามารถซอนหนาตางไวชวั่ คราว (มิไดเปนการปดโปรแกรม) โดยนําไปเก็บที่แถบงาน (Taskbar)ไดดังนี้ จากมุมขวาดานบนของหนาตาง 1. คลิกปุมยอหนาตาง (Minimize) 2. หนาตางที่ปรากฏบนเดสกทอปจะยอลงไปปรากฎอยูท  ี่แถบงาน (Taskbar) 3. คลิกปุมแสดงชื่อหนาตางบนแถบงาน (Taskbar) เมื่อตองการเรียกขึ้นมาใชงานอีกครั้งหนึ่ง

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

27

6.3 การขยายหนาตาง (Maximizing and Restoring Window) ผูใชสามารถขยายขนาดของหนาตางใหเต็มจอได โดยการใชปม ุ หนาตางเต็มจอภาพ (Maximize) และเมื่อขนาดของหนาตางเต็มหนาจอแลว ผูใชจะไมสามารถปรับขนาดหรือยายตําแหนง ของหนาตางได และที่ปุมหนาตางเต็มจอภาพ (Maximize) จะเปลี่ยนเปนปุมกลับสูหนาตางขนาดเดิม (Restore) เพื่อใหผใู ชสามารถปรับขนาดของหนาตางใหกลับคืนสูขนาดเดิมได โดยมีขั้นตอนดังนี้ บริเวณมุมขวาดานบนของหนาตาง 1. คลิกปุมขยายหนาตาง (Maximize) 2. หนาตางจะแสดงผลเต็มหนาจอ 3. ปุมหนาตางเต็มจอภาพ จะเปลี่ยนเปนปุมกลับสูหนาตางขนาดเดิม (Restore)

6.4 การปรับขนาดหนาตาง (Resizing a Window) ผูใชสามารถปรับขนาดของหนาตางตามความตองการ โดยการปรับขนาดนัน ้ มีหลายรูปแบบดังนี้

ปรับทีละดาน 1. ใชเมาสชี้ตําแหนงบริเวณขอบหรือมุมของหนาตาง ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปน หรือ 2. ขณะที่ตัวชี้เมาสเปนสองทางนั้น ใหคลิกเมาสคางไว แลวลากไปในทิศทางที่ตองการจะปรับ ขนาด

3. ปลอยเมาสเมื่อไดขนาดหนาตางที่ตองการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

28

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

ปรับพรอมกัน 2 ดาน 1. ใชเมาสชี้ตําแหนงบริเวณขอบหรือมุมของหนาตาง ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปน หรือ 2. ขณะทีต ่ ัวชี้เมาสเปนสองทางนั้น ใหแดรกเมาส แลวลากไปในทิศทางทีต ่ องการจะปรับขนาด 3. ปลอยเมาสเมื่อไดขนาดหนาตางที่ตองการ

6.5 การยายหนาตาง (Moving a Window) ผูใชสามารถวางตําแหนงของหนาตางไดตามความตองการ โดยจะยายไปวางตําแหนงใดก็ไดบน เดสกทอปตามขั้นตอนดังนี้ 1. เลื่อนตัวชี้เมาสไปยังบริเวณแถบชื่อเรื่อง (Title bar) ของหนาตางที่ตองการจะยาย 2. คลิกเมาสคา งไวแลวลาก (Drag mouse) ไปยังตําแหนงปลายทางที่ตอ  งการจะยาย แลวจึง ปลอยเมาส 3. หนาตางจะไปปรากฏยังตําแหนงทีต ่ องการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

29

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

6.6 การปดหนาตาง (Closing a Window) เมื่อสิ้นสุดการใชงานโปรแกรมที่เปดขึ้นมาใชงาน แลวตองการปดหนาตาง สามารถทําไดหลาย วิธีดังนี้

วิธท ี ี่ 1 1. คลิกปุมปดหนาตาง (Close) บริเวณมุมขวาดานบนของหนาตาง 2. หนาตางจะถูกปด และปุมแสดงชื่อหนาตางบนแถบงาน (Taskbar)จะหายไปดวย

วิธท ี ี่ 2 ดับเบิลคลิกที่ไอคอน

สัญลักษณของโปรแกรม

ที่บริเวณดานซายสุดของแถบชื่อเรื่อง

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

30

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

วิธท ี ี่ 3

1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณแถบชื่อเรื่อง (Title bar) จะปรากฏเมนูลด ั (Pop-up Menu) 2. คลิกเลือกคําสั่ง Close หรือกดแปน +

วิธท ี ี่ 4

1. คลิกปุมขวาของเมาสที่ปุมแสดงชื่อหนาตาง บริเวณแถบงาน (Taskbar) จะปรากฏเมนูลัด 2. คลิกเลือกคําสั่ง Close) หรือกดแปน +

วิธท ี ี่ 5

กดแปน +

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

31

7. การจัดเรียงหนาตางบนเดสกทอป ในการใชงานมากกวา 1 โปรแกรม หนาตางโปรแกรมจะซอนทับหรือบังกัน ทําใหผูใชมองไมเห็น บางหนาตางได ดังนั้นเพื่อความสะดวกในการทํางาน จึงสามารถจัดเรียงหนาตางไมใหซอ  นทับกัน หรือ ซอนทับกันอยางเปนระเบียบไดตามตองการ ดังตอไปนี้

7.1 การจัดเรียงหนาตางใหซอนกันแบบกระเบื้อง (Cascade Window) 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณที่วางบนแถบงาน (Taskbar) จะปรากฏเมนูลัด 2. คลิกเลือกคําสั่ง Cascade Windows 3. หนาตางตางๆ จะถูกจัดเรียงตามรูปแบบที่เลือก

7.2 การจัดเรียงหนาตางจากบนลงลาง (Tile Windows Horizontally) 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณที่วางบนแถบงาน (Taskbar) จะปรากฏเมนูลัด 2. คลิกเลือกคําสั่ง Tile Windows Horizontally 3. หนาตางตางๆ จะถูกจัดเรียงตามรูปแบบที่เลือก

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

32

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

7.3 การจัดเรียงหนาตางจากซายไปขวา (Tile Windows Vertically) 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณที่วางบนแถบงาน (Taskbar) จะปรากฏเมนูลัด 2. คลิกคําสั่ง The Windows Vertically 3. หนาตางตางๆ จะถูกจัดเรียงตามรูปแบบที่เลือก

8. การเคลียรพื้นที่บนเดสกทอป ในขณะทีผ ่ ูใชกําลังทํางานอยูน  ั้น อาจจะทําการเปดหนาตางขึ้นมากมาย และเมื่อผูใ ชตองการให แสดงเดสกทอป ก็จะตองทําการปดหรือยอหนาตางที่กําลังทํางานอยู ถามีมากก็จะเปนการเสียเวลา ดังนั้น หากผูใชตองการแสดงหนาจอเดสกทอป ผูใชสามารถใชคําสัง่ Show the Desktop ซึ่ง Windows.XP จะ ทําการยอหนาตางที่เปดขึ้นมาใชงานทั้งหมดทุกๆ หนาตางใหโดยทันที การ Show the Desktop สามารถทําได 2 วิธีดังนี้ คือ

วิธท ี ี่ 1

1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณที่วางบนแถบงาน (Taskbar) จะปรากฏเมนูลัด 2. คลิกคําสั่ง Show the Desktop 3. หนาตางทั้งหมดที่เปดไวจะถูกยอไวบนแถบงาน (Taskbar)

วิธท ี ี่ 2 1. คลิกปุม Show Desktop ( ) บนแถบงาน (Taskbar) 2. หนาตางทั้งหมดที่เปดไวจะถูกยอ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

33

Note: หากไมมีปุม Show Desktop ใหทําการเรียกแถบคําสั่ง Quick Launch ขึ้นมา โดยมีวิธด ี ังนี้ 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณที่วางบนแถบงาน (Taskbar) 2. คลืกเลือกเมนู Toolbar จะปรากฏเมนูยอย 3. คลืกเลือกคําสั่ง Quick Launch ใหปรากฏเครื่องหมาย ดานหนา

9. การสรางผูมีสิทธิ์ใชงาน (User Account) ในการใชงานเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่ง อาจจะมีผูใชงานเพียงคนเดียว หรืออาจถูกใชงาน โดยผูใชหลายๆ คนก็ได ซึ่งใน Windows.XP สามารถทีจ ่ ะกําหนด User Account โดยแตละ User Account นั้น จะเก็บสภาวะแวดลอมในการทํางานของผูใ ชงานแตละคนเอาไว เชน การกําหนดฉากพืน ้ หลังเดสกทอป รูปแบบตัวอักษร และปุม  คําสัง่ ลัดตางๆ ที่แสดงบนเดสกทอป มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกปุม Start บนแถบงาน (Taskbar) หรือ กดแปน + 2. คลิกเลือกคําสั่ง Control Panel 3. หนาตาง Control Panel จะปรากฏขึ้นมา ใหดับเบิลคลิกทีค ่ ําสั่ง User Accounts

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

34

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

4. ที่หนาตาง User Accounts ใหคลิกเลือกคําสั่ง Create a new account 5. พิมพชื่อ User Account ทีต ่ องการสรางในชอง Type a name for the new account:: 6. คลิกปุม  next

7. เลือกประเภทของ Account โดยทีถ ่ าเลือกเปน Computer administrator ผูใชจะมีสท ิ ธิ์เปน ผูบริหารระบบ ซึ่งจะสามารถทําการสราง เปลี่ยนแปลงชื่อรูปภาพ หรือ ลบ User Account ของผูอื่นได และยังมีสท ิ ธิ์ในการเขาถึงขอมูลในเครื่องคอมพิวเตอรนั้นทั้งหมด แตหากเลือก เปน Limited จะมีสิทธิใ์ นการเปลี่ยนแปลงชือ ่ รูปภาพ User Account ของตนเอง และเขาถึง ขอมูลเฉพาะทีต ่ นเองสรางเทานั้น 8. คลิกปุม Create Account 9. จะปรากฏ User Account ที่สรางขึ้นมา

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

35

10. การออกจากระบบ Windows XP โดยการ Log Off การออกจากระบบ (Log Off) จะเปนการเลิกติดตอกับ Windows XP จาก User Account ที่ กําลังใชงาน แตไมไดเปนการปดเครื่องคอมพิวเตอร เครื่องก็ยังทํางานอยู ในกรณีที่เครือ ่ งคอมพิวเตอร เครื่องนั้นไมไดใชงานเพียงคนเดียว เมื่อผูใ ชสิ้นสุดการทํางาน หรือไมไดใชเครื่องคอมพิวเตอรเปน เวลานาน ควรออกจากระบบ (Log Off) เพื่อเปนการปองกันไมใหผูอื่นสามารถเขาถึงขอมูลสวนตัวได 1. คลิกปุม Start บนแถบงาน (Taskbar) หรือกดแปน + 2. คลิกเลือก Log Off 3. จะปรากฏหนาตาง Log Off Windows ใหเลือกดังนี้ SwitchUser เปนการสับเปลี่ยนผูใชงาน Windows ใหผูอื่นไดเขามาใชบาง ซึ่ง ผูใชงานคนเดิมที่กําลังใชงานก็จะอยูในสถานะล็อกออน คือ ไมไดเลิกติดตอกับ Windows ยังสามารถกลับไปใชงาน Windows หรือโปรแกรมตางๆ ที่เปดคางไวได อยางรวดเร็ว Log Off จะเปนการเลิกใช Windows ของ User Account โดยผูใ ชงานคนเดิมจะเลิก ติดตอกับ Windows ไปเลย แตไมไดเปนการปดเครื่องคอมพิวเตอร Windows จะกลับ ไปสูหนาจอแสดง User Account ทั้งหมด

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

36

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

ตอนที่ 2 การจัดการไฟล (Files) และโฟลเดอร (Folders) 1. รูจักกับไอคอน (Icons) ไฟล (Files) และโฟลเดอร (Folders) การทํางานในระบบปฏิบัติการ Windows XP จะแสดงคําสั่ง หรือโตตอบกับผูใชดวยรูปภาพ และ ตัวอักษร ซึ่งการจดจําคําสั่งตางๆ นั้น ผูใชสามารถจดจํารูปภาพไดดีกวาตัวอักษร ผูใชจึงตองทําความรูจ  ัก กับรูปภาพตางๆ เหลานี้ ไอคอน (Icons) หมายถึง สัญลักษณที่แสดงเปนรูปภาพ อาจจะเปนสัญลักษณของโปรแกรม อุปกรณ หรือ ขอมูล ซึ่งแบงออกเปนประเภทใหญๆ ไดดังนี้ Drive Icon เปนไอคอนที่ใชแสดงชนิดของหนวยขับ เชน หมายถึง หนวยขับแผนบันทึกขอมูลแบบแข็ง (Hard drive) หมายถึง หนวยขับแผนบันทึกขอมูลแบบออน (Floppy drive) หมายถึง หนวยขับแผนซีดี (CD-ROM drive) Folder Icon เปนไอคอนที่ใชแสดงโฟลเดอร เชน โฟลเดอรสําหรับเก็บโปรแกรมและขอมูลทั่วไป โฟลเดอรที่สามารถใชงานรวมกันไดระหวางผูใชที่เชื่อมตอเครือขาย โฟลเดอรที่เก็บเฉพาะไฟลขอ  มูลเทานั้น เชน โฟลเดอร My Document Program Icon ใชแสดงโปรแกรม ซึ่งสัญลักษณของแตละโปรแกรมจะไมเหมือนกัน เชน หมายถึง สัญลักษณของโปรแกรม Microsoft Word หมายถึง สัญลักษณของโปรแกรม Adobe Photoshop Document Icon ใชแสดงไฟลเอกสาร ซึ่งจะบอกใหรูวาสรางจากโปรแกรมใด หมายถึง สัญลักษณของไฟลที่สรางจากโปรแกรม Microsoft Word หมายถึง สัญลักษณของไฟลที่สรางจากโปรแกรม Microsoft Excel หมายถึง สัญลักษณของไฟลที่สรางจากโปรแกรม Microsoft PowerPoint หมายถึง สัญลักษณของไฟลเอกสารที่ดาวนโหลดจากอินเทอรเน็ต

ไฟล (Files) หมายถึง กลุม  ของขอมูลที่อาจประกอบดวยตัวอักษร หรือรูปภาพ เชน ตาราง กราฟแทง กราฟวงกลม หรือแมแตภาพเคลื่อนไหว ซึ่งอาจแทนดวยไอคอนเพียงไอคอนเดียว โฟลเดอร (Folders) หมายถึง แหลงทีใ่ ชเก็บขอมูล ซึ่งในเครื่องคอมพิวเตอรหากมีระบบการ จัดการขอมูลทีด ่ ีจัดเก็บโฟลเดอรใหเปนระเบียบ จะทําใหสามารถคนหาขอมูลไดอยางรวดเร็ว โดยใน โฟลเดอรสามารถที่จะสรางโฟลเดอรยอยๆ ไดตามตองการ เพื่อใชในการแบงเก็บไฟลขอมูลใหเปน หมวดหมู ไมปะปนกัน

1.1 มุมมองการจัดขอมูล ไฟล เปรียบไดกับเอกสารแตละฉบับที่จด ั เก็บขอมูลตางๆ เอาไว ในเครือ ่ งคอมพิวเตอรเครื่อง หนึ่งจะมีไฟลอยูจํานวนมาก หากเก็บไฟลตา งๆ เหลานั้นปะปนกัน จะทําใหไมสามารถนํามาใชประโยชน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

37

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

ไดในเวลาอันรวดเร็ว ซึ่งตองใชเวลาในการคนหาอีก ดังนัน ้ จึงควรเก็บไฟลตางๆ เหลานี้ไวในโฟลเดอร ซึ่งโฟลเดอร เปนเพียงแหลงที่ใชในการเก็บขอมูลเปรียบเสมือนเปนหองใหผูใชเก็บเอกสารตางๆ ลงไป นั่นเอง ตัวอยางผังการจัดเก็บขอมูลแบงเปนระดับตางๆ ระดับที่ 1 My Computer

ระดับที่ 2 Local Disk (C:)

3 12 Floppy (A:)

ระดับที่ 3 รายงานใบสั่งซื้อ

ขอมูลยอดขาย

ขอมูลลูกคา

ระดับที่ 4 ขอมูลสินคา

ยอดขาย ไตรมาสที่1

ยอดขาย ยอดขาย ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

38

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

2. การดูขอ มูลในโฟลเดอรดวย My Computer ผูใชสามารถดูรายละเอียดที่เกี่ยวกับทรัพยากร หรือขอมูลตางๆ ในเครื่องคอมพิวเตอรโดยการใช My Computer ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1. 2. 3. 4.

บนแถบงาน (Taskbar) หรือ กดแปน + คลิกปุม คลิกเลือก My Computer จะปรากฏหนาตาง My Computer ใหดับเบิลคลิกที่ไดรฟหรือโฟลเดอรทต ี่ องการดูขอมูล ไอคอนที่ปรากฏจะเปนไอคอนที่อยูภายใตไดรฟหรือโฟลเดอรที่ผใู ชเลือก

สําหรับหนาตางหรือวินโดวทแ ี่ สดงทรัพยากรตางๆ

ของ

Windows.XP

เชน

หนาตาง

My

Document จะมีสวนประกอบเพิ่มขึ้นมา ดังนี้

Toolbar Address bar

Task Pane

ทูลบาร (Toolbar) คือ ปุมคําสั่งตางๆ ที่มก ั เรียกใชงานบอยๆ ทําใหสามารถทํางานไดสะดวก

รวดเร็วมากยิ่งขึน ้

แอดเดรสบาร (Address bar) คือ แถบที่ผใู ชสามารถพิมพตําแหนงที่เก็บขอมูล เพื่อเปดดู

อยางรวดเร็ว

ทาสกเพน (Task Pane) คือ สวนทีแ ่ สดงคําสั่งที่เกี่ยวของกับสิ่งที่กําลังทําอยู เชน ชอรตคัต (Shortcut) ไปยังโฟลเดอรตางๆ ที่เกี่ยวของกัน หรือรายละเอียดของทรัพยกากรที่เปดอยู

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

39

3. การกําหนดรูปแบบการแสดงไฟลและโฟลเดอร ผูใชสามารถกําหนดรูปแบบการแสดงไฟล และโฟลเดอรใหเหมาะสมกับการทํางาน Windows.XP มีรูปแบบการแสดงไฟลและโฟลเดอรใหเลือกหลายรูปแบบที่แตกตางกันออกไป ขั้นตอนตางๆ ดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู View หรือคลิกปุมขวาของเมาสบริเวณพื้นที่วางๆ เลือกคําสั่ง View 2. เลือกรูปแบบการแสดงไฟลและโฟลเดอรที่ตองการ มีอยู 4 แบบ ดังนี้

Thumbnails

เปนการแสดงไอคอนเปน ภาพขนาดใหญ เหมาะกับการแสดงไฟล รูปภาพ เพราะมุมมองนี้จะทําใหเห็นรูปภาพ ได โดยไมตองเปดไฟล

Tiles

เปนการแสดงไอคอน ชื่อไอคอน ประเภทของไอคอน พรอมขนาดของไฟล

Icons เปนการแสดงไอคอนขนาดเล็ก และ ชื่อไอคอน โดยเรียงจากซายไปขวา

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ซึ่ง โดยมี

40

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

List

เปนการแสดงไอคอนขนาดเล็ก เหมือนกับมุมมอง Icons แตจะเรียงจากบน ลงลาง

Details

เปนการแสดงไอคอนขนาดเล็ก เหมือนกับ List แตจะมีรายละเอียดของไฟล คือ ขนาด ประเภท วันและเวลาที่แกไข ลาสุด อยางครบถวน

4. การจัดเรียงไฟลและโฟลเดอร ผูใชสามารถจัดเรียงไฟลและโฟลเดอรไดตามความตองการ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการ คนหา ดังขั้นตอนตอไปนี้ 1. คลิกเลือกเมนู View หรือ คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณพื้นที่วางๆ 2. คลิกเลือก Arrange Icons by 3. คลิกเลือกคําสั่งการจัดเรียงตามรูปแบบทีต ่ อ  งการ มีอยู 4 แบบ ดังนี้ o แบบเรียงตามชือ ่ (Name) o แบบเรียงตามขนาดของไฟล (Size) o แบบเรียงตามชนิด (Type) o แบบเรียงตามวันที่ทท ี่ ําการแกไขครั้งลาสุด (Modified)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

41

5. การฟอรแมตแผนบันทึกขอมูลแบบออน (Floppy disk) การฟอรแมตแผนบันทึกขอมูลแบบออน เปนการปรับโครงสรางการเก็บขอมูลของแผนบันทึก ขอมูลใหสามารถใชงานไดกับระบบปฏิบัติการ Windows. ซึ่งถาแผนบันทึกขอมูลที่นํามาฟอรแมตมีการ บันทึกขอมูลอยูแลว จะทําใหขอมูลเดิมที่บน ั ทึกไวถูกลบออกจากแผนบันทึกขอมูลทั้งหมด การฟอรแมต แผนบันทึกขอมูลนั้น ใหผูใชใสแผนบันทึกขอมูลที่ในหนวยขับ (Drive) แลวทําตามขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกปุม Start 2. เลือก My Computer เพื่อดูหนวยขับตางๆ ในเครื่องคอมพิวเตอร 3. คลิกปุมขวาของเมาสที่หนวยขับ A: เลือกคําสั่ง Foemat 4. ถาตองการตัง้ ชื่อแผนบันทึกขอมูล ใหพิมพชื่อลงในชอง Volume label 5. กําหนดรูปแบบการฟอรแมตในกรอบ Format options o Quick Format เปนเพียงการลบขอมูลในแผนบันทึกขอมูล แตจะไมตรวจหาความ ี่ ูใชตอ  งการลบขอมูลเดิมออกจาก เสียหายในแผนบันทึกขอมูล เหมาะสําหรับในกรณีทผ แผน และแนใจวาแผนนั้น ไมมค ี วามเสียหายใดๆ o Enable Compression จะทําการบีบอัดโฟลเดอร และไฟลที่มีอยูในแผนใหมีขนาด เล็กลง (.ใชเฉพาะกับแผนดิสกที่มีระบบไฟลแบบ NTFS เทานั้น) o Create and MS-DOS startup disk เปนการสรางแผนบูตระบบ 6. คลิกปุม Start จะปรากฏแถบพื้นที่การฟอรแมต เมื่อเสร็จแลวจะมีการแจงใหทราบ ใหคลิก ปุม OK

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

42

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

ตอนที่ 3 การจัดการขอมูลดวย Windows Explorer โปรแกรม Windows Explorer เปนโปรแกรมสําหรับการจัดการไฟลและโฟลเดอร เหมือนกับการ ดูแลขอมูลดวย My Computer แตมีจุดเดนคือ Windows Explorer จะแสดงไฟลและโฟลเดอรทั้งหมด เปนลําดับชั้น เหมือนแผนภูมต ิ นไม ทําใหเขาถึงขอมูลในสวนตางๆ ไดงายและรวดเร็ว

1. วิธีเปด Windows Explorer ในการเปด Windows Explorer สามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 1. คลิกปุมขวาของเมาสที่ปุม 2. เลือกคําสั่ง Explorer 3. จะปรากฏหนาตาง Windows Explorer

บนแถบงาน (Taskbar)

วิธท ี ี่ 2 1. คลิกปุม Start บนแถบงาน (Taskbar) หรือ กดแปน + 2. เลือก All Programs จะปรากฏโปรแกรมทั้งหมด 3. เลือก Accessories จะปรากฏเมนูยอย 4. เลือก Windows Explorer 5. จะปรากฏหนาตาง Windows Explorer

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

43

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

2. สวนประกอบของ Windows Explorer หนาตางของโปรแกรม Windows Explorer ประกอบดวยพืน ้ ที่แสดงขอมูล 2 สวน คือ ดานซาย ทําหนาที่แสดงชื่อของหนวยเก็บขอมูล โฟลเดอร ซึ่งเปนโครงสรางการเก็บขอมูลเปนลําดับชั้น สวน ดานขวาเปนชื่อของไฟล เมื่อคลิกเมาสเลือกขอมูลทางกรอบดานซาย ก็จะเห็นรายละเอียดของไฟลตางๆ ในกรอบดานขวา ดังรูป

แสดงรายละเอียด ของขอมูล แถบ เครื่องมือ แสดงโครงสราง แหลงเก็บขอมูล

3. วิธีแสดงขอมูลใน Windows Explorer (ดานซาย) ผูใชสามารถกําหนดการแสดงขอมูลในระดับตางๆ โดยจะยอหรือขยายในแตละระดับของขอมูล หมายความวา สวนนัน ้ ยังมีโฟลเดอรยอยบรรจุ ดวยการคลิกที่เครื่องหมาย หรือ โดยเครื่องหมาย หมายความวา สวนนั้นมีการแสดงรายละเอียดของ อยูแตยังไมไดเปดดูรายละเอียด สวนเครื่องหมาย โฟลเดอรยอยแลว ซึ่งมีวิธีการแสดงขอมูลดังนี้ ขางไอคอน My Computer 1. คลิกเครื่องหมาย จะเปลี่ยนเปน และจะปรากฏโครงสรางภายในใหเห็นอีกระดับหนึ่ง 2. เครือ ่ งหมาย

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

44

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

4. การสรางโฟลเดอร ผูใชสามารถสรางโฟลเดอร เพื่อใชในการเก็บขอมูลตางๆ ไดหลายวิธีดังนี้ วิธท ี ี่ 1 1. คลิกเลือกโฟลเดอรหรือไดรฟที่ตองการสรางโฟลเดอรใหม 2. คลิกเลือกเมนูคําสั่ง File > New > Folder 3. จะปรากฏโฟลเดอรใหมในหนาตาง ชื่อวา New Folder 4. พิมพชื่อโฟลเดอร แลวกดแปน แตหากไมปรากฏแถบที่พรอมจะใหทําการเปลี่ยน ชื่อ และผูใชตองการเปลี่ยนชื่อ ใหไปดูหัวขอการเปลี่ยนชื่อไฟลและโฟลเดอร

วิธท ี ี่ 2 1. คลิกเลือกโฟลเดอรหรือไดรฟที่ตองการสรางโฟลเดอรใหม 2. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณที่วางในหนาตาง จะปรากฏเมนูลัด 3. เลือกคําสั่ง New > Folder 4. จะปรากฏโฟลเดอรใหมในหนาตาง ชื่อวา New Folder 5. พิมพชื่อโฟลเดอร แลวกดแปน แตหากไมาปรากฏแถบที่พรอมจะใหทําการเปลี่ยน ชื่อ และผูใชตองการเปลี่ยนชื่อ ใหไปดูหัวขอการเปลี่ยนชื่อไฟลและโฟลเดอร

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

45

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

5. การเลือกไฟลและโฟลเดอร เมื่อตองการกําหนดสิ่งตางๆ ใหกับไฟลหรือโฟลเดอร เชน การเปลี่ยนชื่อ การลบ การคัดลอก การยาย ฯลฯ ไมวาจะทํากับไฟลหรือโฟลเดอรเดียว หรือหลายโฟลเดอรก็ตาม จะตองทําการเลือกไฟล หรือโฟลเดอรกอ  น ซึ่งการเลือกนั้นสามารถแบงลักษณะการเลือกไดหลายวิธีดังนี้

5.1 การเลือกไฟลหรือโฟลเดอรเดียว 1. คลิกเลือกไฟลหรือโฟลเดอรทต ี่ องการ 2. จะปรากฏแถบสีเขมบริเวณไฟลหรือโฟลเดอรนั้น

5.2 การเลือกไฟลหรือโฟลเดอรทเี่ รียงติดกัน การเลือกไฟลและโฟลเดอรที่เรียงติดกัน สามารถทําได 2 วิธด ี ังนี้ คือ วิธท ี ี่ 1 1. แดรกเมาสเปนเสนทแยงใหมีกรอบลอมรอบไฟลหรือโฟลเดอรที่ตองการเลือก 2. จะปรากฏแถบสีเขมบริเวณไฟลหรือโฟลเดอรนั้น หมายเหตุ : การเลือกไฟลหรือโฟลเดอรในหนาตาง Windows Explorer จะตองทําที่ หนาตางสวนทีอ ่ ยูทางดานขวามือเทานั้น

วิธท ี ี่ 2 1. คลิกไฟลหรือโฟลเดอรแรกที่ตองการเลือก 2. กดแปน คางไว และคลิกเลือกไฟลหรือโฟลเดอรสด ุ ทาย ไฟลทั้งหมด ระหวางไฟล แรกและไฟลสุดทายจะถูกเลือก หมายเหตุ : การเลือกไฟลหรือโฟลเดอรในหนาตาง Windows Explorer จะตองทําที่ หนาตางสวนทีอ ่ ยูทางดานขวามือเทานั้น

+Click

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

46

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

5.3 การเลือกไฟลหรือโฟลเดอรที่ไมเรียงติดกัน 1. คลิกที่ไฟลหรือโฟลเดอรที่ตองการเลือก 2. กดแปน คางไว และคลิกเลือกไฟลหรือโฟลเดอรอื่นๆ ที่ตองการจนครบ แลวปลอยแปน หมายเหตุ : การเลือกไฟลหรือโฟลเดอรในหนาตาง Windows Explorer จะตองทําที่ หนาตางสวนทีอ ่ ยูทางดานขวามือเทานั้น

+Click

5.4 การเลือกไฟลหรือโฟลเดอรทั้งหมด การเลือกไฟลหรือโฟลเดอรทั้งหมด สามารถทําได 2 วิธีดงั นี้ คือ วิธท ี ี่ 1 1. คลิกเลือกเมนู Edit 2. เลือกคําสั่ง Select All 3. ไฟลและโฟลเดอรที่แสดงในหนาตางจะถูกเลือกทั้งหมด

+A

วิธท ี ี่ 2 1. กดแปน + 2. ไฟลและโฟลเดอรที่แสดงในหนาตางจะถูกเลือกทั้งหมด

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

47

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

6. การเคลือ่ นยาย (Move) การคัดลอก (Copy) ไฟลหรือโฟลเดอร การคัดลอก (Copy) ไฟลหรือโฟลเดอร เปนการทําสําเนาขอมูลไปยังอีกที่หนึ่ง ซึ่งเมือ ่ ผูใช คัดลอกแลวจะไดไฟลหรือโฟลเดอรขึ้นมาใหมเหมือนกับของเดิม การเคลื่อนยาย (Move) ไฟลหรือ โฟลเดอร จะเปนการยายไฟลหรือโฟลเดอรจากที่เดิมไปยังที่ใหม ซึ่งการคัดลอกและการยายนีส ้ ามารถทํา ไดหลายวิธีดังนี้คือ

6.1 การเคลื่อนยาย และคัดลอก ดวยวิธีลากแลวปลอย (Drag and Drop) 1. คลิกเลือกไฟลหรือโฟลเดอรทต ี่ องการยายหรือคัดลอก 2. จากนั้น o ถาตองการ ยาย (Cut) ไฟลหรือโฟลเดอร ใหแดรกเมาสไปยังโฟลเดอร ปลายทาง o ถาตองการ คัดลอก (Copy) ไฟลหรือโฟลเดอร ใหแดรกเมาสพรอมกับกดแปน แลวลากไปยังโฟลเดอรปลายทาง เมื่อถึงปลายทาง ๖ปรากฏแถบสีที่ โฟลเดอรปลายทาง) จึงปลอยเมาสและแปน

การยาย (Cut) = click+Drag

การคัดลอก (Copy) = click+ctrl+Drag

Note:

ใหสังเกตตัวชี้เมาส ขณะที่กดแปน จะมีลักษณะ

6.2 การเคลื่อนยายและคัดลอก ดวยวิธีตัด>วาง/คัดลอก>วาง (Cut>Paste/ Copy>Paste) 1. คลิกเลือกไฟลหรือโฟลเดอรทต ี่ องการยายหรือคัดลอก 2. จากนั้น o ถาตองการ ยาย (Cut) ไฟลหรือโฟลเดอรใหเลือกคําสั่งยายจากเมนู Edit > Cut o

) บนทูลบาร หรือ กดแปน + หรือคลิกปุม Cut ( ถาตองการ คัดลอก (Copy) ไฟลหรือโฟลเดอร ใหเลือกคําสั่งคัดลอกจากเมนู Edit > Copy หรือ คลิกปุม Copy (

) บนทูลบารหรือกดแปน +

3. เลือกโฟลเดอรปลายทางที่จะนําขอมูลไปวาง 4. เลือกคําสั่งวาง (Paste) จากเมนู Edit > Paste หรือคลิกปุม Paste ( บาร หรือกดแปน +

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

) บนทูล

48

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

5. ไฟลหรือโฟลเดอรที่ยายหรือคัดลอกจะไปปรากฏยังหนาตางที่เลือกไว

การยาย (Cut)

การคัดลอก (Copy)

การวาง (Paste)

6.3 การเปลี่ยนชื่อไฟลและโฟลเดอร ผูใชสามารถทีจ ่ ะตั้งชื่อไฟลและโฟลเดอรไดตามความตองการ และสามารถ เปลี่ยนแปลงได แตการเปลี่ยนชื่อนั้นจะตองไมซ้ํากับชื่อของไฟล หรือโฟลเดอรที่มีอยูแลว ในระดับหรือโฟลเดอรเดียวกัน วิธท ี ี่ 1 1. คลิกเลือกไฟลหรือโฟลเดอรทต ี่ องการเปลี่ยนชื่อ 2. คลิกเลือกเมนู File > Rename หรือ กดแปน หรือคลิกซ้ําที่ชื่อไฟลอีก ครั้ง 3. ทีช ่ ื่อไฟลหรือโฟลเดอรนั้นจะเปนสีเขมพรอมที่จะใหทําการเปลี่ยนชื่อใหม 4. พิมพชื่อที่ตอ  งการ 5. กดแปน วิธท ี ี่ 2 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณไฟลหรือโฟลเดอรที่ตองการ เปลี่ยนชื่อ จะปรากฏเมนูลด ั 2. เลือกคําสั่ง Rename 3. ทีช ่ ื่อไฟลหรือโฟลเดอรนั้นจะมีสีเขมพรอมที่จะใหทําการ เปลี่ยนชื่อใหม 4. พิมพชื่อที่ตอ  งการ 5. กดแปน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

49

7. การลบไฟลและโฟลเดอร การลบไฟลหรือโฟลเดอรจากแผนบันทึกขอมูลแบบแข็ง (hard disk) โดยปกติไฟลหรือ โฟลเดอรทถ ี่ ูกลบจะถูกนําไปเก็บไวใน Recycle Bin ผูใชสามารถทีจ ่ ะกูไฟลหรือโฟลเดอรกลับมาใชงาน ไดอีกครั้ง ดังจะกลาวในหัวขอถัดไป สําหรับการลบไฟลหรือโฟลเดอรสามารถทําไดหลายวิธี ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 1. คลิกเลือกไฟลหรือโฟลเดอรทต ี่ องการลบ 2. คลิกเลือกเมนู File > Delete 3. จะปรากฏหนาตาง Confirm File/Folder Delete Dialog เพื่อสอบถามความแนใจในการลบ o ยืนยันการลบ คลิกปุม Yes o ยกเลิกการลบ คลิกปุม No 4. ไฟลหรือโฟลเดอรที่เลือกจะถูกลบทิ้งไป

วิธท ี ี่ 2 1. คลิกเลือกไฟลหรือโฟลเดอรทต ี่ องการลบ ) บนทูลบาร หรือ กดคีย บนคียบอรด 2. คลิกปุม Delete ( 3. จะปรากฏ Confirm File/Folder Delete Dialog เพื่อสอบถามความแนใจในการลบ o ยืนยันการลบ คลิกปุม Yes o ยกเลิกการลบ คลิกปุม No 4. ไฟลหรือโฟลเดอรที่เลือกจะถูกลบทิ้งไป

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

50

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

วิธท ี ี่ 3 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณไฟลหรือโฟลเดอรที่ตองการลบ จะปรากฏเมนูลัด 2. คลิกคําสั่ง Delete 3. จะปรากฏ Confirm File/Folder Delete Dialog เพื่อสอบถามความแนใจในการลบ o ยืนยันการลบ คลิกปุม Yes o ยกเลิกการลบ คลิกปุม No 4. ไฟลหรือโฟลเดอรที่เลือกจะถูกลบทิ้งไป

Note: ถาเปนการลบไฟลหรือโฟลเดอรจากแผนบันทึกขอมูลแบบแข็ง (Hard disk) ดวยการกดแปน ควบคูกับการลบ หรือเปนการลบไฟลหรือโฟลเดอรจากแผนบันทึกขอมูลแบบออน (Floppy disk) ไฟล หรือโฟลเดอรที่ถูกลบจะไมอยูที่ Recycle Bin ผูใชจึงไมสามารถกูกลับมาใชงานได ซึ่งถาเปนการลบ รูปแบบนี้ใหสังเกตที่หนาตาง Confirm File/Folder Delete Dialog เพื่อสอบถามความแนใจในการลบจะมี รูปแบบที่แตกตางจากการลบเดิม ดังรูป

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

51

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

8. การกูไฟลที่ลบจาก Recycle Bin ไฟลหรือโฟลเดอรที่ถูกลบจะถูกนํามาเก็บไวที่ โฟลเดอรกลับไปที่เดิมได โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. 2. 3. 4.

Recycle

Bin

ซึ่งผูใ ชสามารถทีจ ่ ะกูไ  ฟลหรือ

) ดับเบิลคลิกไอคอน Recycle Bin บนเดสกทอป ( คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณไฟลหรือโฟลเดอรที่ตองการกูกลับคืน จะปรากฏเมนูลด ั เลือกคําสั่ง Restore ไฟลหรือโฟลเดอรจะถูกยายกลับไปยังตําแหนงเดิมกอนการลบ

Note: หากตองการลบไฟลหรือโฟลเดอรจากเครื่องคอมพิวเตอรทงิ้ อยางถาวรใหคลิก ที่หนาตาง task Pane

9. การคนหาไฟลและโฟลเดอร การคนหาขอมูลใน Windows.XP ไดมีการปรับปรุงเพิ่มเติมคุณสมบัติ ใหผูใชสามารถคนหา ขอมูลไดสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกปุม Start บนแถบงาน (Taskbar) หรือกดแปน + 2. เลือกคําสั่ง Search 3. จะปรากฏหนาตาง Search Results และที่บริเวณหนาตาง Task Pane จะปรากฏคําสัง่ ตางๆ ใหเลือกดังนี้ o Picture, music, or video ใชในการคนหารูปภาพ เพลง หรือ ไฟลวิดโี อตางๆ o Documents ใชในการคนหาไฟลเอกสาร o All files and folders ใชเพื่อคนหาไฟลและโฟลเดอร o Computers or people ใชคนหาเครื่องคอมพิวเตอรที่อยูในเครือขาย กรณีนี้ใหคลิกเลือก All files and Folders

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

52

name:

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

4. พิมพชื่อเต็มหรือบางสวนของไฟลทต ี่ องการคนหาลงในชอง All or part of the file

5. สามารถจะคนหาจากคําหรือประโยคที่ปรากฏในไฟลได โดยใสขอความในชอง A word or pharse in the file: 5. คลิกเลือกไดรฟหรือโฟลเดอรที่จะคนหาในชอง Look in: 6. คลิกปุม Search เพื่อเริ่มตนการคนหา 7. จะไดขอมูลที่ตองการคนหา ซึ่งบอกรายละเอียดตางๆ เชน แหลงที่เก็บ ขนาด ชนิด และวันที่

Note: การคนหาไฟลสามารถใชเครือ ่ งหมาย [*] ซึ่งจะแทนตัวอักษรตัวใดๆ ก็ได จํานวนหลายตัว หรือใช เครื่องหมาย [?] แทนตัวอักษรตัวใดๆ ก็ได จํานวนหนึ่งตัว ดังนั้น การคนหาไฟล ถาทราบขอมูลเพียง บางสวนไมวาเปนสวนหนาหรือสวนหลังของไฟลใหแทนตัวอักษรที่ไมทราบดวยเครื่องหมาย [*] เพียงตัว เดียว หรือถาตองการคนหาไฟล โดยไมทราบตัวอักษรบางตัว สามารถใชเครื่องหมาย [?] แทนตัวอักษร ที่ไมทราบ 1 ตัว และถาระบุนามสกุลไฟล จะทําใหคนหาไดรวดเร็วยิ่งขึ้น

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

53

ตอนที่ 4 การใชงาน Desktop 1. การกําหนดรูปแบบการแสดงหนาจอดวยชุดรูปแบบ (Themes) ผูใชสามารถกําหนดรูปแบบหนาจอ โดยใชชด ุ รูปแบบหรือ Themes ซึ่งเปนการกําหนดรูปแบบ การแสดงผลบนหนาจอเดสกทอป เชน การจัดวางไอคอน รูปแบตัวอักษร (Font) สีตัวชี้ของเมาส (Mouse Pointer) เสียง ภาพพื้นหลัง (Screen Saver) และรูปแบบของหนาตางที่แสดงบนเดสกทอปได ตามความตองการของผูใช 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณที่วาบนเดสกทอปจะปรากฏเมนูลัด ใหเลือกคําสั่ง Properties 2. จะปรากฏหนาตาง Display Properties ใหคลิกเลือกแท็บ Themes  งการจากรายการ 3. เลือกรูปแบบ Themes ที่ตอ o My Current Themes หมายถึง Themes ที่กําหนดรูปแบบเอาไวและกําลังใชงานอยู o Windows Classic หมายถึง การใชรูปแบบ Themes แบบ Windows 98/Me o Windows XP หมายถึง รูปแบบ Themes มาตรฐานของ Windows XP o More themes online หมายถึง การเลือกรูปแบบ Themes ที่ตองการจากทาง อินเตอรเน็ต o Browse หมายถึง การเลือกรูปแบบ Themes อื่นๆ ที่อยูภายในเครื่องคอมพิวเตอรของ ผูใช 4. คลิกปุม OK

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

54

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

2. การกําหนดภาพพื้นหลัง (Wallpaper) ผูใชสามารถกําหนดภาพพื้นหลังใหกับเดสกทอป ใหสวยงามไดตามทีต ่ องการ ซึ่งอาจจะกําหนด ไดจากรายการรูปภาพของระบบปฏิบัติการ Windows.XP ที่เตรียมมาใหเมื่อติดตั้ง หรือนํารูปมาเองจาก แหลงอื่น วิธีการกําหนดวอลลเปเปอร (Wallpaper) ใหกับเดสกทอป สามารถทําไดดังนี้ 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณที่วางบนเดสกทอปจะปรากฏเมนูลัด ใหเลือกคําสั่ง Properties 2. จะปรากฏหนาตาง Display Properties ใหคลิกเลือกแท็บ Desktop 3. เลือกรูปภาพจากรายการ ๖ถาไมพบรูปภาพที่ตองการจากรายการที่กําหนดมาให ใหคลิกปุม Browse เพื่อคนหาภาพดวยตนเอง) 4. เลือกวิธีการวางภาพในชอง Position: o Center หมายถึง แสดงรูปภาพกึ่งกลางจอมอนิเตอร o Title หมายถึง แสดงรูปภาพซ้าํ จนเต็มหนาจอ o Stretch หมายถึง แสดงรุปภาพขยายใหเต็มจอภาพ 5. คลิกปุม OK

3. การกําหนดสกรีนเซฟเวอร (Screen Saver) การเปดเครื่องทิ้งไวโดยไมไดใชงานเปนเวลานาน อาจทําใหจอภาพเสียหายได เนื่องจากลําแสง อิเล็กตรอนที่กระทบบนจอภาพซ้ําทีจ ่ ุดเดิมเปนระยะเวลานานๆ จะทําใหหลอดภาพเสื่อมเร็ว ซึ่งผูใ ช สามารถกําหนดใหมีการเคลื่อนไหวบนจอภาพเพื่อไมใหลําแสงอิเล็กตรอนกระทบจอภาพซ้ําทีจ ่ ุดเดิม โดย มีวิธีการดังนี้ 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณที่วางบนเดสกทอปจะปรากฏเมนูลัด ใหเลือกคําสั่ง Properties 2. คลิกเลือกแท็บ Screen Saver 3. เลือก Screen Saver ที่ตองการจากรายการ โดยจะปรากฏตัวอยางของสกรีเซฟเวอรทเี่ ลือก 4. กําหนดเวลา (นาที) ที่ตองการใหแสดงสกีนเซฟเวอร หลังจากเครื่องไมถูกใชงาน 5. คลิกปุม OK

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

55

4. การปรับแตงสวนตางๆ ของหนาตาง นอกจากการปรับแตงรูปแบบโดยการใช Themes ผูใชยังสามารถปรับแตงสวนตางๆ หนาตาง เชน การกําหนดสีของหนาตาง การแสดงสีของตัวอักษร ไดตามความตองการอีกดวย

ของ

4.1 การกําหนด Style ของหนาตาง 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณที่วางบนเดสกทอปจะปรากฏเมนูลัด ใหเลือกคําสั่ง Properteis 2. คลิกเลือกแท็บ Appearance 3. เลือก Style ที่ตองการจากรายการ โดยจะมีรูปแบบใหเลือก 2 รูปแบบ คือ o Windows XP style เปนรูปแบบมาตรฐานของ Windows XP o Windows Classic style เปนรูปแบบเดิมของ Windows 98/Me 4. เลือกรูปแบบสีทต ี่ องการ มีใหเลือก 3 สี ไดแก สีมาตรฐาน คือ สีน้ําเงิน สีเขียวมะกอก และสีเงิน 5. เลือกขนาดตัวอักษรที่ใช เชน บนเมนูบาร หนาตาง และไดอะล็อกบ็อกซตางๆ ฯลฯ ที่ชอง Font size 6. คลิกปุม OK

4.2 การกําหนดสีของหนาตาง 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณที่วางบน Desktop จะปรากฏเมนูลัด ใหเลือกคําสั่ง Properties 2. คลิกเลือกแท็บ Appearance 3. คลิกปุม Advanced จะปรากฏหนาตาง Advanced Appearance 4. คลิกเลือกสวนที่ตองการเปลี่ยนในชอง Item: หรือคลิกเลือกสวนตางๆ ที่ตองการเปลี่ยนจาก ตัวอยางหนาตางดานบน 5. กําหนดคุณลักษณะ เชน สี ขนาด และรูปแบบตัวอักษรใหกับสวนตางๆ ที่เลือกไดตาม ตองการ 6. คลิกปุม OK ในหนาตาง Advanced Appearance 7. คลิกปุม OK อีกครั้ง ในหนาตาง Display Properties

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

56

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

5. การสรางไอคอนชอรตคัด (Shortcut Icon) ไอคอนชอรตคัด (Shortcut Icon) เปนไอคอนชนิดหนึ่งซึง่ เปรียบเสมือนทางลัดในการเรียกใช แฟมขอมูล โปรแกรม หรือโฟลเดอร โดยทั่วไปมักสรางไวที่เดสกทอป เพื่อเรียกใชงานไดอยางรวดเร็ว และเมื่อตองการเรียกใชเพียงแคดับเบิลคลิกทีไ ่ อคอนชอรตคัต วิธีสรางสามารถทําไดหลายวิธี ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณที่วางบนเดสกทอปจะปรากฏเมนูลัด ใหเลือกคําสั่ง New > Shortcut 2. จะปรากฏหนาตาง Create Shortcut ใหคลิกปุม Browse 3. จะปรากฏหนาตาง Browse For Folder เลือกไฟลโปรแกรมหรือขอมูลที่ตองการ สรางชอรตคัต 4. คลิกปุม OK 5. ยอนกลับมาที่หนาตาง Create Shortcut จะปรากฏขอมูลอยูในชอง Type the location of the item: 6. คลิกปุม Next 7. จะปรากฏหนาตาง Select a title for the Program พรอมกับระบุชอ ื่ ใหกับชอรตคัตในชอง Type a name foe the shortcut: 8. คลิกปุม Finish 9. จะปรากฏไอคอนชอรตคัตทีต ่ องการบนเดสกทอป

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 2 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows

57

วิธท ี ี่ 2 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณไฟลหรือโปรแกรมที่ตองการสรางชอรตคัต จะปรากฏเมนูลัด ให เลือกคําสั่ง Create Shortcut 2. จะปรากฏไอคอนชอรตคัต ใหลากไปวางไวที่ Desktop 3. จะปรากฏไอคอนชอรตคัตทีต ่ องการบนDesktop

6. การจัดเรียงไอคอนบน Desktop หากไอคอนตางๆ บน Desktop มีมากเกินไปจะทําใหดูไมเปนระเบียบ ผูใ ชสามารถจัดเรียงไอ คอนบน Desktop ไดดังนี้ 1. คลิกปุมขวาของเมาสที่ Desktop จะปรากฏเมนูลัด ใหเลือกคําสั่ง Arrange Icons By 2. เลือกรูปแบบการจัดเรียงไอคอน o Name เปนการจัดเรียงตามชื่อ o Size เปนการจัดเรียงตามขนาดขอมูล o Type เปนกาจัดเรียงตามชนิดของไฟลขอมูล o Modified เปนการจัดเรียงตามวันที่ปรับปรุงขอมูล o Auto Arrange เปนการจัดเรียงแบบอัตโนมัติเมื่อมีการเคลื่อนยายไอคอน 3. ไอคอนตางๆ บน Desktop จะถูกจัดเรียงอยางเปนระเบียบ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

แนะนํา Microsoft office 2003

Editions

Word Excel Outlook PowerPoint Access Publish Business Contact Manager InfoPass FrontPage Project Visio OneNote

Microsoft office 2003 เปนชุดของโปรแกรมที่พฒ ั นาขึ้นโดยบริษัทไมโครซอฟท เหมาะสําหรับ การใชงานในสํานักงาน หรือผูใชงานภายในบาน และหนวยงานตางๆ โปรแกรมชุด Microsoft office 2003 นั้น ประกอบไปดวยรุนตางๆ ดังแสดงในตาราง

Professional Professional Enterprise Small Business Standard Basic Student/Teacher Individual Aplication

1. Microsoft office Word 2003 เปนโปรแกรมประมวลผลคําสําหรับการใชงานดานเอกสาร เชน จดหมาย รายงาน บันทึก ขอความ ใบประกาศ และคูมือการใชงานตางๆ ผูใชสามารถจัดการกับขอความในเอกสารไดอยางงาย ไม วาจะเปนการแกไขขอความ การตกแตงดวยสีและแบบตัวอักษร การใสตาราง รูปภาพ การตรวจสอบ ตัวสะกดและไวยากรณ การทําจดหมายเวียน และการใชงานเอกสารรวมกัน นอกจากนี้ยังสามารถบันทึก เอกสารในรูปแบบของ XML เพื่อใหผใู ชสามารถแยกเนื้อหาของเอกสารออกจากขอบเขตของรูปแบบของ เอกสาร

2. Microsoft office Excel 2003 เปนโปรแกรมกระดาษทดอิเล็กทรอนิกสที่มค ี วามสามารถโดดเดนดานการคํานวณประเภทตางๆ เชน ขอมูลตัวเลขทั่วๆ ไป คาสถิติ คาทางการเงิน คํานวณเกี่ยวกับวันที่ และเปนเสมือนกระดาษทดชั้นดีที่ สามารถจัดรูปแบบไดอยางสวยงาม สามารถพิมพออกมาเปนรายงานได และสามารถจัดขอมูลใหอยูใ นรูป ของตาราง หรือนําขอมูลในตารางมาสรางกราฟไดหลากหลายรูปแบบ เชน กราฟเสน กราฟแทง กราฟ วงกลม กราฟพื้นที่ ในลักษณะของภาพ 2 มิติและภาพ 3 มิติ และยังสามารถปรับเปลี่ยนและแกไขได อยางงายอีกดวย นอกจากนี้ ยังสามารถบันทึกเอกสารในรูปแบบของ XML ไดเชนเดียวกับโปรแกรม Microsoft office Word

60

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

3. Microsoft office PowerPoint 2003 เปนโปรแกรมสําหรับการนําเสนอขอมูลในการประชุม อบรม และสัมมนา หรือ การนําเสนอขอมูล ในรูปแบบตางๆ เชน ขอมูลขององคกร ขอมูลการขาย และการใชเปนสื่อประกอบการสอน เปนตน นอกจากจะสามารถสรางงานพรีเซนเตชันแลว โปรแกรม Microsoft office PowerPoint ยังสามารถสราง เอกสารประกอบการบรรยาย เชน เอกสารแจกผูฟง บันทึกยอสําหรับผูบรรยาย เปนตน รวมทั้งการนําเสนอ งานในรูปแบบของเว็บเพจ และการบันทึกผลงานลงในซีดีรอมเพื่อสามารถนําไปแสดงบนเครื่อง ื่ ๆ ที่ไมจําเปนตองติดตั้งโปรแกรม Microsoft office PowerPoint 2003 คอมพิวเตอรอน

4. Microsoft office Access 2003 เปนโปรแกรมทีม ่ ีคุณสมบัติในการจัดเก็บขอมูลในรูปแบบตาราง (Table) โดยการออกแบบตาราง ใหมีความสัมพันธกันเปนฐานขอมูล (Database) ซึ่งผูใชสามารถนําไปผลิตเปนสารสนเทศตอไป ทั้งนีใ้ น Microsoft office Access 2003 มีตัวชวยหรือวิซารด (Wizard) ในการแปลงคําสั่งตางๆ ที่เกิดจากการ กระทําใหเปนโคดคําสั่งโดยอัตโนมัติ ดังนั้นเมื่อผูใชตองการสรางคิวรี (Query) และเก็บขอมูลในรูปแบบ โปรแกรมสําเร็จรูปผานทางหนาฟอรม (Form) เพื่อออกเปนรายงาน (Report) จึงไมจําเปนตองเขียน โปรแกรมดวยตนเอง

5. Microsoft office Publisher 2003 เปนโปรแกรมดานงานพิมพ หรือ ที่เรียกวา Desktop Publishing ใชสาํ หรับการออกแบบและ จัดการสิ่งพิมพตางๆ เชน แผนพับ นามบัตร บัตรเชิญ บัตรอวยพร ใบประชาสัมพันธ เปนตน โปรแกรม Publisher ชวยอํานวยความสะดวกในการผลิตสิ่งพิมพไดอยางสะดวกและรวดเร็ว เนื่องจากมีวิซารด (Wizard) ทีก ่ ําหนดเคาโครง โครงรางสี และเนื้อหาของสิ่งพิมพใหเลือกใชจํานวนมาก นอกจากนี้ โปรแกรม Publishing ยังมีตัวอยางการออกแบบงานสิ่งพิมพ เพื่อชวยใหผูใชเกิดแนวคิดในการผลิต สิ่งพิมพใหม ๆ ออกมาใชงานไดอยางมีคุณภาพ

6. ความตองการดานฮารดแวร ความตองการระบบในการใชงานโปรแกรมชุด Microsoft office 2003 นั้น ประกอบดวยเครื่อง คอมพิวเตอร Intel Pentium ที่มีความเร็วอยางต่ํา 233 MHz (แนะนําใหใช Pentium III ขึ้นไป) หนวยความจํา (RAM) 128 MB หรือมากกวา โปรแกรมระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows 2000 with Service Pack 3 หรือ Windows XP หรือรุนสูงกวา สวนเนื้อที่แผนบันทึกขอมูลแบบแข็งนั้นตองการ แตกตางกันไป ขึ้นอยูกับรุนของ Microsoft office 2003 ที่ติดตั้ง ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดไดจาก เว็บไซตของบริษัทไมโครซอฟท (http://www.microsoft.com)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหนักศึกษามีความสามารถดังตอไปนี้ สามารถใชงานสวนประกอบทีส ่ ําคัญของโปรแกรม Microsoft Word ได สามารถตกแตงเอกสารดวยเครือ ่ งมือตางๆ ได เขาใจ และสามารถใชงานระบบอัตโนมัตต ิ าง ๆ ได สามารถสรางตารางลงในเอกสารได

ตอนที่ 1 ความสามารถของโปรแกรม โปรแกรม Microsoft Office Word 2003 เปนหนึ่งโปรแกรมในชุด Microsoft Office 2003 ซึ่ง ไดรับความนิยมอยางแพรหลาย เนื่องจากใชงานงาย มีหนาตางของโปรแกรม เมนูคําสัง่ และรวมถึงการ ใหความชวยเหลือ ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ซึ่งโปรแกรมถูกออกแบบมาเพื่อใชงานดานเอกสาร ตางๆ เชน จดหมาย รายงาน คูม  ือตางๆ ใบปะหนาแฟกซ และบันทึกขอความ เปนตน ลักษณะเดนและความสามารถของโปรแกรม Microsoft Office Word 2003 คือสามารถทีจ ่ ะ สรางเอกสารไดงาย ตัวอยางเชน 1. มีผูชว ยเหลือ (Office Assistance) ใหความชวยเหลือไดทั้งสอบถามคําสั่งตางๆ และวิธีการใช งานโปรแกรม 2. มีการตกแตงเอกสารที่งาย ทําไดทั้งรูปแบบตัวอักษรและยอหนา (Paragraph) 3. มีการสรางเอกสารจากตนแบบ (Templates) ในลักษณะตาง ๆ 4. สามารถสรางตารางเพื่อเปนสวนประกอบของเอกสาร 5. สามารถใสรูปภาพที่ไดมาจากคลิปอารต อินเทอรเน็ต กลองดิจท ิ ัล เครื่องสแกน และรูปกราฟ 6. มีระบบแกไขขอความอัตโนมัติในรูปแบบตางๆ เชน ชวยเตือนหรือแกไขขอความผิด เพื่อให งานทีส ่ รางมาสมบูรณ และถูกตองมากยิ่งขึ้น 7. สามารถสรางเอกสารในรูปแบบ HTML (Hypertext Markup Language) หรือที่เรียกวา “เว็บ เพจ (Web page)” บนอินเทอรเน็ต 8. อนุญาตใหบันทึกเอกสารในรูปแบบ XML (Extensible Markup Language) เพื่อใหผูใชสามารถ แยกเนื้อหาของเอกสารออกจากขอบเขตของรูปแบบของเอกสาร 9. สามารถล็อกเอกสาร และรูปแบบ หรือรูปแบบหมายเลข เท็มเพลต เพื่อใหเอกสารทีถ ่ ูกเรียกใช งานอยูในรูปแบบเดียวกัน

62

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

1.1 การเรียกใชโปรแกรม Microsoft Office Word 2003 การเรียกใชโปรแกรม Microsoft Office Word 2003 มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกที่ปม ุ 2. คลิกเลือก All Programs Microsoft Office 3. คลิกเลือก 4. คลิกเลือก Microsoft Office Word 2003 5. เขาสูห  นาจอโปรแกรม Microsoft Office Word 2003

1.2 สวนประกอบตาง ของ Microsoft Office Word 2003

1. แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) ทําหนาที่บอกชื่อโปรแกรมและชือ ่ ไฟลทใี่ ชงานปจจุบัน 2. แถบเมนูคําสั่ง (Menu Bar) ทําหนาที่แสดงเมนูคําสั่ง ซึ่งสามารถจะเลือกใหแสดงเมนู ภาษาไทย หรือเมนูภาษาอังกฤษได 3. แถบเครื่องมือ (Toolbars) ทําหนาทีแ ่ สดงปุม  คําสั่งตาง ๆ ที่ใชบอยๆ เชน ปุมบันทึก (Save) เปนตน เปนการเลือกใชคําสั่งจากปุมคําสั่งตาง ๆ ที่มีใหเลือกบนแถบเครื่องมือ แตละแถบ แทนการเลือกจากเมนูคําสั่ง แถบเครื่องมือทีใ่ ชบอยๆ เชน แถบเครื่องมือ มาตรฐาน (Standard Toolbar) และแถบเครือ ่ งมือจัดรูปแบบ (Formatting Toolbar)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

63

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

4. ตัวแทรกขอความ (Insertion ตําแหนงที่เริ่มแกไข

Point) ทําหนาที่เปนตัวบอกตําแหนงที่เริ่มพิมพ

หรือ

5. แถบแสดงสถานะ (Status Bar) ทําหนาทีแ ่ สดงตําแหนงของตัวแทรกขอความวาอยูที่ หนาใด และจํานวนทั้งหมดของเอกสารวามีทงั้ หมดกี่หนา รวมทั้งสถานะตางๆ เกี่ยวกับ ดานการพิมพ และการแกไข 6. แถบเลื่อน (Scrollbar) ทําหนาที่เลื่อนมุมมองของจอภาพในแนวตั้งหรือแนวนอน เมื่อ จอภาพไมสามารถแสดงขอมูลไดครบ

7. ปุมควบคุมหนาตางไฟลที่เปดใชงาน คือ ปุม Close ( แฟมขอมูลที่เปดใชงาน

) ทําหนาที่ปด  หนาตางของ

8. ปุมควบคุมหนาตางโปรแกรม (Control Buttons) ประกอบดวยปุมตางๆ โดยจะมี 4 สถานะ คือ ปุมยอหนาตาง (Minimize) ทําหนาทีย ่ อหนาตางของโปรแกรมที่เปดใชงาน อยู มาเก็บไวทแ ี่ ถบงาน (Taskbar) ปุมขยายหนาตาง (Maximize) ทําหนาที่ขยายหนาตางของโปรแกรม ให เต็มพื้นทีท ่ ั้งหมดของโปรแกรม ปุมกลับสูสภาพเดิม (Restore Down) ทําหนาที่ขยายหนาตางกลับไปมี ขนาดเทากับขนาดที่กอนขยายหนาตางโปรแกรมใหเต็มจอ ปุมปดหนาตาง (Close) ทําหนาที่ออกจากโปรแกรม 9. แถบเครื่องมือ Task Pane เปนแถบเครื่องมือที่ชวยในการทํางานหลายๆ ดาน เชน New Document, Clip Art และ Clipboard เปนตน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

64

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

1.3 การเลือกภาษาที่ใชพิมพ (~ [Accent grave]) กอนจะมีการเริม ่ พิมพขอความลงไปบนเอกสารนั้น จําเปนอยางยิ่งตองรูจักกับแปนพิมพทจ ี่ ะชวย ใหสามารถเปลีย ่ นสถานการณพิมพจากภาษาไทย หรือจากภาษาไทยเปนภาษาอังกฤษ คือแปน (รูปตัวหนอน) ดังนั้นเมื่อผูใชตองการปรับภาษาการพิมพใหกดแปน แถบแสดงสถานะ (Status bar)

~



และสังเกตสถานะของภาษาที่

1.4 การปอนขอความ (พิมพแทรก/พิมพทับ) การพิมพขอความแบงออกเปน 2 ลักษณะคือ

การพิมพแทรก โดยทั่วไปแลวมักเปนคาปกติของการพิมพ (Default) เนื่องจากเมื่อมีการพิมพขอความก็จะแทรก ตอไปเรื่องๆ โดยขอความที่อยูหลังจากตัวแทรกขอความ ( | ) ยังคงเลื่อนไป สังเกตสถานการณพิมพ แทรกไดจาก Status Bar ดังนี้ ตัวอยาง 1234| 567890

(Overtype) ใหสังเกตวาปุมนี้จะมีตัวอักษรสีเทา 1234 abcd|567890

การพิมพทับ การพิมพขอความทีท ่ ับขอความเดิมที่มีอยูเดิมแลว Status Bar ดังนี้ ตัวอยาง

โดยสังเกตสถานการณพิมพทับไดจาก

(Overtype) ใหสังเกตวาปุมนี้จะมีสีเขมขึ้น 1234 | 567890 1234 abcd|90

Note: การเปลี่ยนสถานะ การพิมพแทรกหรือพิมพทับ กดแปน ทีค ่ ียบอรด หรือดับเบิลคลิกปุม (overtype) บนแถบสถานะ (Status Bar) ทีห ่ นาตางโปรแกรม Word ขอความตอไปนี้เปนตัวอยาง ใชในบทเรียนตอไป

ในการที่จะเปดใชงานคุณลักษณะภาษาไทยใน Microsoft Office คุณตองกําลัง เรียกใชระบบปฏิบัตก ิ าร Microsoft Windows แบบ 32 บิตซึง ่ สนับสนุนภาษาไทย ตัวอยางเชน Microsoft Windows XP รุนภาษาไทย คุณสามารถคนหาคําในภาษาอังกฤษ แลวใหแสดงคํานิยามของคํานัน ้ ในภาษาไทยได คุณลักษณะนีม ้ ีใน Excel, Word และ PowerPoint ใหดวู ิธีใชคณ ุ ลักษณะภาษาไทยของ โปรแกรมที่คณ ุ กําลังใชอยู เพื่อจะไดทราบวิธีใชพจนานุกรม

1.5 การลบขอความ (Delete) การลบขอความนั้น เปนไปได 2 ลักษณะ คือ 1. ลบตัวอักษรที่อยูดานซายของตัวแทรกขอความ (|) ซึง่ ใชแปน < backspace> เพื่อลบ ขอความทางซายครั้งละหนึ่งตัวอักษร เชน ลบตัวเลข 4 และ3 ตัวอยาง 1234| 567890 12 |567890 2. ลบตัวอักษรที่อยูทางดานขวาของตัวแทรกขอความ (|) ซึ่งใชแปน เพือ ่ ลบ ขอความทางขวาครั้งละหนึ่งตัวอักษร เชน ลบตัวเลข 5 และ 6 ตัวอยาง 1234| 567890 1234 |7890

1.6 การยกเลิกคําสั่งและการทําซ้ํา (Undo/Redo) การใชคําสั่งหรือการพิมพขอความ อาจมีขอผิดพลาดเกิดขึ้น ซึ่งอาจจะเปนดวยคําสั่งที่เลือกจาก เมนูหรือแถบเครื่องมือ และการพิมพขอความ ซึ่งสามารถยกเลิกหรือทําซ้ําคําสั่งตางๆ เหลานั้นไดดังนี้ การยกเลิก (Undo) สามารถทําไดหลายวิธีดังตอไปนี้ วิธีที่ 1 คลิกเลือกเมนู Edit Undo วิธีที่ 2 คลิกปุม  Undo

บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

65

วิธีที่ 3 กดแปน + ตัวอยาง : 1234567890| 123456789 | การทําซ้า ํ (Redo) สามารถทําไดหลายวิธด ี ังตอไปนี้ วิธีที่ 1 คลิกเลือกเมนู Edit Redo วิธีที่ 2 กดแปน + ตัวอยาง : 1234567890 | 12345678900 |

1. ลักษณะตัวชี้ตําแหนงของเมาส ใน Microsoft Office Word 2003 หมายถึง ตัวชี้เมาสในตําแหนงที่เปนปุมคําสัง่ เมนูคําสั่ง หรือ Scrollbar ซึง่ ใชเลือกคําสั่ง หมายถึง ตัวชี้เมาสในตําแหนงดานหนาของบรรทัด ใชเพื่อบรรทัด หมายถึง ตัวชี้เมาสในพื้นทีข ่ อความ (Mouse Pointer) เพื่อเปลี่ยนตําแหนงของตัวแทรก ขอความ ( | ) (Insert Pointer) หรือเพื่อเลือกขอความ (Text selection) หมายถึง ตัวชี้เมาสในตําแหนงเหนือเสนของตาราง ใชเลือกคอลัมนในตาราง หมายถึง ตัวชี้เมาสในตําแหนงดานหนาของชอง (cell) ในตาราง ใชสําหรับเลือกชอง (cell) หมายถึง ตัวชี้เมาสในตําแหนงเสนในแนวนอนของตาราง เพื่อใชปรับความสูงตาราง หมายถึง ตัวชี้เมาสในตําแหนงเสนในแนวตั้งของตาราง เพือ ่ ใชปรับความกวางของตาราง

2. การไปยังตําแหนงตางๆ ของเอกสาร การไปยังตําแหนงตางๆในเอกสารนั้น คือการทําใหตัวแทรกขอความ ( | ) เลื่อนไปยังตําแหนงที่ ตองการ สามารถทําไดหลายวิธีดังตอไปนี้ วิธท ี ี่ 1 ใชเมาส ใหคลิกเมาสไปยังตําแหนงตางๆ ทีต ่ องการ วิธท ี ี่ 2 เลื่อนตัวแทรกขอความดวยการกดแปนบนคียบอรด การกดแปน < > < > < > < > < Page Up > < Page Down >

+ < > + < > + < >

ผลลัพธ เลื่อนตัวแทรกขอความไปทางซาย 1 ตัวอักษร เลื่อนตัวแทรกขอความไปทางขวา 1 ตัวอักษร เลื่อนตัวแทรกขอความขึ้น 1 บรรทัด เลื่อนตัวแทรกขอความลง 1 บรรทัด เลื่อนตัวแทรกขอความขึ้น 1 หนาจอภาพ เลื่อนตัวแทรกขอความลง 1 หนาจอภาพ เลื่อนตัวแทรกขอความไปทีต ่ วั อักษรแรกของบรรทัด เลื่อนตัวแทรกขอความไปทีต ่ วั อักษรสุดทายของบรรทัด เลื่อนตัวแทรกขอความไปทางซาย 1 คํา เลื่อนตัวแทรกขอความไปทางขวา 1 คํา เลื่อนตัวแทรกขอความขึ้น 1 ยอหนา

+ <

เลื่อนตัวแทรกขอความลง 1 ยอหนา

+ + + +

>



เลื่อนตัวแทรกขอความขึ้น 1 หนาเอกสาร เลื่อนตัวแทรกขอความลง 1 หนาเอกสาร เลื่อนตัวแทรกขอความไปทีต ่ วั อักษรแรกของเอกสาร เลื่อนตัวแทรกขอความไปทีต ่ วั อักษรสุดทายของเอกสาร

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

66

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

3. การบันทึกขอมูล (Save/Save As) การบันทึกขอมูล คือ การเก็บขอความตาง ๆ ที่ไดพิมพหรือตั้งคาตาง ๆ ทีไ ่ ดกําหนดไว เพื่อจะได นํากลับมาใชไดในภายหลัง โดยการบันทึกขอมูลมีอยูดว ยกัน 2 คําสั่ง คือ คําสั่ง Save และ คําสั่ง Save As ซึ่งใชตางกันดังนี้

3.1 บันทึกไฟลเอกสาร (Save) ใชเมื่อตองการบันทึกขอมูลทีก ่ ําลังใชงานอยูบ  นหนาจอ ซึ่งจะทําการบันทึกชื่อไฟลเดิม ขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเลือกเมนู File Save หรือกดแปน + 2. สังเกตการเปลี่ยนแปลงทีแ ่ ถบแสดงสถานะ (Status Bar)

มี

Note: จากรูป เปนการบันทึกไฟลเดิม ที่เปดขึ้นมาใชงาน และไดบันทึกขอมูลดวยคําสั่ง Save

3.2 บันทึกไฟลเอกสารเปน (Save As) ใชเมื่อตองการบันทึกแฟมขอมูลที่กําลังใชงานอยูบนหนาจอ จากเดิม ซึ่งจะมีขั้นตอนการบันทึกดังตอไปนี้ 1. คลิกเลือกเมนู File Save As …หรือกดแปน 2. คลิกเลือกไดรฟและตําแหนงที่ตองการบันทึก 3. พิมพชื่อไฟลทต ี่ องการบันทึก

ในชื่อไฟลหรือไดรฟที่แตกตางไป

4. คลิกปุม 5. สังเกตการเปลี่ยนแปลงทีแ ่ ถบแสดงสถานะ (Status Bar) แสดงขอความกําลังบันทึกขอมูล อยู

Note: การบันทึกขอมูลในครั้งแรก จะเปนการบันทึกโดยคําสั่ง Save As 1. การบันทึกขอมูลลงในไฟลครั้งแรก สามารถเลือกใชไดทั้งคําสั่ง Save หรือ Save As 2. เอกสารของ Microsoft Office Word 2003 จะถูกจัดเก็บไฟลที่มีนามสกุลเปน .doc

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

67

4. การปดเอกสาร (Close) การปดเอกสารที่กําลังเปดใชงานอยูนั้น สามารถทําไดหลายวิธีดังนี้ วิธีที่ 1 คลิกเลือกเมนู File Close ) ที่แถบเมนู วิธีที่ 2 คลิกปุม Close ( วิธีที่ 3 กดแปน +

5. การสรางเอกสารใหม (New) การสรางเอกสารใหมนั้น เมื่อผูใ ชเปดโปรแกรมจะเห็นไดวา โปรแกรมไดสรางไฟลเอกสารขึ้นมา เพื่อใชงานอยูแลว 1 เอกสาร แตผูใชตองการสรางเพิ่มขึ้นมาใหมอีก สามารถทําไดหลายวิธีดังตอไปนี้ วิธีที่ 1 กดแปน + ) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน วิธีที่ 2 คลิกทีป ่ ุม New ( วิธีที่ 3 1. คลิกเลือกเมน File New Blank document จากแถบเครื่องมือ Task Pane 2. คลิกเลือก 3. จะไดหนาตางเอกสารใหม

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

68

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

6. การกําหนดคาใหกบั หนากระดาษเอกสาร (Page Setup) การกําหนดคาใหกับหนากระดาษเอกสาร เปนการตั้งคาเพื่อใหการแสดงผลหนากระดาษ เปลี่ยนแปลงไปตามที่ตองการ มีขั้นตอนและรายละเอียดดังตอไปนี้ 1. คลิกเลือกเมนู File Page Setup.. 2. คลิกเลือกแท็บ Margins 3. ที่ Margins ใชสําหรับกําหนดคาตาง ๆ เกี่ยวกับขอบกระดาษและทายกระดาษ 4. ที่ Orientation ใชสําหรับกําหนดลักษณะของกระดาษแนวตั้ง (Portrait) และแนวนอน (Landscape) 5. คลิกเลือกแท็บ Paper 6. ที่ Paper size: ใชสาํ หรับกําหนดขนาดของกระดาษ 7. คลิกปุม

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

69

7. การเปดเอกสารเดิม (Open) คือ การเปดเอกสารที่เคยถูกบันทึกแลว ขึ้นมาใชงานหรือแกไขเพิ่มเติม มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเลือกเมนู File Open… หรือกดแปน + หรือคลิกที่ปม ุ Open 2. คลิกเลือกไดรฟและตําแหนงที่ตองการเปด 3. คลิกเลือกชือ ่ ไฟลทต ี่ องการเปด 4. คลิกปุม 5. จะเปดหนาตางไฟลที่เลือกไว

8. การดูเอกสารที่เปดใชงาน การดูเอกสารทีเ่ ปดใชงานอยูนน ั้ มีวัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบวามีเอกสารอยูจํานวนเทาใดที่เปด ใชงานอยู และปจจุบันเอกสารใดที่กําลังแสดงอยู นอกจากนี้ยังสามารถสลับเปลี่ยนเอกสารที่ใชในปจจุบัน ไดอีกดวย มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Window จะปรากฏรายชือ ่ เอกสารที่กําลังเปดใชงานอยู (สังเกตจะมีตวั เลขอยู หนาชื่อไฟลเอกสาร) 2. เครื่องหมาย √ ที่หนาชื่อเอกสาร หมายถึงแฟมเอกสารทีก ่ าํ ลังใชงาน (Active) อยูปจจุบัน ถาตองการใชเอกสารอื่น ก็ใหคลิกเลือกทีช ่ ื่อไฟลเอกสารทีต ่ องการ

Note: สามารถสลับเปลี่ยนเอกสารทีใ่ ชปจจุบันไปยังเอกสารอื่นที่เปดอยูได โดยกดแปน +

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

70

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

9. มุมมอง (View) ตางๆ ใน Microsoft Office Word 2003 มุมมองตางๆ ใน Microsoft Office word 2003 นั้น แบงออกเปนหลายมุมมองดวยกัน ซึ่งแตละ มุมมองก็จะมีลก ั ษณะเดนแตกตางกัน โดยสรุปมุมมองไดดังนี้ 1. มุมมองปกติ (Normal View) 2. มุมมองเคาโครงเว็ป (Web Layout View) 3. มุมมองเคาโครงหนากระดาษ (Print Layout View) 4. มุมมองเคาราง (Outline View) 5. มุมมองอาน (Reading Layout View) รายละเอียดของแตละมุมมองมีดังนี้

9.1 มุมมองปกติ (Normal View) เปนการกําหนดมุมมองใหเห็นทุกๆ สิ่งทีพ ่ ิมพใน เอกสาร เหมาะสําหรับพิมพ แกไข และกําหนดรูปแบบของ ขอความ นอกจากนี้ ยังแสดงตาราง รูปแบบขอความทีด ่ ูงาย มุมมองนี้จะไมแสดงระยะของขอบ กระดาษกับขอความ ทํา ใหการแกไขก็ยังเปนไปไดอยางรวดเร็ว ถาเอกสารที่ใชอยู ไมไดแสดงอยูใ นมุมมองปกติ ผูใชสามารถกําหนดดวยเมนู View Normal หรือคลิกไอคอน

8.2 มุมมองเคาโครงเว็บ (Web Layout View) เปนมุมมองในลักษณะเดียวกับการแสดงผล ของ เอกสารบนเว็บ คือ ไมมีระยะขอบกระดาษ ไมมีเสนแบงหนา ชวยใหการอานขอความในเอกสารเปนไปไดงา ยขึ้น ขอความทีแ ่ สดงใหเห็นเปนขอความ ตามความกวางของ หนาตางโปรแกรม และตัดตอนใหพอดีกับหนาตางที่แสดง ขอความ ถาเอกสารที่กําลังเปดใชอยูไมไดแสดงอยูใน มุมมองเคาโครงเว็บ ผูใชสามารถกําหนดไดดวยเมนู View Web Layout หรือ คลิกไอคอน

9.3 มุมมองโครงหนากระดาษ (Print Layout View) มักเรียกมุมมองนี้วา “มุมมองเหมือนพิมพ” เปน มุมมองที่จะแสดงทุกอยาง ตั้งแตระยะขอบของกระดาษกับ ขอความ ทุกดาน รูปภาพ รูปวาด ตาราง กราฟ รวมทั้ง ขอความทีห ่ ัวกระดาษ และทายกระดาษ หากแฟมเอกสารที่ เปด ประกอบดวยรูปภาพ จํานวนมาก การเปดใชมุมมองนี้จะ ทํางานไดชาทีส ่ ุด แตก็เปนมุมมองที่เปนที่นย ิ ม เนื่องจากจะ ถาเอกสารทีก ่ ําลังเปดใชอยู แสดงทุกอยางที่กําหนดขึ้น ไมไดแสดงอยูใ นมุมมองเหมือนพิมพ ผูใชสามารถกําหนด ดวยเมนู View

Print Layout หรือ คลิกไอคอน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

71

9.4 มุมมองเคาราง (Outline View) เปนมุมมองที่แสดงโครงสรางของเอกสาร โดยเฉพาะขอความ โดยไมแสดงรูปภาพ มุมมองประเภทนี้ เหมาะสมสําหรับการจัดการเนือ ้ หา การสลับเปลี่ยนหัวขอ เอกสาร หรือสลับเนื้อหา ถาเอกสารที่เปดใชงานอยูไมได แสดงอยูในมุมมองเคาราง ผูใชกส ็ ามารถกําหนดดวยเมนู คําสั่ง View

Outline หรือ คลิกไอคอน

8.5 มุมมองอาน (Reading Layout) เปนมุมมองใหมทส ี่ รางขึ้น เพื่อการอานเอกสาร โดยเฉพาะ โปรแกรมจะซอนแถบเครื่องมือ (Toolbars) ที่ใช งานโดยปกติ แลวแสดงเฉพาะแถบเครือ ่ งมือมุมมองอาน (Reading Layout Toolbars) ผูใ ชสามารถจะขยาย (Zoom Out) ขอความในมุมมองอาน เพื่อใหตัวอักษรมีขนาดใหญ ขึ้น โดยไมมผ ี ลกับขนาดของตัวอักษรจริงๆ ถาเอกสารที่ เปดใชงานอยูไมไดแสดงอยูใ นมุมมองอาน ผูใชกส ็ ามารถ กําหนดดวยเมนูคําสั่ง View Reading Layout หรือ คลิก ไอคอน

Note: เพื่อความสะดวกในการเปลี่ยนมุมมอง ผูใชสามารถกําหนดมุมมองโดยการคลิกจากปุมมุมมอง ซึ่งอยูใน บรรทัดเดียวกันกับ Scrollbar ที่มุมลางดานซายดังรูป

10. การเลือกขอความและตัวอักษร การเลือกขอความและตัวอักษร เพื่อที่จะไดใชประโยชนจากกลุมคําที่ไดเลือกไว เชน ตองการ เปลี่ยนขนาด เปลี่ยนฟอนต) แบบตัวอักษร (ตัวขีดเสนใต เปนตน สามารถทําไดหลายวิธีดังตอไปนี้

10.1 ใชแปนบนคียบอรด วิธท ี ี่ 1 เลือกเพียงบางสวน 1. เลื่อนเมาสไปยังตําแหนงเริ่มตนของขอความหรือตัวอักษรทีต ่ องการเลือก 2. กดแปน คางไวและกดแปนตอไปนี้ กดแปนลูกศรใดๆ เชน) ,,,< > กดแปน ,,, 3. ขอความถูกเลือกเปนแถบสีดําตามทีต ่ องการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

72

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

วิธท ี ี่ 2 เลือกทั้งเอกสาร การเลือกขอความทั้งเอกสารใหเลือกไดดวยเมนู Edit

Select All หรือกดแปน +

10.2 ใชเมาส วิธท ี ี่ 1 เลือกโดยคลิกเมาสคางแลวลาก (Drag Mouse) 1. คลิกเมาสทต ี่ ําแหนงเริ่มตนของขอความ และกดปุมเมาสคางไว 2. ลากเมาสไปใหเกิดเปนแถบสีดําทับขอความที่ตองการเลือก 3. ปลอยเมาสเมื่อเลือกขอความครบที่ตองการ

วิธท ี ี่ 2 เลือกขอความเฉพาะคํา 1. เลื่อนเมาสไปยังคําที่ตองการเลือก 2. ดับเบิลคลิกที่คําทีต ่ องการเลือก 3. คําที่ตองการเลือกจะปรากฏเปนแถบสีดํา

วิธท ี ี่ 3 เลือกขอความทั้งบรรทัด 1. เลื่อนเมาสไปดานซายสุดของขอความในบรรทัดที่ตองการ ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปน 2. คลิกเมาสดานหนาของขอความในบรรทัดที่ตองการ 3. ขอความในบรรทัดที่ตองการจะปรากฏเปนแถบสีดํา

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

73

วิธท ี ี่ 4 เลือกขอความทั้งยอหนา 1. เลื่อนเมาสไปดานซายของยอหนาขอความที่ตองการ ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปน 2. ดับเบิลคลิกที่ดานหนาของยอหนาขอความที่ตองการ 3. ขอความยอหนาทีต ่ องการจะปรากฏเปนแถบสีดํา

ดับเบิลคลิก

11. การยกเลิกขอความที่ถูกเลือกไว การยกเลิกการเลือกขอความนัน ้ สามารถทําไดหลายวิธด ี ังตอไปนี้ วิธท ี ี่ 1 คลิกเมาสในเอกสารสวนใดๆ ก็ได 1 ครั้ง วิธท ี ี่ 2 กดแปนใดๆ ตอไปนี้ก็ได 1 ครัง้ [เชน ,,,< >, , , ,]

12. แถบเครื่องมือ (Toolbars) แถบเครื่องมือ คือ ปุมของคําสั่งทีผ ่ ูใชสามารถสั่งงานไดโดยตรง เพื่อที่จะไดรับความสะดวกใน การเรียกใชคาํ สั่งทีถ ่ ูกเรียกใชงานบอยๆ แถบเครื่องมือที่ถูกเปดใชเปนประจําหรือเปนแถบเครื่องมือ มาตรฐานมี 2 แถบเครื่องมือ คือ 1. แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard Toolbar)

2.แถบเครื่องมือรูปแบบ (Formatting Toolbar)

3. แถบเครื่องมือนั้นสามารถทีจ ่ ะชวยซอนหรือแสดงไดดวยวิธีตาง ๆ ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 คลิกเลือกเมนู View Toolbars ชื่อแถบเครื่องมือ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

74

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

วิธท ี ี่ 2 คลิกปุมขวาของเมาสทบ ี่ ริเวณแถบเครือ ่ งมือหรือเมนูและเลือกชื่อแถบเครื่องมือ

Note: แถบเครื่องมือใดเปดใชงานอยู จะมีเครื่องหมาย

หนาชื่อแถบเครื่องมือนั้น

13. การขอความชวยเหลือจาก Microsoft Office Word 2003 ระบบขอความชวยเหลือจาก Microsoft Office Word 2003 นั้นเปรียบเสมือนกับคูมือการใชงาน ตางๆ โดยจะมีคําอธิบายทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ซึง่ สวนมากจะเปนภาษาอังกฤษ ทําไดดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Help Microsoft Word Help .. หรือคลิกที่ปุม มาตรฐาน 2. จะปรากฏกรอบคําถามทีต ่ องการขอความชวยเหลือ 3. กรอกขอความที่ตองการขอความชวยเหลือ

บนแถบเครื่องมือ

หรือกดแปน 4. คลิกปุม Start searching 5. คลิกเลือกหัวขอที่ตองการ 6. จะแสดงขอความตามหัวขอที่เลือก

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

75

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

14. ผูชว ยเหลือ (Office Assistant) Office Assistant คือ ผูชว ยเหลือของโปรแกรม Microsoft Office ซึ่งจัดใหมีหวั ขอและ คําแนะนําวิธีใช เพื่อชวยใหผใู ชโปรแกรมทํางานและใชโปรแกรมเขาใจงายมากยิ่งขึ้น โดยมีลักษณะเปน รูปการตูนหลายๆ ลักษณะ หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง คือจะมีความชวยเหลือ ดังนั้นวิธีการเรียกใชงานจึงก็คลาย กับระบบความชวยเหลือ ซึ่งผูใ ชสามารถเลือกลักษณะของผูชวยเหลือไดดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Help Show the Office Assistant 2. แสดงตัวผูช  ว ย (Office Assistant) 3. คลิกปุมขวาของเมาสที่ Office Assistant จะปรากฏเมนูลด ั 4. คลิกเลือกคําสั่ง Choose Assistant..

5. คลิกปุม 6. คลิกปุม

เพื่อเลือก Office Assistant ตัวอื่นๆ เพื่อตอบตกลงการเลือก Office Assistant

ตัวอยาง : ตัวผูชว ย Office (Office Assistant)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

76

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

15. การออกจากโปรแกรม การออกจากโปรแกรม สามารถทําไดหลายวิธีดังตอไปนี้ (เมื่อเปดไฟลใชงานเพียง 1 ไฟล) วิธีที่ 1 คลิกเลือกเมนู File Exit วิธีที่ 2 คลิกปุม  Close (

) บน Title Bar

วิธีที่ 3 ดับเบิลคลิกทีส ่ ัญลักษณของโปรแกรม วิธีที่ 4 กดแปน +

บน Title Bar

Note: เมื่อใชคําสั่งปดโปรแกรม แตยงั ไมไดบันทึกทีม ่ ีการแกไข ก็จะมีกรอบโตตอบ ดังรูป

หรือ

- ตอบ Yes เมื่อตองการบันทึกขอมูล และปดโปรแกรม - ตอบ No เมื่อไมตองการบันทึกขอมูล และตองการปดโปรแกรม - ตอบ Cancel เมื่อตองการยกเลิกคําสั่งการปดโปรแกรมครั้งนี้ และจะกลับเขาสูโปรแกรม Word

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

77

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

ตอนที่ 2 การตกแตงเอกสาร 1. การยายและการคัดลอกขอความ การยายขอความและการคัดลอกขอความนั้นมีขั้นตอนคลายกัน สามารถทําไดหลายวิธีดังตอไปนี้

1.1 การยายขอความโดยการ Drag and Drop มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. เลือกขอความที่ตองการยาย (Move) 2. เลื่อนตัวชี้เมาสไปยังแถบสีที่เลือกไว 3. คลิกและลากเมาส ขอความที่เลือกไปยังตําแหนงทีต ่ องการ (ตัวชี้เมาสจะมีลักษณะ 4. ปลอยปุมเมาส ขอความจะวางลงในตําแหนงดังรูป

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

)

78

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

1.2 การคัดลอกขอความโดยการ Drag and Drop มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. เลือกขอความที่ตองการคัดลอก (Copy) 2. เลื่อนตัวชี้เมาสไปยังแถบสีที่เลือกไว 3. กดแปน คางไว คลิกและลากเมาส ขอความที่เลือกไปยังตําแหนงที่ตองการ (เมาสจะ )) มีลักษณะดังนี้ ( 4. ปลอยปุมเมาส ขอความจะวางลงในตําแหนงดังรูป

Note: ผูใชยังสามารถยายหรือคัดลอกขอความได โดยการกดปุมขวาของเมาสคา งไวแลวลาก (Drag) ขอความ ที่เลือกเมื่อปลอยปุมเมาส เมนูลัด (Pop-up Menu) จะแสดงตัดเลือกทีใ่ ชงานสําหรับการยายและคัดลอก

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

79

1.3 การยายขอความโดยใชคําสั่ง Cut + Paste 1. เลือกขอความที่ตองการยาย ) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน หรือเลือกเมนู Edit Cut (เมื่อใชคําสั่ง Cut 2. คลิกปุม Cut ( แลวขอความทีถ ่ ูกเลือกไวจะถูกตัดเก็บไวในหนวยความจํา ใหสังเกตจะเห็นวาขอความตนฉบับ หายไป) 3. คลิกตําแหนงทีต ่ องการวางขอความที่ไดยายไว (ถาตองการยายขอความไปยังเอกสารอีกไฟล หนึ่ง ใหสลับไปที่เอกสารนั้น) ) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน หรือเลือกเมนู Edit Paste 4. คลิกปุม Paste ( 5. ขอความจะวางลงในตําแหนงดังรูป

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

80

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

1.4 การคัดลอกขอความโดยใชคําสั่ง Copy + Paste 1. เลือกขอความที่ตองการคัดลอก ) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน หรือเลือกเมนู Edit copy 2. คลิกปุม Copy ( 3. คลิกตําแหนงทีต ่ องการวางขอความที่ไดคัดลอกไว (ถาตองการคัดลอกขอความไปยังเอกสารอีก ฉบับหนึ่งใหสลับไปที่เอกสารฉบับนั้น) ) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน หรือเลือกเมนู Edit Paste 4. คลิกปุม Paste ( 5. ขอควมวางลงในตําแหนงดังรูป

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

81

2. การกําหนดคาตางๆ ใหกับตัวอักษร การกําหนดคาตางๆ ใหกับตัวอักษรนั้นสามารถปรับจากแถบเครื่องมือรูปแบบไดอยางงาย การปรับคาตางๆ นั้นประกอบไปดวยลักษณะของแบบอักษรในลักษณะตางๆ ดังนี้

โดย

2.1 รูปแบบอักษรหรือฟอนต รูปแบบอักษรมักจะพูดกันติดปากวา “ฟอนต” จํามีรูปแบบทีแ ่ ตกตางกันมาก ซึ่งรูปแบบอักษรจะ แบงออกเปน 2 ประเภทดวยกัน คือ 1. Complex Scripts คือ รูปแบบอักษรที่ใชภาษาไทยเพียงอยางเดียว 2. Latin Text คือ รูปแบบอักษรทีใ่ ชเปลีย ่ นใหกับอักษรทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ผูใชสามารถเปลี่ยนรูปแบบอักษร มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. เลือกขอความที่ตองการเปลีย ่ นรูปแบบอักษร 2. คลิกเลือกรูปแบบฟอนตจากรายการรูปแบบอักษรที่ใหมา 3. รูปแบบอักษรจะเปลีย ่ นไปตามแบบที่ไดเลือกไว

Note: 1. การเลือกรูปแบบอักษรทีใ่ ชกับภาษาไทยนัน ้ ควรเลือกรูปแบบอักษรทีช ่ อ ื่ ลงทายดวย Upx เชน AngsanaUPC, CordiaUPC เปนตน ซึ่งฟอนตอื่นๆ อาจไมสามารถแสดงภาษาไทย เชน Arial,Time New Roman เปนตน แตถาใชระบบปฏิบต ั ิการ Microsoft Windows 2000 หรือ Microsoft WindowsXP ผูใ ชควรเลือกรูปแบบอักษรที่มช ี ื่อลงทายดวย New เชน Angsana New มิฉะนั้นแลวจะ เกิดปญหาการแสดงผลขอความที่เปนภาษาอังกฤษและภาษาไทยใชรูปแบบอักษรไมตรงกัน 2. ถาเลือกขอความที่เปนภาษาไทย และภาษาอังกฤษปนกัน อาจพบวาในชองรูปแบบอักษรปรากฏ ดังนี้ คือ ไมสามารถระบุไดวา เปนฟอนตใด ทั้งนี้เนื่องมาจากขอความที่เลือกมี รูปแบบอักษร มากกวา 1 แบบ (ทั้งแบบภาษาไทย และภาษาอังกฤษ)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

82

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

2.2 การเปลี่ยนขนาดของฟอนต การเปลี่ยนขนาดของฟอนต คือการทําใหขนาดตัวอักษรใหญขึ้นหรือเล็กลงตามขนาดทีต ่ องการ มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. เลือกขอความซึ่งตองการเปลี่ยนขนาดของฟอนตของขอความนั้น 2. คลิกเลือกขนาดของฟอนตจากรายการรูปแบบอักษรทีใ่ หมา 3. ขอความที่เลือก จะเปลี่ยนขนาดของฟอนตตามทีต ่ องการ

Note: ขนาดตัวอักษรสามารถที่จะกรอกตัวเลขลงไปในชองโดยไมเลือกขากขนาดที่มีก็ได แตตัวเลขที่กรอกตอง เปนจํานวนเต็มบวก ระหวาง 1 ถึง1638

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

83

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

2.3 อักษรตัวหนา อักษรตัวเอียง และอักษรขีดเสนใต รูปแบบอักษร ขนาดอักษร สามารถปรับไดจากแถบเครื่องมือรูปแบบ ซึ่งสามารถปรับตัวอักษร เนนใหหนา เอียง หรือขีดเสนใตได มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. เลือกขอความที่ตองการปรับเปลี่ยน 2. เลือกบนแถบเครื่องมือรูปแบบ คลิกเมาสปม ุ Bold (

) เพื่อทําใหตัวอักษรที่เลือกหนา

คลิกเมาสปม ุ Italic (

) เพื่อทําใหตัวอักษรที่เลือกเอียง

คลิกเมาสปม ุ Underline (

) เพื่อทําใหตัวอักษรที่เลือกขีดเสนใต

3. ผลลัพธจากการปรับเปลีย ่ น

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

84

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

2.4 สีตัวอักษร Microsoft Office Word สามารถกําหนดสีใหกับตัวอักษรไดเพื่อใชเนนขอความตางๆ ในเอกสาร มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. เลือกขอความที่ตองการกําหนดสีใหกับตัวอักษร )บนแถบเครื่องมือจัดรูปแบบ และเลือกสีทต ี่ องการ 2. คลิกเมาสปม ุ Font Color ( 3. ตัวอักษรที่เลือกไวจะเปลี่ยนสีตามทีผ ่ ูใชเลือก (จากตัวอยางเลือกสีเขียว)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

85

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

2.5 ลักษณะพิเศษอื่นๆ Microsoft Office Word สามารถกําหนดลักษณะพิเศษอื่นๆ ไดอีก เชน ตัวอักษรยก (Superscript) ตัวอักษรหอย (Subscript) ขัดเสนใต 2 เสน (Double Underline) เปนตน ซึ่งสามารถ กําหนดไดดังนี้ 1. คลิกเลือกขอความที่ตองการปรับเปลีย ่ น 2. คลิกเลือกเมนู Format Font… 3. จะปรากฏหนาตาง Font และคลิกเลือกแท็บ Font 4. คลิกเลือกลักษณะพิเศษทีต ่ องการ 5. คลิกปุม

2.6 ความหมายของหนาตาง Font ชื่อฟอนต Complex scripts font Latin text font Font Style

ความหมาย

เลือกแบบของ Font ใหกับภาษาไทย เลือกแบบของ Font ใหกับภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ เลือกรูปแบบลักษณะของ Font เชน Windows,

Windows Size Font color Underline Style

ขนาดของตัวอักษร เชน Windows14, Windows 16 สีของตัวอักษร เชน Windows, Windows ลักษณะของเสนใต เชน Windows, Windows

Strikethrough

ตัวอักษรขีดทับ เชน

Double strikethrough

Windows ตัวอักษรขีดทับคู เชน Windows

Superscript

ตัวอักษรตัวยก เชน Windows

Windows

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

86

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

ชื่อฟอนต

ความหมาย

Subscript Shadow

ตัวอักษรตัวหอย เชน Windows ตัวอักษรเงา เชน Windows

Outline

ตัวอักษรเคาราง เชน

Emboss

ตัวอักษรนูนขึ้น เชน W Wininddoowwss

Engrave

ตัวอักษรรอยจารึกสลักลาย เชน

Windows

All caps

WWininddoowwss ตัวอักษรพิมพใหญขนาดเล็ก เชน WINDOWS ตัวอักษรพิมพใหญทั้งหมด เชน WINDOWS

Hidden

ซอนตัวอักษร

Small caps

2.7 Text Effects ผูใชสามารถกําหนดขอความใหมีลักษณะพิเศษไดหลายรูปแบบ (Animation) ก็เปนอีกรูปแบบหนึ่งที่นาสนใจ 1. คลิกเลือกขอความที่ตองการทํา Text Effects 2. คลิกเลือกเมนู Format Font.. 3. จะปรากฏหนาตาง Font และเลือกแท็บ Text Effects 4. คลิกเลือกรูปแบบ Animations ที่ตองการ

การทําขอความเคลื่อนไหว

5. คลิกปุม

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

87

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

3. การจัดการเกี่ยวกับยอหนา (Paragraph) 3.1 การจัดแนวขอความ (Alignment) การจัดแนวขอความชวยทําใหสรางเอกสารตางๆ ไดงายขึน ้ โดยสามารถกําหนดใหขอความหรือ ยอหนาตางๆ จัดชิดดานใดดานหนึ่งของเอกสารได มีใหเลือก 5 แบบดังนี้ 1. ขอความจัดชิดซาย (Align Left) มีขั้นตอนดังตอไปนี้ คลิกเมาส ใหตวั แทรกขอความปรากฏที่ตาํ แหนงใดก็ไดในยอหนานั้น ๆ ) คลิกเมาสที่ปุม Align Left ( 2. ขอความจัดกึ่งกลาง (Center) มีขั้นตอนดังตอไปนี้ คลิกเมาส ใหตวั แทรกขอความปรากฏที่ตาํ แหนงใดก็ไดในยอหนานั้นๆ ) คลิกเมาสที่ปุม Center ( 3. ขอความจัดชิดขวา (Align Right) มีขั้นตอนดังตอไปนี้ คลิกเมาส ใหตวั แทรกขอความปรากฏที่ตาํ แหนงใดก็ไดในยอหนานั้นๆ ) คลิกเมาสที่ปุม Align Right ( 4. ขอความจัดชิดซายและขวา (Justify) มีขั้นตอนดังตอไปนี้ คลิกเมาส ใหตวั แทรกขอความปรากฏที่ตาํ แหนงใดก็ไดในยอหนานั้นๆ 5.

Note:

) คลิกเมาสที่ปุม Justify ( ขอความใหระยะหางของเวนวรรคของยอหนาใหเทากันและจัดชิดชวา (Distributed) ขั้นตอนดังตอไปนี้ คลิกเมาส ใหตวั แทรกขอความปรากฏที่ตาํ แหนงใดก็ไดในยอหนานั้นๆ -

-

คลิกเมาสที่ปุม Distributed (

มี

)

ผูใชยังสามารถกําหนดการจัดวางขอความในรูแบบตางๆ ไดจากเมนู Format Alignment ซึ่งจะมีใหเลือกหลายแบบดวยกัน เชน Thai Distribute

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

Paragraph ในสวนของ

88

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

3.2 การกําหนดระยะหางระหวางยอหนา การกําหนดระยะหางยอหนา ทําเพื่อใหยอหนาที่พิมพหลายยอหนา มีระยะหางมากหรือนอยกวา ที่กําหนด เพื่อใหเอกสารเกิดความสวยงาม ซึ่งจะมีใหเลือก 2 สวนดวยกัน คือ กอนยอหนา และหลังยอ หนา มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเมาส ใหตัวแทรกขอความปรากฏทีต ่ าํ แหนงใดก็ไดในยอหนานั้นๆ 2. คลิกเลือกเมนู Format Paragraph 3. คลิกเลือกระยะหางยอหนาที่ตองการ (Spacing) Before คือ ระยะหางระหวางยอหนาปจจุบันกับยอหนาที่อยูก  อนหนา After คือ ระยะหางระหวางยอหนาปจจุบันกับยอหนาที่อยูถด ั ไปดานลาง 4. คลิกปุม 5. จะปรากฏระยะหางระหวางยอหนาตามที่ไดกําหนดไว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

89

3.3 การกําหนดระยะหางระหวางบรรทัด การกําหนดระยะหางระหวางบรรทัด ทําเพื่อที่จะใหบรรทัดตางๆ ในยอหนานั้นมีความหางกันหรือ ชิดกันในแตละบรรทัด มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเมาส ใหตัวแทรกขอความปรากฏทีต ่ าํ แหนงใดก็ไดในยอหนานั้นๆ 2. คลิกเลือกเมนู Format Paragraph 3. คลิกเลือกระยะหางระหวางบรรทัดที่ตองการ (Line Spacing) Single คือ ระยะหางระหวางบรรทัด 1 บรรทัด 1.5 Lines คือ ระยะหางระหวางบรรทัด 1.5 บรรทัด Double คือระยะหางระหวางบรรทัดเปน 2 เทา At least คือ ระยะหางระหวางบรรทัดปกติ Exactly คือ ระยะหางระหวางบรรทัดชิดพอดี Multiple คือ ระยะหางระหวางบรรทัดเปน 3 เทา 4. คลิกปุม 5. จะปรากฏระยะหางระหวางบรรทัดตามที่ไดกําหนดไว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

90

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

4. การกําหนดกั้นหนาหรือกั้นหลัง (Indents) การกําหนดกั้นหนาหรือกั้นหลัง เปนการกําหนดขอบเขตของขอความในเอกสารไมใหเกิน ขอบเขตที่กําหนดไวขอบเขตตางๆ นั้นแบงเปน 3 ประเภท คือ กั้นหนาบรรทัดแรก กั้นหนาบรรทัดตอๆ ไป และกั้นหลัง

เรียกวา First Line Indent คือ การกําหนดกัน ้ หนาเฉพาะบรรทัดแรกบรรทัดเดียว เรียกวา Hanging Indent คือ การกําหนดกั้นหนาสําหรับบรรทัดตอๆ ไปจากบรรทัดแรก เรียกวา Left Indent คือ การกําหนดกั้นหนาทั้ง First Line Indent และ Hanging Indent ไปพรอมกัน เรียกวา Right Indent คือการกําหนดกั้นหลังใหกับยอหนาที่เลือก

4.1 การกําหนด First Line Indent การกําหนด First Line Indent สามารถกําหนดได มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเมาส ใหตัวแทรกขอความปรากฏทีต ่ าํ แหนงใดก็ไดในยอหนานั้นๆ คางไว 2. คลิกเมาสไปที่ปุม 3. เลื่อนเมาสไปยังตําแหนงทีต ่ องการกําหนดกั้นหนาบนเสนบรรทัด 4. ปลอยปุมเมาส 5. จะไดกั้นหนาตามที่ตองการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

4.2 การกําหนด Hanging Indent การกําหนด Hanging Indent สามารถกําหนดได มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเมาส ใหตัวแทรกขอความปรากฏทีต ่ าํ แหนงใดก็ไดในยอหนานั้นๆ คางไว 2. คลิกเมาสไปที่ปุม 3. เลื่อนเมาสไปยังตําแหนงทีต ่ องการกําหนดกั้นหนาบนเสนบรรทัด 4. ปลอยปุมเมาส 5. จะปรากฏผลลัพธตามที่กําหนดไว

4.3 การกําหนดกั้นหนา Left Indent การกําหนด Left Indent สามารถกําหนดได มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเมาส ใหตัวแทรกขอความปรากฏทีต ่ าํ แหนงใดก็ไดในยอหนานั้นๆ คางไว 2. คลิกเมาสไปที่ปุม 3. เลื่อนเมาสไปยังตําแหนงทีต ่ องการกําหนดกั้นหนาบนเสนบรรทัด 4. ปลอยปุมเมาส 5. จะปรากฏผลลัพธตามที่กําหนดไว

4.4 การกําหนดกั้นหลัง Right Indent

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

91

92

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

การกําหนด Right Indent สามารถกําหนดไดตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเมาส ใหตัวแทรกขอความปรากฏทีต ่ าํ แหนงใดก็ไดในยอหนานั้นๆ คางไว 2. คลิกเมาสไปที่ปุม 3. เลื่อนเมาสไปยังตําแหนงทีต ่ องการกําหนดกั้นหนาบนเสนบรรทัด 4. ปลอยปุมเมาส 5. จะปรากฏผลลัพธตามที่กําหนดไว

5. การกําหนด Tab รูปแบบตาง ๆ การกําหนด Tab ในรูปแบบตางๆ นั้น ทําใหสะดวกในการสรางเอกสารที่จําเปนตองกรอก ขอความทีต ่ องตรงในตําแหนงเดียวกัน โดยปกติกดเปน จะทํางานตามระยะที่กาํ หนดไวกอนใน ระบบ ผูใชสามารถกดแปน ไดโดยไมตองกําหนดระยะ Tab ซึ่งระยะที่ระบบกําหนดไปครั้งละ 0.5 นิ้ว แตถาตองการกําหนดใชเองมี Tab อยู 4 ประเภทที่นย ิ มใชคือ Left Tab คือ Tab ที่กําหนดใหขอความหรือตัวเลขชิดซายในแนว Tab Center Tab คือ Tab ที่กําหนดใหขอความหรือตัวเลขอยูกึ่งกลางของ Tab Right Tab คือ Tab ที่กําหนดใหขอความหรือตัวเลขชิดขวาในแนว Tab Decimal Tab คือ Tab ที่กําหนดใหตัวเลขทีม ่ ีจุดทศนิยมอยูใ นแนว Tab ผูใชสามารถเปลี่ยนลักษณะของ Tab ไดโดยการคลิกบริเวณดานหนาของเสนบรรทัดเพื่อเลือก ลักษณะของ Tab ที่ตองการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

93

วิธีการกําหนด Tab มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเมาส ใหตัวแทรกขอความปรากฏทีต ่ าํ แหนงใดก็ไดในยอหนานั้นๆ 2. คลิกเมาสเพื่อเลือกลักษณะของ Tab ที่ตองการ 3. เลื่อนเมาสไปยังตําแหนงทีต ่ องการกําหนดบนเสนบรรทัด 4. คลิกเมาสทต ี่ ําแหนงที่อยูบนเสนบรรทัด

Center Tab คือ Tab ที่ขอความหรือตัวเลขอยูกึ่งกลางของ Tab ในแนวเดียวกันเมื่อขึ้นบรรทัดใหม

Left Tab คือ Tab ที่ขอความหรือตัวเลขชิดซายในแนว Tab เดียวกันเมื่อขึ้นบรรทัดใหม

Right Tab คือ Tab ที่กําหนดใหขอความหรือตัวเลขชิดขวาในแนว Tab เดียวกันเมื่อขึ้นบรรทัดใหม

Decimal Tab คือ Tab ที่กําหนดจุดทศนิยมใหอยูในแนว Tab เดียวกันเมื่อขึ้นบรรทัดใหม

Note: 1. เมื่อตองการใช Tab ที่กําหนดไว ตองกดแปน เพื่อใช Tab ในแตละครั้ง 2. การยกเลิก Tab ทําไดโดยการคลิกเมาสคา งไวที่ตาํ แหนง Tab ที่ตองการยกเลิก แลวลากเมาส (Drag) ให Tab หายไปจากบริเวณเสนบรรทัดนั้น

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

94

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

6. การคัดลอกรูปแบบตางๆ ดวย Format Painter การจัดรูปแบบตางๆ ใหกับเอกสาร ซึ่งจะมีการกําหนดทั้งแบบอักษร ตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเสนใต เปนตน สิ่งตางๆ เหลานี้สามารถคัดลอกเฉพาะรูปแบบจากตนแบบมายังตําแหนงตางๆ ที่ตอ  งการไดงายๆ มี ขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเมาสใหตัวแทรกขอความ ปรากฏที่ตาํ แหนงทีต ่ องการคัดลอกลักษณะของยอหนา ) 2. คลิกเมาสทป ี่ ุม Format Painter ( 3. คลิกเมาสคางไว แลวลากครอบคลุมขอความที่ตองการใหเหมือนกับรูปแบบตนฉบับ 4. จะปรากฏผลลัพธตามทีต ่ องการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

95

7. การกําหนดคอลัมน (Column) ใหกับเอกสาร การกําหนดคอลัมนใหกับเอกสาร คือการทําใหขอความ แสดงผลเปนสวนๆ ในแนวตั้ง แลวให ขอความปรากฏตามคอลัมนทแ ี่ บง เชนเดียวกับการแสดงขอความในหนังสือพิมพ การแบงคอลัมนควรจะ เลือกยอหนาไวกอน เพื่อมีผลเฉพาะกับขอความของยอหนาที่เลือก มิฉะนัน ้ จะถือวากําหนดใหกับเอกสารทั้ง ฉบับ โดยมีวิธีการกําหนดดังตอไปนี้ 1. เลือกขอความที่ตองการแบงคอลัมน ) 2. คลิกปุม Columns ( 3. คลิกเลือกจํานวนคอลัมนทก ี่ ําหนด 4. จะปรากฏจํานวนคอลัมนที่กาํ หนด

Note: การยกเลิกคอลัมนใหกับเอกสารหรือยอหนาตางๆ เหลานั้น ใหเลือกที่ปุม Columns ( จํานวนคอลัมนเพียง 1 คอลัมนเทานั้น

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

) แลวเลือก

96

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

8. การสรางเสนกรอบและใสสีใหกับยอหนาหรือเอกสาร (Border and Shading) การใสกรอบหรือเสนตางๆ ใหกับยอหนาหรือเอกสาร ผูใ ชยังสามารถกําหนดสีใหกับยอหนาไดอีก ดวย เพื่อใชเนนขอความในยอหนาหรือตําแหนงสําคัญๆ

8.1 การสรางเสนกรอบใหกับยอหนา ใชเพื่อใสหรอบหรือตีเสนใหกบ ั ยอหนา สามารถทําไดหลายวิธีดังตอไปนี้

วิธท ี ี่ 1

1. คลิกเมาสใหตัวแทรกขอความ ปรากฏที่ตาํ แหนงใดก็ไดในยอหนานั้นๆ 2. คลิกเมาสทป ี่ ุม Border (

)

3. คลิกเลือกรูปแบบของเสนกรอบตางๆ ทีต ่ อ  งการ ( 4. จะปรากฏเสนกรอบขอความที่ตองการ

)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

วิธท ี ี่ 2 1. 2. 3. 4. 5.

97

คลิกเมาสใหตัวแทรกขอความ ปรากฏที่ตําแหนงใดก็ไดในยอหนานั้น ๆ คลิกเลือกเมนู Format Borders and Shading… คลิกเลือกแท็บ Border คลิกเลือกแบบเสนกรอบ คลิกเลือกเสนกรอบ 5.1 เลือกลักษณะเสนกรอบทีต ่ องการ หรือ 5.2 เลือกตําแหนงของเสนทีต ่ องการใช

6. คลิกปุม 7. จะปรากฏเสนกรอบขอความตามที่ไดกําหนดไว

5.2 5.1

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

98

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

8.2 การใสพนื้ สีใหกับยอหนา ใชเพื่อกําหนดยอหนาใหมีพื้นเปนสีตางๆ โดยมีวิธท ี ําดังนี้ 1. คลิกเมาสใหตัวกระพริบ ปรากฏทีต ่ ําแหนงใดก็ไดในยอหนานั้นๆ 2. คลิกเลือกเมนู Format Borders and Shading… 3. คลิกเลือกแท็บ Shading 4. คลิกเลือกสีจากตารางสี 5. คลิกปุม 6. จะปรากฏสีใหกบ ั ยอหนาตามทีไ ่ ดกําหนดไว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

99

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

8.3 การใสกรอบใหกับเอกสาร ใชเพื่อสรางเอกสารใหสวยงาม สามารถที่จะใสเสนกรอบ หรือรูปที่กําหนดใหเปนเสนกรอบ สราง ความโดดเดนใหกับเอกสารมายิ่งขึ้น มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Format Borders and Shading… 2. คลิกเลือกแท็บ Page Border 3. คลิกเลือกแบบกรอบที่ตองการ 4. คลิกเลือกกรอบ 4.1 เลือกลักษณะกรอบทีต ่ องการ หรือ 4.2 เลือกตําแหนงของเสนทีต ่ องการใช 5. คลิกปุม 6. จะปรากฏกรอบเอกสารตามที่กาํ หนดไว

4.1

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

4.2

100

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

9. การสรางรูปแบบทรงเรขาคณิตลงในเอกสาร (Objects, Auto Shapes) ดวยแถบเครื่องมือ Drawing การสรางวัตถุหรือรูปทรงเรขาคณิตตางๆ ลงในเอกสารจะตองใชเครื่องมือจาก Drawing Toolbar ซึ่ง สามารถสรางไดดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู View Toolbars Drawing 2. จะปรากฏแถบเครื่องมือ Drawing ดานลางของโปรแกรม

การสรางเสนหรือวัตถุ 1. คลิกเลือกปุม จากแถบเครือ ่ งมือ Drawing 2. คลิกเมาสและลาก จะไดรูปทรงตางๆ ตามที่ไดเลือกไว

Note: 1. การลบวัตถุ คลิกเมาสที่วต ั ถุและกดแปน วัตถุทถ ี่ ูเลือกไวจะลบไป 2. การยายวัตถุ คลิกเมาสที่วต ั ถุทต ี่ องการยายคางไว และลากวัตถุไปยังตําแหนงตางๆ ที่ตอ  งการ 3. การปรับขนาดของวัตถุ คลิกเมาสทต ี่ ําแหนงมุมของวัตถุ และลากเมาสเพื่อเพิ่มหรือลดขนาด

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

101

9.1 กรอบขอความ (Text Box) กรอบขอความ คือ กรอบสี่เหลีย ่ มทีส ่ ามารถพิมพขอความลงไปในกรอบทีส ่ รางขึ้นมา ซึ่งจะจัดอยู ในรูปแบบของวัตถุดวย มีขั้นตอนดังตอไปนี้ ) บนแถบเครื่องมือ 1. คลิกที่ปม ุ Text Box ( Drawing หรือคลิกเลือกเมนู Insert Text Box 2. คลิกเมาสและลากในกรอบ Create your drawing here จะไดรูปทรงสี่เหลี่ยม 3. พิมพขอความลงในกรอบขอความ

9.2 การกําหนดสีใหกบั วัตถุที่สรางขึ้น การเปลี่ยนสีใหกับวัตถุที่สรางขึ้น ประกอบไปดวยสีเสนขอบและสีพื้นของวัตถุ กําหนดดังตอไปนี้ 1. คลิกเมาสที่วต ั ถุทต ี่ องการเปลีย ่ น 2. คลิกเลือกสีที่แถบเครื่องมือ Drawing 2.1 เลือกสีพื้นวัตถุ (Fill Color) 2.2 เลือกสีเสนขอบวัตถุ (Line Color) 3. คลิกเลือกลักษณะและขนาดของเสนขอบ 3.1 เลือกขนาด (Line Style) 3.2 เลือกลักษณะ (Dash Style) 3.3 เลือกลักษณะลูกศรใหกับเสน (ใช เลือกไดเฉพาะวัตถุที่มีลักษณะเปน เสนเทานั้น) 4. จะปรากฏลักษณะของวัตถุตามที่กําหนด

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มีขั้นตอนการ

102

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

10. อักษรศิลป (WordArt) อักษรศิลปเปนรูปแบบตัวอักษรทีถ ่ ูกออกแบบใหเปนวัตถุ และมีความสวยงาม ซึ่งมีแบบและสีให เลือกจํานวนมากสามารถกําหนดไดดังนี้ ) บนแถบเครื่องมือ Drawing หรือเมนู Insert 1. คลิกปุม WordArt ( WordArt… 2. คลิกเลือกแบบอักษรศิลป

Picture

3. คลิกปุม 4. คลิกเลือกรูปแบบตัวอักษร ขนาด และลักษณะอักษร (หนา เอียง) 5. พิมพขอความ 6. คลิกปุม 7. จะปรากฏอักษรศิลปตามที่กําหนด 8. ตัวอยางอักษรศิลปรูปแบบตางๆ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

103

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

10.1 ปุมตาง ๆ ของแถบเครื่องมือ WordArt ปุม

ชื่อปุม

ทําหนาที่

Insert WordArt

แทรกอักษรศิลป

Edit Text

แกไขขอความอักษรศิลป

WordArt Gallery

ปรับเปลี่ยนรูปแบบของอักษรศิลป

Format WordArt

ปรับเปลี่ยนคุณสมบัติของรูปแบบอักษรศิลป

WordArt Shape

แกไขรูปทรงของอักษรศิลป

Text Wrapping

เลือกตําแหนงการจัดวางวัตถุ

WordArt Same Letter Heights WordArt Vertical Text

ปรับตัวอักษรตัวเล็กใหสูงเทากับตัวใหญ ปรับแนวการวางตัวอักษรเทากับตัวใหญ

WordArt Alignment

ปรับการจัดการตัวอักษรศิลป

WordArt Character Spacing

ปรับระยะหางระหวางตัวอักษรศิลป

Note: 1. การลบอักษรศิลป คลิกเมาสทอ ี่ ักษรศิลปและกดแปน อักษรศิลปที่ถูกเลือกไวจะลบไป 2. การยายอักษรศิลป คลิกเมาสทอ ี่ ักษรศิลปที่ตอ  งการยายคางไว และลากอักษรศิลปไปยังตําแหนง ตางๆ ทีต ่ องการ 3. การปรับขนาดของอักษรศิลป คลิกเมาสที่ตาํ แหนงมุมของอักษรศิลป และลากเมาสเพื่อเพิ่มหรือลด ขนาด

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

104

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

11. การแทรกรูปภาพ การแทรกรูปภาพเปนการนํารูปภาพมาเปนสวนประกอบในเอกสาร ทําใหเอกสารสามารถแสดง ละเอียดขอความและมีรูปประกอบคําบรรยายไดอีกดวย ซึ่งการนําภาพเขามาในเอกสารนั้น แบงออกเปน วิธีตางๆ ไดดังนี้

11.1 การแทรกรูปภาพจาก Clip Gallery 1. คลิกเลือกตําแหนงที่จะวางรูป Clip Art 2. คลิกปุม บนแถบเครื่องมือ Drawing หรือเลือกเมนู Insert 3. แถบเครื่องมือ Clip Art เปดขึ้น 4. เลือกคนหารูปภาพ 5. เลือกชนิด

Picture

Clip Art

Office Collections จากชอง Clip Art จากชอง

6. คลิกปุม 7. เลือกรูป Clip Art ที่ตองการ โดยดับเบิลคลิกรูป Clip Art ที่ตองการใสในเอกสาร 8. จะปรากฏรูป Clip Art ที่เลือก

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

105

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

11.2 การแทรกจากไฟลรปู ภาพ 1. คลิกปุม บนแถบเครื่องมือ Drawing หรือคลิกเลือกเมนู Insert File… 2. คลิกเลือกไดรฟและตําแหนงที่เก็บรูปภาพ 3. เลือกชื่อไฟลรป ู ภาพ

Picture From

4. คลิกปุม 5. จะปรากฏรูปภาพที่เลือก

Note: 1. การลบรูปภาพ ใชเมาสคลิกที่รูปภาพและกดแปน รูปภาพที่เลือกไวจะลบไป 2. การยายรูปภาพ ใชเมาสคลิกที่รูปภาพทีต ่ องการยายคางไว และลากรูปภาพไปยังตําแหนงทีต ่ องการ 3. การปรับขนาดของรูปภาพ คลิกเมาสที่ตําแหนงมุมของรูปภาพและลากเมาสเพื่อเพิ่มหรือลดขนาด

12. การปรับภาพดวยแถบเครื่องมือ Picture คลิกเลือกรูปภาพ จากนั้นเครื่องมือ Picture Toolbar จะปรากฏขึ้น แตถาไมพบสามารถเรียกใช ไดโดยวิธรดังตอไปนี้ วิธีที่ 1 คลิกปุม  ขวาของเมาสที่รูปภาพที่ตองการปรับเปลีย ่ น เลือก Show Picture Toolbar หรือ วิธีที่ 2 คลิกเลือกเมนู View Toolbars Picture

12.1 ปุมตางๆ ของแถบเครื่องมือ Picture ปุม

ชื่อปุม

ทําหนาที่

Insert Picture

แทรกรูปภาพจากไฟล

Color

ควบคุมการแสดงสีของรูปภาพ

More Contrast

เพิ่มความคมชัดของรูปภาพ

Less Contrast

ลดความคมชัดของรูปภาพ

More Brightness

เพิ่มความสวางของรูปภาพ

Less Brightness

ลดความสวางของรูปภาพ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

106

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

ปุม

ชื่อปุม Crop

ทําหนาที่

Rotate Left

บังบางสวนของรูปภาพ (ลากเมาสที่จด ุ แฮนเดิลข องดานใดดานหนึ่งของรูปภาพ ที่ตองการบัง) หมุนภาพ 90 องศา โดยหมุนไปทางซาย

Line Style

รูปแบบของเสนขอบรูปภาพ

Compress Pictres

บีบอัดขนาดไฟลรูปภาพใหเล็กลง

Text Wrapping

เลือกตําแหนงการจัดวางของรูปภาพ

Format Object

ปรับเปลี่ยนคุณสมบัติของรูปภาพ

Set Transparent Color Reset Picture

กําหนดสีในรูปภาพใหโปรงใส เลือกคาเดิมของรูปภาพกอนการปรับเปลีย ่ น

13. การใสสัญลักษณพิเศษ (Symbol) ลงในเอกสาร การใสสญ ั ลักษณพิเศษหรือสัญลักษณตางๆ

ที่ไมสามารถพิมพดวยแปนบนคียบอรดได

เชน

เปนตน ซึ่งผูใชสามารถทีจ ่ ะแรกสัญลักษณตางๆ เหลานีไ ้ ดดวย วิธีดังตอไปนี้ 1. คลิกเมาสตําแหนงทีต ่ องการแทรกสัญลักษณพิเศษ 2. คลิกเลือกเมนู Insert Symbol…. 3. เลือก Font ทีแ ่ สดงสัญลักษณพิเศษ เชน Wingdings, Webdings 4. เลือกสัญลักษณพิเศษที่ตองการ 5. คลิกปุม 6. จะแสดงสัญลักษณพิเศษที่เลือกไว 7. คลิกปุม

เพื่อปดหนาตางสัญลักษณพิเศษ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

107

ตอนที่ 3 ระบบอัตโนมัตติ างๆ 1. การใชงาน Smart Tag Option Button Smart Tag มีลักษณะเปนปุมขนาดเล็ก ปรากฏอยูใตขอความที่กําลังพิมพ หรือขอความทีท ่ ําการ คัดลอกมา ซึ่ง Smart Tag นั้นมีปุมที่พบบอยๆ คือ (AutoCorrect Options Button) ผูใชจะพบปุมเล็กๆ สีฟาปรากฏขึ้น เมื่อผูใชนําตัว 1) ปุม ชี้เมาสวางใกลกับขอความนั้นๆ ก็จะปรากฏขึน ้ โดยอัตโนมัตพ ิ รอมแกไขขอความเหลานั้น ซึ่งถาผูใชไมตอ  งการแกไขก็สามารถใชตัวเลือกจากปุมคําสัง่ Smart Tag นี้ได) ตัวเลือกอยู กับขอความที่พม ิ พ (เชน 1. พิมพขอความ “The man of the year. Siam” 2. ตัวชี้เมาสไปบริเวณที่มีการแกไขอัตโนมัติ 3. จะปรากฏปุม AutoCorrect Options Button 4. คลิกเมาสปม ุ AutoCorrect Options Button 5. เลือกตัวเลือก Undo Automatic Capitalization เพื่อยกเลือกตัวพิมพใหญอัตโนมัติ 6. จะปรากฏขอความเดิมที่พม ิ พ

2) ปุม (Paste Options button) ผูใชจะพบปุมนี้อยูใตขอความ เมื่อเลือกเมนู Edit Paste ซึ่งสามารถใชตวั เลือกจากปุมคําสั่ง Smart Tag นี้ได เชน Keep Source Formatting เปนการเลือกเก็บรูปแบบใหเหมือนกับตนฉบับที่คด ั ลอกมา Match Destination Formatting เปนการเลือกรูปแบบใหเหมือนกับตําแหนงที่จะวาง ขอความ Keep Text Only เปนการเลือกคัดลอกมาวางเฉพาะขอความ แตไมคด ั ลอกรูปแบบ Apply Style or Formatting เปนการเลือกทีจ ่ ะปรับแตงลักษณะและรูปแบบของขอความ

2. การตรวจสอบคําสะกดและไวยากรณ (Spelling Check and Grammar Check) ไดแก

โปรแกรม Microsoft Office Word 2003 มี 2 วิธีที่ใชตรวจสอบการสะกดคําและไวยากรณ 1. ในขณะทีผ ่ ูใชพิมพ Microsoft Office Word 2003 สามารถตรวจสอบเอกสารไดโดย อัตโนมัติ ซึ่งจะปรากฏเสนใตคําทีส ่ ะกดผิด) เสนหยักสีแดง (และหรือขอผิดพลาดตามหลัก ไวยากรณภาษาอังกฤษ (เสนหยิกสีเขียว) เมื่อตองการแกไขขอผิดพลาดก็ใหแสดงเมนูลัด (Pop-up Menu) โดยการคลิกปุมขวาของเมาสที่คํานั้นเลือกการแกไขที่ตอ  งการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

108

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

2. เมื่อผูใชสรางเอกสารแลว สามารถให Microsoft Office Word 2003 คนหาคําทีส ่ ะกดผิด หรือขอผิดพลาดตามหลักไวยากรณได

2.1 การตรวจสอบคําสะกด (Spelling Check) วิธท ี ี่ 1 การตรวจสอบขณะพิมพ เมื่อ Microsoft Office Word 2003 พบคําทีส ่ ะกดผิด ผูใชสามารถแกไขขอผิดพลาดนั้นได ดวย การคลิกปุมขวาของเมาสทค ี่ ําที่มีเสนสีแดง คลิกเลือกขอความที่ Microsoft Office Word 2003 แนะนําให (ถาไมมีหรือผูใชตองการคําเดิม ใหเลือก Ignore All) จะปรากฏขอความทีผ ่ ูใชที่เลือกไว

วิธท ี ี่ 2 เมือ ่ ผูใ ชสรางเอกสารเสร็จเรียบรอยแลวตองการทําการตรวจสอบขอผิดลาดทั้งเอกสาร 1. คลิกเลือกเมนู Tools Spelling and Grammar…. หรือกดแปน หรือกดปุม คลิกเลือกขอความที่ Microsoft Office Word 2003 แนะนํา คลิกปุม จะปรากฏขอความทีผ ่ ูใชตามทีเ่ ลือกไว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

2.2 การตรวจสอบไวยากรณ (Grammar check) วิธท ี ี่ 1 การตรวจสอบขณะพิมพ 1. เมื่อ Microsoft Office Word 2003 พบขอผิดพลาดทางไวยากรณ ผูใ ชสามารถแกไข ขอผิดพลาดนั้นได ดวยการคลิกปุมขวาของเมาสคาํ ที่ปรากฏเสนหยักสีเขียว คลิกเลือกขอความที่ Microsoft Office Word 2003 แนะนําให (ถาไมมี ใหเลือก Ignore Once) จะปรากฏขอความทีผ ่ ูใชตามทีเ่ ลือกไว

วิธท ี ี่ 2 เมือ ่ ผูใ ชสรางเอกสารเสร็จเรียบรอยแลวตองทําการตรวจสอบไวยากรณทง ั้ เอกสาร 1. คลิกเลือกเมนู Tools Spelling and Grammar… หรือกดแปน หรือคลิกปุม คลิกเลือกขอความที่ Microsoft Office Word 2003 แนะนํา คลิกปุม จะปรากฏขอความทีผ ่ ูใชตามทีเ่ ลือกไว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

109

110

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

Note: 1. บางครั้งคําหรือขอความที่ปรากฏเสนหยักสีแดง อาจไมเปนคําทีส ่ ะกดผิด แตเปนคําเฉพาะหรือชื่อ เฉพาะที่ไมอยูในพจนานุกรมของ Microsoft Office Word 2003 2. การตรวจสอบคําสะกด ใชไดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3. การตรวจสอบหลักไวยากรณ ใชไดเฉพาะคําหรือประโยคภาษาอังกฤษเทานั้น การตรวจสอบคําผิด (ตัวสะกดและไวยากรณ) นั้นอาจกําหนดใหโปรแกรมตรวจสอบอัตโนมัติ กลาวคือ เมื่อพิมพคําหรือขอความที่ไมมใี นพจนานุกรม ซึ่งโปรแกรม Microsoft Office Word 2003 จะ แสดงคําหรือขอความเปนเสนหยักสีแดง หรือเสนหยักสีเขียว การกําหนดคาใหตรวจสอบอัตโนมัติ สามารถกําหนดไดดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Tools Options… 2. คลิกเลือกแท็บ Spelling & Grammar 3. คลิกเลือกใหมีเครื่องหมาย √ เพื่อกําหนดให Microsoft Office Word 2003 ทําการ ตรวจสอบทันทีในขณะพิมพ 4. คลิกเลือกไมใหปรากฏเครื่องหมาย √ ในชอง เพื่อไมใหแสดงเสนหยักสีแดงและสีเขียว เมื่อพบคําหรือขอความสะกดผิดหรือผิดหลักไวยากรณ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

111

3. ระบบแกไขคําผิดอัตโนมัติ (Auto Correct) ระบบแกไขอัตโนมัติจะแกไขขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นบอยๆ จากการพิมพ การสะกด และหลัก ไวยากรณไดโดยอัตโนมัติ ผูใชสามารถกําหนดตัวเลือกที่ตั้งไวลวงหนาของแกไขอัตโนมัติ หรือเพิ่ม ขอผิดพลาดทีม ่ ีโอกาสเกิดขึ้นบอย ไวที่รายชื่อรายการของแกไขอัตโนมัติ การเพิ่มรายการขอมูลแกไข อัตโนมัตท ิ ําไดดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Tools AutoCorrect Options…. คลิกเลือกใหปรากฏเครื่องหมายถูกที่ Replace text as you type ในชอง Replace ใหพิมพคําหรือวลีที่มักจะสะกดผิด หรือพิมพผิด เชน Univercity ในชอง With ใหพิมพคําสะกดที่ถูกตอง เชน University คลิกปุม

โปรแกรม Microsoft Office word 2003 ไดบันทึกคําหรือขอความทีม ่ ักจะสะกดผิดหรือผิดหลัก ไวยากรณและยังมีคําที่เปนสัญลักษณพิเศษไวจํานวนหนึ่ง ซึ่งสามารถเรียกใชไดดังตัวอยางตอไปนี้ พิมพ ผลลัพธ พิมพ ผลลัพธ - ->

(Tm) ™ ☺ :) :( (R) ® (C) ©

สัญลักษณพิเศษตางๆ ที่มีใช ในระบบ AutoCorrect

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

112

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

4. ขอความอัตโนมัตแิ ละคํายอ (Auto Text) ขอความอัตโนมัติ คือ ขอความหรือรูปกราฟกทีผ ่ ูใชตองการใชอีกครั้ง ตัวอยางเชน ทีอ ่ ยูทาง จดหมายที่ใชอยูเสมอ ชื่อบริษท ั หรือรายการที่ตองการพิมพบอยๆ แตละขอความหรือกราฟกที่เลือกจะถูก บันทึกเปนขอความอัตโนมัติ และกําหนดชื่อเฉพาะ ซึ่งทําไดดังนี้

การสรางขอความอัตโนมัติ 2. คลิกเลือกเมนู Insert Auto Text AutoText… 3. คลิกเลือกใหปรากฏเครื่องหมาย ในชอง Show AutoComplete Suggestions 4. พิมพขอความทีต ่ องการลงในชอง Enter AutoText entries here: เพื่อเพิ่มรายการ (หรือคลิกปุม 5. คลิกปุม ตองการ) 6. ขอความอัตโนมัติที่เพิ่มจะปรากฏในรายการ

เพื่อลบรายการที่ไม

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

4.1 การนําขอความอัตโนมัติไปใช 1. 2. 3. 4.

พิมพคําเริ่มตน เชน Micro จะปรากฏเปนขอความที่ไดบันทึกไว นําขอความที่บน ั ทึกไวมาใช โดยกดแปน หรือกดแปน จะปรากฏขอความทีต ่ องการ

4.2 การสรางคํายอ 5. 6. 7. 8.

เลือกคําหรือขอความเต็มทีต ่ องการใชงาน เชน Microsoft Word 2003 กดแปน + จะปรากฏกรอบโตตอบ Create AutoText พิมพคํายอลงในชอง Please name your AutoText entry: เชน msw คลิกปุม

4.3 การนําคํายอไปใช 1. พิมพคํายอที่บน ั ทึกไว เชน msw 2. กดแปน เพื่อใหเปลี่ยนคํายอเปนคําเต็ม 3. จะปรากฏขอความทีต ่ องการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

113

114

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

5. สัญลักษณหนาขอความและลําดับเลขหนาขอความ (Bullets and Numbering) ในเอกสารที่ถูกสรางขึ้นมักจะมีสัญลักษณหนาขอความ หรือการแสดงลําดับตัวเลขหนาหัวขอ ตางๆ เชน ลําดับรายการสินคา เปนตน ซึ่งลักษณะตางๆ เหลานี้สามารถกําหนดไดดังตอไปนี้

5.1 การใสสญ ั ลักษณหนาขอความ วิธท ี ี่ 1 เลือกบรรทัดทีต ่ องการใสสัญลักษณหนาขอความ คลิกเลือกเมนู Format Bullets and Numbering คลิกเลือกแท็บ Bulleted คลิกเลือกแบบสัญลักษณหนาขอความทีต ่ องการใส คลิกปุม จะปรากฏสัญลักษณหนาขอความที่เลือกไว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

วิธท ี ี่ 2 1. เลือกบรรทัดทีต ่ องการใสสัญลักษณหนาขอความ 2. คลิกปุม Bullet 3. สังเกตปุม Bullet จะแสดงการเลือกคําสั่ง 4. จะปรากฏสัญลักษณหนาขอความ

5.2 การใสลําดับเลขหนาขอความ วิธท ี ี่ 1 คลิกเลือกจากลําดับเลขทีม ่ ีอยูแลว 1. เลือกบรรทัดทีต ่ องการใสลําดับเลขหนาขอความ 2. คลิกเลือกเมนู Format Bullets and Numbering 3. คลิกเลือกแท็บ Numbered 4. คลิกเลือกแบบลําดับเลขหนาขอความ ที่ตองการใส 5. คลิกปุม 6. จะปรากฏลําดับเลขหนาขอความที่ เลือกไว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

115

116

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

วิธท ี ี่ 2 กําหนดรูปแบบเอง 7. พิมพลําดับเลขหนาขอความทีต ่ องการ เชน 1. (1. และเวนวรรคหนึ่งครั้ง) หรือ พิมพขอความในหัวขอนั้นจนครบ และกดแปน บรรทัดที่พิมพไปแลว และบรรทัดใหมจะมีลําดับเลขหนาขอความตรงกัน สังเกตปุม Numbering จะแสดงใหเห็นวามีการเลือกคําสั่ง สังเกตปุม Numbering จะแสดงใหเห็นวามีการเลือกคําสั่ง

6. การสรางหัวกระดาษและทายกระดาษ (Header and footer) ผูใชสามารถสรางหัวกระดาษและทายกระดาษที่เปนทั้งขอความ หรือกราฟก ตัวอยางเชน หมายเลขหนา วันที่ ตราบริษท ั ชื่อเอกสารหรือ ชื่อแฟม และอื่นๆ ผูใชสามารถใชหัวกระดาษและทายกระดาษเดียวกัน ตลอดทั้งเอกสาร ดวยวิธท ี ําดังนี้ 8. คลิกเลือกเมนู View Header and Footer 9. พิมพขอความทีต ่ องการบนสวนที่เปน Header และหรือ Footer 10. ใสเลขหนาดวยปุม ) 11. คลิกปุม Switch Between Header and Footer ( เพื่อสลับการทํางานระหวางหัวกระดาษและทายกระดาษ 12. คลิกปุม

เพื่อปดการใชหัวกระดาษและทายกระดาษ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

117

7. การใสเลขหนาใหกับเอกสาร (Page Number) การกําหนดใหมีลําดับเลขหนาเอกสาร เพื่อใหปรากฏเลขหนาตามจํานวนหนาเอกสารอัตโนมัติ จะมีขั้นตอนดังตอไปนี้ คลิกเลือกเมนู Insert Page Numbers… คลิกเลือกตําแหนงวาตองการใสที่ Header หรือที่ Footer กําหนดตําแหนงวาตองการที่ดา น ขวา ซาย กึง่ กลาง ภายใน หรือภายนอก กําหนดการแสดงเลขหนาวาตองการแสดงเลขหนาในหนาแรกของเอกสารหรือไม ถาตองการให คลิก √ ในชอง Show number on first page กําหนดรูปแบบเพิ่มเติมใหคลิกที่ คลิกเลือกรูปแบบเลขหนา กําหนดตัวเลขเริ่มตน คลิกปุม คลิกปุม

เพื่อแสดงผลลัพธ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

118

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

8. การคนหาขอความและการแทนที่ขอความ (Find and Replace) ในการทําเอกสารทีม ่ ีประมาณมากๆ นั้น อาจทําใหผูใชเกิดความยุง ยากในการคนหาและ เปลี่ยนแปลงสวนตาง ๆ ในเอกสาร ดังนั้นผูใ ชควรจะทราบคําสั่งที่จะชวยลดปญหาตางๆ เหลานี้

การคนหาขอความ การคนหาขอความที่อยูในเอกสารจํานวนหลายๆ หนา ผูใชสามารถใชคําสั่งเพื่อลดเวลาการ คนหาคํา ซึ่งมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Edit Find…. หรือกดแปน + 2. พิมพคําหรือขอความที่ตองการคนหาในชอง Find What เพื่อเริ่มคนหา 3. คลิกปุม 4. จะปรากฏผลลัพธเมื่อพบคําหรือขอความที่คน  หา 5. คลิกปุม

เพื่อปดหนาตางคนหา

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

119

8.1 การแทนที่ขอความ การแทนที่ขอความเปนการคนหาคําหรือขอความ และจะแทนที่คําหรือขอความนั้นดวยคําหรือ ขอความที่กําหนดใหมซึ่งมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Edit Replace… หรือกดแปน + 2. พิมพคําหรือขอความเดิมทีต ่ องการคนหาในชอง Find What 3. พิมพคําหรือขอความใหมที่ตองการแทนทีค ่ ําหรือขอความเดิมในชอง Replace with

4. คลิกปุม เพื่อเริ่มคนหา 5. จะแสดงผลลัพธเมื่อพบขอความที่ตองการคนหาและแทนที่ 6. คลิกปุม

เพื่อแทนที่ขอความ และถาไมตองการแทนที่ใหคลิกปุม

7. แสดงการคนหาและแทนที่ขอความครบแลว คลิกปุม

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

120

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

ตอนที่ 4 การสรางตารางลงในเอกสาร 1. การสรางตาราง (Table) การสรางตารางแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1. การสรางตารางอยางงาย 2. การสรางตารางซับซอน

1.1 การสรางตารางอยางงาย การสรางตารางอยางงาย เปนการสรางตารางที่มีจํานวนของแถวและคอลัมนเทากัน ซึ่งวิธีที่เร็ว ที่สด ุ ในการสรางตารางอยางงายก็คือคลิกปุม Insert Table )ภาพ (มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเลือกตําแหนงทีต ่ องการสรางตาราง

การสรางตารางอยางงาย เปนการสรางตารางที่มีจํานวนของแถวและคอลัมนเทากัน ซึ่งวิธีที่เร็วที่สุดในการ สรางตารางอยางงายก็คือคลิกปุม Insert Table ( 2. คลิกเลือกตําแหนงที่ตองการสรางตาราง

) มีขั้นตอนดังตอไปนี้

) 3. คลิกปุม Insert Table ( 4. คลิกเลือกจํานวนแถวและคอลัมนที่ตองการ 5. จะแสดงจํานวนตารางตามที่ไดกําหนดไว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

121

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

1.2 การสรางตารางซับซอน ดวยคุณสมบัตก ิ ารวาดตารางใหม ผูใชสามารถสรางตารางที่ซับซอนไดอยางงายและรวดเร็ว ตัวอยางเชน ตารางที่มีความสูงตางกันหรือจํานวนคอลัมนตอแถวที่แตกตางกัน คลายๆ กับวิธีการใช ในการวาดตาราง เปนตน ซึง่ วาดงายขึ้นเมื่อใชเครื่องมือสรางตารางบนแถบเครื่องมือ Tables and Borders เพื่อสรางหรือปรับปรุงตารางที่ซับซอนและแตกตางออกไป

ผูใชสามารถใชปุม Draw Table ( ) วาดตาราง ซึ่งเปนคุณลักษณะใหมใน Microsoft Office Word 2003 จะเหมือนกับวิธีที่ใชปากกาเพื่อวาดตาราง มีขั้นตอนตางๆ ดังนี้ 1. คลิกเลือกตําแหนงที่ตองการสรางตาราง 2. คลิกปุม Table and Borders (

) จะปรากฏและตัวชี้จะเปลี่ยนเปนรูปดินสอ กรณีที่แถบเครื่องมือ

Table and Borders แสดงอยูแลวใหคลิกปุม Draw Table ( ) ตัวชี้จะเปลี่ยนเปนรูปดินสอ 3. กําหนดขอบเขตดานนอกของตาราง โดยลากเมาสจากมุมหนึ่งไปยังมุมหนึ่ง ในแนวของตาราง 4. วาดเสนคอลัมนและเสนแถวในตารางตามตองการ 5. ปรับขนาดของเสนใหอยูในตําแหนงที่ตองการ 6. เมื่อตองการลบเสน ใหคลิกปุม Eraser ( ) และลากคลุมเสนที่ตองการลบ 7. เมือ่ สรางตารางเสร็จแลว ใหคลิกที่ชองตาราง และเริ่มพิมพขอความลงตาราง จากนั้นจัดรูปแบบ ขอความตางๆ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

122

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

2. การจัดแนวขอความในตาราง 2.1 การจัดตําแหนงขอความ 1. คลิกชองตารางที่บรรจุขอความที่ตองการจัดตําแหนงขอความ 2. เมื่อตองการวางแนวขอความที่จด ั ตามทิศทางในแนวนอนภายในชองตาราง ใหใชปม ุ ใน รูปแบบตางๆ ทีม ่ ีใหเลือก 3. จะแสดงผลลัพธตามที่ไดจด ั ไว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

2.2 การแสดงขอความแนวตั้ง 4. คลิกชองตารางที่บรรจุขอความที่ตองการวางแนว 5. เมื่อตองการแสดงขอความที่จด ั ทิศทางตามแนวตั้งภายในชองตาราง ใหใชปุมตอไปนี้

2.1 จัดแนวขอความตั้งตามทิศทางจากบนลงลาง ดัวยปุม 2.2 จัดแนวขอความแนวตั้งตามทิศทางจากลางขึ้นบน ดวยปุม 2.3 จัดแนวขอความแนวตั้งตามทิศทางจากซายไปขวา ดวยปุม 6. กําหนดการจัดแนวขอความใหเหมาะสม 7. ละแสดงผลลัพธตามที่ไดจด ั ไว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

123

124

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

3. การตกแตงตาราง เมื่อสรางตารางและพิมพขอความตางๆ ลงในตารางแลว ก็สามารถเติมสิ่งตาง ๆ ใหกับตาราง เพื่อใหเกิดความสวยงาม และเพิ่มความนาสนใจใหกับตารางมากยิ่งขึ้น โดยสามารถกําหนดไดดังนี้

3.1 การแรเงาเพื่อระบายพื้นหลังของตาราง เมื่อตองการเพิ่มการแรเงาใหกับตาราง ใหคลิกที่ใด ๆ ในตาราง คลิกเลือกสีที่ตอ  งการ จากปุมคําสั่ง จะปรากฏสีการแรเงาลงในตารางชองตางๆ ทีก ่ ําหนด เลือกทําซ้ําในขอ 2 และ 3 จนครบทุกๆ ชอง

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

125

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

3.2 การกําหนดลักษณะตางๆ ของเสนตาราง ตารางในเอกสาร Microsoft Office Word 2003 ทั้งตารางจะมีคา เริ่มตนเปนเสนขอบเดี่ยวทึบที่มี ความหนาครึ่งจุดเมื่อสรางออกมา ดังนั้นผูใ ชสามารถกําหนดรูปแบบใหแตกตางไปจากคามาตรฐานเดิมได ดวยวิธต ี อไปนี้ )

1. คลิกเลือกลักษณะของเสน จากปุม Line Style ( 2. คลิกเลือกขนาดความหนาของเสน จากปุม Line Weight ( 3. คลิกเลือกสีของเสน จากปุม Border Color (

)

4. คลิกปุม Draw Table ( ) 5. วาดเสนซ้ําตําแหนงทีต ่ องการเปลี่ยนลักษณะของเสนตาราง 6. จะแสดงผลลัพธที่ไดจากเปลี่ยนลักษณะของเสนตาราง

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

)

126

บทที่ 3 การใชโปรแกรม Microsoft Word

3.3 เครื่องมืออื่นๆ เกี่ยวกับตาราง นอกจากเครื่องมือที่ไดอธิบายวิธีการใชงานมาในเบื้องตนแลวนั้น ยังมีเครื่องมืออื่นๆ อีกที่ชวยใน การตกแตงและสรางตาราง ดังจะกลาวในหัวขอนี้ตอไป

1. Merge Cell คือ เครื่องมือที่ใชรวมชองตารางที่อยูต  ิดกันหลายๆ ชองเขาดวยกัน โดย เครื่องมือนี้จะใชไดก็ตอเมื่อเลือกชองของตารางที่ตด ิ กันไวมากกวาหนึ่งชอง 2. Split Cell คือ เครื่องมือทีใ่ ชแบงชองตารางจากหนึ่งชองเปนหลายๆ ชอง ซึ่งกําหนดใหมี ไดมากกวา 1 คอลัมนหรือมากกวา 1 แถว 3. Distribute Rows Evenly คือ เครื่องมือที่ใชปรับขนาดความสูงของแถวใหเทากัน ซึ่งตอง เลือกแถวไวมากกวา 1 แถว 4. Distribute Columns Evenly คือ เครื่องมือที่ใชปรับขนาดความกวางของคอลัมนใหเทากัน ซึ่งตองเลือกคอลัมนไวมากกวา 1 คอลัมน 5. Table AutoFormat คือ เครื่องมือที่ชวยในการสรางตารางจากรูปแบบที่มใี หเลือกมากมาย โดยจะมีสีแรเงา ลักษณะเสนขอบ รวมทั้งสีของตัวอักษรดวย 6. Sort Ascending คือ เครื่องทีช ่ วยจัดเรียงขอมูลตางๆ ในตารางใหเรียงจากนอยไปมาก แต ตองมีสวนที่เปนหัวตารางดวย 7. Sort Descending คือ เครื่องที่ชวยจัดเรียงขอมูลตางๆ ในตารางใหเรียงจากมากไปหานอย แตตองมีสวนทีเ่ ปนหัวตารางดวย 8. Auto Sum คือ หาผลรวมของขอมูลที่อยูใ นตาราง

Note: การลบตารางตลอดแถวหรือบางสวนตองเลือกตารางสวนที่ตอ  งการลบและคลิกเลือกเมนู Table Table หรือคลิกเลือกเมนู Edit

Cut… + หรือคลิกปุม

Cut (

Delete

)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

126

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหนักศึกษามีความสามารถดังตอไปนี้ 1. สามารถสรางงานนําเสนอ (presentation) โดยใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint ได 2. สามารถใชเครือ ่ งมือรูปวาด และจัดการกับวัตถุ (Object) ทีป ่ รากฏในงานนําเสนอได 3. สามารถตกแตงฉากหลังในงานนําเสนอได 4. รูจักใชเทคนิค และสามารถแสดงงานในงานนําเสนอได

ตอนที่ 1 รูจักกับ Microsoft PowerPoint โปรแกรม Microsoft PowerPoint เปนโปรแกรมยอดนิยมในการนําเสนอขอมูล ไมวาจะเปนการ นําเสนอขอมูลผลิตภัณฑใหม การนําเสนอขอมูลผลการวิเคราะหยอดขายในอนาคตขององคการรวมถึง การจัดทําเอกสารประกอบการประชุม อบรม สัมมนา หรือใชเปนสื่อการสอนในสถานศึกษา สําหรับโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003 ยังคงความสามารถเดิมในการสราง งานพรีเซนเตชันอยางครบครัน และเพิ่มความสามารถจากเวอรชันกอน • สนับสนุนการทํางานเปนทีมมากขึ้น ผูใชสามารถสรางงานพรีเซนเตชัน และใชไฟลรวมกัน • มีระบบปองกันงานนําเสนอ (presentation) จากการสงตอ คัดลอก หรือการพิมพ โดยผูใ ช สามารถกําหนดวันหมดอายุของงานนําเสนอได • สนับสนุนการทํางานพรีเซนเตชันไปเปดเครื่องเลนซีดีไดโดยไมตองมีโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003 โดยทําเปน Package CD ทําใหสามารถเผยแพรผลงานที่สราง จาก PowerPoint ไดมากขึ้น • มีเทคนิคในการนําเสนองานเพิ่มมากขึ้น • เพิ่มการเชื่อมโยง (link) รูปภาพ Clip Art จาก Office Online ไดสะดวกขึ้น ิ ชีวามากขึ้น • สามารถกําหนดใหวต ั ถุตางๆ เคลื่อนไหวไดอยางมีชีวต • สามารถเพิ่มไฟลวีดิโอนามสกุล .asx .wmx .wvx, .wax และ .wma ลงในงานนําเสนอได

1. ความรูพ ื้นฐานที่ควรทราบ สไลด (Slide) ใชเรียกเอกสารแตละหนาของงานพรีเซนเตชัน วัตถุ (Object) ใชเรียกทุกๆ สิง่ ที่ปรากฏบนสไลดแตละแผน วาจะเปน ขอความ รูปภาพ รูปวาด แผนภูมิ ฯลฯ การนําเสนองานพรีเซนเตชัน (Slide Show) คือ การทํางานพรีเซนเตชันที่สรางเสร็จ แลวไปใช ซึ่งอาจนําเสนอโดยเปลี่ยนแผนสไลดอัตโนมัติ หรือกําหนดโดยคลิกเมาส เทคนิคการเปลีย ่ นแผนสไลด (Slide Transition) คือ เทคนิคพิเศษตางๆ ที่ใชในการ เปลี่ยนสไลดแผนหนึ่งไปเปนสไลดอีกแผนหนึ่ง เทคนิคการนําเสนอ (Custom Animation) คือ เทคนิคพิเศษตางๆ ที่ใชในการ กําหนดใหวัตถุตางๆ ในสไลดปรากฏขึ้น

2. ความสามารถของโปรแกรม โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003 นอกจากจะสามารถสรางงานพรีเซนเตชันที่ แสดงผานคอมพิวเตอรแลว ยังสามารถสรางเอกสารการนําเสนอหลายรูปแบบ ดังนี้ งานพรีเซนเตชันโดยแสดงหนาจอคอมพิวเตอร (On-screen Presentation) เว็บเพจ (Web Presentation) แผนใสสําหรับเครื่องฉายขามศีรษะ ทั้งแบบขาวดํา และแบบสี

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

127

สไลดขนาด 35 มิลลิเมตร (35 mm Slide) เอกสารแตละหนาจากเครื่องพิมพ (Paper Printout) เอกสารแจกผูฟ  ง (Audience Handouts) เอกสารสําหรับผูบรรยาย (Speaker Notes) เคาโครงของชิน ้ งาน (Outline Page) แพ็กเก็จสําหรับซีดี (Package for CD)

3. การเรียกใชโปรแกรม การเรียกใชโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003 ทําไดดังนี้ 1. คลิกปุม Start 2. คลิกเลือกรายการ Programs 3. คลิกเลือกรายการ Microsoft Office 4. คลิกเลือกรายการ Microsoft Office PowerPoint 2003 5. จะเขาสูหนาจอโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003

4. สวนประกอบตางๆ ของหนาตางโปรแกรม 1. แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) ทําหนาที่บอกชื่อโปรแกรม และชื่อไฟลที่ใชงานปจจุบัน

2. แถบเมนูคําสั่ง (Menu Bar) ทําหนาที่แสดงเมนูคําสั่งทั้งหมด ซึ่งมีทั้งเมนูภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ

3. แถบเครื่องมือ (Toolbar) ทําหนาทีแ ่ สดงคําสั่งทีใ่ ชงานในรูปของไอคอน โดยแถบเครื่องมือ จะจัดแยกออกเปนแตละกลุมของคําสั่ง คําสั่งทีแ ่ สดงบนแถบเครื่องมือจะมีเฉพาะคําสั่งทีม ่ ี การใชงานบอยๆ เทานั้น เชน การเปดไฟล (Open) การบันทึกไฟล (Save) เปนตน o แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard Toolbar)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

128

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

o

แถบเครื่องมือจัดรูปแบบ (Formatting Toolbar)

4. ปุมควบคุม (Control Buttons) ปุมควบคุมหนาตางโปรแกรม ประกอบดวยปุม  ตางๆ ดังนี้ ปุมยอหนาตาง (Minimize) ทําหนาทีย ่ อหนาโปรแกรม มาเก็บไวที่แถบงาน (Task bar) ปุมขยายหนาตางเต็มจอ (Maximize) ทําหนาที่ขยายหนาตางของโปรแกรมใหเต็ม พื้นที่ทั้งหมดของจอภาพ ปุมกลับสูหนาตางขนาดเดิม (Restore Down) ทําหนาที่ลดขนาดของหนาตางให กลับไปมีขนาดเทาเดิม กอนทีจ ่ ะขยายหนาตางใหเต็มจอ ปุมปดโปรแกรม (Close) ทําหนาที่ปด  หนาตางโปรแกรม (สามารถเลือกไดจากเมนู File > Exit หรือกดแปน +) ปุมปดหนาตางไฟล (Close Window) คือ ปุมปดหรือ Close (

)

ทําหนาที่ปด 

หนาตางของแฟมขอมูลที่เปดใชอยู (คําสั่งจากเมนู File > Close) 5. แท็บเคาราง/แท็บสไลด (Outline Tab/ Slide Tab) ทําหนาที่แสดงเคาราง (Outline) ทีม ่ ี แตขอความ หรือแสดงตําแหนงสไลด (Slide) เปนภาพขนาดเล็ก

แท็บเคาราง (Outline Tab) แท็บสไลด (Slide Tab) 6. ปุมมุมมอง (View Buttons) ทําหนาที่แสดงปุมคําสั่งทีใ่ ชในการเปลี่ยนมุมมองของ โปรแกรม PowerPoint 7. แถบเครื่องมือรูปวาด (Drawing Toolbar) ทําหนาที่แสดงคําสั่งและปุม  เครื่องมือทีใ่ ชใน การวาดรูปทรงตางๆ เชน เสน สี่เหลี่ยม วงกลม รูปวาดอิสระ เพื่อนํามาประกอบบนสไลด 8. แถบแสดงสถานะ (Status Bar) ทําหนาทีแ ่ สดงตําแหนงของสไลดปจจุบันวาอยูใน ตําแหนงใดของจํานวนสไลดทั้งหมด รวมทั้งสถานะตางๆ ทีเ่ กี่ยวกับการพิมพ และการแกไข 9. แถบงาน (Task Pane) ทําหนาทีแ ่ สดงคําสั่งสําคัญที่จะชวยใหใชงานประจํา เชน การเปด ไฟล การสรางงานพรีเซนเตชัน เปนตน สามารถเรียกใช Task Pane โดยการเลือกที่เมนู View > Task Pane

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

129

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

10. พื้นที่การทํางาน (Slide Pane) ทําหนาที่แสดงพื้นทีใ่ นการทํางาน Slide

Note

5. การแสดงหรือซอนแถบเครื่องมือ (Toolbar) 1. คลิกเลือกเมนู View > Toolbars 2. คลิกเลือกชื่อแถบเครื่องมือทีต ่ องการเรียกใชงาน เครื่องหมาย ที่แสดงหนารายการแถบ เครื่องมือ แสดงถึงการเครื่องมือนั้น ปรากฏทีห ่ นาจอแลว ถาตองการยกเลิกใหคลิกซ้ําที่ รายการนั้นซ้ําอีก หรือ o เลื่อนตัวชี้เมาสไปยังพื้นที่วางที่อยูด  านทายของแถบเครื่องมือที่เปดใชงาน o คลิกปุมขวาของเมาส แลวคลิกเลือกแถบเครือ ่ งมือที่ตองการเรียกใช

6. แถบเครื่องมือ (Toolbars) แถบเครื่องมือ คือ แถบปุมคําสั่งทีผ ่ ูใชสามารถสั่งงานไดโดยตรง เพื่อความสะดวกในการ เรียกใชคําสั่งทีใ่ ชงานบอยๆ แถบเครื่องมือที่ใชงานเปนประจํามีดังนี้ 1. แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard Toolbar) เปนแถบเครื่องมือทีร่ วบรวมคําสั่งทีใ่ ชบอย ที่สด ุ เชน การสรางไฟลใหม การเปดไฟล การบันทึกไฟล เปนตน 2. แถบเครื่องมือจัดรูปแบบ (Formatting Toolbar) เปนแถบเครื่องมือทีร่ วบรวมคําสั่งที่ใชใน การจัดรูปแบบของขอความ 3. แถบเครื่องมือรูปวาด (Drawing Toolbar) เปนแถบเครือ ่ งมือที่ใชชวยในการวาดรูปทรง ตางๆ 4. แถบงาน (Task Pane) เปนแถบงานที่ใชแสดงคําสั่งในการงาน เปนแถบที่จะชวยใหคาํ สั่ง ไดสะดวก รวดเร็วขึ้น ภายใต Task Pane มีคําสั่งตางๆ ทีส ่ ามารถคลิกเลือกได โดยคลิกที่ ปุมสามเหลี่ยมทางดานบนของ Task Pane แลวคลิกเลือกรายการคําสั่งทีต ่ อ  งการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

130

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

7. มุมมอง (View) แสดงสไลด การเลือกมุมมอง (View) ในการแสดงสไลดใหเหมาะสมกับการทํางาน จะชวยใหการสรางพรี เซนเตชันงาย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากแตละมุมมองมีความเหมาะสมในการใชงานแตกตาง กัน ผูใชสามารถเปลี่ยนมุมมองไดโดยคลิกปุม  มุมมองที่อยูดา นลางซาย

1. มุมมองภาพนิ่ง (Normal View)

3. มุมมองแสดงสไลด (Slide View)

2. มุมมองตัวจัดเรียงภาพนิ่ง (Slide Sorter View)

1. มุมมองภาพนิง ่ (Normal View) เปนมุมมองที่ใชในการแกไขหรือเพิ่มเติมวัตถุตางๆ ลงในสไลด เชน เพิ่มเติมขอความ รูปภาพ หรือใสเทคนิคพิเศษเพื่อใหวัตถุเคลื่อนทีไ ่ ด มุมมองนี้ มีองคประกอบ 3 สวน ไดแก 1.1 สไลด คือ สวนที่ใชในการสรางงานพรีเซนเตชัน เชน ใสขอความ ใสวัตถุตางๆ บน สไลด 1.2 แถบงาน (Outline Tab) คือ หนาตางที่ใชในการปรับเปลี่ยนมุมมองในการจัดการ กับสไลด แบงเปน 2 รูปแบบ แท็บเคาราง (Outline Tab) และแท็บสไลด (Slide Tab) 1.2.1 แท็บเคาราง (Outline Tab) เปนมุมมองที่แสดงหัวขอของสไลดแตละแผน ซึ่งสามารถจัดเรียงลําดับหัวขอ แกไขได ตลอดจนเพิ่ม ลบ และแกไขหัวขอได 1.2.2 แท็บสไลด (Slide Tab) เปนมุมมองที่แสดงสไลดเปนแผนเล็กๆ เปนมุมมอง ที่บอกตําแหนงของสไลด จัดเรียง เพิ่ม หรือลบสไลดได 1.3 บันทึกยอสําหรับผูบรรยาย (Notes Pane) คือ หนาตางที่ใชระหวางการนําเสนอ งาน พรีเซนเตชัน และสามารถพิมพสาํ เนาออกมาได

1.1 1.2

1.3

1.2.1

1.2.2

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

131

2. มุมมองจัดเรียงภาพนิ่ง (Slide Sorter View) เปนมุมมองที่ใชแสดงแผนสไลดทั้งหมด ในงานพรีเซนเตชัน ทําใหสามารถเพิ่ม ลบ จัดลําดับสไลดไดอยางสะดวก และสามารถใส หรือปรับแตงเทคนิคพิเศษในการเปลี่ยนสไลดได

3. มุมมองแสดงสไลด (Slide Show) คือ มุมมองที่ใชในการนําเสนองานพรีเซนเตชัน มุมมองนี้จะแสดงสไลดเต็มหนาจอทีละสไลด พรอมทั้งเทคนิคที่ใสไวในสไลด และเสียง ั ไป และ ประกอบตางๆ โดยเมื่อใชเมาสคลิกหรือกดแปน จะเปลี่ยนเปนสไลดถด สามารถกดแปน เพื่อกลับสูมุมมองภาพนิ่ง เมือแสดงสไลดครบทุกแผนแลวหรือ ขณะแสดงสไลดแตตองการยกเลิกการแสดงสไลดก็ได

8. ขั้นตอนการทําสไลดและนําเสนองานพรีเซนเตชัน การสรางงานพรีเซนเตชันเพื่อนําเสนอขอมูล มีขั้นตอนการสรางดังนี้ 1. วางโครงราง เปนการเตรียมโครงรางของเรือ ่ งที่จะนําเสนอ เชน การจัดลําดับหัวขอของงา นพรีเซนเตชัน เพื่อใหการนําเสนอขอมูลเปนไปตามวัตถุประสงคที่วางไว สามารถสรางงานพ รีเซนเตชันไดหลายวิธี เชน การใช AutoContent Wirzrd ของ Microsoft PowerPoint ที่จะ เตรียมเนื้อหาตางๆ ตามหัวขอที่เลือกไว หรือจะสราง ขอความโครงรางจากโปรแกรม Microsoft Word แลวจึงนํามาสรางเปนสไลด 2. เพิ่มเติมรายละเอียด และใสวัตถุ (Object) ตางๆ ลงในสไลด จากโครงรางที่ไดเตรียม ไววาตองการนําเสนอหัวขอใดบาง นํามาเพิ่มเติมรายละเอียดของเนื้อหาในแตละสวนลงไป ในแผนสไลดตา งๆ วัตถุ (Object) คือ รูปภาพ กราฟ ตาราง หรือแผนผังองคกร ที่ตองการ เพิ่มลงในสไลด เพื่อความสมบูรณของงานพรีเซนเตชัน (ไมควรใสรายละเอียดมาก จนเกินไป ควรใสเทาทีจ ่ ําเปนและเหมาะสม เพราะงานพรีเซนเตชันเปนเพียงเครื่องมือชวย ผูบรรยาย ในการนําเสนอขอมูล จึงควรใสเฉพาะเนื้อหาและใจความทีส ่ ําคัญเทานั้น ไม แสดงเนื้อหาโดยละเอียด) 3. ปรับแตงสไลดใหสวยงาม หลังจากทีไ ่ ดเนื้อหาครบถวนแลว ควรปรับแตงสไลดให นาสนใจ สวยงาม เหมาะสมกับเนื้อหาที่นาํ เสนอ เชน กรปรับแตงสีของตัวอักษร การ ปรับแตงสีของฉากหลัก 4. เพิ่มเทคนิคการนําเสนอ จะชวยใหการนําเสนอนาติดตามมากขึ้น เชน การใสเทคนิคการ เปลี่ยนแผนสไลด การกําหนดใหวัตถุเคลื่อนที่ตามลําดับทีต ่ อ  งการ 5. เตรียมการนําเสนอ ควรทําการซอมการนําเสนอ เพื่อใหสไสดกับบรรยายมีความสัมพันธ กัน และใชเวลาในการนําเสนอไดตามกําหนดการที่วางเอาไว 6. พิมพเอกสารแจกผูฟ  ง หลักจากที่แนใจวางานพรีเซนเตชันสมบูรณแลว ควรพิมพ เอกสารแจกผูฟ  ง เพื่อใหผฟ ู งเขาใจการบรรยายไดงายขึ้น

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

132

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

9. การสรางงานพรีเซนเตชัน ในการสรางงานใหม ควรเรียกใช Task Pane สามารถทําได 2 วิธี วิธท ี ี่ 1 1. คลิกเลือกเมนู File > New 2. จะปรากฏ Task Pane แสดงคําสั่งเกี่ยวกับ New Presentation วิธท ี ี่ 2 1. คลิกเลือกเมนู View > Task Pane หรือกดแปน + 2. คลิกเลือกที่ Task Pane ใหแสดงคําสั่ง New Presentation แลวคลิกเลือก New Presentation (ถามีเครื่องหมาย แสดงวาไดถูกแสดงไวแลว) 3. จะปรากฏ Task Pane แสดงคําสั่งเกี่ยวกับ New Presentation โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003 มีวิธีการสรางพรีเซนเตชันได 4 วิธี คือ 1. การสรางงานพรีเซนเตชันจากสไลดวาง (Blank Presentation) 2. การสรางงานพรีเซนเตชันดวย Design Template 3. การสรางงานพรีเซนเตชันจากสไลดดวย AutoContent Wizard 4. การสรางงานพรีเซนเตชันจากสไลดดวย Existing Presentation Photo Album

9.1การสรางงานพรีเซนเตชันจากสไลดวาง )Blank Presentation( 1. 2. 3. 4.

คลิกเลือกไอคอน Blank Presentation ที่ Task Pane จะปรากฏสไลดวาง คลิกเลือกรูปแบบการจัดวางสไลดตามตองการจากหนาตาง Slide Layout พิมพขอความ หรือใสรูปภาพที่ตองการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

133

9.2การสรางงานพรีเซนเตชันดวย Design Template 1. คลิกเลือกไอคอน Form Design Template ที่ Task Pane 2. คลิกเลือกรูปแบบ Template ที่ตองการจากหนาตาง Slide Design 3. พิมพขอความ หรือใสรูปภาพที่ตองการ

9.3 การสรางงานพรีเซนเตชันจากสไลดดวย AutoContent Wizard AutoContent Wizard (ตัวชวยสรางเนื้อหาอัตโนมัติ) เปนเครื่องมือทีช ่ วยสรางงานพรีเซนเต ชันอยางรวดเร็ว โดยมีการออกแบบโครงรางของสไลดและรูปแบบตางๆ ไวเรียบรอยแลว เชน สีพื้นหลัง ของสไลด รูปแบบอักษร ผูใชเพียงแคกําหนดลักษณะงานที่ตองการสรางเทานั้น เชน การนําเสนอในที่ ประชุม เปนตน มีขั้นตอนการสรางดังนี้ 1. คลิกเลือกไอคอน Form AutoContent Wizard… ที่ Task Pane 2. จะปรากฏหนาตาง AutoContent โดยขั้นตอนแรกเปนการอธิบายวา AutoContent ใชทํา อะไร จากนั้นคลิกปุม Next

3. คลิกเลือกชนิดของงานที่นําเสนอ 4. คลิกหัวของานพรีเซนเตชันทีต ่ องการแลวคลิกปุม Next

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

134

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

5. คลิกเลือกรูปแบบของอุปกรณที่จะใชแสดงผลงานนําเสนอ มีดังนี้ On-screen presentation นําเสนอบนหนาจอคอมพิวเตอร Web presentation นําเสนอบนเว็บ Black and white overhead นําเสนอโดยเครื่องฉายขามศีรษะขาว-ดํา Color overhead นําเสนอโดยเครื่องฉายขามศีรษะแบบสี 35mm slides สไลดหรือภาพนิ่ง 35 มิลลิเมตร

6. พิมพชื่อเรื่องของงานพรีเซนเตชันในชอง presentation title ซึ่งแสดงในสไลดแรก ่ องการใหแสดงทุกสไลด จะปรากฏในสวนลางของสไลด 7. พิมพขอ  ความทีต 8. คลิกทีช ่ อง Date last updated เพื่อแสดงวันที่ปจจุบันไวในสไลดทุกแผนและคลิก Slide number เพื่อแสดงหมายเลขลําดับของสไลดทุกแผน แลวคลิกปุม Next

9. คลิกปุม Finish ตองการ

จะปรากฏงานพรีเซนเตชันพรอมโครงรางเพื่อใหเพิ่มเติมแกไขขอมูลตาม

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

135

สไลดที่ไดจากการสรางดวย AutoContent Wizard สามารถนํามาแกไข ใสขอมูลหรือวัตถุอื่นๆ เพิ่มเติมได

Note: การสรางงานพรีเซนเตชันวิธี Existing Presentation Photo Album เปนการสรางงานพรีเซนเตชันจาก ไฟลพรีเซนเตชันเดิมที่เคยสรางไวแลว และไดสรางเปนแบบ Photo Album แลวนําไฟลเดิมมาแกไข เพิ่มเติม

10. การขอความชวยเหลือ (Help) และการเรียกใชผชู วย (Office Assistant) ระบบขอความชวยเหลือจาก Microsoft Office PowerPoint 2003 เปรียบเสมือนกับคูมอ ื การ ใชงานตางๆ โดยจะมีคาํ อธิบายทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ทําไดดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Help > Microsoft Office PowerPoint Help หรือกดแปน หรือ บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน คลิกปุม 2. จะปรากฏกรอบคําถามเพื่อใหปอนขอคําถาม 3. กรอกขอความทีต ่ อ  งการขอความชวยเหลือ ) หรือกดแปน 4. คลิกปุม Start searching ( 5. ผลลัพธจากการคนหาจะถูกแสดงขึ้น แลวคลิกเลือกหัวขอที่ตองการ 6. Microsoft Office PowerPoint Help จะแสดงคําอธิบายตามหัวขอที่เลือก

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

136

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

10.1Office Assistant Office Assistant คือ ผูชว ยเหลือของโปรแกรม Microsoft Office และคําแนะนําวิธีใช เพื่อ ชวยใหผูใชโปรแกรมทํางานและใชโปรแกรมไดเขาใจงายมากยิ่งขึ้น ผูชว ยเหลือมีลักษณะเปนรูปการตูน หลายๆ ลักษณะ หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง ก็คือจะมีขอความชวยเหลือนั่นเอง ดังนั้นวิธีการเรียกใชงานก็คลาย กับระบบขอความชวยเหลือ แตผใู ชสามารถเลือกลักษณะของผูชวยไดดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Help > Show the Office Assistant 2. จะปรากฏผูชวยเหลือออกมา 3. คลิกปุมขวาของเมาสที่ Office Assistant 4. คลิกเลือกเมนู Choose Assistant…

5. คลิกปุม Next เพื่อเลือก Office Assistant ตัวใหม 6. คลิกปุม OK เพือ ่ ตอบตกลงเลือก Office Assistant

ตัวอยางผูชวย Office (Office Assistant)

11. การบันทึกไฟล (Save) วิธีที่ 1 คลิกเลือกเมนู File > Save วิธีที่ 2 คลิกปุม Save ( ) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน วิธีที่ 3 กดแปน +

12. การปดงานพรีเซนเตชัน (Close) วิธีที่ 1 คลิกเลือกเมนู File > Close วิธีที่ 2 คลิกปุม Close ( ) บนแถบเมนูคําสั่ง วิธีที่ 3 กดแปน +

13. การเปดไฟลเดิมมาใชงาน (Open) วิธีที่ 1 คลิกเลือกเมนู File > Open วิธีที่ 2 คลิกปุม Open ( ) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน วิธีที่ 3 กดแปน +

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

14. การออกจากโปรแกรม PowerPoint วิธีที่ วิธีที่ วิธีที่ วิธีที่

1 2 3 4

คลิกเลือกเมนู File > Exit คลิกปุม Close ( ) บนแถบชือ ่ เรื่อง ดับเบิ้ลคลิกทีส ่ ญ ั ลักษณโปรแกรม ( ) บนแถบชื่อเรื่อง กดแปน +

NOTE: เมื่อใชคําสั่งปดโปรแกรม แตยงั ไมไดบันทึกขอมูลที่มีการแกไข จะมีกรอบโตตอบ ดังรูป

ตอบ ตอบ ตอบ

หรือ Yes เมื่อตองการบันทึกขอมูล และปดโปรแกรม No เมือ ่ ไมตองการบันทึกขอมูล และปดโปรแกรม Cancel เมือ ่ ตองการยกเลิกคําสั่งปดโปรแกรมครั้งนี้ และจะกลับเขาสูโ ปรแกรม PowerPoint

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

137

138

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

ตอนที่ 2 การสรางงานนําเสนอ (Presentation) ดวยตนเอง 1. การสรางงานนําเสนอ (Presentation) จากสไลดวาง การสรางงานนําเสนอสามารถสรางไดหลายวิธี ดังที่ไดกลาวไวในบททีผ ่ านมา โดยถาผูใช ตองการสรางงานนําเสนอดวยตนเอง จะเริ่มจากการสรางสไลดวาง (Blank Presentation) ดังรูป

เมื่อไดสรางสไลดวางขึ้นมาแลว หลังจากนั้นก็จะทําการกําหนดโครงสรางและเนื้อหา โดยในบท นี้ จะกลาวถึงการจัดการกับสไลด เชน การเพิ่ม การลบ แทรก จัดลําดับของสไลด รวมถึงการจัดการกับ ขอความในสไลดดว ย

2. การเพิ่มสไลดในงานพรีเซนเตชัน โดยปกติแลวเมื่อสรางงานพรีเซนเตชันขึ้นมาใหมโดยเปดโปรแกรม Microsoft PowerPoint จะ ปรากฏสไลดมาให 1 แผน (ยกเวนการสรางงานพรีเซนเตชันใหมดวยวิธี AutoContent Wizard และ Existing Presentation Photo Album) ทุกครั้งที่มีการเพิ่มสไลดใหม จะมีหนาตาง Slide Layout แสดง ขึ้นมาที่ Task Pane เพื่อใหผูใชเลือกการวางเคาโครงสไลด โดยมีหลากหลายรูปแบบใหเลือก เชน ขอความ รูปภาพ กราฟ ตาราง หรือผังองคการ เปนตน ขั้นตอนการเพิ่มสไลดลงในงานพรีเซนเตชัน ทําไดดังนี้ 1. เลือกคําสั่ง New Slide ดังนี้ วิธีที่ 1 คลิกเลือกเมนู Insert > New Slide บนแถบเครือ ่ งมือมาตรฐาน วิธีที่ 2 คลิกปุม 2. โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003 จะสรางสไลดแผนใหม พรอมกับแสดงหนาตาง Slide Layout แสดงขึ้นมาที่ Task Pane เพื่อใหเลือกรูปแบบการจัดวางองคประกอบตางๆ ใน สไลด

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

139

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

3. คลิกในกรอบขอความ (Text Box) เพื่อพิมพขอความทีต ่ องการ

3. การเปลีย่ นรูปแบบสไลด (Slide Layout ) ถาตองการเปลีย ่ นรูปแบบสไลด ใหคลิกเลือก Slide Layout ที่ Task Pane จากนั้นเลือกรูปแบบการจัดวางตามตองการ

รูปแบบของสไลดที่มีใหเลือก ดังนี้

NOTE : เมื่อเพิ่มสไลดลงในงานนําเสนอ สังเกตที่แถบงาน Slide/Outline Tab ( ) - ถาคลิกทีแ ่ ท็ป Slide จะแสดงสไลดทั้งหมดเปนสไลดแผนเล็กๆ - ถาคลิกทีแ ่ ท็ป Outline จะเปนการแสดงหัวขอและขอความในสไลดทั้งหมด Slide Tab

Outline Tab

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

140

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

4. การเพิ่มขอความและการจัดการกับเท็กซบ็อกซ (Text Box) เมื่อสรางสไลดขึ้นมาใหม และเลือกรูปแบบของสไลด (Slide Layout) ถารูปแบบของสไลดมี เท็กซบ็อกซ ผูใ ชสามารถคลิกในเท็กซบ็อกซ เพื่อพิมพขอความไดทันที

กรอบ ขอความ (Text Box)

แตถา ผูใ ชตองการเพิ่มเท็กซบอ ็ กซลงในสไลด ทําไดดังนี้ ) บนแถบเครื่องมือรูปวาด (Drawing Toolbox) 1. คลิกปุม Text Box ( 2. คลิกในสไลดแลวพิมพขอความที่ตองการ

3. ถาตองการปรับแตงขอความทีพ ่ ิมพ 3.1 เลื่อนเมาสไปทีข ่ อบของเท็กซบ็อกซ เมาสจะเปลี่ยนรูปเปน การเลือกทั้งเท็กบ็อกซ

และเมื่อคลิกที่ขอบเปน

3.2 ถาตองการเลือกบางสวนของขอความใหแดรกซเมาสคลุมขอความทีต ่ องการ

เลือกแบบตัวอักษร ขนาด ลักษณะ และสีตัวอักษรตามตองการ บนแถบเครื่องมือจัดรูปแบบ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

141

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

ผลลัพธจากการปรับแตงขอความ

3.3 ถาตองการขึ้นบรรทัดใหมใหกดแปน Enter พิมพขอความไดทันที

การเคลื่อนยายขอความ 1. คลิกที่ขอความที่ตองการ จะปรากฏขอบของแท็กบ็อกซ 2. เลื่อนเมาสไปทีข ่ อบของแท็กบ็อกซ เมาสจะเปลี่ยนเปนรูปลูกศร สวนใดๆบนสไลดตามตองการ

แลวแดรกเมาสไปตรง

การปรับขนาดของขอบเขตขอความ 1. คลิกที่ขอความที่ตองการ จะปรากฏขอบของแท็กบ็อกซ และจุดแฮนดิลปรากฏที่มม ุ และขอบของ แท็กบ็อกซรวม 8 จุด 2. เลื่อนเมาสไปชีท ้ ี่จด ุ แฮนเดิล แลวแดรกเมาสเพื่อปรับขนาดตามตองการ จุดแฮนเดิล

การหมุนขอความ 1. คลิกขอความทีต ่ องการ จะปรากฏจุดวงกลมสีเขียวดานบนของแท็กบ็อกซ แลวแดรกเมาสหมุนตามองศาที่ 2. เลื่อนเมาสไปทีจ ่ ุดวงกลมสีเขียว เมาสเปลี่ยนรูปเปน ตองการ

ผลลัพธจาการหมุนขอความ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

142

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

5. การจัดรูปแบบขอความ การจัดรูปแบบขอความ สามารถทําได 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 ใชแถบเครื่องมือรูปแบบ (Formatting Toolbar) แบบอักษร

การจัดวางขอความ

ขนาด

ตัวหนา

ตัวเอียง

ขีดเสนใต

วิธีที่ 2 คลิกเลือกเมนู Format > Font ตองการ

แรเงา

ขนาดเล็กลง

ขนาดใหญข้น ึ

สีตัวอักษร

จะปรากฎหนาตาง Font ใหปรับแตงรูปแบบขอความตาม

คําอธิบาย 1. การกําหนดรูปแบบของตัวอักษร Complex script font กําหนดรูปแบบ ตัวอักษรภาษาไทย Latin text font กําหนดรูปแบบตัวอักษร ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. การกําหนดลักษณะของตัวอักษร Regular คือ ตัวอักษรปกติ Bold คือ ตัวหนา Italic คือ ตัวเอียง Bold Italic คือ ทั้งหนาและเอียง 3. กําหนดขนาดของฟอนต

4. กําหนดลักษณะพิเศษ Underline คือ การขีดเสนใต Shadow คือ การแรเงา Emboss คือ การทําตัวนูน Superscript คือ การทําตัวยก Supscript คือ การทําตัวหอย 5. การกําหนดสีตัวอักษร

ถาตองการสีเพิ่มเติม คลิก More Colors

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

143

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

6. การจัดวางขอความ โดยปกติเมื่อพิมพขอความ โปรแกรมจะจัดใหขอความอยูช  ด ิ ซายของแท็กบ็อกซ แตถา ตองการ จัดวางขอความใหอยูกึ่งกลาง หรือชิดขวา สามารถทําไดดังนี้ 1. เลือกขอความที่ตองการ (คลิกที่ขอบของแท็กบ็อกซ เปนการเลือกขอความทั้งหมดที่อยูในแท็กบ็อกซ หรือแดรกเมาสคลุมบางสวนของขอความทีต ่ อ  งการ จัดรูปแบบ) 2. คลิกเลือกรูปแบบการจัดวางขอความที่ตองการจาก แถบเครื่องมือจัดรูปแบบ กึ่งกลาง กระจายชิดซาย-ขวา

ชิดซาย ชิดขวา หรือคลิกเลือกเมนู Format – Alignmemt มีรูปแบบ การจัดวางขอความดังนี้ • Align Left จัดชิดซาย • Center จัดกึ่งกลาง • Align Right จัดชิดขวา • Justify จัดขอความกระจายชิดทั้งขอบ ซายและขวา • Thai Distrebuted จัดขอความภาษาไทยให กระจายชิดขอบซายและขวา

7. การปรับระยะหางระหวางบรรทัด 1. เลือกขอความที่ตองการ

คลิกเมนู Format – Line Spacing

2. ปรับแตงระยะหางระหวางบรรทัด ตามตองการ ระยะหางระหวาง ั ระยะหางกอนยอหนานั้น ระยะหางหลังจากยอหนานัน ้

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

144

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

ผลลัพธที่ไดจากการปรับแตงระยะหางระหวางบรรทัด

8. การปรับตัวพิมพของขอความ 1. เลือกขอความที่ตองการ

2. คลิกเมนู Format > Change Case…

Sentence case ขึ้นตนประโยคดวยตัวพิมพใหญ Lowercase เปลี่ยนขอความเปนตัวพิมพเล็ก UPPERCASE เปลี่ยนขอความเปนตัวพิมพใหญ Title Case ขึ้นตนคําดวยตัวพิมพใหญ tOGGLE cASE สลับตัวอักษรจากพิมพใหญเปนตัวพิมพเล็ก ผลลัพธที่ไดจากการเปลี่ยนขอคามเปนตัวพิมพใหญทั้งหมด

9. การใสสญ ั ลักษณแสดงหัวขอยอยและเลขลําดับ (Bullets and Numbering) การใสสัญลักษณแสดงหัวขอยอยและเลขลําดับ 1. คลิกเลือกขอความทีต ่ องการใสสญ ั ลักษณแสดงหัวขอยอย หรือเลขลําดับ ) เพื่อใสสญ ั ลักษณหนาหัวขอยอย หรือปุม  Numbering ( ) 2. คลิกปุม Bullets ( เพื่อใสเลขลําดับบนแถบเครื่องมือจัดรูปแบบ หรือคลิกเลือกเมนู Format > Bullets and Numbering… ถาตองการยกเลิกสัญลักษณแสดงหัวขอยอยหรือเลขลําดับ ใหคลิกซ้ําที่ปุม Bullets ( หรือ Numbering (

)

)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

ผลลัพธจากการใสสญ ั ลักษณแสดงหัวขอยอย

ผลลัพธจากการใสเลขดับ

การเปลี่ยนสัญลักษณแสดงหัวขอยอย 1. เลือกขอความที่ตองการเปลี่ยนสัญลักษณและหัวขอยอย 2. หรือคลิกเลือกเมนู Format > Bullets and Numbering…

3. คลิกเลือกรูปแบบหรือสัญลักษณตามตองการ 4. ถาตองการสัญลักษณอื่นๆ ใหคลิกที่ปุม 5. คลิกเลือกรูปแบบหรือสัญลักษณตามตองการในชอง Font : แลวคลิกเลือกสัญลักษณที่ ตองการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

145

146

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

6. สามารถเปลีย ่ นสีและขนาดของสัญลักษณแสดงหัวขอยอยไดทช ี่ อง Size และ Color 7. คลิกปุม OK

ผลลัพธจากการเปลี่ยนรูปแบบ สัญลักษณแสดงหัวขอยอย

10. การคัดลอกรูปแบบดวย Format Printer ถาผูใ ชตองการจัดรูปแบบของขอความใหเหมือนกับรูปแบบของขอความที่เคยจัดไวกอนหนานี้ ผูใชไมจําเปนตองจัดใหม วิธีการคัดลอกเฉพาะรูปแบบของขอความ ทําไดโดย 1. แดรกเมาสคลุมขอความทีต ่ องการคัดลอกรูปแบบ ) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน (เมาสเปลีย ่ นเปนรูปแปรง 2. คลิกปุม Format Printer ( 3. แดรกเมาสคลุมขอความทีต ่ องการใหมรี ูปแบบเดียวกัน

)

11. การเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร (Font) ในทุกๆ สไลด 1. คลิกเลือกเมนู Format > Replace Font... รูปแบบตัวอักษรในชอง 2. เลือกรูปแบบตัวอักษรทีต ่ องการ แลวคลิกปุม Replace คือ รูปแบบตัวอักษรเดิมทีต ่ องการเปลี่ยน และเลือกรูปแบบตัวอักษรใหมทช ี่ อง With..

12. การแทนที่คําหรือขอความ คลิกเลือกเมนู Edit > Replace จะปรากฏหนาตาง Replace ใหใสขอความที่ตองการแทนที่ และขอความเดิม ขอความเดิม ขอความใหมที่ ตองการแทนที่

-

คลิกปุม Find Next ทําการคนหาทีละตําแหนง คลิกปุม Replace เมื่อตองการแทนทีท ่ ีละตําแหนง คลิกปุม Replace All เมื่อตองการแทนทีท ่ ุกตําแหนงในงานพรีเซ็นเตชัน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

147

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

13. การจัดการกับสไลด การเลือกสไลด การเลือกสไลดทําไดโดยการคลิกทีส ่ ไลดที่ตอ  งการ แตถาตองการเลือกมากกวา 1 สไลด มี วิธีการเลือก 3 วิธี ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 กดแปน คางไวแลวคลิกเลือกสไลดถัดไป (วิธีนี้เหมาะกับการเลือกสไลดที่ไม อยูติดกัน) วิธท ี ี่ 2 คลิกเลือกสไลดแรกทีต ่ องการแลวกดแปน คางไวและคลิกเลือกสไลดสุดทาย (วิธีนี้เหมาะกับการเลือกสไลดที่อยูต  ด ิ กัน) วิธท ี ี่ 3 กดแปน + ถาตองการเลือกทุกสไลด การจัดลําดับสไลด วิธท ี ี่ 1 ที่แถบงาน Slide/Outline Tab ( ) แดรกเมาสยายสไลดที่ตองการจัดไปวางยังลําดับใหมทต ี่ องการ ) กดแปน คางไว แลวแดรกเมาสยายสไลดที่ตอ  งการจัด วิธท ี ี่ 2 ที่ Sorter View ( ไปวางยังลําดับใหมที่ตองการ หรือ 1. คลิกสไลดที่ตองการจัดลําดับ 2. คลิกเลือกเมนู Edit > Cut หรือคลิกปุม Cut ( + 3. เลือกตําแหนงใหมทต ี่ องการ 4. คลิกเลือกเมนู Edit > Paste หรือกดปุม Paste ( +

) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน หรือกดแปน

) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน หรือกดแปน

การคัดลอกสไลด ) วิธท ี ี่ 1 ที่แถบงาน Slide/Outline Tab ( 1. คลิกเลือกสไลดทต ี่ องการคัดลอก 2. กดแปน คางไว แลวแดรกเมาสยา ยสไลดที่ตองการคัดลอกไปวางยังลําดับใหมที่ ตองการ สังเกตเมาสเปลีย ่ นรูปเปน วิธท ี ี่ 2 ที่ Slide Sorter View ( ) กดแปน คางไว แลวแดรกเมาสยา ยสไลดทต ี่ องการจัดไปวางยังลําดับใหมทต ี่ องการ

หรือ

หรือ

1. คลิกสไลดที่ตองการคัดลอก 2. คลิกเลือกเมนู Edit > Copy หรือคลิกปุม Copy ( แปน + 3. เลือกตําแหนงใหมทต ี่ องการ

) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน หรือกด

4. คลิกเลือกเมนู Edit > Paste แปน +

)

หรือกดปุม Paste (

บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน หรือกด

1. คลิกสไลดที่ตองการคัดลอก 2. คลิกเลือกเมนู Edit > Duplicate (สไลดใหมที่ไดจากการคัดลอกจะวางอยูกอนหนาสไลด ตนแบบ) หรือกดแปน +

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

148

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

การลบสไลด ) วิธท ี ี่ 1 ที่แถบงาน Slide/Outline Tab ( 1. คลิกเลือกสไลดทต ี่ องการลบ 2. กดแปน หรือ หรือคลิกที่เมนู Edit > Cut/Clear/Delete Slide ) วิธท ี ี่ 2 ที่ Slide Sorter View ( 1. คลิกสไลดที่ตองการลบ 2. กดแปน หรือ หรือคลิกที่เมนู Edit > Cut/Clear/Delete Slide

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

149

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

ตอนที่ 3 การใชงานแถบเครื่องมือรูปวาด (Drawing Toolbar) และการจัดการกับวัตถุ (Objects) งานพรีเซ็นเตชันที่มีแตขอความ อาจดูไมนาสนใจมากนัก การใสวัตถุ (Object) เชน รูปวาด ตางๆ เสนตรง สี่เหลีย ่ ม สามเหลีย ่ ม หรืออักษรศิลปลงไปในสไลด เปนการชวยเพิ่มความนาสนใจ ใหกับงานพรีเซ็นเตชันมากขึ้น ในตอนนี้จะกลาวถึงการใชงานแถบเครื่องมือรูปวาด (Drawing Toolbar) ซึ่งเปนแถบเครือ ่ งมือที่รวมเอาวัตถุตางๆ เพื่อสามารถนํามาประกอบกับงานพรีเซ็นเตชัน รวมถึงการจัดและ ตกแตงวัตถุเหลานั้นใหสวยงาม

1. การเรียกใชแถบเครื่องมือรูปวาด ถาในหนาตางโปรแกรม Microsoft PowerPoint ไมไดแสดงแถบเครื่องมือรูปวาด ใหเรียกขึ้นมา ใชงานไดโดย ) 1. คลิกมุมมอง Normal View ( 2. คลิกเลือกเมนู View > Toolbar > Drawing หรือ

1. เลื่อนเมาสไปยังพื้นที่วางของแถบเครื่องมือที่เปดใชอยูขณะนั้น 2. คลิกปุมขวาของเมาส แลวคลิกเลือกชื่อแถบเครื่องมือDrawing ใหมีเครื่องหมาย หนาชื่อแถบเครื่องมือ Drawing ดังรูป

NOTE : การใสวัตถุจากแถบเครื่องมือรูปวาด (Drawing Toolbar) ผูใชจะตองอยูในมุมมอง Normal View

2. การวาดรูปดวยแถบเครื่องมือรูปวาด การวาดเสน (Line) และลูกศร (Arrow) 1. คลิกปุม

เพื่อวาดเสนตรง หรือคลิกปุม

เพื่อวาดลูกศร

2. เลื่อนเมาสไปทีส ่ ไลด ณ ตําแหนงทีต ่ องการวาด เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป 3. แดรกเมาสไปในทิศทางที่ตองการ จะไดเสนตรงหรือลูกศร ถาตองการเปลีย ่ นรูปแบบของเสน เชน เปลี่ยนขนาดของเสน เปลี่ยนเปนเสนประ หรือเปลี่ยน ตามลําดับ มีขั้นตอนดังนี้ ทิศทางของหัวลูกศร ใหคลิกปุม คลิกเมาสเลือกเสนทีต ่ องการ แลว คลิกปุม Line Style (

) เพื่อเปลี่ยนขนาดของเสน

คลิกปุม Dash Style (

) เพื่อเปลี่ยนเปนเสนประ

คลิกปุม Arrow Style (

) เพื่อเปลี่ยนทิศทางของหัวลูกศร

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

150

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

NOTE : ถาตองการปรับแตงคุณสมบัตข ิ องวัตถุใดทีว่ าดขึ้น ใหดับเบิลคลิกที่วัตถุทต ี่ องการ จะปรากฏหนาตาง Format AutoShape ขึ้น คลิกเลือกสวนตางๆ เพื่อปรับเปลี่ยน

เลือกสีของเสน เลือกแบบของเสน

เลือกขนาดของเสน เลือกขนาดของหัวลูกศร

เลือกหัวลูกศร

การวาดสี่เหลีย ่ ม (Rectangular) วงรี และวงกลม (Oval ) 1. ใหคลิกที่ปุม Rectangular ( วาดรูปวงรีหรือวงกลม

) เพื่อวาดรูปสีเ่ หลี่ยม หรือคลิกปุม Oval (

) เพื่อ

2. เลื่อนเมาสบนสไลดในตําแหนงที่ตองการวาด เมาสเปลี่ยนเปนรูป 3. แดรกเมาสไปในแนวทแยง ถาตองการวาดรูปวงกลมคลิกปุม ทิศทางการลากเมาส)

และกดแปน คางไวในขณะลากเมาส (

แสดง

3. การสรางวัตถุดว ย Autoshapes 1. คลิกปุม

แลวเลือกรูปทรงทีต ่ องการ

2. เลื่อนเมาสไปบนสไลดในตําแหนงทีต ่ องการวาด เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป 3. แดรกเมาสในแนวทแยงตามขนาดทีต ่ องการ จะปรากฏรูปตามที่เลือก บนสไลด

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

151

ถาตองการพิมพขอความลงในรูปวาดใหคลิกปุมขวาของเมาสบนรูปทีส ่ ราง จะปรากฏคําสั่งเมนู ลัด (Shortcut Menu) ใหคลิกเลือกคําสั่งพิมพขอความ (Add Text) ตัวชี้เมาส (Mouse Pointer) จะ ปรากฏเปนตัวกระพริบ (I-beam) ใหพิมพขอความที่ตองการ

วัตถุที่วาดดวย Autoshapes ถาคลิกที่เลือกวัตถุจะมีจด ุ สีเหลืองเกิดขึ้น ซึ่งมีไวสําหรับปรับ ทิศทางของเสนแดรกเมาสที่จด ุ สีเหลืองปรับทิศทางของเสน

จุดสีเหลือง การวาดวัตถุดว  ย Freeform 1. คลิกปุม

เลือก Line > Freeform

2. เลื่อนเมาสไปบนสไลดในตําแหนงทีต ่ องการวาด เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป 3. แดรกเมาส วาดรูปตามตองการ ขณะวาดเมาสเปลี่ยนเปนรูปดินสอ

การแกไข Freeform 1. คลิกปุมขวาของเมาสทวี่ ัตถุตองการแกไข เลือกคําสั่ง Edit Point 2. แดรกเมาสตรงจุดสีดําเพื่อปรับเปลี่ยนหรือแกไขรูป 3. เมื่อแกไขเสร็จใหคลิกบนสไลดพื้นทีใ่ ดๆ ก็ได

4. การจัดการกับวัตถุ (Object) การเปลี่ยนสีวต ั ถุ ดับเบิ้ลคลิกที่วต ั ถุที่ตองการจะเปลี่ยนสี จะปรากฏหนาตาง Format Autoshapes สามารถปรับ แตงวัตถุตามตองการ หรือ คลิกเลือกวัตถุ o

คลิกปุม

o

คลิกปุม

เพื่อใสสีพื้นหลังใหวัตถุ เพื่อใสสีเสนใหกับวัตถุ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

152

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

การยายวัตถุ 1. คลิกเลือกวัตถุที่ตองการเคลื่อนยาย 2. เลื่อนเมาสไปทีจ ่ ุดแฮลเดิล เมาสจะเปลี่ยนรูปเปน 3. แดรกเมาสไปยังตําแหนงใหมที่ตองการ การปรับขนาดวัตถุ 1. คลิกเลือกวัตถุที่ตองการปรับขนาด 2. เลื่อนเมาสไปทีจ ่ ุดแฮลเดิล เมาสเปลี่ยนรูปเปน 3. แดรกเมาสขยายหรือลดขนาดวัตถุตามตองการ

(ลูกศรสี่ทศ ิ ทาง)

(ลูกศรสีท ่ ิศทาง)

การหมุนวัตถุ 1. คลิกเลือกวัตถุที่ตองการ จะปรากฏจุดวงกลมสีเขียวดานบนวัตถุ แลวแดรกเมาสหมุนตามองศาที่ 2. เลื่อนเมาสไปทีจ ่ ุดวงกลมสีเขียว เมาสเปลี่ยนรูปเปน ตองการ ( เสนลูกศรโคง แสดงทิศทางการหมุน)

การสรางเงาใหกบ ั วัตถุ 1. คลิกเลือกวัตถุที่ตองการสรางเงา 2. คลิกปุม

เพื่อเลือกรูปแบบของเงา

การสรางรูปทรง 3 มิติใหกบ ั วัตถุ 1. คลิกเลือกวัตถุที่ตองการสรางรูปทรง 3 มิติ 2. คลิกปุม เพื่อเลือกรูปแบบของรูปทรง 3 มิติ

หรือ

การคัดลอกวัตถุ 1. คลิกทีว่ ัตถุทต ี่ อ  งการคัดลอก 2. กดแปน คางไว แลวแดรกเมาสลากวัตถุวางในตําแหนงทีต ่ องการ 3. จะไดวต ั ถุที่ใหมที่ไดจากการคัดลอก 1. คลิกเลือกวัตถุที่ตองการคัดลอก Copy (

) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน

4. คลิกเลือกเมนู Edit > Paste หรือกดปุม Paste ( หรือกดแปน +

) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน

2. คลิกเลือกเมนู Edit > Copy หรือคลิกปุม หรือกดแปน + 3. คลิกเลือกวัตถุที่ตองการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

153

การลบวัตถุ 1. คลิกเลือกวัตถุที่ตองการ ถาตองการลบมากกวา1 ใหกดแปน หรือ คางไวแลวคลิกเลือกวัตถุถัดไป ใหกดแปน + ถาตองการลบวัตถุทุกชนิดในสไลด 2. กดแปน หรือ หรือคลิกที่เมนู Edit > Cut/Clear

1. 2. -

การจัดเรียงลําดับวัตถุ การนําวัตถุมาใสในสไลด สามารถจัดลําดับการวางซอนทับกันไดดังนี้ คลิกปุมขวาของเมาสทวี่ ัตถุทต ี่ องการจัดเรียง เลือกคําสั่ง Order เลือกลักษณะในการจัดเรียง มีดังนี้ Bring to Front นําวัตถุมาวางไวบนสุด Send to Back สงวัตถุไปวางไวลางสุด Bring Forward นําวัตถุขึ้นมาวางไวดานบน 1 ลําดับชั้น สงวัตถุไปวางไวดานลาง 1 ลําดับชั้น Send Backward

การจัดกลุมวัตถุ หลังจากจัดเรียงลําดับการซอนทับของวัตถุแลว อาจตองจัดกลุมใหกับวัตถุ เพื่อความสะดวกใน การแกไขหรือเคลื่อนยายไดดงั นี้ 1. คลิกเลือกวัตถุที่ตองการจัดกลุม โดยเลือกวัตถุชิ้นแรก แลวกดแปน คางไว แลว คลิกเลือกวัตถุชิ้นตอไปทีต ่ องการจัดกลุมไปเรื่อยๆ จนครบ 2. คลิกปุมขวาของเมาสที่กลุมวัตถุที่เลือก เลือกคําสั่ง Grouping > Group (เมื่อเคลื่อนยาย วัตถุ จะพบวาจุดแฮนดิลกลายเปนลักษณะของวัตถุชิ้นเดียวกัน)

ถาตองการแยกวัตถุออกเปนหลายชิ้นกลับมาเหมือนเดิม ใหคลิกปุมขวาของเมาสที่กลุมของวัตถุ เลือกคําสั่ง Grouping > Ungroup

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

154

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

5. การสรางตัวอักษรศิลปดวย Microsoft WordArt Microsoft WordArt เปนเครื่องมือในการสรางตัวอักษรศิลปในแบบตางๆ ซึง่ ทําไดดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Insert > Picture > WordArt.. หรือคลิกปุม  (Drawing Toolbar)

บนแถบเครือ ่ งมือรูปวาด

2. เลือกรูปแบบของตัวอักษรศิลปที่ตองการ แลว คลิกปุม OK

3. พิมพขอความตามตองการ เลือกรูปแบบ ตัวอักษร ขนาด และลักษณะของตัวอักษร แลวคลิกปุม OK

4. จะปรากฏตัวอักษรศิลป พรอมแถบเครื่องมือ WordArt ซึ่งใชปรับแตงตัวอักษรศิลป

ปุมตางๆ บนแถบเครื่องมือ WordArt มีรายละเอียดดังนี้ ปุมเครื่องมือ ชื่อปุมเครื่องมือ Insert WordArt เพิ่มตัวอักษรศิลป

ทําหนาที่

Edit Text

แกไขขอความ

WordArt Gallery

แกไขรูปแบบของตัวอักษรศิลป

Format WordArt

แกไขคุณสมบัติของรูปแบบ

WordArt Shape

แกไขรูปทรงของตัวอักษรศิลป

WordArt Same Letter Heights

ปรับตัวอักษรตัวพิมพเล็กใหสงู เทาตัวพิมพใหญ

WordArt Vertical Text

ปรับแนวการวางตัวอักษรเปนแนวตั้ง

WordArt Alignment

ปรับการจัดวางตัวอักษรศิลป

WordArt Character Spacing

ปรับระยะหางระหวางตัวอักษร

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

155

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

6. การใสรปู ภาพจาก Clip Gallery และการปรับแตงภาพดวยแถบเครื่องมือ Picture Clip Gallery คือ โปรแกรมที่จด ั เก็บภาพคลิปอารต มีนามสกุลเปน .wmf (Windows Metafile) ซึ่งเปนภาพในรูปแบบเวกเตอร คือ เมื่อทําการยอ–ขยายภาพ แลวภาพยังคมชัดเหมือนเดิม ขั้นตอนการนําภาพคลิปอารตจาก Clip Gallery 1. คลิกเลือกเมนู Insert > Picture > Clip Art... หรือคลิกปุม Insert Clip Art ( เครื่องมือรูปวาด

) บนแถบ

2. จะปรากฏหนาตาง Insert Clip Art ที่ Task Pane เพื่อแสดงรูปภาพทัง้ หมด แตถา คลิกปุม ตองการคนหารูปเกี่ยวกับเรื่องใดเฉพาะเจาะจง ใหพิมพคาํ สําคัญ ลงในชอง Search for: หรือ สามารถระบุที่เก็บรูปภาพในชอง Search in: และ ชนิดไฟลรูปในชอง Results should be: แลวกดปุม

3. ผลลัพธที่ไดจากการคนหาแสดงดานลาง ผูใชตองการรูปใดใหคลิกทีร่ ูปนั้น รูปภาพที่เลือกและ แถบเครื่องมือ Picture เปนเครื่องมือในการปรับตกแตงรูปภาพ (ถาแถบเครือ ่ งมือ Picture ไม ปรากฏ สามารถเลือกไดโดยคลิกเลือกเมนู View > Toolbar > Picture)

ผลลัพธ จากการ คนหา

ปุมตางๆ บนแถบเครื่องมือ Picture มีรายละเอียดดังนี้ ปุมเครื่องมือ ชื่อปุมเครื่องมือ ทําหนาที่ Insert Picture แทรกรูปภาพจากไฟล Color More Contrast

ปรับโหมดสีของรูปภาพ เชน ภาพปกติ สีเทา สีขาว ดํา ภาพลายน้ํา เพิ่มความชัด

Less Contrast

ลดความชัด

More Brightness

เพิ่มความสวาง

Less Brightness

ลดความสวาง

Crop

ซอนบางสวนของภาพ (ลากเมาสที่จด ุ แฮนเดิลของ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

156

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

ปุมเครื่องมือ

ชื่อปุมเครื่องมือ Rotate Left

ทําหนาที่ ภาพดานใดดานหนึ่งเขา เพื่อซอนสวนที่ไมตอ  งการ แสดง) หมุนภาพ 90 องศา โดยหมุนไปทางซาย

Line Style

เลือกแบบเสน

Compress Picture

บีบอัดขนาดไฟลรูปภาพใหเล็กลง

Recolor Picture

เลือกปรับแตงสีของวัตถุ

Format Object

ปรับคุณสมบัตข ิ องภาพ

Set Transparent

กําหนดสวนที่โปรงใส

Reset Picture

เลือกคาเดิมของรูปภาพกอนปรับเปลี่ยน

7. การแยกสวนประกอบของรูปภาพ Clip Art ภาพ Clip Art เปนไฟลนามสกุล. wmf (Windows Metafile) ซึ่งเปนภาพที่ประกอบดวยภาพ ยอยหลายๆ ภาพมาประกอบกัน ถาตองการแกไขแตละสวนของรูปภาพ ตองแยกสวนประกอบของภาพ เสียกอน มีขั้นตอน ดังนี้ 1. คลิกปุมขวาของเมาสทรี่ ูปภาพที่ตองการแยกสวนประกอบ 2. เลือกคําสั่ง Grouping > Ungroup

3. จะปรากฏกรอบคําถามวา ตองการเปลี่ยนรูปเปน Microsoft Office Drawing Object หรือไม

4. คลิกปุม 5. คลิกปุมขวาของเมาสทรี่ ูป เลือกคําสั่ง Grouping > Ungroup อีกครั้ง 6. จะปรากฏภาพที่ประกอบดวยหลายภาพประกอบรวมอยู สังเกตจากจุดแฮลเดิลหลายจุดซึ่ง ปรากฏอยูใ นแตละภาพยอย คลิกภายนอกรูป 1 ครั้ง จากนัน ้ สามารถเลื่อนเมาสมาคลิกตรงสวนที่ ตองการแกไข เชน แยกภาพออกมา ปรับเปลี่ยนสี หรือปรับขนาด เปนตน

เลือกสวนประกอบยอยของภาพ ถาตองการเลือกหลายๆสวนใหใชเมาสลากคลุมสวนทีต ่ องการ แลว สามารถปรับแตงไดตามตองการ เชน เคลือ ่ นยายวัตถุ เปนตน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

157

การประกอบสวนประกอบยอยๆของภาพกลับมาเปนภาพเดียวกัน 1. คลิกเลือกสวนประกอบทุกสวนที่ตองการประกอบเขาดวยกัน (คลิกเลือกภาพแรกและกด แปน แลวเลือกภาพถัดไปจนครบ หรือลากเมาสคลุมสวนประกอบที่ตองการ) 2. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณสวนประกอบทีต ่ อ  งการ เลือกคําสั่ง Grouping > group (หลังจากประกอบภาพเปนภาพเดียวแลว สังเกตจุดแฮลดิลกลายเปนของภาพๆเดียว)

8. การนํารูปจากไฟลมาใสในสไลด 1. คลิกเลือกเมนู Insert > Picture > From file .. หรือคลิกปุม Insert Picture ( แถบเครื่องมือรูปวาด (Drawing Toolbar) 2. ในชอง Look in: เลือกไดรฟ/โฟลเดอร ที่เก็บไฟลรูปภาพทีต ่ องการ

) บน

3. คลิกเลือกรูปภาพที่ตองการนํามาใสในสไลด แลวคลิกปุม 4. สามารถปรับแตงรูปภาพเชนเดียวกับรูป Clip Art โดยคลิกปุมขวาของเมาสที่รูปเลือกคําสั่ง Show Picture Toolbar

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

158

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

9. การสรางงานพรีเซ็นเตชันแบบอัลบั้มภาพ โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003 สามารถสรางพรีเซ็นเตชันที่นําเสนอรูปภาพ จํานวนมาก หรืออัลบั้มภาพ โดยมีคําสั่งตางๆ ชวยในการจัดวางรูปภาพ ซึ่งทําใหการทํางานสะดวกรวดเร็ว ขึ้น มีขั้นตอนการทํางาน ดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Insert > Picture > New Photo Album..

2. จะปรากฎหนาตาง Photo Album ใหคลิกเลือกแหลงเก็บภาพที่ปม ุ

3. เลือกไฟลรูปภาพที่ตองการ โดยกดแปน เพื่อเลือกหลายไฟล แลวคลิกปุม

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

159

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

4. ปรับแตงอัลบั้มภาพ เชน ลําดับของภาพ ลักษณะการจัดวาง ปรับความคมชัด หรือความสวาง ของภาพ เปนตน แลวคลิกปุม

เลือกลําดับของภาพ

เลือกรูปแบบการ วางภาพ

5. จะไดอัลบั้มภาพตามตองการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

หมุนภาพ ปรับ ความคมชัด และ ความสวาง

160

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

ตอนที่ 4 การตกแตงพื้นฉากหลังของงานพรีเซ็นเตชัน การสรางงานพรีเซ็นเตชันใหสวยงามและดึงดูดความสนใจของผูฟงนั้น งานพรีเซ็นเตชันควรมี สีสันสวยงามและเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง การกําหนดสีพื้นหลังใหกับสไลดดูนาสนใจยิ่งขึ้น ในบทนี้จะ กลาวถึงการตกแตงพื้นฉากหลังของงานพรีเซ็นเตชัน ซึ่งสามารถทําไดหลายวิธี เชน การกําหนดสีพน ื้ ฉากหลังเอง โดยกําหนดสีและลวดลายตางๆตามความตองการ หรือการใชการตกแตงพืน ้ ฉากหลังดวย Template ซึง่ เปนรูปแบบพืน ้ ฉากหลังที่โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003 เตรียมมา ไวใหแลว

1. การตกแตงพื้นฉากหลังของสไลดดวยตนเอง การตกแตงพื้นฉากหลังของสไลดที่อยูในมุมมอง Normal View ( การใสสีของพื้นฉากหลัง 1. คลิกเลือกเมนู Format > Background หรือคลิกปุมขวา ของเมาสบนสไลด (คลิกบริเวณพื้นที่วางบนสไลด อยาใหโดนวัตถุ) เลือกคําสั่ง Background... 2. จะปรากฏหนาตาง Background คลิกเลือกสีพื้นหลังตามตองการ 3. ถาตองการสีอื่นใหคลิก More Color.. เลือกสี แลวคลิก OK 4. คลิกปุม หรือคลิกปุม

)

เพื่อใหสีกําหนดใชกับทุกสไลด ถาตองการใหใชกับสไลดนี้สไลดเดียว

การใสลวดลายใหพื้นฉากหลัง 1. คลิกปุมขวาของเมาสบนสไลด (คลิกบริเวณพืน ้ ที่วางบนสไลด อยาใหโดนวัตถุ) เลือกคําสั่ง Background.. 2. คลิกเลือกคําสัง่ Fill Effects.. 3. จะปรากฏหนาตาง Fill Effects ซึ่งมีแท็ปใหเลือกดังนี้ o Gradient ไลระดับสี o Texture เลือกลักษณะพื้นผิว o Pattern เลือกลวดลาย o Picture เลือกรูปภาพ 4. เลือกลักษณะการไลสี ลักษณะพื้นผิว ลวดลาย หรือรูปภาพ อยางใดอยางหนึ่งตามตองการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

161

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

หากตองการนํารูปภาพมาเปนพื้นฉากหลังของสไลด

o

ใหคลิกที่แท็ป Picture

o o

คลิกปุม ระบุที่เก็บไฟลรป ู ภาพและเลือกรูปภาพที่ตองการ

o

คลิกปุม

o

คลิกปุม

ถาตองการใชกับสไลดนี้สไลดเดียว

o

คลิกปุม

ถาตองการใชกับทุกสไลด

และคลิก

2. การตกแตงฉากพืน้ หลังของสไลดดวยเท็มเพลต (Template) Template คือ รูปแบบพื้นฉากหลังที่โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003 เตรียมไว ใหแลว มีขั้นตอนการเรียกใช ดังนี้ 1. การเรียกใช Template จากคําสั่ง Slide Design.. มีวิธีเรียกใช 4วิธี ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 คลิกเลือกเมนู Format > Slide Design.. บนแถบเครื่องมือจัดรูปแบบ จะปรากฏ Slide Design ที่ Task Pane วิธท ี ี่ 2 คลิกปุม  วิธท ี ี่ 3 คลิกปุม  ขวาของเมาท บนพื้นที่วางในสไลด เลือกคําสั่ง Slide Design.. วิธท ี ี่ 4 คลิกเลือกคําสั่ง Slide Design.. จาก Task Pane วิธีท่ี 1

วิธีท่ี 2

วิธีท่ี 3

2. คลิกเลือก Template ที่ตองการ (เปนการกําหนด Template นี้ใหกับทุกสไลด)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

วิธีท่ี 4

162

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

การยกเลิกการใช Template 1. คลิกเลือกคําสัง่ Slide Design โดยวิธีใดก็ไดจากวิธีขางตน เชน คลิกเลือกเมนู Format > Slide Design… 2. เลือก Template ชื่อ Default Design จาก Task Pane

NOTE: ถาตองการกําหนดสีพื้นหลัง หรือใสรูปภาพที่ไมตองการใหมีลวดลายจาก Template บนสไลด สามารถ ทําได โดยคลิกที่ Omit background graphics from master

3. การกําหนดชุดสีใหกับสไลดดวย Slide Color Schemes 1. คลิกเลือกเมนู Format > Slide Design... 2. เลือกคําสั่ง Color Schemes จาก Task Pane หรือคลิกเลือกคําสั่ง Slide Design > Color Schemes จาก Task Pane 3. คลิกเลือก Color Schemes ที่ตองการ ซึ่งเปนการกําหนดใหกับทุกสไลดในงานพรีเซ็นเตชันนี้

NOTE: ถาตองการกําหนดพื้นฉากหลังดวยชุดสีใหกับสไลดเพียงสไลดเดียวที่กําลังเลือกทํางานอยูขณะนี้ ใหคลิก ที่แถบลูกศรลงที่ Template ที่ตองการ แลวเลือกคําสั่ง Apple to Selected Slides

แถบลูกศร

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

163

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

4. การกําหนดสี Color Schemes ดวยตนเอง นอกจากนี้ผูใชจะใชชด ุ สีที่โปรแกรมมีมาใหแลวนั้น ผูใชยังสามารถกําหนดสีสวนตางๆของสไลด ไดเอง เชน กําหนดสีพื้นหลัง กําหนดสีใหกับขอความและเสน กําหนดสีใหกับเงา เปนตน มีวิธีทาํ ดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Format > Slide Design.. 2. เลือกคําสั่ง Color Schemes จาก Task Pane 3. เลือกคําสั่ง Edit Color Schemes …  4. คลิกเลือกประเภทของ scheme แลวคลิกปุม

แลวเลือกสีทต ี่ องการ

5. คลิกปุม

เมื่อตองการดูตวั อยางกอน

6. คลิกปุม

เมื่อตองการกําหนด Color Schemes ที่เลือกไวใหกับสไลด

ผูใชสามารถกําหนด Color Schemes ไดดงั นี้ • Background • Text and line • Shadow • Title Text • Fill • Accent • Accent and hyperlink • Accent and followed hyperlink

สีพื้นหลัง สีขอความและเสน สีของเงา สีขอความที่เปนหัวเรื่อง สีเติมใหกับวัตถุ สีขอความทีถ ่ ูกเนน สีขอความทีถ ่ ูกเนนและเชื่อมโยง สีขอความทีถ ่ ูกเนนและเชื่อมโยงผาน มาแลว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

164

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

ตอนที่ 5 การสรางเทคนิคใหงานนําเสนอ เมื่อมีการนําเสนอที่พรอมทั้งเนื้อหาและสวยงามแลว ขัน ้ ตอนตอไปคือการทําใหงานเสนอนา ติดตาม และมีลําดับการนําเสนอที่สอดคลองกับเนื้อหา นั่นคือการใสเทคนิคพิเศษตางๆ

1. เทคนิคการเปลี่ยนสไลด (Slide Transition) 1. คลิกเลือกสไลดทต ี่ องการใสเทคนิคการเปลีย ่ นสไลด เลือกคําสั่ง มีวิธีเลือกดังนี้ วิธท ี ี่ 1 คลิกเลือกเมนู Slide Show > Slide Transition

วิธท ี ี่ 2 คลิกที่ปุม Sorter View ) วิธท ี ี่ 3

บนแถบเครื่องมือ Slide Sorter (ในมุมมอง Slide

คลิกปุมขวาของเมาสบนสไลด เลือกคําสั่ง Slide Transition...

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

165

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

2. จะปรากฏ Slide Transition ที่ Task Pane คลิกเลือกรูปแบบของ Transition

เลือกเทคนิคการ เปลี่ยนสไลดแบบ ตางๆ

เลือกเสียงประกอบ เปลี่ยนสไลดเมือ ่ คลิก เปลี่ยนสไลดอต ั โนมัต/ิ ตามเวลา ที่ต้งั เปนวินาที

กําหนดความเร็วใน การเปลี่ยนสไลด

เลือกวิธีการเปลี่ยน แผนสไลด กําหนดเทคนิคใหกับทุกสไลด

แสดงตัวอยางการเปลี่ยนสไลด แสดงตัวอยางการเปลี่ยน สไลดแบบอัตโนมัติ

นําเสนอสไลดในมุมมอง Slide Show View

NOTE: เมื่อกําหนดเทคนิคการเปลี่ยนสไลดใหกับสไลดแลว สังเกตดานลางของสไลดจะมีสญ ั ลักษณ

2. การกําหนดวัตถุใหเคลื่อนที่ขณะนําเสนองานพรีเซนเตชัน (Animation) การกําหนดใหวต ั ถุที่อยูส  ไลดมก ี ารเคลื่อนที่ สามารถทําได 2 รูปแบบ 1. Animation Schemes เปนการกําหนดการเคลื่อนที่ใหวต ั ถุที่เปนขอความเทานั้น (Text Box) ซึ่งเปนรูปแบบการเคลือ ่ นที่ที่กําหนดโดยโปรแกรมมาใหแลว ไมสามารถทําการแกไข รูปแบบเพิ่มเติมไดเอง 2. Custom Animation เปนการกําหนดการเคลื่อนทีใ่ หวต ั ถุบนสไลดทั้งหมด การกําหนดวัตถุใหเคลื่อนที่ดว  ย Animation Schemes 1. ผูใชสามารถกําหนดการเคลื่อนที่ใหกับวัตถุได 2. เลือกคําสั่ง Animation Schemes ได 2 วิธี วิธท ี ี่ 1 คลิกเลือกเมนู Slide Show > Animation Schemes... วิธท ี ี่ 2 คลิกปุมขวาของเมาสที่ Animation Schemes... ) (ตองอยูในมุมมอง Slide Sorter View วิธท ี ่ี 1

วิธท ี ่ี 2

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

166

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

3. คลิกเลือกรูปแบบ Animation Schemes ที่ตองการจาก Task Pane

เลือกรูปแบบ Animation Schemes

กําหนดเทคนิคใหกับทุกสไลด นําเสนอสไลดในมุมมอง Slide Show View

แสดงตัวอยางการเปลี่ยนสไลด แสดงตัวอยางการ สไลด ป ี่ แบบอัตโนมัติ

การกําหนดเสนทางเคลื่อนที่ใหวัตถุ (Custom Animation) 1. เลือกสไลดที่ตอ  งการ (ตองอยูในมุมมอง Normal View เทานั้น) 2. คลิกเลือกวัตถุ (Object)ที่ตองการ เลือกเมนู Slide Show > Custom Animation.... หรือคลิกปุมขวาของเมาสที่บนวัตถุที่ตองการ เลือกคําสั่ง Custom Animation....

หรือ

3. คลิกปุม

จาก Task Pane เลือกตามเทคนิคทีต ่ องการ

NOTE: ตัวเลือกทั้ง 4 หมวดหมูคือ - Entrance - Emphasis - Exit - Motion Paths

เกี่ยวกับทางเขา เกี่ยวกับการเนนวัตถุ เกี่ยวกับทางออก เกี่ยวกับเสนทางในการทําเอฟเฟกต

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

167

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

คลิกปุม More Effects … ( > Entrance

> Exit

) เพื่อดูเอฟเฟกตอื่นๆ > Emphasis

> Motion Paths

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

168

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

4. เมื่อเลือกเทคนิคใหวต ั ถุแลว จะปรากฏคุณลักษณะตางๆ ที่ Task Pane ใหผูใชปรับแตงได ตามตองการ o Start : (เริ่มแสดงวัตถุเมื่อ) On Click คลิกเมาส With Previous ใหแสดงพรอมวัตถุชิ้นกอนหนานี้ After Previous ใหแสดงหลังวัตถุชิ้นกอนหนานี้ ซึ่งสามารถกําหนดเวลาได

เริ่มแสดงวัตถุ กําหนดทิศทางการเคลื่อนที่ กําหนดความเร็ว ในการเคลื่อนที่

กําหนดคาตางๆ และเสียงประกอบดวย Effect Options…

กําหนดเสียง หลังจากแสดงวัตถุแลว ตองการใหวัตถุเปนอยางไร

เลือกระดับความดัง ของเสียง

NOTE: การกําหนด Effect หลังจากแสดงวัตถุแลว - More Color กําหนดใหเปลี่ยนสีวัตถุเปนสีตามที่กําหนด - Don’t Dim กําหนดใหวต ั ถุเปนเหมือนเดิมหลังจากแสดงวัตถุแลว - Hide After Animation ไมแสดงวัตถุนี้หลังจากแสดงวัตถุแลว - Hide on Next Mouse Click ไมแสดงวัตถุนี้หลังจากคลิกเมาสครั้งถัดไป การกําหนดเวลาในการแสดงวัตถุ คลิกเลือกแท็บ Timing เพื่อปรับแตงคาตามตองการ • Delay: หนวงเวลาที่จะใหวัตถุแสดงออกมา (หนวยเปนวินาที) • Speed: ความเร็วในการแสดงวัตถุ • Repeat: กําหนดการแสดงวัตถุซ้ํา - 2, 3, 4, 5, 10 จํานวนครั้งของการปรากฏวัตถุที่มีใหเลือก - Until Next Click แสดงวัตถุซ้ําจนกวาจะคลิกเมาส - Until End of Slide แสดงวัตถุซ้ําจนกวาจะจบสไลดนี้

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

169

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

แสดงการเคลือ ่ นที่แสดงวัตถุ คลิกปุมขวาของเมาสเลือกวัตถุทต ี่ องการแสดงการเคลื่อนที่ Timeline

เลือกคําสั่ง

Show

NOTE: ถาตองการซอนเสนการแสดงวัตถุใหคลิกเลือก Hide Advance Timeline การจัดลําดับการแสดงวัตถุ 1. คลิกเลือกวัตถุที่ตองการจัดลําดับ 2. คลิกปุม

เพื่อเลื่อนขึ้น หรือปุม

เพื่อเลื่อนลง

การเปลี่ยนเทคนิคการแสดงวัตถุ 1. คลิกเลือกวัตถุที่ตองการเปลี่ยนเทคนิค การแสดงวัตถุ โดยคลิกทีต ่ ัวเลขขางวัตถุ

2. คลิกปุม

คลิกเลือกเทคนิคการแสดงวัตถุแบบอื่นๆ ตามตองการ

การยกเลิกการกําหนดเทคนิคการแสดงวัตถุ 1. คลิกเลือกวัตถุที่ตองการยกเลิก 2. คลิกปุม

ที่อยูในหนา Task Pane

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

Advanced

170

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

3. การสรางสไลดสรุป (Summary Slide) Summary Slide คือ สไลดที่รวบรวมหัวขอจากสไลดทุกสไลด หรือสไลดที่เลือก มาสรางเปน สไลดใหม ทําไดดังนี้ ) เทานั้น 1. ตองอยูทม ี่ ุมมอง Side Sorter View ( 2. คลิกเลือกสไลดทต ี่ องการทํา Summary Slide สามารถเลือกไดหลายวิธข ี ึ้นอยูกับความตองการ ดังนี้ • กดแปน คางไว เมื่อตองการเลือกสไลดที่อยูตด ิ กัน • กดแปน คางไว เมื่อตองการเลือกสไลดที่ไมอยูตด ิ กัน • กดแปน + เมื่อตองการเลือกทุกสไลด ) จากแถบเครื่องมือ Slide Sorter (แถบเครื่องมือ Slide 3. คลิกปุม Summary Slide ( Sorter จะปรากฏเมื่ออยูในมุมมอง Slide Sorter View) 4. จะปรากฏ Summary Slide ปรับแตงสไลดไดตามความตองการ

4. การแสดงงานพรีเซนเตชัน (Slide Show) เมื่อเตรียมสไลดพรอมที่จะนําเสนอแลว มีวิธีการนําเสนอทาง 4 วิธีดังนี้ วิธีที่ 1 คลิกเลือกเมนู Slide Show > View Show วิธีที่ 2 คลิกเลือกเมนู View > Slide Show วิธีที่ 3 กดแปน (Slide Show) วิธีที่ 4 คลิกทีป ่ ุมมุมมอง

5. การเปลีย่ นแผนสไลดขณะนําเสนอ การเปลี่ยนแผนสไลดถดั ไป หรือแสดงวัตถุลําดับตอไป สามารถทําไดหลายวิธีดังนี้ วิธีที่ 1 กดแปน วิธีที่ 2 กดแปน วิธีที่ 3 กดแปน วิธีที่ 4 กดแปน < > หรือ วิธีที่ 5 กดแปน วิธีที่ 6 คลิกปุม  ขวาของเมาสเลือกคําสั่ง Next

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

171

การเปลี่ยนสไลดไปสไลดกอ นหนา หรือวัตถุลําดับกอนหนา วิธีที่ วิธีที่ วิธีที่ วิธีที่ วิธีที่ วิธีที่

1 2 3 4 5 6

กดแปน

กดแปน กดแปน กดแปน หรือ กดแปน คลิกปุมขวาของเมาสเลือกคําสั่ง Previous

การเปลี่ยนสไลดไปยังสไลดที่ตองการ คลิกปุมขวาของเมาสทส ี่ ไลด เลือก Go to Slide เลือกหัวขอสไลดทต ี่ องการ

6. การควบคุมการแสดงสไลด ขณะที่กําลังนําเสนองานพรีเซนเตชันนั้น ผูบรรยายสามารถใชเครื่องมือในการควบคุมการ นําเสนอ เพื่อใหการนําเสนอดําเนินไปอยางเรียบรอย และเนนการบรรยายบางหัวขอได

การใชปากกาเนนขอมูลขณะนําเสนอ คลิกปุมขวาของเมาสทส ี่ ไลดขณะนําเสนอ เลือก Pointer Options เลือกรูปแบบของปากกา และสีของปากกา

Ballpoint Pen Felt Tip Pen Highlighter

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

172

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

การขอความชวยเหลือขณะนําเสนองานพรีเซนเตชัน คลิกปุมขวาของเมาสทส ี่ ไลดขณะนําเสนอ เลือกคําสั่ง Help

7. การพิมพงานพรีเซนเตชัน เมื่อสรางงานพรีเซนเตชันเสร็จสมบูรณแลว ถาตองการสั่งพิมพงานเพื่อเปนคูมือประกอบการ บรรยาย โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003 สามารถสรางเอกสารประกอบการบรรยายได หลายชนิด เชน พิมพสไลด เอกสารแจกผูฟ  ง (Handout) เอกสารสําหรับผูบรรยาย (Note Pages) พิมพ เคาราง (Outline) เปนตน

การตรวจสอบงานกอนพิมพดวย Print Preview กอนสั่งพิมพงานพรีเซนเตชันควรตรวจสอบความถูกตองการของชิ้นงาน ระยะขอบกระดาษ ความ ถูกตองของการวางตําแหนงวัตถุตางๆ บนสไลดกอนทําการพิมพ ) บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน 1. คลิกปุม Print Preview ( 2. จะปรากฏหนาตาง Preview ซึ่งสามารถตรวจดูรายละเอียดตางๆ เชน ระยะขอบกระดาษ เปนตน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

173

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

ปุมตางๆ บนแถบเครื่อง Print Preview มีรายละเอียดดังนี้ แสดงสไลดหนาถัดไป สั่งพิมพสไลด

แสดงสไลดหนากอนนี้

เปอรเซ็นในการแสดงสไลด

เลือกสิ่งที่พิมพ

พิมพตามแนวตัง้ ปดหนาจอ Preview

พิมพตามแนวนอน

กําหนดเพิ่มเติม

คลิกชอง Print What: เพื่อเลือกสิ่งทีต ่ องการพิมพ มีดังนี้ Slide Handouts

พิมพสไลด พิมพเอกสาร ประกอบการบรรยาย สําหรับแจกผูฟ  ง (1 slide per page) พิมพ 1 สไลดใน 1 หนา (2 slide per page) พิมพ 2 สไลดใน 1 หนา (3 slide per page) พิมพ 3 สไลดใน 1 หนา (4 slide per page) พิมพ 4 สไลดใน 1 หนา (6 slide per page) พิมพ 6 สไลดใน 1 หนา (6 slide per page) พิมพ 6 สไลดใน 1 หนา Notes Pages พิมพบันทึกยอสําหรับผูบรรยาย Outline View พิมพหัวขอในมุมมอง Outline View

พิมพ 1 สไลดใน 1 หนา

พิมพ 4 สไลดใน 1

พิมพ 2 สไลดใน 1 หนา

พิมพ 3 สไลดใน 1 หนา

พิมพ 6 สไลดใน 1

บันทึกยอสําหรับ ผูบรรยาย (Note Pages)

พิมพ 9 สไลดใน 1

พิมพเคาราง (Outline

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

174

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

8. การพิมพเอกสารออกทางเครื่องพิมพ ) 1. คลิกเมนู File > Print… หรือกดปุม Print ( บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน หรือกดแปน +

2. จะปรากฏหนาตาง Print จากนั้นกําหนดคาการพิมพแลวคลิกปุม เลือกชนิดเครื่องพิมพ

ระบุสไลด ลําดับที่

กําหนด ของสําเนา

เลือกสิ่งทีต ่ องการ

กําหนดสีทจ ี่ ะพิมพ

9. การสรางงานนําเสนอสําหรับเว็บเพจ งานนําเสนอทีส ่ รางดวยโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003 จะมีนามสกุลของไฟล เปน .ppt ใชในการนําเสนอบนเครื่องคอมพิวเตอรทต ี่ ิดตั้งโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003 นอกจากนี้ยังสามารถบันทึกงานพรีเซนเตชันเปนเว็บเพจ ซึ่งมีนามสกุลไฟลเปน .mht สามารถนําไป เผยแพรบนอินเทอรเน็ตไดทันที ไมตองเสียเวลาสรางเอกสาร HTML ขั้นตอนการบันทึกงานพรีเซนเตชันสําหรับเว็บเพจ 1. คลิกเลือกเมนู File > Save as Web Page… 2. จะปรากฏหนาตาง Save As จากนั้นใหกําหนด ตําแหนงเก็บไฟลในชอง Save in: ่ Title ใหกับเว็บเพจให 3. ถาตองการตั้งชือ คลิกปุม

พิมพชื่อ Title ที่ตอ  งการ

ในชอง Page Title: แลวปุม 4. กลับมายังหนาตาง Save As คลิกปุม

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 4 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

175

10. เปดไฟลพรีเซนเตชันบนเว็บบราวเซอร 1. เปดหาแหลงเก็บไฟล แลวดับเบิลคลิกที่ไฟลพรีเซนเตชันทีไ ่ ดบันทึกเปนเว็บเพจ (นามสกุลไฟล .mht)

หรือ 1. เปดโปรแกรมเว็บบราวเซอร เชน Microsoft Internet Explorer เพื่อหาตําแหนงเก็บไฟลพรีเซนเตชัน 2. คลิกเลือกเมนู File > Open… คลิกปุม 3. ระบุตาํ แหนงทีจ ่ ัดเก็บไฟลในชอง Look in: เลือกไฟลพรีเซนเตชันที่ตองการแสดง (นามสกุล .mht) แลวคลิกปุม

พรีเซนเตชันในรูปแบบของเว็บเพจ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

176

บทที่ 6 การใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint

NOTE : ผูใชสามารถขอดูตัวอยางงานพรีเซนเตชันในรูปแบบของเว็บเพจกอนบันทึกจริงได โดยคลิกเลือกเมนู File > Web Page Preview

11. การบันทึกงานพรีเซนเตชันเปนแพ็กเก็จสําหรับซีดี (Package for CD) ความสามารถใหมของโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003ในดานของการเผยแพร งานพรีเซนเตชันสูสาธารณชน คือ การบันทึกพรีเซนเตชันลงแผนซีดี หรือเรียกวา “การสรางแพ็กเก็จ สําหรับซีด”ี เนื่องจากขอจํากัดเดิมของงานพรีเซนเตชันทีส ่ รางขึ้นคือ งานพรีเซนเตชันตองนําเสนอบน เครื่องคอมพิวเตอรที่ลงโปรแกรม Microsoft PowerPoint ไวเทานั้น ดังนั้น ถาไมมีโปรแกรมก็ไมสามารถ เปดงานพรีเซนเตชันทีต ่ ิดตั้งโปรแกรม Microsoft PowerPoint อีกตอไป ขั้นตอนการสรางแพ็กเก็จสําหรับซีดี 1. ใสแผนซีดีใน CD-Writer Drive คลิกเลือกเมนู File > Package for CD… 2. จะปรากฏหนาตาง Package for CD ตั้งชื่อใหกับ CD ในชอง Name the CD: และคลิกปุม กรณีไมมีเครือ ่ งเขียนแผนซีดี ก็สามารถก็อปปลงแผนบันทึกขอมูลแบบแข็งได โดยคลิกที่ปม ุ 3. โปรแกรมทําการคัดลอกไฟลลงแผนซีดี เมือ ่ ทําการคัดลอกเสร็จ จะปรากฏหนาตางแจงวาได คัดลอกลงซีดีเสร็จเรียบรอยแลว ตองการคิดลอกลงซีดแ ี ผนอื่นตอไปไหม ถาไมตองการกดปุม 4. วิธีการเรียกใช ก็เพียงใสแผนซีดีลงในไดรฟซีดีรอม งานพรีเซนเตชันจะแสดงอยางอัตโนมัติ หรือเปดไฟลนามสกุล. exe บนแผนซีดท ี ี่ไดคัดลอกงานพรีเซนเตชันไว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

175

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหนักศึกษามีความสามารถดังตอไปนี้ 1. อธิบายความหมาย และความสามารถของโปรแกรม Microsoft Office Excel 2003 ได 2. รูจัก และสามารถใช เซลล (Cell) ตารางทําการ (Worksheet) แฟมตารางทําการ (Workbook) สูตร (Formulas) และฟงกชัน (Function) 3. สามารถตกแตงตารางทําการใหสวยงามได 4. สามารถสรางแผนภูมจ ิ ากตารางทําการ (Worksheet) ได

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

176

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

ตอนที่ 1 รูจักกับ Microsoft office Excel 2003 โปรแกรม Microsoft office Excel 2003 เปนโปรแกรมประเภทสเปรตชีต (Spreadsheet) หรือ ตารางคํานวณอิเล็กทรอนิกส (Electronic Worksheet) ที่มค ี วามสามารถในดานการคํานวณประเภทตางๆ เชน คํานวณขอมูลตัวเลขทั่วๆ ไป คาสถิติ คาทางการเงิน คํานวณเกี่ยวกับวันที่ และเปนเสมือนกระดาษ ทดชั้นดี ที่สามารถจัดรูปแบบไดอยางสวยงาม สามารถพิมพออกมาเปนรายงานได และอาจจัดขอมูลให อยูในรูปของตาราง หรือนําขอมูลในตารางมาสรางกราฟไดหลากหลายรูปแบบ เชน กราฟเสน กราฟ วงกลม กราฟพื้นที่ ทั้งในลักษณะภาพ 2 มิติ และภาพ 3 มิติ และยังสามารถปรับเปลี่ยนและแกไขไดอีก ดวย วิธีการใชโปรแกรมประเภทนี้ คือตองเริ่มตนใสคาหรือขอมูลลงในชองเซลลตางๆ รวมทั้งอาจ สรางสูตรการคํานวณไดโดยอัตโนมัติ โปรแกรม Microsoft office Excel 2003 เหมาะใชกับงานในทุก สาขาอาชีพไมวาจะเปนนักบัญชี ซึ่งสามารถนํา Microsoft office Excel 2003 มาชวยคํานวณรายรับ รายจายและงบการเงินได นักวิเคราะหการตลาด ที่จะนําโปรแกรม Microsoft office Excel 2003 มา ชวยสรุปขอมูลที่รวบรวมมาจากขอมูลจํานวนมากๆ ได และโปรแกรม Microsoft office Excel 2003 ยัง สามารถประยุกตใชงานอื่น ๆ ไดอีกมากมาย เนื่องจากโปรแกรม Microsoft office Excel 2003 มีระบบคําสั่งเปนมาตรฐานเดียวกับโปรแกรม อื่นในตระกูลเดียวกัน ทําใหสามารถเรียนรูโปรแกรมอื่นๆ ไดโดยอางอิงกับโปรแกรม Microsoft office Excel 2003 หรือหามีความรูจ  ากโปรแกรม Microsoft office Word 2003 ก็สามารถระยุกตใชงานกับ โปรแกรม Microsoft office Excel 2003 ไดเชนกัน

โปรแกรม Microsoft office Excel 2003 มีระบบคําสั่งหลากหลายใหเลือกใชงาน ทั้งแบบเมนู คําสั่ง ปุมลัด ปุมคําสงตางๆ บนแถบเครื่องมือ (Toolbars) เมนูลัดจากการคลิกปุมขวาของเมาสจาก เมาส นอกจากนี้ระบบเมนูคําสั่งยังสามารถเลือกไดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเขาไปเรียก โปรแกรมจากปุม  Microsoft Office 2003 Language Settings

นอกจากนี้หากตองการศึกษาขอมูลเพิ่มเติม หรือตองการทราบถึงขาวสารใหมที่จะเกิดขึน ้ สามารถเขาไปศึกษาไดจากเว็บไซค http://microsoft.com

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

1. การเปดโปรแกรม การเรียกใชโปรแกรม Microsoft office Excel 2003 ทําไดดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5.

คลิกที่ปม ุ คลิกเลือก All Program คลิกเลือก Microsoft Office คลิกเลือก Microsoft office Excel 2003 เขาสูหนาจอโปรแกรม Microsoft office Excel 2003

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

177

178

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

2. สวนประกอบตางๆ ของ Microsoft office Excel 2003

1. แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) 2. แถบเมนู (Menu Bar) 3. แถบเครื่องมือ (Toolbars) 4. กลองชื่อ (Name Box) 5. แถบสูตร (Formula bar) 6. เซลล (Cell)

แถบบนสุดของหนาตางโปรแกรม แสดงชื่อโปรแกรม และชื่อของเอกสาร (สมุดงาน) ที่กําลังเปดใชปจจุบัน รวบรวมคําสั่งทัง้ หมดในโปรแกรม แสดงคําสั่งที่ใชบอย โดยแทนดวยปุมภาพ เพื่อตอความ เขาใจ แสดงตําแหนงหรือชื่อกลุมเซลล แถบที่ใชแสดง แกไข หรือใสขอมูลหรือสูตรตางๆ ลงในเซลล การทํางานใน Microsoft office Excel 2003 จะกระทํา ณ ชองตารางทีเ่ ปนจุดตัดของแถวและคอลัมน โดย ขอมูล 1รายการ จะพิมพ ณ ชองตารางที่เปนจุดตัดกันนี้ เสมอและเรียกชองตารางแตละชองนี้วา “ เซลล (Cell) ” การเรียกชื่อเซลลจะเรียกชื่อคอลัมนตามดวยชื่อแถว เชน A1 เรียกวา “เซลล เอ-หนึ่ง” และ BT900 เรียกวา “ บีท-ี่ เการอย ” เปนตน

7. พื้นทีต ่ ารางทําการ (Worksheet Area) เปนพื้นที่ทาํ งานของ Microsoft office Excel 2003 หรือ Sheet โดยใน 1 Sheet จะประกอบดวยบรรทัดใน แนวตั้งและบรรทัดในแนวนอนซึ่งมีการเรียกชือ ่ เฉพาะดังนี้ - บรรทัดในแนวตั้ง เรียกวา คอลัมน - บรรทัดในแนวนอน เรียกวา แถว ่ สดงตารางทําการและสามารถเลือกตารางทํา 8. แท็ปตารางทําการ (Sheet Tabs) เปนแถบทีแ 9. แถบเครื่องมือ Task Pane

การทีต ่ องการทํางานได เปนแถบเครื่องมือที่รวมคําสั่งที่ชวยในการเปดใชงานตางๆ

10. แถบสถานะ (Status Bar)

ไดอยางรวดเร็ว แสดงสถานการทํางานของโปรแกรม

Microsoft

Office

Excel 2003

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

179

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

3. แถบเครื่องมือ (Toolbars) ในโปรแกรม Microsoft office Excel 2003 ไดจัดเครื่องมือหรือปุมคําสั่งตางๆ ออกเปนกลุมๆ ตามประเภทการใชงาน และยังมี ScreenTip ที่ชวยบอกชื่อปุมคําสั่ง ตามปกติแถบเครือ ่ งมือที่นิยมใช คือ แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard Toolbar) และแถบเครื่องมือจัดรูปแบบ (Formatting Toolbar) ดังนี้

แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard Toolbar) แถบเครื่องมือมาตรฐาน จะมีปม ุ คําสั่งที่เปนการทํางานพื้นฐานของโปรแกรม เชน ปุมสรางไฟล ใหม (New) ปุมเปดไฟลเดิม (Open) และปุมบันทึก (Save) เปนตน บันทึกไฟล

ตัวอยางกอน ผลรวมอัตโนมัติ รูปวาด เรียงลําดับ  สรางไฟลใหม E-mail คัดลอก คัดลอกรูปแบบ มากไปหานอย

เปดไฟลเดิม

ตัด สั่งพิมพ ตรวจสอบการพิมพ

วิธีใช Excel

ตัวชวยสรางกราฟ แทรกการเชื่อมโยง หลายมิติ เรียงลําดับจาก ยอ-ขยาย นอยไปหามาก

วาง

แถบเครื่องมือจัดรูปแบบ (Formatting Toolbar) ไดแก แบบอักษร ขนาดตัวอักษร การจัดตําแหนงของตัวอักษร รวมทั้งสัญลักษณตางๆ เปนตน ขีดเสนใต จัดชิดขวา แบบอักษร

ตัวหนา

ขนาดตัวอักษร ตัวเอียง

จัดชิดซาย

จุลภาค เพิ่มหลักทศนิยม สกุลเงิน

เพิ่มการเยื้อง เสนขอบ

จัดกึ่งกลาง เปอรเซ็นต ลดหลักทศนิยม ผสานชองเซลลและจัดกึ่งกลาง

สีแบบอักษร

สีชองเซลล

ลดการเยื้อง

4. Active Cell หรือ เซลลที่กําลังใชงาน

Active Cell เปนเซลลที่กําลังใชงานอยูใ นตารางทําการ จากรูป Active Cell คือ A1 สังเกตไดจากกรอบสี่เหลีย ่ มหรือเซลลที่มีเสนหนาลอมรอบ หรือที่ Name Box จะปรากฏชื่อเซลล A1 และรูปดานขวา Active Cell คือ C4

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

180

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

การเปลี่ยน Active cell วิธีการในการเลือ ่ น Active cell มีหลายวิธี เชน วิธท ี ี่ 1 โดยใชเมาส มีขั้นตอนดังนี้ 1. ใหเลื่อนเมาสไปยังตําแหนงชองเซลลทต ี่ องการ 2. คลิกเมาส ณ ตําแหนงชองเซลลนั้น วิธท ี ี่ 2 โดยใชคย ี บอรด ใหทําดังนี้ … ƒ † „ กดแปนลูกศรคียบอรด ซึ่งชวยในการเลื่อนไปยังตําแหนงที่ตอ  งการ หรือ กดแปนอื่นๆ บนคียบอรดซึ่งแตละแปนจะมีหนาที่แตกตางกันไป ดังนี้

การกดแปน

+ +

+ + + + + < > หรือ + < > หรือ + < >หรือ + < >

ผลลัพธ เลื่อนไปยังคอลัมน A ในแถวนั้น เลื่อนไปที่ A1 เลื่อนไปแถวและคอลัมนสด ุ ทายของขอมูล เลื่อนลง 1หนาจอ เลื่อนขึ้น 1หนาจอ เลื่อนไปทางขวา 1 หนาจอ เลื่อนไปทางซาย 1หนาจอ เลื่อนไปตารางทําการที่อยูถ  ัดไปทางขวา เลื่อนไปตารางทําการที่อยูถ  ัดไปทางซาย เลื่อนไปคอลัมนสุดทาย

วิธท ี ี่ 3 โดยใชคาํ สั่ง Go To มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Edit > Go To … 2. พิมพชื่อเซลลที่ตองการไป 3. คลิกปุม OK

ชื่อของชองเซลล ที่เคยถูกเรียก

วิธท ี ี่ 4 โดยพิมพชื่อเซลลที่ Name Box มีขั้นตอนดังนี้ 1. พิมพชื่อชองเซลลทต ี่ องการไปที่ Name Box 2. กดแปน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

181

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

5. การกําหนดคาหนากระดาษ (Page Setup) ใหกับตารางทําการ (Worksheet) การกําหนดคาหนากระดาษใหกับตารางทําการ เปนการกําหนดขนาดของกระดาษ การเวน ขอบกระดาษ การใสขอที่หวั หรือทายกระดาษ ซึ่งสามารถกําหนดไดดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู File > Page Settup… 2. แท็บ Page ใหกําหนดคาตางๆ เกี่ยวกับ ขนาดกระดาษ แนวของกระดาษแบบตั้ง–นอน เปนตน 3. แท็บ Margins ใชกําหนดคาตางๆ เกี่ยวกับกระดาษ รวมทั้งหัวกระดาษ ทายกระดาษ

5.1 การออกจากโปรแกรม ขั้นตอนการปดโปรแกรม สามารถเลือกทําไดหลายวิธี ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 คลิกเลือกเมนู File > Exit

วิธท ี ี่ 2 คลิกปุม Close (

) ที่แถบชื่อเรื่อง (Title Bar)

วิธท ี ี่ 3 ดับเบิลคลิกที่สญ ั ลักษณโปรแกรม ( วิธท ี ี่ 4 กดแปน

) บนแถบชื่อเรื่อง

+

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

182

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

5.2 แฟมตารางทําการ (Workbook) แฟมตารางทําการ (Workbook) ในโปรแกรม Excel ก็คอ ื ไฟล ซึ่งชื่อของแฟมตารางทําการ จะปรากฏทีแ ่ ถบหัวเรื่อง (Title Bar) โปรแกรม Excel จะกําหนดชื่อเริ่มตนใหชื่อวา Book1 และหากมี การสรางไฟลใหมครั้งถัดไป ใหชื่อตอมาวา Book2 , Book3,... ไปตามลําดับ

5.3 การสรางแฟมตารางทําการใหม การสรางแฟมตารางทําการ มีหลายวิธี เชน วิธท ี ี่ 1 1. คลิกเลือกเมนู File > New… จะปรากฏกรอบ Task Pane 2. ที่ Task Pane เลือก Blank workbook 3. จะไดแฟมตารางทําการทีส ่ รางขึ้นมาใหม

วิธท ี ี่ 2 ) ที่แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard Toolbar) 1. คลิกเลือกปุม New ( 2. จะไดแฟมตารางทําการทีส ่ รางขึ้นใหม

แฟมตารางทําการใหม

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

183

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

5.4 การบันทึกแฟมตารางทําการ การบันทึกแฟมตารางทําการในโปรแกรม Excel มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู File > Save หรือ File > Save As… หรือกดแปน + S หรือ กดแปน < F12 > 2. หลังจากนั้นจะปรากฏหนาจอ Save As ขึ้นมา (สําหรับการบันทึกครั้งแรก) ใหระบุตาํ แหนง ที่ตองการบันทึกในแฟมตารางทําการนี้ 3. พิมพชื่อแฟมตารางทําการหรือไฟล 4. คลิกปุม Save เมื่อตองการบันทึก หรือคลิกปุม Cancel เมื่อตองการยกเลิก

NOTE 1. ขอมูลใน Microsoft office Excel 2003 จะถูกจัดเก็บเปนไฟลที่มีนามสกุลเปน .xls 2. การบันทึกไฟลในรูปเว็บเพจ สามารถเลือกไดจาก File > Save as Web Page …

5.5 การปดแฟมตารางทําการ การปดแฟมตารางทําการที่ไมใชงานแลว สามารถทําไดหลายวิธี ไดแก วิธท ี ี่ 1 เลือกเมนู File > Close

) ที่แถบเมนู (Menu Bar)

วิธท ี ี่ 2

คลิก ปุีท ม่ี 1 Close ( วิธ

วิธท ี ี่ 3

กดแปน +

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

184

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

5.6 การเปดแฟมตารางทําการเดิม โดยปกติการทํางานของโปรแกรม Excel จะสามารถทํางานไดทล ี ะ 1 แฟมตารางทําการ แต สามารถเรียกดูไดหลายแฟมตารางทําการ ซึง่ การเปดดูแฟมตารางทําการก็คือการเปดไฟลหรือแฟมขอมูล นั่นเอง และจะเปนการเรียกแฟมขอมูลเดิมขึน ้ มาใชงาน มีวธ ิ ีการเรียกดู ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 1. คลิกเลือกเมนู File > Open… 2. คลิกเลือกตําแหนงที่เก็บไฟลนั้น 3. คลิกเลือกไฟลที่จะตองการเปด 4. คลิกปุม Open

วิธท ี ี่ 2 ที่แถบเครื่องมือมาตรฐาน เลือกปุม Open (

) จากนั้นทําขั้นตอนที่ 4-2 ตามวิธท ี ี่1

5.7 การเรียกดูหลายแฟมตารางทําการในเวลาเดียวกัน มีขั้นตอนดังนี้ 1. เรียกคําสั่ง Open จากวิธีที่ 2ขางตน 2. คลิกเลือกไฟลหลายๆ ไฟลทต ี่ องการเปด 3. คลิกปุม Open

ในโปแกรม Excel มีคําสั่งที่ใชในการเรียกดูแฟมตารางทําการพรอมกัน และสามารถกําหนดให เลื่อนหนาตางพรอมกันไดอีกดวย ดังนี้ 1. เปดแฟมตารางทําการขึ้นสองแฟมตารางทําการ 2. คลิกเลือก Window > Compare Side by Side with Book1 3. ปรากฏแฟมตารางทําการสองแฟมเรียงตามแนวนอน ใหทดลองเลื่อนแฟมตารางทําการโดย ใชแถบเลื่อน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

185

4. ที่แถบเครื่องมือ Compare Side by Side มี 3 ปุมคําสั่ง ไดแก Synchronous Scrolling (

) คือกําหนดใหสองแฟมตารางทําการเคลือ ่ นที่ในทิศทางเดียวกัน

Position ( (

Reset Window

) คือยกเลิกคําสั่ง Synchronous Scrolling และ Close Side by Side ) คือปดคําสั่ง Compare by Side

5.8 การสลับการทํางาน เนื่องจากโปรแกรมสามารถทํางานไดทล ี ะแฟมตารางทําการ ดังนั้นถาตองการสลับการทํางานให ทําตามขั้นตอน ดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Window 2. จะปรากฏไฟลตางๆ ที่เปดใชงานอยู 3. คลิกเลือกไฟลที่ตองการจะสลับการทํางาน

6. การจัดเรียงแฟมตารางทําการบนหนาจอ ผูใชสามารถดูแฟมตารางทําการที่กําลังใชงานอยูพรอมๆ กันได และสามารถเลือกการจัดเรียง ในรูปแบบตางๆ โดยการเลือกคําสั่งที่เมนู Window > Arrange… ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1. ใหเปดหรือสรางแฟมตารางทําการตั้งแต 2 แฟมตารางทําการขึ้นไป 2. คลิกเลือกเมนู Window > Arrange… 3.

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

186

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

3. เลือกวิธีการจัดเรียง ไดแก 3.1 แบบ Tiled (กระเบื้อง) 3.2 แบบ Horizontal (แนวนอน) 3.3 แบบ Vertical (แนวตั้ง) 3.4 แบบ Cascade (เหลื่อม) 4. คลิกปุม OK

3.1 Tiled = เรียง แผเต็มพื้นที่

3.2 Horizontal = เรียงแนวตัง ้

Vertical = เรียงแนวนอน

3.3

3.4

Cascade = เรียง สําหรับเรื่องเกี่ยวกับการเลือกใชภาษาในการพิมพ และขอความชวยเหลือ จะมีลักษณะการ ชั้นลดหลั่น ทํางานคลายกับ Microsoft office Word 2003 ที่ไดศึกษาผานมาแลว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

187

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

ตอนที่ 2 เซลล (Cell) และตารางทําการ (Worksheet) 1. เซลล (Cell) ตัวอยางขอมูลที่ใชงานในบทนี้

ขอมูลใน Worksheet ชื่อ Sheet1

ขอมูลใน Worksheet ชื่อ Sheet2

1.1 การเลือกขอมูลหรือเซลล และการยกเลิกการเลือก กอนที่จะใชคาํ สั่งหรือวิธีการทํางานตางๆ ใหกระทํากับขอมูลภายในเซลลใดๆ นั้น จะตองเลือก เซลลหรือกลุมของเซลลทต ี่ องการใชงานกอน ซึ่งการเลือกเซลลหรือกลุมของเซลล สามารถเลือกดวย วิธีการตางๆ ดังนี้

1.2 การเลือกเซลล การเลือกเซลลเดียว สามารถทําไดโดยคลิกที่เซลลที่ตองการเลือก หรือใชแปนลูกศรเลื่อนไปที่เซลลที่ตองการเลือก

คลิกเลือกเฉพาะ เซลลเดียว

การเลือกมากกวาหนึง ่ เซลลขึ้นไป การเลือกมากกวาหนึ่งเซลลขน ึ้ ไปนั้น สามารถเลือกไดทงั้ คอลัมนหรือแถว หรือเลือกเซลล ทั้งหมดบนตารางทําการ ขั้นตอนการเลือกทั้งคอลัมน ้ ง) 1. นําตัวชี้เมาสไวที่คอลัมนทต ี่ องการเลือก (ตัวชี้เมาสจะปรากฏเปนรูปลูกศรชีล 2. คลิกทีช ่ ื่อคอลัมนนั้น

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

188

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

ขั้นตอนการเลือกทั้งแถว 1. นําตัวชี้เมาสไวที่แถวทีต ่ อ  งการเลือก 2. คลิกทีช ่ ื่อแถวนั้น

ขั้นตอนการเลือกเซลลทั้งหมดบนตารางทําการ วิธท ี ี่ 1

1. นําตัวชี้เมาสไวที่ตําแหนงสี่เหลี่ยมผืนผาสีเทามุมบนซายของตารางทําการ ที่หัวแถวและหัวคอลัมน บรรจบกัน เมาสจะเปลี่ยนสถานะเปน แลวคลิกเลือก 2. จะปรากฏการเลือกเซลลทั้งหมดบนตารางทําการนั้น

วิธท ี ี่ 2 กดแปน + ขั้นตอนการเลือกชวงเซลลที่ติดกัน วิธท ี ี่ 1 1. คลิกที่เซลลในลําดับแรกสุดของชวง 2. ลากไปจนถึงเซลลทา ยสุด

วิธท ี ี่ 2 ถาชองเซลลมข ี นาดใหญ 1. ใหคลิกเซลลแรกของชวง 2. กดแปน คางไว 3. คลิกเซลลสด ุ ทายในชวงหรือกดแปนลูกศรบนคียบอรด เลื่อนไปยังเซลลสด ุ ทาย

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

189

ขั้นตอนการเลือกเซลลที่ไมไดอยูติดกัน 1. เลือกเซลลแรก 2. กดแปน คางไว และคลิกเลือกเซลลอื่นๆ หรือชวงเซลลอื่นๆ ทีต ่ องการ

การเพิ่มพื้นทีห ่ รือลดจํานวนเซลลจากที่เลือกอยู 1. คลิกเมาสในตําแหนงทีต ่ องการเลือกตอจากทีม ่ ีการเลือกชองเซลลไวกอนหนานั้น 2. กดแปน คางไว (เพื่อเพิ่มการเลือกชองเซลล) 3. คลิกเซลลสด ุ ทายทีต ่ องการรวมในการเลือกใหม ชวงที่เปนสี่เหลีย ่ มผืนผาที่อยูระหวาง เซลลทใี่ ชงานอยู (คือเซลลที่มีเสนขอบหนาลอมรอบ) กับเซลลทค ี่ ลิกจะกลายเปนการ เลือกใหม

1.3 การยกเลิกการเลือกเซลล การยกเลิกการเลือกเซลลสามารถทําได โดยการคลิกเซลลใดก็ไดในตารางทําการ

2. การตัง้ ชือ่ เซลลหรือชวงของเซลล การตั้งชื่อชองเซลลหรือชวงของเซลล มีประโยชนสําหรับการเรียกใชงาน ซึ่งจะสามารถตัง้ ชื่อ ไดตามลักษณะของขอมูลหรือการเรียกใชงาน และยังสามารถตั้งชื่อไดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

2.1 การตั้งชื่อเซลลหรือชวงของเซลล ขั้นตอนในการตั้งชื่อเซลลหรือชวงของเซลลมีวิธีการทําได 2 วิธี ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 ตั้งชื่อเซลลโดยใชเมนูคําสั่ง Define Name 1. เลือกเซลลหรือชวงของเซลลที่ตองการ 2. คลิกเลือกเมนู Insert > Name > Define 3. พิมพชื่อเซลลลงในหนาตาง Define Name 4. คลิกปุม OK

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

190

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

วิธท ี ี่ 2 ตัง ้ ชื่อเซลลโดยใช Name Box 1. เลือกเซลลหรือชวงของเซลลที่ตองการ 2. พิมพชื่อเซลลลงใน Name Box 3. กดแปน

2.2 การเรียกชื่อเซลลหรือชวงของเซลลที่ตั้งชื่อไวแลว วิธท ี ี่ 1

วิธท ี ี่ 2

1. พิมพชื่อเซลลที่ตองการเรียกที่ Name Box 2. กดแปน

ผลที่ได

1. คลิกลูกศรขางชอง Name Box 2. คลิกเลือกชื่อเซลลที่ตองการในชอง Name Box

2.3 การลบชือ่ ของเซลลที่ตั้งไว ทําไดดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Insert > Name > Define… 2. คลิกเลือกชือ่ ของเซลลที่ตองการลบ 3. คลิกปุม Delete

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

191

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

3. การจัดการขอมูล เรื่องการจัดการขอมูลจะแบงหัวขอยอยดังนี้ การปอนขอมูล การแกไขขอมูล การลบขอมูล การ ยายขอมูล และการคัดลอกขอมูล

3.1 การปอนขอมูล การปอนตัวเลข ขอความ วันที่ หรือเวลา มีวิธีการทําทีค ่ ลายกัน ซึ่งแยกรายละเอียดไวดงั นี้ การปอนตัวเลขและขอความ 1. คลิกเซลลทต ี่ องการปอนขอมูล 2. พิมพตัวเลขหรือขอความ 3. กดแปน หรือแปน 4. จะพบวา - ตัวเลขจะถูกจัดใหชิดขวาของชองเซลล - ขอความจะถูกจัดใหชด ิ ซายของเซลล การปอนวันที่ 1. คลิกเซลลทต ี่ องการปอนขอมูล 2. ใหใชเครื่องหมายทับ (slash) “ / ” หรือยัติภังค (dash) “ - ” ตัวอยางเชน พิมพ 19/5/2005 หรือ 21 – Jul – 2005 3. กดแปน หรือแปน

เพื่อแยกสวนของวันที่

การปอนเวลา 1. คลิกเซลลทต ี่ องการปอนขอมูล 2. พิมพเวลา เชน พิมพ 18:30 หรือตองการปอนเวลาทีย ่ ืดตามแบบ 12 ชั่วโมง ใหพิมพ ชองวางและตามดวย a หรือ p ตัวอยางเชน 9:30 p ถาไมระบุ a หรือ p โปรแกรม จะปอนเวลาใหเปน AM 3. กดแปน หรือแปน

Note: หลังจากปอนขอมูล วันที่ หรือเวลา แลว ขอมูลนั้น จะถูกจัดใหชิดขวาของชองเซลล

3.2 การแกไขขอมูล การแกไขขอมูลบางสวนในชองเซลล ทําไดโดย 1. คลิกเมาสเลือกชองเซลลที่มีขอ  มูลอยูแลว และตองการแกไขขอมูล 2. ดับเบิ้ลคลิกที่ชอ  งเซลลนั้น หรือคลิกทีแ ่ ถบสูตร (Formula Bar) หรือกดแปน 3. พิมพขอความทีต ่ องการแกไข 4. กดแปน (ถาตองการยกเลิกการเปลี่ยนแปลง ใหกดแปน )

กดคีย F2 หรือดับเบิลคลิกเมาส

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

192

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

3.3 การลบขอมูล การลบขอมูลในเซลล มีขั้นตอนคือ 1. เลือกชองเซลลหรือกลุมของเซลล 2. กดแปน 3. ขอมูลที่ปรากฏในเซลลจะหายไป

3.4 การยายและการคัดลอกขอมูล การยายขอมูล การยายขอมูลในเซลลหรือกลุม  ของเซลล สามารถทําไดหลายวิธี ในที่นี้จะกลาวถึง 2 วิธี ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 การยายโดยคําสั่ง Cut + Paste มีขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกชองเซลลหรือกลุมของเซลลที่ตองการยาย 2. คลิกเมนู Edit > Cut หรือคลิกปุมขวาของเมาสเลือกคําสั่ง Cut ที่เมนูลัด 3. คลิกชองเซลลที่ตองการวาง 4. คลิกเลือกเมนู Edit > Paste หรือคลิกปุมขวาของเมาสเลือกคําสั่ง Paste ที่เมนูลัด

NOTE เมนูลัด หรือ Pop-up Menu คือ เมนูที่แสดงชุดรายการของคําสั่งที่เกี่ยวของกับรายการเฉพาะ ในการ แสดงเมนูลัดใหคลิกขวาที่รายการนั้น หรือกดแปน + วิธท ี ี่ 2 การยายโดยการ Drag and Drop มีขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกชองเซลลหรือกลุมของเซลลที่ตองการยาย 2. เลื่อนเมาสไวทข ี่ อบของกรอบที่เลือก จนกระทั่งเมาสเปลีย ่ นแปลงเปนลูกศรสีท ่ ิศทาง 3. คลิกเมาสคางไว แลวลากไปยังตําแหนงที่ตอ  งการ 4. ปลอยปุมเมาส ขอความจะวางลงในตําแหนง

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

193

3.5 การคัดลอกขอมูล การคัดลอกขอมูลในเซลลหรือในกลุมเซลล สามารถทําไดหลายวิธี ในที่นจ ี้ ะกลาวถึง 2 ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 การคัดลอกโดยคําสั่ง Copy + Paste 1. เลือกชองเซลลที่ตองการคัดลอก 2. คลิกเมนู Edit > Copy หรือคลิกปุมขวาของเมาสเลือกคําสั่ง Copy ที่เมนูลด ั 3. คลิกชองเซลลที่ตองการวาง 4. คลิกเลือกเมนู Edit > Paste หรือคลิกปุมขวาของเมาสเลือกคําสั่ง Paste ที่เมนูลัด

NOTE ปุม Paste Option ( ) จะเกิดขึ้นหลังจากใชคําสั่ง Paste โดยมีรายละเอียด ของตัวเลือกตอไปนี้ Keep Source Formatting คัดลอกขอมูลและรูปแบบตนทาง Match Destination Formatting คัดลอกเฉพาะขอมูล แตใชรูปแบบปลายทาง Values and Number Formatting คัดลอกขอมูลและรูปแบบตัวเลข แตไมคด ั ลอกสูตร Values and Number Formatting คัดลอกขอมูลและรูปแบบตนทาง และคัดลอกความกวาง ของคอลัมนตนทางดวย Formatting Only คัดลอกเฉพาะรูปแบบ Link Cells คัดลอกขอมูลโดยการสรางสูตรแบบอางอิงชือ ่ เซลล และใชรูปแบบปลายทาง

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

194

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

วิธท ี ี่ 2 การคัดลอกโดยการใชเมาสลากแลววาง (Drag and Drop) 1. เลือกชองเซลลหรือกลุมของเซลลที่ตองการคัดลอก 2. เลือกเมาสไวทข ี่ อบของกรอบที่เลือก จนกระทั่งเมาสเปลีย ่ นเปนลูกศรสี่ทศ ิ ทาง 3. คลิกเมาสคางไวพรอมทั้งกดแปน 4. ลากเมาสไปตําแหนงทีต ่ องการ 5. ปลอยปุมเมาส ขอความจะวางลงในตําแหนงดังรูป

4. การจัดการชองเซลล 4.1การแทรกชองเซลล การแทรกชองเซลลที่วางเปลาลงในตําแหนงของชองเซลลที่เลือก ซึ่งสามารถแทรกไดทั้งชอง เซลลเดียวหรือกลุมเซลล ดังรายละเอียดดังตอไปนี้ การแทรกชองเซลล มีขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกชองเซลลที่ตองการแทรก 2. คลิกเลือกเมนู Insert > Cells หรือคลิกปุมขวาของเมาสเลือกคําสั่ง Insert… ที่เมนูลัด 3. เลือกลักษณะการแทรกที่มี 4 รูปแบบ 3.1 Shift cells right เลื่อนเซลลที่เลือกไปทางขวา 3.2 Shift cells down เลื่อนเซลลท่เี ลือกไปดานลาง 3.3 Entire row เลื่อนเซลลทั้งแถว ลงไปดานลาง 3.4 Entire column เลื่อนเซลลทั้งคอลัมน ไปทางขวา

3.1

3.2

3.3

3.4

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

NOTE ปุม Insert Option จะเกิดขึ้นเมื่อเลือกใชเมนู Insert > Rows โดยมีรายละเอียดของตัวเลือกตอไปนี้ > Format Same As Above จัดรูปแบบเหมือนดานบน > Format Same As Below จัดรูปแบบเหมือนดานลาง > Clear Formatting ลางรูปแบบ การแทรกแถว มีขั้นตอนการทําดังนี้ 1. ที่หมายเลขของแถว คลิกแถวที่ตองการ 2. คลิกปุมขวาของเมาสทห ี่ ัวแถวที่เลือก เลือกคําสั่ง Insert จากเมนูลัด 3. จะปรากฏแถวใหมขึ้นมา โดยแถวเดิมจะเลื่อนลง

การแทรกคอลัมน มีขั้นตอนการทําดังนี้ 1. ที่ชื่อของคอลัมน คลิกเลือกคอลัมนทต ี่ องการ 2. คลิกปุมขวาของเมาสทห ี่ ัวคอลัมนที่เลือก เลือกคําสั่ง Insert จากเมนูลัด 3. จะปรากฏคอลัมนใหมขึ้นมา และคอลัมนเดิมจะเลื่อนออกไปทางขวา

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

195

196

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

4.2 การลบชองเซลล การลบชองเซลลในโปรแกรม Excel เปนการลบชองเซลลและขอมูล พรอมกับการนําขอมูลที่อยู ในเซลลถัดไปมาแทนที่ การลบขอมูลเซลลใดๆ มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกเซลลที่ตองการลบ 2 คลิกเมนู Edit > Delete หรือคลิกปุมขวาของเมาสเลือกคําสั่ง Delete ที่เมนูลด ั 3. จะมีคําสั่งใหเลือก 4 รูปแบบ คือ 3.1 Shift cells lift ขอมูลทั้งหมดที่อยูด  านขวาของเซลลทล ี่ บ จะเลื่อนมา ทางดานซาย 3.2 Shift cells up ขอมูลทั้งหมดที่อยูด  านขวาของเซลลทล ี่ บเลื่อนขึ้นบน 3.3 Entire row ขอมูลแถวลางจะเลื่อนขึ้นมา 3.4 Entire column ขอมูลขางขวาจะเลื่อนไปทางซายทั้งคอลัมน

3.1

3.1

3.2

3.3

3.4

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

197

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

การลบแถว มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกหมายเลขแถวที่ตองการลบ 2 . คลิกเมนู Edit > Delete หรือคลิกปุมขวาของเมาสเลือกคําสั่ง Delete ที่เมนูลัด 3. ผลที่ได จะพบวาแถวทีค ่ ลิกเลือกจะหายไป แถวที่อยูดานลางจะเลื่อนขึน ้

การลบคอลัมน มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกชื่อคอลัมนที่ตอ  งการลบ 2 . คลิกเมนู Edit > Delete หรือคลิกปุม  ขวาของเมาสเลือกคําสั่ง Delete ที่เมนูลด ั 3. ผลที่ไดจาการลบขอมูล จะพบวาคอลัมนที่คลิกเลือกจะหายไป คอลัมนทางขวาจะเลือ ่ นมา แทนที่

5. คําสัง่ ยกเลิก (Undo) และทําซ้ํา (Redo) 5.1 การใชคําสั่งยกเลิก (Undo) มีขั้นตอนดังนี้ 1. ถาตองการยกเลิกทําการกระทําลาสุดทีละครั้ง ใหคลิก Undo ( ) ที่แถบเครื่องมือ 2. ถาตองการยกเลิกการกระทําหลายครั้งในเวลาเดียวกัน ใหคลิกลูกศรที่อยูถ  ด ั จาก Undo ) และเลือกการกระทําจากรายการซึ่ง Microsoft office Excel 2003 จะยอนกลับ ( ไปที่การกระทําที่เลือกไว และการกระทําทั้งหมดที่อยูเหนือขึ้นไป

5.2 การใชคําสั่งทําซ้ํา (Redo) 1. ถาตองการไปทําการกระทํานั้นอีก ใหคลิก Redo (

)

2. ถาตองการไปทําการกระทํานั้นอีกหลายครั้ง ใหคลิกลูกศรทีอ ่ ยูถัดจาก Redo ( แลวเลือกการกระทําจากรายการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

)

198

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

6. การปรับความกวางของคอลัมนและความสูงของแถว 6.1 การปรับความกวางของคอลัมน ในบางครั้งขอมูลมีความยาวเกินขนาดของความกวางของคอลัมน จะทําใหขอมูลนั้นเกินชอง เซลลอื่น ซึ่งสามารถปรับขนาดของความกวางไดดังนี้ 1. เลื่อนตัวชี้เมาสไปที่ระหวางเสนแบงคอลัมน ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปนลูกศรสองทิศทาง ) ( 2. คลิกเมาสคางไวแลวลาก เพื่อขยาย ( -> ) หรือลด ( Column > Hide เมื่อตองการซอนคอลัมน หรือเลือกเมนู Format > Row > Hide เมื่อตองการซอนแถว หรือคลิกขวาเลือกคําสั่ง Hide ที่เมนูลัด

NOTE การซอนตารางทําการ สามารถทําไดโดยเลือกเมนู Format > Sheet > Hide และเมื่อตองการยกเลิก การซอนใหเลือกเมนู Format > Sheet > Unhide แลวคลิกเลือก Sheet ที่ตองการยกเลิก

7. การจัดเรียงขอมูล การจัดเรียงขอมูล เปนการจัดการขอมูล โดยการกรองเพื่อใหแสดงเฉพาะขอมูลที่ตองการ มีวีธี การสราง และการเรียกใชงาน ดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Data > List > Create List… หรือกดแปน + จะปรากฏ หนาตาง Create List 2. คลิกเลือกกลุมขอมูล ที่อยูบนแผนตารางทําการ (Work sheet) 3. คลิกปุม OK

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

201

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

4. เลือกการจัดเรียง ไดแก Sort Ascending คือ การเรียงลําดับขอมูลจากนอยไปมาก และ Sort Descending คือ เรียงลําดับขอมูลจากมากไป นอย 5. ใหกําหนดการแสดงขอมูล ไดแก (All) คือ การ แสดงทั้งหมด

8. แผนตารางทําการ (Worksheet) เมื่อเขาสูโปรแกรม Excel แลวจะปรากฏสมุดตารางทําการ (Workbook) ชื่อ Book1 และภายใน Book1 จะมีแผนตารางทําการ (Worksheet) ชื่อ Sheet1, Sheet2 และ Sheet3 ซึ่งผูใ ชสามารถเพิ่ม ลบ ยาย คัดลอก แผนตารางทําการไดตามตองการ

8.1 การเลือกหนึ่งแผนตารางทําการ 1. คลิกเมาสทช ี่ ื่อแท็บแผนตารางทําการทีต ่ องการ

8.2 การเลือกแผนตารางทําการตอเนื่องกัน 2 ชีต หรือมากกวา 1. คลิกเลือกแท็บแผนตารางทําการแรก 2. กดแปน คางไว 3. คลิกเลือกทีช ่ ื่อแผนตารางทําการสุดทาย

+

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

202

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

8.3 การเลือกแผนตารางทําการไมตอเนื่อง 1. คลิกเลือกแท็บแผนตารางทําการแรก 2. กดแปน คางไว 3. คลิกเลือกแผนตารางทําการอืน ่ ๆ

+

8.4 การเลือกแผนตารางทําการทั้งหมดในแฟมตารางทําการ วิธท ี ี่ 1 1. คลิกเลือกแท็บตารางทําการแรก 2. กดแปน คางไว 3. คลิกเลือกแท็บตารางทําการสุดทาย

+ วิธท ี ี่ 2 1. คลิกทางขวาของแท็บเวิรก จะปรากฏเมนูลัด 2. คลิกเลือกคําสัง่ Select All Sheets

8.5 การยกเลิกการเลือกหลายๆ แผนตารางทําการ เมื่อตองการยกเลิกการเลือกชีตหลายๆ ชีตในสมุดงาน ทําไดดังนี้ วิธท ี ี่ 1

คลิกแท็บตารางทําการใดๆ ทีไ ่ มไดเลือก

วิธท ี ี่ 2

คลิกปุมขวาของเมาสทแ ี่ ท็บของตารางทําการที่เลือกไว แลวเลือกคําสั่ง Ungroup Sheets บนเมนูลัด

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

203

9. การจัดการแผนตารางทําการ 9.1 การตั้งชื่อแผนตารางทําการ ชื่อของแผนตารางทําการ ผูใ ชสามารถปรับเปลี่ยนแกไข เพื่อใหสอดคลองกับขอมูลที่ปอนลงใน แผนตารางทําการนั้นได วิธท ี ี่ 1 1. เลือกแผนตารางทําการทีต ่ องการเปลี่ยนชื่อ 2. คลิกปุมขวาของเมาสเลือกคําสั่ง Remane จากเมนูลัด 3. จะปรากฏแถบดําบนชื่อแผนตารางทําการที่เลือก 4. พิมพชื่อแผนตารางทําการใหม และกดแปน

วิธท ี ี่ 2 1. เลือกแผนตารางทําการทีต ่ องการเปลี่ยนชื่อ 2. คลิกเลือกเมนู Format > Sheet > Rename 3. พิมพชื่อแผนตารางทําการใหม และกดแปน

วิธีที่ 3 1. ดับเบิ้ลคลิกที่ชอ ื่ แผนตารางทําการทีต ่ องการเปลี่ยนชื่อ 2. พิมพชื่อใหม และกดแปน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

204

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

9.2 การแทรกแผนตารางทําการ การแทรกแผนตารางทําการ (Worksheet) เปนการเพิ่มแผนตารางทําการเปลาเขาไปในแฟม ตารางทําการ (Workbook) สามารถทําไดหลายวิธี ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 1. คลิกเลือกตําแหนงทีต ่ องการแทรกแผนตารางทําการ 2. คลิกเลือกคําสัง่ Insert… จากเมนูลัด 3. จะปรากฏหนาตาง Insert ใหเลือก Worksheet แลวกดปุม OK 4. จะปรากฏแผนตารางทําการใหมเพิ่มขึ้นมา

วิธท ี ี่ 2 ่ องการแทรกแผนตารางทําการ 1. คลิกเลือกตําแหนงทีต 2. คลิกเลือกคําสัง่ Insert Worksheet จากเมนูลัด 3. จะปรากฏแผนตารางทําการใหมเพิ่มขึ้นมา

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

205

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

9.3 การลบตารางทําการ การลบแผนตารางทําการ (Worksheet) เปนการลบแผนตารางทําการที่ไมตอ  งการออกจากแฟม ตารางทําการ (Workbook) สามารถทําไดหลายวิธี ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 1. คลิกเลือกแผนตารางทําการทีต ่ องการลบ 2. คลิกปุมขวาของเมาสคําสั่ง Delete จากเมนูลัด 3. แผนตารางทําการทีถ ่ ูกเลือกนั้น มีขอมูลหรือไม 3.1 ถาไมมีขอมูล ตารางทําการนัน ้ จะถูกลบทันที 3.2 แตถา มีขอมูล จะปรากฏหนาจอขึ้นมาเตือน

3.2

วิธท ี ี่ 2 1. คลิกเลือกแผนตารางทําการทีต ่ องการลบ 2. คลิกเลือกเมนู Edit > Delete Sheet 3. แผนตารางทําการทีถ ่ ูกเลือกนั้นจะถูกลบไป

Note การลบแผนตารางทําการ ไมสามารถยกเลิกคําสั่ง Delete Sheet ดวยคําสั่ง Undo (ภาพ)

9.4 การยายแผนตารางทําการ การยายแผนตารางทําการ เปนการจัดลําดับแผนตารางทําการใหม มีวิธีการดังนี้ 1. ที่แท็บชีต (Tabsheet) คลิกเลือกที่ชื่อแผนตารางทําการ ที่ตองการยาย 2. คลิกเมาสคางไว แลวลากเมาสไปยังตําแหนงบนแท็บชีตทีต ่ องการ 3. แผนตารางทําการ จะยายไปยังตําแหนงทีต ่ องการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

206

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

9.5 การคัดลอกแผนตารางทําการ การคัดลอกแผนตารางทําการ เปนการทําสําเนาแผนตารางทําการขึ้นใหม มีวิธีการดังนี้ วิธท ี ี่ 1 โดยการคลิกเมาส แลวลาก 1. คลิกเลือกชื่อแผนตารางทําการทีต ่ องการคัดลอก 2. กดแปน พรอมกับลากเมาสไปยังตําแหนงทีต ่ องการ 3. จะปรากฏแผนตารางทําการใหมที่มีขอมูลเหมือนกัน

วิธท ี ี่ 2 โดยคลิกเลือกจากคําสั่งในเมนูลัด ่ องการ 1. คลิกเมาสทช ี่ ื่อแผนตารางทําการทีต 2. คลิกปุมขวาของเมาส และเลือกคําสั่ง Move or Copy… จากเมนูลัด 3. ที่หนาตาง Move or Copy ในชอง Before sheet ใหคลิกเลือกวาจะนําตารางทําการที่ เลือก วางไวกอนตารางทําการใด 4. ที่ปุม Create a Copy ่ อง Create a Copy 4.1 ถาตองการคัดลอกใหคลิกทีช 4.2 ถาตองการยายไมตองคลิกที่ชอง Create a Copy 5. คลิกปุม OK 6. จะปรากฏแผนตารางทําการตามคําสั่งที่เลือก 6.1 เลือกการคัดลอก (Copy) จะปรากฏ (2) ตอทายชื่อ 6.2 เลือกการยาย (Move)

4.1

4.2 6.1

6.2

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

207

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

9.6 การยาย หรือคัดลอกแผนตารางทําการไปยังแฟมตารางทําการอื่น เปนการนําแผนตารางทําการทีป ่ รากฏในแฟมตารางทําการหนึ่ง ยายไปอยูในแฟมตารางทําการ อื่น มีวิธีการดังนี้ 1. เปดแฟมตารางทําการ (Workbook) ตนทาง ที่มีแผนตารางทําการ (Worksheet) และเปดแฟม ตารางทําการปลายทาง ทีต ่ องการจะยายหรือคัดลอกแผนตารางทําการไป 2. คลิกเลือกแผนตารางทําการตนทาง ทีต ่ องการจะยาย หรือคัดลอก 3. คลิกเลือกเมนู Edit > Move or Copy Sheet … หรือคลิกปุม  ขวาของเมาสที่แท็บชีต แลวคลิกเลือก คําสั่ง Move or Copy…. 4. จะปรากฏหนาตาง Move or Copy 4.1 ที่ชอง To book : ใหคลิกเลือกแฟมตารางทําการปลายทาง 4.2 ที่ชอง Before sheet : คลิกเลือกตําแหนงทีแ ่ ผนตารางทําการจะนําไปวางแทรก 4.3 ที่ปุม Create a copy 4.3.1 ใหคลิกเลือก ถาตองการคัดลอก 4.3.2 ไมตองคลิกเลือก ถาตองการยาย (Move) 5. ผลลัพธที่ได 5.1 การคัดลอก (คลิกเลือก Create a copy ในขอ 4.3.1) 5.2 การยาย (ไมคลิกเลือก Create a copy เลือกในขอ 4.3.2) ไฟลที่ 1 (เวิรก  บุค  ที่ 1 (ตนทาง))

ไฟลที่ 2 (เวิรก  บุค  ที่ 2 (ปลายทาง))

4.1 4.2

4.3.1

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

4.3.2

208

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

5.1

5.2

9.7 การใสสีในแท็บตารางทําการ (Worksheet Tab) 1. 2. 3. 4.

เลือกตารางทําการทีต ่ องการใสสี คลิกปุมขวาของเมาสเลือกคําสั่ง Tab Color… บนเมนูลัด คลิกสีทต ี่ องการ แลวคลิกปุม OK จะแสดงผลที่ไดจากการใสสี

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

209

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

10. การแบงหนาตางโปรแกรม ในบางครั้งอาจมีขอมูลจํานวนมากบนแผนตารางทําการที่เปดใชงานอยู และอาจจะตองมีการ เลื่อนหนาจอขึ้นลงเพื่อดูขอมูล ทําใหชื่อของคอลัมนที่อยูดานบนถูกเลือ ่ นไป ผูใชจึงเห็นขอมูลเฉพาะ สวนทาย และในขณะที่เห็นขอมูลที่เปนหัวคอลัมนสวนบนก็ไมสามารถเห็นขอมูลสวนทายได วิธีการหนึ่ง ที่ชวยในการดูขอมูลอยางสะดวกมากขึ้น ก็คือการแบงหนาจอแผนตารางทําการออกเปนสวนๆ โดยใหชื่อ คอลัมนยังคงปรากฏไว และสามารถเลื่อนดูขอ  มูลสวนลางไดโดยไมกระทบกับสวนบน ซึง่ การแบงหนาจอ นี้สามารถแบงเปน 2 สวน หรือ4 สวนก็ได ขึ้นอยูความตองการของผูใช

10.1 การแบงหนาตางออกเปน 2 สวนตามแนวนอน (แถว) 1. คลิกเลือกตําแหนงทีต ่ องการแบงหนาจอออก บนสุด 2. คลิกเลือกเมนูคาํ สั่ง Window > Split 3. หนาตาง จะแบงออกเปน 2 สวนตามแนวนอน

โดยเลือกชองสุดแถวใดก็ได

ยกเวนแถว

10.2 การแบงหนาตางออกเปน 2 สวนตามแนวตั้ง (คอลัมน) 1. คลิกเลือกตําแหนงทีต ่ องการแบงหนาจอออกโดยเลือกชองสุดคอลัมนใดก็ได ยกเวน คอลัมนบนสุด 2. คลิกเลือกเมนู Window > Split 3. ผลที่ไดจะพบวาหนาจอแบงออกเปน 2 สวนตามแนวตั้ง

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

210

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

10.3 การแบงหนาตางออกเปน 4 สวนเทาๆ กัน 1. คลิกเลือกเซลล A1 หรือชองมุมบนดายซาย 2. คลิกเลือกเมนู Window > Split 3. ผลที่ไดจากการแบงหนาจอออกเปน 4 สวนเทาๆ กัน

10.4 การแบงหนาจอออกเปน 4 สวน แตละสวนมีขนาดไมเทากัน 1. คลิกเลือกเซลลใดๆ ก็ไดนอกเหนือจากที่กลาวมา 2. คลิกเลือกเมนู Window > Split 3. ผลทีไ ่ ดจากการแบงหนาจอออกเปน 4 สวนตามตองการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

211

ตอนที่ 3 สูตร (Formulas) และฟงกชัน (Function) 1. สูตร (Formulas) ความสามารถของโปรแกรม Excel ที่สําคัญอยางหนึ่งคือการคํานวณ ซึ่งสามารถนํามาใชงาน ทางธุรกิจไดอยางแพรหลาย โดยเฉพาะงานทางดานบัญชี และการคํานวณคาตางๆ กอนที่จะทําการคิดคํานวณโดยใชโปรแกรม Excel นั้น จะตองรูจักตัวดําเนินการตางๆ เชน ตัว ดําเนินการทางคณิตศาสตร ตัวดําเนินการเปรียบเทียบ เปนตน อีกทั้งตองรูจ  ักถึง รูปแบบการเขียนสูตร ความสําคัญของเครื่องหมาย ความเขาใจในลําดับการคิดคํานวณของสูตรตางๆ เพื่อใหเกิดความถูกตอง ในการคํานวณโดยใชโปรแกรม Excel

2. ตัวดําเนินการ (Operator) ตัวดําเนินจะระบุชนิดของการคํานวณทีผ ่ ูใชตอ  งการกระทํากับองคประกอบของสูตร ซึ่งการ Excel จะรวมชนิดของตัวดําเนินการการคํานวณ 4 ประเภททีต ่ างกัน คือ คณิตศาสตร การเปรียบเทียบ ขอความ และการอางอิง

2.1 ตัวดําเนินการทางคณิตศาสตร ในการคํานวณดวยวิธท ี างคณิตศาสตรขั้นพื้นบาน เชน การบวก การคูณ การหาร และการหา ผลลัพธ เปนตัวเลขตางๆ สามารถใชตัวดําเนินการทางคณิตศาสตรตอไปนี้ + หมายถึง การบวก หมายถึง การลบ * หมายถึง การคูณ / หมายถึง การหาร % หมายถึง เปอรเซ็นต ^ หมายถึง ยกกําลัง

2.2 ตัวดําเนินการเปรียบเทียบ สามารถเปรียบเทียบคาสองคาดวยเครื่องหมายดําเนินการตอไปนี้ ผลลัพธจากการเปรียบเทียบ ดวยตัวดําเนินการเหลานีค ้ าเปนตรรกะ TRUE (จริง) หรือ FALSE (เท็จ) = หมายถึง เทากับ > หมายถึง มากกวา < หมายถึง นอยกวา >= หมายถึง มากกวาหรือเทากับ =

กรณีที่ตวั ดําเนินการมีลําดับความสําคัญเทากัน เชน มีทั้งตัวดําเนินการบวก และลบ อยูในสูตร จะจัดลําดับความสําคัญจากตําแหนงซายไปขวา เชน = (2+3)/5 หมายถึง คํานวณคาในวงเล็บกอน คือ 2 วก 3 กอน แลวนําผลที่ไดหารดวย 5 คําตอบคือ 1 = 2+10/5 หมายถึง คํานวณที่เครื่องหมาย / กอน นั่นคือ 10/5 แลวจึงนําคาที่ไดไปบวกกับ 2 = A5*S1+C2 หมายถึง นําคาของขอมูลในเซลล A5 คูณกับ S1 กอน แลวจึงนําคาที่ไดบวก กับ C2 = (B4+25)/SUM(D5:F5) หมายถึง คํานวณคา B4+25 กอนแลวจึงหารผลลัพธดวยผลรวม ของคาในเซลล D5 E5 และ F5

ตัวอยางการปอนสูตรคํานวณ

NOTE : สูตรทีใ่ ชในการคํานวณ จะเปนตัวเลขหรือชื่อของชองเซลลก็ได ถาเขียนสูตรโดยอางชื่อชองเซลล จะมี ขอดีตรงที่ เมือ ่ คาในเซลลทถ ี่ ูกอางอิงเปลี่ยนแปลง จะสงผลใหผลลัพธของการคํานวณเปลี่ยนแปลงตาม ไปดวย

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

213

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

3. การปอนสูตร ในการปอนสูตรการคํานวณในเซลล จะตองเริม ่ ตนดวยเครื่องหมาย = นําหนาเสมอ มิฉะนั้น โปรแกรมจะคิดวาเปนขอความธรรมดา และไมคํานวณ การปอนสูตรสามารถปอนสูตรลงในชองเซลล หรืออาจจะปอนลงในชอง Formula Bar ก็ได โดยในขั้นตอนแรกจะตองเลือกเซลลทต ี่ องการกอน แลวจึงปอนสูตร ซึ่งสามารถทําไดดังนี้ วิธีที่ 1 การปอนสูตรโดยพิมพตัวเลขทีต ่ องการคํานวณ 1. คลิกเลือกเซลลทต ี่ องการใหแสดงผลลัพธ 2. พิมพสูตร โดยเริ่มที่แสดงเครือ ่ งหมาย = กอน 2.1 พิมพที่เซลลทแ ี่ สดงผลลัพธ 2.2 พิมพที่ Formula Bar 3. กดแปน 2.2

2.1 วิธีที่ 2 การปอนสูตรโดยการอางอิงชื่อเซลล 1. คลิกเลือกเซลลทต ี่ องการใหแสดงผลลัพธ 2. พิมพสูตร โดยเริ่มที่แสดงเครือ ่ งหมาย = กอน 2.1 พิมพที่เซลลทแ ี่ สดงผลลัพธ 2.2 พิมพที่ Formula Bar 3. กดแปน 2.2

2.1

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

214

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

4. การแกไขสูตร การแกไขสูตร มีขั้นตอนเชนเดียวกับการแกไขขอความหรือตัวเลข มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกเซลลทต ี่ องการแกไขสูตร 2. กดแปน หรือดับเบิ้ลคลิกที่เซลลนั้น 3. แกไขสูตรใหมตามตองการ 4. กดแปน

หรือ ดับเบิ้ลคลิก

5. การคัดลอกสูตร การอางอิงชื่อเซลลสามารถอางอิงได 2 ลักษณะ คืออางอิงเซลลแบบสัมพัทธ (Relation) และ อางอิงเซลลแบบสัมบูรณ (Absolute) ซึ่งรูปแบบของการอางอิงเซลลจะมีผลเมื่อมีการคัดลอกสูตรไปใช ยังเซลลอื่น

5.1 การอางอิงเซลลแบบสัมพัทธ (Relation) เปนการคัดลอกสูตร โดยสูตรทีถ ่ ูกคัดลอก จะเปลี่ยนแปลงแบบสัมพัทธ (Relation) หรือ เปลี่ยนแปลงไปตามทิศทางทีค ่ ัดลอก เชน ถาสูตรในเซลล B9 คือ =B4+B5+B6+B7 แลวคัดลอกสูตรนี้ ไปยังเซลล C9 สูตรก็จะเปลีย ่ นแปลงไปเปน =C4+C5+C6+C7 การคัดลอกสูตรโดยการอางอิงแบบสัมพัทธ มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกชองเซลลที่จะทําการคัดลอก 2. เลือกคําสั่ง Copy จากวิธีตอไปนี้ วิธท ี ี่ 1 คลิกขวาแลวเลือกคําสัง่ Copy จากเมนูลัด หรือ วิธีที่ 2 คลิกที่ปม ุ Copy ( ) ที่แถบเครื่องมือมาตรฐาน หรือ วิธีที่ 3 คลิกเลือกจากเมนู Edit > Copy 3. คลิกเลือกชองเซลลที่เหลือทีต ่ องการคัดลอกสูตรไป 4. เลือกคําสั่ง Paste จากวิธีตอไปนี้ วิธีที่ 1 คลิกขวาแลวเลือกคําสัง่ Paste จากเมนูลัด หรือ ) ที่แถบเครื่องมือมาตรฐาน หรือ วิธีที่ 2 คลิกที่ปม ุ Paste ( วิธีที่ 3 คลิกเลือกจากเมนู Edit > Paste

ถาหากทําการคัดลอกสูตรจากชองเซลล B8 ไปยังชองเซลล C8 และ D8 จะไดผลลัพธดงั นี้

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

215

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

=B+4B+5B6

=C4+C5+C6

=D4+D5+D6

จะพบวา ชองเซลลที่ผา นการคัดลอกสูตรมีการเปลี่ยนแปลงที่ชื่อคอลัมน แตยังคงรูปการคํานวณ เหมือนกัน คือ การบวก และจะบวกจากแถวที่ 4 ถึงแถวที่ 7 ทุกชองเซลล NOTE: การคัดลอกสูตรที่อยูตด ิ กันอยางรวดเร็ว อาจใช AutoFill มีวิธีการคัดลอกดังนี้ 1. คลิกเลือกชองเซลลทต ี่ องการจัดคัดลอก ่ นเปนรูปกากบาทสีดํา ( ) 2. เลื่อนเมาสไปยังมุมขวาลางของเซลล จนตัวชี้เมาสเปลีย 3. คลิกเมาสคางไว แลวลากไปยังเซลลที่อยูต  อเนื่องกัน 4. ผลที่ได เซลลทถ ี่ ูกคัดลอกสูตร จะมีสูตรเหมือนกัน แตเซลลที่ถูกอางอิงจะเปลี่ยนไปแบบสัมพัทธ (Relative)

) และเมื่อเลื่อนเมาสไปไวบนปุม  จากผลที่ไดดังรูปในหัวขอที่ 4 จะมีปุม Auto Fill Option ( Auto Fill Option นี้จะปรากฏลูกศร และเมื่อคลิกทีล ่ ูกศร จะปรากฏคําสั่ง ดังรูป

> Copy Cells หมายถึง คัดลอกขอมูล และรูปแบบของเซลลตนฉบับไปวางในเซลลที่เลือกไว > Fill Formatting Only หมายถึง คัดลอกมาเฉพาะรูปแบบของเซลลเทานั้น > Fill Without Formatting หมายถึง คัดลอกเฉพาะขอมูลเทานั้น

5.2 การอางอิงเซลลแบบสัมบูรณ (Absolute) การอางอิงแบบสัมบูรณ เปนการคัดลอกสูตร โดยกําหนดใหมก ี ารเปลี่ยนแปลงตําแหนงการอางอิง ของเซลล ทั้งคอลัมน และแถว ใหเปนไปตามที่กําหนด โดยใชเครื่องหมายดอลลาร ($) กํากับที่ชื่อของ คอลัมน หรือหมายเลขแถว เชน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

216

• • •

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

ถาสูตรในเซลล B9 คือ =$B$4+$B$5+$B$6+$B$7 แลวคัดลอกสูตรนี้ ไปยังเซลล C9 สูตรก็ยังคง เปน =$B$4+$B$5+$B$6+$B$7 ทั้งนี้เพราะมีเครื่องหมายดอลลาร ($) เพื่ออางอิงแบบสัมบูรณทั้ง คอลัมน และแถว แตตําแหนงการอางอิงคอลัมนและแถว จึงไมเปลี่ยนแปลง ถาสูตรในเซลล B9 คือ =B$4+B$5+B$6+B$7 แลวคัดลอกสูตรนี้ ไปยังคอลัมนอื่น คือ เซลล C9 ี่ ถว ตําแหนงการอางอิง สูตรเปลี่ยนเปน =C$4+C$5+C$6+C$7 เพราะมีการอางอิงแบบสัมบูรณทแ แถวจึงไมเปลีย ่ นแปลง ถาสูตรในเซลล B9 คือ =$B4+$B5+$B6+$B7 แลวคัดลอกสูตรนี้ ไปยังแถวอื่น คือ เซลล C9 สูตร จะยังคงเปน =$B4+$B5+$B6+$B7 เพราะการอางอิงแบบสัมบูรณที่คอลัมน ตําแหนงการอางอิง คอลัมน จึงไมเปลี่ยนแปลง

ตัวอยาง

1. พิมพสูตร = B4*$G$2 2. คัดลอกสูตร

=B4*$G$2 =B5*$G$2 =B6*$G$2

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

217

Note : ตัวอยางการคัดลอกสูตรจากชองที่ 1 ไปยังชองที่ 2 โดยพิมพ $ ในตําแหนงที่แตกตางกัน ผลที่ไดจะเปน ดังนี้

ชองที่ 1 ชองที่ 2

การอางอิง (คําอธิบาย) $A$1 (คอลัมนแบบ Absolute และแถวแบบ Absolute) A$1 (คอลัมนแบบ Relative และแถวแบบ Absolute) $A1 (คอลัมนแบบ Absolute และแถวแบบ Relative) A1 (คอลัมนแบบ Relative และแถวแบบ Relative)

เปลี่ยนเปน $A$1 C$1 $A3 C3

6. การใชสตู รกับขอมูลที่อยูตางแผนตารางทําการ (Worksheet) การเขียนสูตรทีอ ่ างอิงถึงขอมูลที่อยูต  างแผนตารางทําการ (Worksheet) สามารถทําไดโดยการเขียนสูตร ในรูปแบบดังนี้ ชื่อแผนตารางทําการ!ชื่อเซลล ตัวอยาง Sheet1!A3 หมายถึง ใหแสดงขอมูลที่อยู ในเซลล A3 ในแผนตารางทําการชื่อ Sheet 1 เปนตน

ผลลัพธทั้งหมด

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

218

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

7. ฟงกชัน (Functions) ฟงกชัน คือ สูตรที่มีการกําหนดไวแลวเพื่อทําการคํานวณโดยใชคา เฉพาะที่เรียกวา “อารกิว เมนต” (argument) ตัวอยางของฟงกชันที่คุนเคยในการใชอยูแลวคือ ฟงกชันผลบวก (SUM) ที่ใชในการ หาผลรวม นอกจากนี้ยังฟงกชน ั อื่นที่มีการนํามางานบอยๆ คือ คาเฉลีย ่ (AVERAGE), คามากที่สด ุ (MAX) เพื่อหาคาสูงสุด, คานอยที่สด ุ (MIN) เพื่อหาคาต่ําสุด และนับจํานวน (COUNT) เพื่อนับจํานวนของเซลล ที่มีตวั เลข

8. แนะนําฟงกชันที่สาํ คัญ ฟงกชันแตละฟงกชันจะมีรูปแบบการเขียนเฉพาะของตัวเอง

8.1 ฟงกชันผลบวก (SUM) รูปแบบไวยากรณ =SUM(number1,number2,…) ความหมาย บวกจํานวนทั้งหมดที่ระบุในวงเล็บ ตัวอยาง =sum(1,2) หมายถึง บวกคา 1 กับคา 2 =sum(A1,B1) หมายถึง บวกคาของเซลล A1 กับเซลล B1 =sum(A1:A10) หมายถึง ผลรวมของคาตั้งแตเซลล A1 ถึง A10

=sum(A1,C5:F5) หมายถึง ผลรวมของเซลล A1 กับ เซลลตั้งแต C5 ถึง F5 (A1+C5+D5+E5+F5)

8.2 ฟงกชันคาเฉลี่ย (AVERAGE) รูปแบบไวยากรณ = AVERAGE(number1, number2, …) ความหมาย คํานวณคาเฉลีย ่ เลขคณิต ของคาตัวเลขทั้งหมดที่กําหนดในวงเล็บ ตัวอยาง =AVERAGE(5,10,15) หมายถึง การหาคาเฉลี่ยของคา 5, 10 และ 15 =AVERAGE(A1,B1) หมายถึง การหาคาเฉลี่ยของคาในเซลล A1 กับ B1 หรือ

A1+ B2 2

=AVERAGE(A1:A10) หมายถึง การหาคาเฉลี่ยของคาตัง้ แตเซลล A1 ถึง A10 หรือ

A1 + A2 + A3 + A4 + A5 + A6 + A7 + A8 + A9 + A10 10

8.3 ฟงกชันคามากทีสุด (MAX) ตัวอยาง

รูปแบบไวยากรณ = MAX (number1, number2, …) ความหมาย การหาคามากสุดจากคาทีร่ ะบุในวงเล็บ =MAX(2,9,4) หมายถึง การหาคาสูงสุดของคา 2, 9 และ 4 =MAX(A1,B1) หมายถึง การหาคาสูงสุดของขอมูลที่อยูในเซลล A1 กับ B1 =MAX(A1:A10) หมายถึง การหาคาสูงสุดของขอมูลที่อยูใ นเซลลตั้งแต A1 ถึง A10

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

219

8.4 ฟงกชันคานอยที่สุด (MIN) ตัวอยาง

รูปแบบไวยากรณ = MIN(number1, number2, …) ความหมาย การหาคานอยสุดจากคาที่ระบุในวงเล็บ =MIN(9,5,4,6) หมายถึง การหาคาต่าํ สุดของคา 9, 5, 4 และ 6 =MIN(A1,B1) หมายถึง การหาคาต่าํ สุดของคาที่อยูในเซลล A1 กับ B1 =MIN(A1:A10) หมายถึง การหาคาต่ําสุดของคาที่อยูใ นเซลลตั้งแต A1 ถึง A10

8.5 ฟงกชันนับจํานวน (COUNT) ตัวอยาง

รูปแบบไวยากรณ = COUNT(number1, number2, …) ความหมาย การนับจํานวนของตัวเลขที่ระบุในวงเล็บ

=COUNT(2,5,1,3) หมายถึง การนับจํานวนของตัวเลขที่ระบุ คือ 2, 5, 1 และ 3 =COUNT(A1,B1) หมายถึง การนับจํานวนของตัวเลขเซลลที่ระบุ คือ A1 และ B1 (ถาขอมูลที่อยูใ นเซลล A1 และ B1 ไมเปนตัวเลข เชน เปนตัวอักษร คําตอบที่ไดจะเปน 0) ตัวอยางการคํานวณ

8.6 ฟงกชันเงือ่ นไข IF

ตัวอยาง

รูปแบบไวยากรณ ความหมาย logical_test value_if_ture value_if_false

= IF(logical_test, value_if_ture, value_if_false) เปนคาหรือนิพจนใดๆ ที่อาจหาคาเปนจริง (TRUE) หรือเท็จ (FALSE) เปนคาที่แสดงมาถา logical_test เปนจริง (TRUE) เปนคาที่แสดงมาถา logical_test เปนเท็จ (FALSE)

=IF(A9=100,4,6) หมายถึง ถาคาที่อยูใ นเซลล A9 มีคาเทากับ 100 ใหแสดงเลข 4 แตถา ไมเทากับ (มากหรือนอยกวา 100) ใหแสดงเลข 6 =IF(C3>1,”เปด”,”ปด”) หมายถึง ถาคาที่อยูใ นเซลล C3 มีคามากกวา 1 ใหแสดงคําวา “เปด” แตถามีคานอยกวา 3 ใหแสดงคําวา “ปด” ตัวอยางที่ 1 ถาตองการตรวจสอบสถานะของยอดขายสินคาในแตละเดือน ก็สามารถใช ฟงกชัน IF ชวยได เชน ถายอดขายสินคาเดือนใดไมถึง 8,000 บาท ใหแสดงขอความวา “ตองปรับปรุง” แตถา ยอดขายสินคาเดือนใดมากกวาหรือเทากับ 8,000 บาท ใหแสดงขอความวา “ดี” ดังนี้

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

220

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

ซึ่งก็จะไดวา ที่ ตําแหนง B11 เขียนฟงกชันวา =IF(B9 Cells… 3. คลิกจากแท็บ Number คลิกรายการ Data หรือ Time จากชอง Category

2.3 รูปแบบตัวอักษร ถาตองการปรับรูปแบบตัวอักษร ขนาดแบบอักษร และสีของอักษร ทําไดโยการคลิกปุมคําสั่ง บนแถบเครื่องมือ Formatting และยังสามารถกําหนดรูปแบบเพิ่มเติม เชน ขีดฆาหรือขีดทับขอความ หรือกําหนดใหขอความเปนตัวยกหรือตัวหอยไดจากเมนู Format > Cell… เลือกแท็บ Font

2.4 การเปลี่ยนแปลงแบบอักษร หรือขนาดของอักษร มีขั้นตอน คือ 1. เลือกทั้งเซลล หรือขอความทีต ่ องการจัดรูปแบบ 2. เลือกปุม Font ( 3. คลิกเลือกปุม Size (

) แลวคลิกเลือกแบบอักษรทีต ่ องการ ) ใหคลิกเลือกขนาดของอักษรที่ตองการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

228

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

2.5 การเปลี่ยนสีของขอความ 1. คลิกเลือกเซลล หรือเลือกเฉพาะบางขอความทีต ่ องการจัดรูปแบบ 2. เลือกสีทต ี่ องการ ใหคลิกทีป ่ ุม Font Color (

) โดยเลือกสีจากแผนสี

2.6 การทําใหเปนตัวหนา ตัวเอียง หรือ ตัวขีดเสนใต 1. เลือกเซลลทั้งเซลล หรือขอความเฉพาะในเซลลที่ตองการจัดรูปแบบ 2. บนแถบเครื่องมือ Formatting ใหคลิกปุมสําหรับรูปแบบทีต ่ อ  งการ ดังนี้ ตัวหนา (

) ตัวเอียง (

)

ตัวขีดเสนใต (

)

ตัวอยาง การกําหนดรูปแบบตัวอักษร

รูปแบบตัวเลข

ปุมคําสั่ง

ตัวอยาง

ปุมคําสั่ง

ตัวอยาง

แบบอักษร ขนาดแบบอักษร สีของขอความ

รูปแบบตัวเลข ตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเสนใต

3. การปรับเปลี่ยนการจัดวางขอความ 3.1 การจัดขอมูลใหอยูกึ่งกลาง ชิดซาย หรือชิดขวาในแตละเซลล วิธท ี ี่ 1 1. เลือกเซลลหรือชวงของเซลลที่ตองการ 2. คลิกเลือกปุม 2.1 Left (

) เมื่อตองการใหขอมูลในเซลลชิดซาย

2.2 Center (

) เมื่อตองการใหขอมูลในเซลลอยูต  รงกลาง

2.3 Right (

) เมื่อตองการใหขอมูลในเซลลชิดขวา

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

229

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

วิธท ี ี่ 2 1. เลือกเซลลหรือชวงเซลลทต ี่ องการ 2. คลิกเลือกเมนู Format > Cells… แลวเลือกแท็บ Alignment ที่ Horizontal: แลวเลือก คําสั่งจัดวาง 2.1 Left เมื่อตองการใหขอมูลในเซลลชิดซาย 2.2 Center เมื่อตองการใหขอมูลในเซลลอยูตรงกลาง 2.3 Right เมื่อตองการใหขอมูลในเซลลชิดขวา

2.1 2.2

ตัวอยาง การกําหนดการจัดวาง

การจัดวาง

ปุมคําสั่ง

2.3

ตัวอยาง

ชิดซาย กึ่งกลาง ชิดขวา

3.2 การรวมเซลลและจัดเรียงขอมูลใหอยูกึ่งกลาง การรวมเซลลและจัดขอมูลใหอยูตรงกลาง โดยทั่วไปจะเปนการจัดขอความกับหัวเรื่องหรือหัว ตาราง และใชปุม Merge and Center ( 1. เลือกชองเซลลที่ตองการ

) ในการจัดขอความนั้น ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

2. คลิกปุม Merge and Center (

)

Note: ถาตองการยกเลิกการรวมเซลลใหคลิกเลือกเซลล แลวคลิกปุม Merge and Center (

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

) อีกครั้ง

230

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

3.3 การแสดงขอมูลใหครบภายในชองเซลล ขอมูลที่มีขนาดความยาวมากกวาชองเซลล ขอความทีแ ่ สดงจะยาวเกินไปยังเซลลที่อยูถ  ด ั ไป ผูใชสามารถจัดใหแสดงภายในเซลลไดหลายวิธี เชน การขยายความกวางของคอลัมน ซึ่งการทําดวย วิธีนี้ จะทําใหชองเซลลทุกๆ แถวในคอลัมนนั้นๆ จะถูกขยายไปดวย อีกวิธีคือการเรียกใชคําสั่ง คลิก เลือกเมนู Format > Cells… แลวเลือกแท็บ Alignment และที่ Text Control เลือก Wrap Text มีขั้นตอนตอไปนี้ 1. เลือกชองเซลลที่ตองการ 2. คลิกเลือกเมนู Format > Cells… แลวเลือกแท็บ Alignment และที่ Text Control เลือก Wrap Text 3. ผลที่ไดคือ ขอความที่เกินความกวางของเซลล จะถูกนําไปขึ้นบรรทัดใหม ซึ่งเปนผลให ความสูงของแถวนั้นๆ จะเพิ่มขึ้น

3.4 การวางแนวตัวอักษร โดยปกติการจัดวางแนวตัวอักษรจะเปนแนวนอน ซึ่งสามารถจัดใหขอความหรือตัวอักษรอยูแนว อื่นๆ ไดอีก โดยกําหนดไดที่ Format > Cells… แลวเลือกแท็บ Alignment และที่ Orientation เลือก แนวทีจ ่ ะจัดรูปแบบได 2 ลักษณะ ดังรูป 1. เลือกเซลลทต ี่ อ  งการ 2. คลิกเลือกเมนู Format > Cells… แลวเลือกแท็บ Alignment ที่ Orientation 2.1 ใชเมาสเลื่อนองศา หรือเปลีย ่ นตัวเลของศาของขอความ 2.2 เลือกการวางขอความแบบเรียงตามตัวอักษรในแนวตั้ง 3. ผลที่ได ขอมูลในขอ 1 จะเปลี่ยนแนวการจัดวาง

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

231

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

4. การตกแตงโดยใชสี เพื่อเพิ่มความสวยงามใหกับขอมูลในแผนตารางทําการมากขึ้น สามารถทําไดโดยการตกแตงสี ภายในชองเซลล ทําไดหลายวิธี ดังนี้ วิธท ี ี่ 1 1. เลือกเซลลที่จะใสสี 2. คลิกเมาสที่ปุม Fill Color( 3. คลิกเลือกสีที่ตอ  งการ

) บนแถบเครื่องมือ Formatting

วิธท ี ี่ 2 1. เลือกเซลลที่จะใสสี 2. คลิกเลือกเมนู Format > Cells… แลวเลือกแท็บ Patterns 3. คลิกเลือกสีหรือลวดลายที่ตองการ

5. การขีดเสนตาราง วิธท ี ี่ 1 1. เลือกเซลลทต ี่ อ  งการขีดเสนตาราง ) 2. คลิกเมาสที่ปุม Borders ( 3. คลิกเลือกรูปแบบเสนตารางทีต ่ องการ วิธท ี ี่ 2 1. เลือกเซลล 2. คลิกเลือกเมนู Format > Cells… แลวเลือกแท็บ Border 3. สามารถกําหนดรายละเอียดตางๆ เกี่ยวกับตาราง เชน รูปแบบของเสน (Line Style), รูปแบบของขอบ (Border), สีของเสนขอบ (Color) ที่ตองการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

232

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

ตัวอยาง

6. AutoFormat การตกแตงตารางดวยวิธีการตางๆ ที่กลาวมาขางตน จะตองใชเวลาในการตกแตงใหมค ี วาม สวยงามทางศิลปะ ซึ่งโปรแกรม Excel มีรูปแบบตารางทีต ่ กแตงไวแลวใหเลือกใช ที่เมนู Format > AutoFormat… โดยการใชคําสั่ง AutoFormat นี้จะเปนการแตงเติมตารางโดยอัตโนมัติ มีขั้นตอนการ ทําดังนี้ 1. เลือกชองเซลลที่ตองการ 2. คลิกเลือกเมนู Format > AutoFormat… 3. จะปรากฏหนาจอ ใหเลือกรูปแบบตารางอัตโนมัติ

ตัวอยาง

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

233

7. การตกแตง Excel ดวยรูปภาพ ปุมคําสั่งทีใ่ ชในการตกแตงสวนใหญอยูท  ี่แถบเครื่องมือ Drwaing หรือ รูปวาด

ตัวอยางปุมคําสั่งทีจ ่ ะนําเสนอในที่นี้ ไดแก ปุมคําสั่ง AutoShapes ปุม WordArt และปุม Clip Art ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

7.1 AutoShape AutoShape คําสั่งนี้จะมีปุมคําสั่งยอยๆ ดังนี้

1. คลิกที่ปม ุ คําสั่ง AutoShapes ที่แถบเครื่องมือ Drawing หรือคลิกเลือกเมน Insert > Picture > AutoShapes 2. คลิกเลือกเมนูยอ  ยทีต ่ องการ 3. เลือกรูปที่ตองการ

ตัวอยาง

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

234

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

7.2 WorkArt WorkArt คําสัง่ นี้จะมีรูปแบบตัวอักษรที่สวยงามใหเลือก ดังนี้

1. คลิกที่ปม ุ คําสั่ง Insert WorkArt ที่แถบเครื่องมือ Drawing หรือคลิกเลือกเมนู Insert > Picture > WorkArt… 2. คลิกเลือกรูปแบบตัวอักษรที่ตอ  งการ แลวคลิกปุม OK 3. พิมพขอความ แลวกําหนดรูปแบบฟอนต โดยคลิกที่ปม ุ ฟอนต ปุมขนาด ปุมตัวหนา หรือปุ ตัวเอียงตามทีต ่ อ  งการแสดง 4. คลิกปุม OK

ตัวอยาง

Clip Art Clip Art คําสัง่ นี้จะประกอบดวยรูปภาพที่สวยงามใหเลือก ดังนี้

ขั้นตอนการแทรกรูปจาก Clip Art 1. คลิกที่ปม ุ คําสั่ง Insert Clip Art ที่แถบเครื่องมือ Drawing หรือคลิกเลือกเมนู Insert > Picture > Clip Art… 2. จะแสดง Task Pane บนหนาจอดานขวา เลือก Organize Clips… 3. จะปรากฏหนาจอ ใหระบุตําแหนงที่เก็บรูปภาพ 4. การเลือกรูปทีต ่ องการ ทําไดดังนี้ 2.1 ลากรูปที่ตองการ ใสลงในเอกสาร หรือ 2.2 คลิกปุมขวาของเมาสทรี่ ูป และเลือกคําสั่ง Copy และ Paste

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

235

8. การคัดลอกรูปแบบโดยใช Format Painter หลังจากการตกแตงตารางเรียบรอยแลว ถาตองการคัดลอกรูปแบบของตารางที่ตกแตงไปยัง ตารางอื่น หรือคัดลอกรูปแบบของขอความหนึ่งๆ ไปยังขอความอื่นๆ ทําไดโดย 1. เลือกขอความหรือตารางที่ตองการคัดลอกรูปแบบ ) 2. คลิกที่ปม ุ Format Painter ( 3. เลือกขอความหรือตารางที่ตองการวางรูปแบบ โดยคลิกเมาสคา งไว และลากใหครอบคลุม ขอมูลทั้งหมดที่ตองการวางรูปแบบ แลวจึงปลอยปุมเมาส

ตัวอยางผลที่ได

9. การกําหนดการแสดงขอมูลตามเงื่อนไข 9.1 การกําหนดเงื่อนไขการแสดงขอมูล 1. เลือกเซลลทต ี่ อ  งการใหมีการจัดรูปแบบอยางมีเงื่อนไข 2. คลิกเลือกเมนูคาํ สั่ง Format > Condition Formatting… (การจัดรูปแบบเงื่อนไข) 3. กําหนดเงื่อนไขและใสคา ตามรูปแบบตามขอมูลในเซลล (Cell Value is) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

236

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

3.1 between หมายถึง อยูร ะหวาง เชน ขอมูลที่มค ี าอยูร ะหวาง 1000 ถึง 2000

3.2 not between หมายถึง ไมอยูระหวาง เชน ขอมูลที่มค ี าไมอยูระหวาง 1000 ถึง 2000 คําตอบที่ได จะตรงขามกับเงื่อนไข between 3.3 equal to

หมายถึง เทากับ เชน ขอมูลที่มค ี าเทากับ 2000

ี าไมเทากับ 2000 คําตอบที่ไดจะ 3.4 not equal to หมายถึง ไมเทากับ เชน ขอมูลที่มค ตรงขามกับเงื่อนไข equal to

3.5 greater than หมายถึง มากกวา เชน ขอมูลที่มค ี ามากกวา 2000

3.6 less than หมายถึง นอยกวา เชน ขอมูลที่มีคา นอยกวา 2000

3.7 greater than or equal to หมายถึง มากกวาหรือเทากับ เชน ขอมูลที่มีคามากกวา หรือเทากับ 2000 คําตอบที่ไดจะมาจากการรวมเงื่อนไข greater than กับ equal to

3.8 less than or equal to หมายถึง นอยกวาหรือเทากับ เชน ขอมูลที่มีคานอยกวาหรือ เทากับ 2000 คําตอบที่ไดจะมาจากการรวมเงื่อนไข less than กับ equal to

เพื่อกําหนดรูปแบบ 4. คลิกปุม ตางๆ ไดดังนี้ 4.1 กําหนดรูปแบบของฟอนต ทีแ ่ ท็บ Font

ถาขอมูลใดที่ตรงกับเงื่อนไข ใหมีรูปแบบ

4.2 กําหนดเสนขอบ ที่แท็บ Border

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

237

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

4.3 กําหนดสี่พื้นและลวดลาย ที่แท็บ Patterns

5. คลิกปุม OK ตัวอยาง ถากําหนดใหผลรวมของยอดขายเดือนใด มีคามากกวา 8 000,บาท ใหแสดงสีแดงขีดเสนใต

เลือกคําสั่ง

กําหนดเงื่อนไข

คลิกปุม

กําหนดรูปแบบ

ผลลัพธ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

238

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

9.2 การเพิ่มเงื่อนไข ถามีมากกวา 1 เงื่อนไข ใหคลิกปุม

จนกระทัง่ ครบตามเงื่อนไข จึงคลิกปุม OK

9.3 การลบเงือ่ นไข ถาตองการลบเงื่อนไขเดียวหรือมากกวาหนึ่งเงื่อนไขออก ใหคลิกปุม Delete… จะปรากฏหนาตาง Delete Conditional Format ใหเลือกคลิกที่เงื่อนไขที่ตองการลบ

10. การตรวจสอบงานกอนพิมพ กอนที่จะทําการพิมพขอมูลลงในกระดาษ สามารถเรียกดูเอกสารกอนพิมพไดโดยคลิกที่ปม ุ Preview (

)

บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน หรือคลิกเลือกเมนู File > Print Preview

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

239

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

ผลที่ได

11. การดูเอกสารในรูปเว็บเพจ โปรแกรม Excel มีคําสั่งที่สามารถเรียกดูขอมูลหรือไฟลเอกสารในรูปของเว็บเพจได ซึ่งเปน คําสั่งที่เพิ่มขึ้นมาจากเวอรชันกอน มีวิธีการทําคือ คลิกที่เมนู File > Web Page Preview

ผลที่ได

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

240

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

ตอนที่ 5 การใชแผนภูมิ (Graph) ความสามรถทีส ่ ําคัญอยางหนึง่ ของโปรแกรม Excel คือ “การสรางแผนภูมิหรือชารต” ซึ่ง ประโยชนของแผนภูมิกค ็ ือจะชวยในการวิเคราะหขอมูล เปรียบเทียบ และนําเสนอขอมูลไดอยางมี ประสิทธิภาพ

1. การสรางแผนภูมิดวยกราฟวิซารด (Graph Wizard) วิธีการสรางแผนภูมิที่งา ยวิธห ี นึ่ง คือ การใช Graph Wizard ซึ่งมีขั้นตอนในการทําอยู 4 ขั้นตอนดวยกัน ดังนี้ (1) เลือกชนิดของแผนภูมิ (2) เลือกชวงของขอมูล (3) กําหนดขอความทีจ ่ ะบรรจุ ลงในแผนภูมิ และ (4) กําหนดการวางแผนภูมิ โดยมีรายละเอียดในการสรางแผนภูมิดังนี้ 1. เลือกขอมูลที่จะทําแผนภูมิ ) 2. คลิกปุม Chart Wizard ( 3. จะปรากฏหนาจอ Chart Wizard ใน Step 1 คือ ใหเลือกชนิดของแผนภูมิ จากนั้นคลิก ปุม 4. Step 2 เลือกชวงของขอมูล เนื่องจากไดเลือกขอมูลกอนแลวในขั้นตอนที่ 1 จึงใหขามไป Step ถัดไป คลิกปุม 5. ใน Step 3 ใหพิมพขอความตางๆ ทีจ ่ ะใหปรากฏในแผนภูมิ ไดแก Chart title, Category (X) axis, Value (Y) axis แลวคลิกปุม ตัวอยางการสรางแผนภูมิ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

241

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

6. ใน Step 4 ใหกําหนดตําแหนงที่จะวางแผนภูมิ ไดแก 6.1 As new Sheet เปนการวางแผนภูมิไวในแผนตารางทําการใหม 6.2 As Object in เปนการวางแผนภูมิไวในแผนตารางทําการเดิม

ผลลัพธที่ได

1.1 สวนประกอบของแผนภูมิ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ชื่อแผนภูมิ (Chart Title) พื้นที่แผนภูมิ (Chart Area) ผนังแผนภูมิ (Walls) เสนระดับ (Gridines) พื้นแผนภูมิ (Floor) พื้นที่วาดแผนภูมิ (Plot Area) ชื่อขอมูล (Category Axis) ชื่อแกน (Category Axis Title) คําอธิบายแผนภูมิ (Legend)

ชื่อแผนภูมิหรือหัวเรื่องของแผนภูมิ พื้นที่ทั้งหมดของแผนภูมิ พนที่ดานหลังแผนภูมิ เสนที่ใชดูเปรียบเทียบขอมูล พื้นที่ดานหลังแผนภูมิ พื้นที่แสดงรูปแผนภูมิ ชื่อชนิดหรือประเภทของขอมูลแตละตัว ชื่อแกนหรือชื่อกลุมของขอมูล อธิบายสัญลักษณของแกนแผนภูมิ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

242

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

2. การปรับตกแตงแผนภูมิ 2.1 การยอ–ขยายแผนภูมิ 1. คลิกทีร่ ูปแผนภูมิ จะปรากฏจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ รอบๆ รูปแผนภูมิ (8 จุด) 2. คลิกเมาสคางไว ที่จุดดําเล็ก ที่จุดใดจุดหนึ่งของรูปแผนภูมิ เมาสเปลี่ยนเปนลูกศร สองทิศทาง 3. ลากเมาส 3.1 เขาหารูปแผนภูมิเพื่อการยอรูปแผนภูมิ 3.2 ออกจากรูปแผนภูมิเพื่อขยายรูปแผนภูมิ

ผลจากการขยายแผนภูมิ

ผลจากการยอแผนภูมิ

2.2 การปรับแผนภูมิแบบ 3 มิติ การปรับแผนภูมิแบบ 3 มิติ จะชวยใหรูปแบบการนําเสนอแผนภูมินา สนใจยิ่งขึ้น มีวิธีการปรับดังนี้ 1. คลิกปุมขวาของเมาสทแ ี่ ผนภูมิ 2. คลิกเลือกคําสัง่ 3-D View… 3. ปรับเปลี่ยนที่หนาตาง 3-D View 4. คลิกปุม OK

ตัวอยางผลทีไ ่ ด

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

243

3. ชนิดของแผนภูมิ แผนภูมิที่นย ิ มใชในโปรแกรม Excel ไดแก 1. แผนภูมิแทงแนวตั้ง (Column Chart) เปนแผนภูมิเปรียบเทียบขอมูลเชิงปริมาณ เชน ขอมูล เปรียบเทียบยอดขายรายไตรมาส ขอมูลเปรียบเทียบจํานวนผูโดยสารรถประจําทางกับ รถไฟฟา ตัวอยางแผนภูมิ

2. แผนภูมิแทงแนวนอน (Bar Chart) เปนแผนภูมิคลายแผนภูมิแทงแนวตั้ง มักแสดงขอมูล เกี่ยวกับเวลาและระยะทาง เชน ขอมูลเปรียบเทียบระยะเวลาการใชงานอุปกรณไฟฟา ขอมูล แสดงระยะทางการเดินทางจากกรุงเทพมหานครไปยังจังหวัดใกลเคียง ตัวอยางแผนภูมิ

3. แผนภูมิเสน (Line Chart) เปนแผนภูมิแสดงคาของขอมูลเกี่ยวกับแนวโนม เชน ขอมูล รายไดของบริษท ั ในชวงระยะเวลา 1 ป ขอมูลอุณหภูมิต่ําสุดของจังหวัดขอนแกนในชวง 5 ป ที่ผา นมา ตัวอยางแผนภูมิ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

244

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

4. แผนภูมิวงกลม (Pie Chart) เปนแผนภูมิแสดงความสัมพันธของขอมูลแตละคาตอผลรวม ทั้งหมด เชน ขอมูลสวนแบงตลาดของบริษัทขายเครื่องคอมพิวเตอร ขอมูลแสดงสัดสวน ของอาชีพที่ตองการของนักเรียนชั้นประถมปที่ 1 ตัวอยางแผนภูมิ

นอกจากนี้ โปรแกรม Excel ยังมีแผนภูมิชนิดอื่นๆ อีก เชน แผนภูมิพื้นที่ (Area Chart), แผนภูมิ รูปโดนัท (Doughnut Chart), แผนภูมิพื้นทีผ ่ วิ (Surface Chart) และแผนภูมิหุน (Stock Chart) เปนตน

4. การใชงานแถบเครือ่ งมือแผนภูมิ (Chart) ในการสรางและปรับแตงแผนภูมิ สามารถเลือกคําสั่งไดจากแถบเครื่องมือ Chart โดยการเลือก เมนู View > Toolbar > Chart

4.1 การเปลี่ยนชนิดของแผนภูมิ วิธท ี ี่ 1 1. คลิกเลือกปุม Chart Type ( ) 2. คลิกเลือกชนิดของแผนภูมท ิ ต ี่ อ  งการ วิธท ี ี่ 2 1. คลิกเลือกเมนู Chart > Chart Type

2. จะปรากฏหนาจอ Chart Type ใหเลือกรูปแผนภูมิที่ตองการ แลวคลิกปุม OK

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

245

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

4.2 การตกแตงแผนภูมิ 1. คลิกเลือกเมนูที่ตองการตกแตง ) จากแถบเครื่องมือ Chart หรือดับเบิ้ลคลิก 2. คลิกเลือกปุม Format Chart Area ( ที่ภายในแผนภูมิ 3. จะปรากฏหนาจอ Format Chart Area ซึ่งสามารถเลือกสี ลวดลาย และตกแตงแผนภูมิ ได

ตัวอยางผลทีไ ่ ด

4.3 การตกแตงแทงแผนภูมิ 1. คลิกทีแ ่ ทงแผนภูมิ 2. คลิกเลือกปุม Format Chart Area (

) หรือดับเบิ้ลคลิกทีแ ่ ทงแผนภูมิ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

246

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

3. จะปรากฏหนาจอ Format Data Series ซึ่งมีแท็บตางๆ ใหเลือกดังนี้ • Patterns ใสสี ลวดลาย และตกแตงแผนภูมิ • Axis การลงจุดชุดขอมูลหนึ่งหรือหลายชุดขอมูล • Y Error Bars แถบความผิดพลาด • Data Labels การใสชื่อแกนและคาของขอมูลบนแผนภูมิ • Series Order การเปลี่ยนลําดับการจัดวางขอมูล • Option กําหนดรูปแบบของแทงแผนภูมิ

ตัวอยางผลทีไ ่ ด

5. การลบแผนภูมิ 1. คลิกปุมขวาของเมาสที่พื้นที่แผนภูมิ จะปรากฏเมนูลัด 2. คลิกเลือกคําสัง่ Clear

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 5 การใชโปรแกรม Microsoft Excel

6. เทคนิคอื่นๆ ที่นาสนใจ 6.1 การแยกแผนภูมิวงกลม 1. คลิกทีช ่ ิ้นแผนภูมิทต ี่ องการแยก 2. ลากเมาสไปทางดานขาง แลวปลอยปุมเมาส

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

247

248

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต ตอนที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอินเทอรเน็ต จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหนักศึกษามีความสามารถดังตอไปนี้ 1. อธิบายความหมายและความเปนมาของอินเทอรเน็ตได 2. บอกประโยชนของอินเทอรเน็ตได 3. อธิบายการสงถายขอมูลและอุปกรณทต ี่ องมีในการใชงานอินเทอรเน็ตได

1. ความหมายของอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ต (Internet) คือ มาจากคําเต็มวา อินเทอรเน็ตเวิรกกิง (Internetworking) หรืออีก ชื่อที่เรียกกัน ไซเบอรสเปช (Cyber Space) แตนย ิ มเรียกสัน ้ ๆ วา อินเทอรเน็ต หมายถึง เครือขายของ คอมพิวเตอรขนาดใหญ ที่เชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอรทั่วโลกเขาดวยกัน ทําใหอินเทอรเน็ตเปน เครือขายของการสื่อสารขอมูลขนาดใหญ ซึ่งสาเหตุทท ี่ ําใหอินเทอรเน็ตไดรบ ั ความนิยมแพรหลายคือ o การไมจํากัดระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอรทม ี่ ีระบบปฏิบัติการไมเหมือนกัน สามารถ ติดตอสื่อสารถึงกันได เชน คอมพิวเตอรทม ี่ ีระบบปฏิบัติการแบบ WindowXP สามารถ สื่อสารกับคอมพิวเตอรทม ี่ ีระบบปฏิบัติการแบบ Macintosh หรือสามารถติดตอกับเครื่องทีม ่ ี ระบบปฏิบต ั ิการแบบ Unix ได เปนตน o ไมมีจํากัดระยะทาง ไมวาจะอยูภายในอาคารเดียวกัน หรือหางกันคนละทวีป ขอมูลก็ สามารถสงผานถึงกันได o อินเทอรเน็ตไมจํากัดรูปแบบของขอมูล ซึ่งมีไดทั้งขอมูลที่เปนขอความอยางเดียวหรือมีภาพ ประกอบ รวมไปถึงขอมูลชนิดมัลติมีเดีย ทีท ่ งั้ ภาพเคลื่อนไหว และมีเสียงประกอบดวยได o ไมจํากัดระยะเวลา ผูใชสามารถจะสืบคนขอมูล สงขอมูล หรือเผยแพรขอมูลตางๆ ใน อินเทอรเน็ตไดตลอด 24 ชม. โดยไมมีวันหยุด ทําใหเกิดสะดวกในการใชงานสําหรับแตละ คน สะดวกเวลาใด มีความตองการเวลา ก็สามารถใชไดตลอดเวลา o ไมจํากัดชนชั้น การติดตอเขาใชอินเทอรเน็ต ไมมีเงื่อนไข หรือขอกําหนดในเรื่องของ สถานภาพของผูใช วาจะตองมีสถานภาพเปนอะไร หรือตองมีอายุเทาใด ประชาชนทั่วไป ิ ธิ์ใชอินเทอรเน็ตไดทุกคน คนทุกระดับ ทุกชนชั้น รวมทัง้ ทุกเพศ ทุกวัย มีสท

ระบบการสื่อสารกับการเชื่อมตออินเทอรเน็ต

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

249

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

อินเทอรเน็ตนับเปนอภิระบบเครือขายที่ยิ่งใหญมาก มีเครื่องคอมพิวเตอรหลายลานเครื่องทั่วโลก เชื่อมตอกับระบบ ทําใหคนในโลกทุกชาติทุกภาษาสามารถติดตอสื่อสารถึงกันได โดยไมตองเดินทางไป โลกทั้งโลกเปรียบเสมือนเปนบานหลังที่ทุกคนในบานสามารถพูดคุยกันไดตลอด 24 ชั่วโมง ประหยัดทั้ง เวลา คาใชจาย แตเกิดประโยชนตอสังคมโลกปจจุบันมาก

2. ประวัติของอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ตกําเนิดขึ้นครั้งแรกในโลกทีส ่ หรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ.2512 โดยองคกรทางทหารของ สหรัฐอเมริกาชือ ่ วา ยู เอส ดีเฟนซ ดีพารทเมนท (U.S. Defence Department) เปนผูทค ี่ ิดคนระบบ ขึ้นมา มีวัตถุประสงคคือ เพื่อใหมีระบบเครือขายที่ไมมวี ันตายแมจะมีสงคราม ระบบการสือ ่ สารถูกทําลาย ่ หรือตัดขาด แตระบบเครือขายแบบนีย ้ ังทํางานได ซึ่งระบบดังกลาวจะใชวิธีการสงขอมูลในรูปของคลืน ไมโครเวฟ ฝายวิจย ั ขององคกรจึงไดจด ั ตั้งระบบเน็ตเวิรกขึน ้ มา เรียกวา ARPAnet ยอมาจาก Advance Research Project Agency net คอมพิวเตอรสามารถติดตอผานเครือขายกันไดโดยใช Internet protocal (IP) และดวยระบบการดําเนินงานแบบกระจาย (Decentralized) แตละเครือขายจึงสามารถ ดําเนินการไดดว ยตนเอง แมบางสวนของเครือขายจะถูกตัดขาดลง แตขอมูลก็ยังคงถูกสงอยูในเครือขาย ั ไดพฒ ั นาวิธีการเชื่อมตอเปนโปรโตคอลแบบ TCP/IP (Transmission สวนที่เหลือ ซึ่งตอมานักวิจย Control Protocol/ Internet Protocol) ทําใหคอมพิวเตอรตางชนิดกันสามารถสื่อสารกันได อินเทอรเน็ตจึงมีผูใชงานเพิ่มขึน ้ อยางรวดเร็ว จากสถาบันการศึกษา องคกรรัฐบาล องคกรดานธูรกิจ จาก ประเทศสหรัฐอเมริกา ไปยังประเทศอื่นๆ ทั่วโลก วิธีการทํางานของ TCP/IP เริ่มจากการแบงขอมูลออกเปนชิ้นเล็กๆ เรียกวา Packet แตละ ี่ ัวและทาย เพื่อบอกจุดหมายปลายทาง และลําดับวิธีในการประกอบ Packet จะมีขอ  มูลกํากับอยูทห Packet กลับ จากนั้น Packet จะสงออกไปตามเสนทาง และหากเสนทางปกติเสียหาย Packet อื่นๆ ก็ สามารถจะสงไปยังเสนทางอืน ่ ที่แตกตางกันได ทําใหขอมูลไปถึงปลายทางได เมื่อถึงปลายทาง Packet เหลานีจ ้ ะถูกประกอบเขาดวยกันอีกครั้ง

ระบบเครือขายแบบเดิม

ระบบเครือขายแบบใหมที่ตด ิ ตอกันไดอยางอิสระ ในระยะแรก เมื่อ ARPAnet ประสบความสําเร็จ ก็มีองคกรมหาวิทยาลัยตางๆ ใหความสนใจเขา มารวมในโครงขายมากขึ้น โดยเนนการรับ-สงจดหมายอิเล็กทรอนิกส (Electronic Mail = E-mail) ระหวางกันเปนหลัก ตอมาก็ไดขยายการบริการไปถึงการสงแฟมขอมูลขาวสารและสงขาวสารความรูท  ั่วไป แตไมไดใชในเชิงพาณิชย เนนการใหบริการดานวิชาการเปนหลัก ป 2523 คนทัว่ ไปเริ่มสนใจอินเทอรเน็ตมากขึ้น มีการนําอินเทอรเน็ตมาใชในเชิงพาณิชย มีการ ทําธุรกิจบนอินเทอรเน็ต บริษท ั หางรานตางๆ ก็เขารวมเครือขายอินเทอรเน็ตมากขึ้น ในประเทศไทย การเชื่อมตออินเทอรเน็ตเกิดขึ้นในป 2535 โดยมีจุดเชื่อมตอ 2 แหง คือ จาก ศูนยเทคโนโลยีและอิเล็กทรอนิกสแหงชาติ หรือ NECTEC และจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนหนวยงานของราชการที่ไดรบ ั มอบหมายใหจัดระบบเครือขายทีจ ่ ะเชื่อมโยงเครือ NECTEC ขายของมหาวิทยาลัยตางๆ และหนวยงานของรัฐเขาดวยกัน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนระบบเครือขาย

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

250

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

สําหรับการศึกษาและวิจัย ในปจจุบันไดมห ี นวยงานทั้งของราชการและเอกชน รวมไปถึงโรงเรียนและ มหาวิทยาลัยหลายแหง มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดเชือ ่ มตอกับเครือขายอินเทอรเน็ตในป 2536 ตามโครงการเชื่อมตอ เครือขายคอมพิวเตอรสถาบันอุดมศึกษา ของ NECTEC ปจจุบันมีผูรูจัก และใชอินเทอรเน็ตมากขึ้น มีอัตราเติบโตมากกวาปละ 100เปอรเซ็นต สมาชิก ิ นักศึกษาในระดับสถาบันอุดมศึกษา ไปสูประชาชนทั่วไป ของอินเทอรเน็ตขยายจากอาจารย และนิสต

เว็บไซตของ Network Solutions เครือขายระดับสากลที่รับจดโดเมนเนม (www.networksolutions.com)

เว็บไซตของ NECTEC เครือขายระดับประเทศ (www.nectec.or.th)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

251

3. อุปกรณที่ตองมีในการใชงานอินเตอรเน็ต การใชอินเทอรเน็ตจะตองมีอุปกรณ หรือเครือ ่ งมือที่จําเปน ดังตอไปนี้

3.1 เครื่องคอมพิวเตอร (Computer) คอมพิวเตอรที่ใชงานในปจจุบน ั หรือมีจําหนายในทองตลาดปจจุบัน ทุกยี่หอ ทุกรุน ทุกระบบ หรือเครื่องยี่หออื่นๆ รวมทั้ง Macintosh และ Notebook สามารถจะนํามาใชติดตอกับอินเทอรเน็ตได

3.2 โมเด็ม (Modem) เปนอุปกรณใชสงสัญญาณจากคอมพิวเตอรไปตามสายโทรศัพท เขาสูศ  น ู ยบริการอินเทอรเน็ต (ISP) ที่เชื่อมตอไปยังอินเทอรเน็ต โมเด็มทีใ่ ชเชื่อมตออินเทอรเน็ต แบงตามลักษณะของสัญญาณไดเปน 2 แบบ คือ โมเด็มแบบ สัญญาณเสียง (Voice Modem) มีความเร็วสูงสุดในการรับและสงขอมูลที่ 56 Kbps และ โมเด็มแบบ สัญญาณผสม หรือโมเด็มเอดีเอสแอล (ADSL Modem, ADSL = Asymmetric Digital Subscriber Line) มีความเร็วในการรับขอมูลเริ่มตนที่ 128 kbps จนถึง 2 Mbps ซึ่งเร็วกวาโมเด็มแบบเดิม 2-8 เทา รายละเอียดเพิม ่ เติมของโมเด็ม สามารถศึกษาไดจากเนื้อหาในบทแรก “คอมพิวเตอรเบื้องตน” ในสวน ของ “อุปกรณรอบขางของคอมพิวเตอร” ทั้งนี้การเลือกใชโมเด็ม จะตองสัมพันธกับการเลือกใชบริการของเลขหมายโทรศัพท

3.3 เลขหมายโทรศัพท (Telephone Number) ผูใชงานอินเทอรเน็ตตองมีหมายเลขโทรศัพท 1 หมายเลข และปจจุบัน สามารถจะเลือกใช บริการเลขหมายโทรศัพทได 2 ลักษณะ คือ o เลขหมายโทรศัพทปกติ เปนเลขหมายทีผ ่ ูใชสามารถติดตอเขาใชอินเทอรเน็ต โดยใช โมเด็มแบบสัญญาณเสียง ซึง่ จะเสียคาบริการในอัตราเดียวกับการโทรไปยังเลขหมายปกติ คือ ถาเปนการติดตอกับหมายเลขของไอเอสพี (ISP) หรือผูใ หบริการอินเทอรเน็ตในทองถิน ่ จะเสียคาบริการเปนอัตราครั้งละ แตถาโทรไปยังหมายเลขของไอเอสพี (ISP) ที่เปน หมายเลขในจังหวัดอื่น จะเสียคาบริการเปนอัตรานาทีละ ในขณะใชบริการติดตอ อินเทอรเน็ตโดยเลขหมายโทรศัพทปกตินี้ ผูใ ชสามารถจะใชบริการติดตออินเทอรเน็ต หรือ พูดคุยโทรศัพทไดเพียงอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น o เลขหมายโทรศัพทที่มีบริการ ADSL อยูดวย เปนบริการใหม ที่ผูใชสามารถใหบริการพูดคุย โทรศัพท พรอมๆ กับการติดตออินเทอรเน็ต โดยผูใชจะเสียอัตราคาบริการสัญญาณ ADSL ในอัตราเหมาจายเปนรายเดือน ซึ่งหมายถึง ผูใชสามารถจะติดตออินเทอรเน็ตไดตลอด 24 ชม. ทุกวัน โดยคาบริการอินเทอรเน็ตเทาเดิม

4. ผูใหบริการอินเทอรเน็ต (Internet Service Provider) เมื่อเราไดเตรียมอุปกรณตางๆ พรอมแลว ขัน ้ ตอนตอไปคือ การติดตอขอใชบริการอินเทอรเน็ต กับผูใหบริการอินเทอรเน็ต หรือที่เรียกสั้นๆ วา ISP (Internet Service Provider) ซึ่งในประเทศไทย มีหลายหนวยงานใหบริการ ทัง้ สถาบันการศึกษา และบริษท ั ผูใหบริการอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชย ISP เปน เสมือนชองทางเพื่อติดตอเขาสูอินเทอรเน็ต ผูใชจะติดตอเขาสูเครือขายอินเทอรเน็ตได โดยการเชื่อมตอ คอมพิวเตอรไปยัง ISP การเลือก ISP ตองพิจารณาความเหมาะสมในการใชงานของเราเปนหลัก เพราะรูปแบบของการ ใหบริการที่ ISP มีใหมีหลากหลาย โดยมีหลักควรพิจารณางายๆ คือ ตองเปน ISP ที่สามารถติดตอไดโดย ใชหมายเลขโทรศัพททองถิน ่ หมายเลขโทรศัพทมีจํานวนมากเพียงพอกับการติดตอของผูใชบริการ มี พนักงานบริการปรึกษาปญหาทางโทรศัพททเี่ พียงพอกับผูใชบริการ มีสายสัญญาณหลักที่มีประสิทธิภาพ กลาวคือ ถาสายสัญญาณมีความเร็วต่ํา แตมผ ี ูใชบริการมากก็จะมีผลทําใหการรับสงขอมูลชา สวนอัตรา คาบริการ มักจะคิดเปนจํานวนชั่วโมงที่ใชงาน โดยถาเลือกซือ ้ บริการจํานวนหลายๆ ชั่วโมง ก็จะมีราคาถูก กวา

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

252

2 วิธีคือ

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

วิธีการสมัครสมาชิกเราสามารถโทรศัพทตด ิ ตอไปยัง ISP นั้นๆ โดยเราสามารถเลือกรับบริการได

1. ซื้อชุดอินเทอรเน็ตสําเร็จรูป (ตามรานทั่วไป) 2. สมัครเปนสมาชิกรายเดือน (ติดตอเขาไปยัง ISP โดยตรง) โดยแตละวิธีกม ็ ีรายละเอียดแตกตางกัน ขึ้นอยูกับบริการของ ISP นั้น ๆ จะกําหนด ่ สารแหง ปจจุบัน ISP ในประเทศไทยมีทั้งสิ้น 12 ราย ที่ไดรับอนุญาตจากการสือ ประเทศไทย ผูใหบริการที่เปนของรัฐคือ ศูนยบริการอินเทอรเน็ตประเทศไทย (INET – TH) เปนการ รวมมือกันระหวางศูนยคอมพิวเตอรและอิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย กับการสื่อสารแหงประเทศไทย กอตั้งขึ้น เพื่อใหบริการอินเทอรเน็ตแกสถานศึกษา บริษัท หางรานและประชาชนทั่วไป ในอัตรา คาบริการที่ไมสงู มากนัก มีใหเลือกตั้งแตราคา 400 ตอเดือน ถึง 1,500 บาทตอเดือน และมีบริการ ชุดอินเทอรเน็ตสําเร็จรูปใหเลือกใชเปนชั่วโมงดวย รายชื่อผูใ หบริการอินเทอรเน็ตในประเทศไทย มีดังนี้ 1. บริษัท อินเทอรเน็ตประเทศไทย (www.inet.co.th) 2. บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเทอรเน็ต (www.ksc.net.th) 3. บริษัท ล็อกซเลย อินเฟอรเมชัน (www.loxinfo.co.th) 4. บริษัท เอ-เน็ต จํากัด (www.a – net.net.th) 5. บริษัท สามารถอินโฟเน็ต จํากัด (www.samart.co.th) 6. บริษัท อินโฟแอคเซส จํากัด (www.infonews.co.th) 7. บริษัท ไอเน็ต (ประเทศไทย) จํากัด (www.asiaaccess.net.th) 8. บริษัท ไอเดีย เน็ต (www.idn.co.th) 9. บริษัท ดาตาลายไทย (www.linethai.net.th) 10. บริษัท เอเซียอินโฟเน็ต (www.asianet.co.th) 11. บริษัท เวิลดเน็ต แอนด เซอรวส ิ เซส (www.wnet.th) 12. บริษัท ซี.เอส.คอมมิวนิเคชัน (www.cscoms.com) ถาเราตองการทราบลายละเอียดเพิ่มเติม หรือเปรียบเทียบขอมูลดานตางๆ เกี่ยวกับผูใหบริการ อินเทอรเน็ตแตละแหงสามารถไปดูขอมูลทีจ ่ ัดทําขึ้นโดยกลุมผูใชอินเทอรเน็ตไทย (Thai-land Internet User Group) ไดที่เว็บไซด http://www.thnic.net ซึ่งจะไดรับขอมูลมากขึ้นและเลือกผูใหบริการ อินเทอรเน็ตไดตามความเหมาะสมของแตละคน 23H

23H

234H

235H

236H

237H

238H

239H

240H

5. ระบบการตั้งชื่อประจําเครื่อง เนื่องจากการติดตอกับอินเทอรเน็ตนั้น ตองอาศัยเครื่องคอมพิวเตอรในการติดตอสื่อสาร ซึ่ง คอมพิวเตอรแตละเครื่องทีต ่ อเขากับอินเทอรเน็ตตองมีชื่อหรือรหัสประจําตัว เพื่อชวยใหคอมพิวเตอรรูจก ั กัน และทําการสื่อสารกันได ชื่อเครื่องคอมพิวเตอรในอินเทอรเน็ตแบงเปน 2 ลักษณะคือ

5.1 หมายเลขประจําเครื่อง (IP Address) หมายเลขประจําเครื่อง หรือที่อยู (Address) เปนรหัสประจําตัวของเครือ ่ งคอมพิวเตอรแตละ เครื่องที่เชื่อมตอเขากับอินเทอรเน็ต โดยมีลก ั ษณะเปนกลุมของตัวเลขจํานวน 4 กลุม ทีถ ่ ูกแบงหรือคั่น ดวยเครื่องหมายจุด สวนตัวเลขภายในแตละกลุมมีไดตั้งแต 0–255 เชน 202.44.202.22, 201.44.202.3 หรือ 203.146.7.200 เปนตน การติดตอเขาใชอินเทอรเน็ตโดยใช Modem ผูใชไมตองกําหนดคา IP Address เพราะเมื่อ ติดตอเขาสูอินเทอรเน็ต ระบบคอมพิวเตอรของ ISP จะตรวจสอบกับคอมพิวเตอรของผูใช แลวทําการ กําหนดคา IP Address ใหโดยอัตโนมัติ แตคอมพิวเตอรเครื่องอื่นๆ ที่เปนเว็บไซตตางๆ ที่ผใู ชจะติดตอ เขาไป จะตองมีหมายเลขประจําเครื่อง หมายเลขประจําเครื่อง หรือ IP Address เปนระบบที่จํายากและไมไดสื่อความหมายใหผูใชงาน ทั่วไป ทราบ เนื่องจากประกอบไปดวยกลุมตัวเลข เชน 202.12.97.2 เปนรหัสประจําเครื่องของ มหาวิทยาลัยขอนแกนดังนั้น จึงมีผค ู ิดระบบตั้งชื่อใหงายขึ้น เรียกวา ระบบชื่อของเครือ ่ ง (Domain Name System – DNS) หรือเรียกสั้นๆ วา Domain Name โดย DNS จะเปลี่ยนตัวเลข IP Address ใหเปนคําหรือตัวอักษรที่อานแลวเขาใจและงายแกการจดจํา เชน stou.ac.th มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช moc.go.th กระทรวงศึกษาธิการ microsoft.com ศูนยบริการของบริษัทไมโครซอฟต เปนตน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

253

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

การกําหนด DNS จะเรียงลําดับความสําคัญของชื่อจากขวาไปซาย โดยมีจุดคั่น เชน tu.ac.th

ยอมาจาก Thailand (ชื่อประเทศ) ยอมาจาก Academic (สถาบันการศึกษา) ยอมาจาก Thamasat University (ชื่อหนวยงานเจาของ) nectec.or.th ยอมาจาก Thailand (ชื่อประเทศ) ยอมาจาก Organization (หนวยงานที่ไมหวังผลกําไร) ชื่อหนวยงาน NECTEC เจาของหรือตนสังกัด

sony.com ยอมาจาก Commercial ใชในกลุมธุรกิจการคา ชื่อเจาของหนวยงาน คือบริษัทโซนี่

5.2 Domain Name System (DNS) เปนชื่อประจําเครื่องคอมพิวเตอรเพื่ออางถึงคอมพิวเตอรทต ี่ อ  เขากับอินเทอรเน็ต โดยใช ตัวอักษรแทนตัวเลข IP Address ชวยใหคนทั่วไปสามารถจดจําได ซึ่งจะงายกวาการจดจํา IP Address ที่เปนตัวเลข เชน

www.kku.ac.th แทนการจํา IP หมายเลข 202.12.97.2 www.chula.ac.th แทนการจํา IP หมายเลข 161.200.192.1 www.nectec.or.th แทนการจํา IP หมายเลข 202.44.204.33 สําหรับชื่อโดเมนนี้ เปนการแบงประเภทของอินเทอรเน็ต ตามขอมูลที่มีอยูภ  ายในเว็บไซต ซึ่ง โดเมนนี้เปนสวนหนึ่งที่อยูใ น URL (Uniform Resource Locator) ดวย และไดมีการจัดระบบเพื่อกําหนด ระดับชั้นความสําคัญ โดยแบงออกเปน 2-3 ระดับ แตละระดับเรียกวา Sub domain โดย Sub domain ที่ อยูขวาสุดเปนระดับชั้นทีส ่ ําคัญทีส ่ ุด หรือระดับบนสุด (Top level domain name) แลวจึงลดหลัน ่ ่ ความสําคัญไดระดับเขามาตามลําดับ คือ ประเทศ องคกร และหนวยงาน ดังตัวอยาง domain name ชือ hollywood.com

สวนที่ 2

สวนที่ 1

hollywood. ชื่อหนวยงาน

com ประเภทหนวยงาน

สวนที่ 1 เปน Sub Domain ทีห ่ มายถึง หนวยงานหรือองคกรตางๆ ที่จดทะเบียนในสหรัฐอเมริกา เชน .com หมายถึง องคกรทางการคา .org หมายถึงองคกรที่ไมแสวงหากําไร .mil หมายถึงองคกรหรือ หนวยงานทางการทหาร เปนตน สวนที่ 2 เปน Sub Domain ทีห ่ มายถึงชื่อขององคกรหนวยงานตางๆ ที่ตั้งขึน ้ อาจเหมือนหรือไม เหมือนกับชื่อหนวยงานก็เปนได

ตารางรหัสโดเมนระดับบนสุด ของหนวยงานที่จดทะเบียนในสหรัฐอเมริกา

รหัส โดเม น

ใชสําหรับ

com

กลุมธุรกิจการคา (Commercial organization)

ตัวอยา ง

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

sun.co m

254

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

edu

สถาบันการศึกษา (Educational institution)

ucla.e du

gov

หนวยงานของรัฐบาลที่ไมใชหนวยงานทางทหาร (Government agency)

nasa.g ov

mil

หนวยงานทางทหาร (Department of Defence and other Military sites)

army. mil

net

หนวยงานเกีย ่ วกับเครือขาย (networking resource)

isp.ne t

org

หนวยงานที่ไมหวังผลกําไร (private organization)

unesc o.org

นอกจากนี้ สําหรับประเทศทีน ่ อกเหนือจากสหรัฐอเมริกาจะมีชื่อโดเมนตอทาย เปนชื่อของแตละ ประเทศ ดังตัวอยาง domain name ชื่อ kku.ac.th

สวนที่ 3

สวนที่ 2

สวนที่ 1

kku. ชื่อหนวยงาน

ac. ประเภทหนวยงาน

th ประเทศ

สวนที่ 1 เปน Sub domain ที่หมายถึงชื่อประเทศ เชน th (ไทย), jp (ญี่ปุน), uk (สหราชอาณาจักร) เปนตน สวนที่ 2 เปน Sub domain ที่หมายถึงกลุม  องคกร หรือวิชาชีพ ที่นย ิ มใชในปจจุบัน เชน ac (สถาบันการศึกษา), go (องคกรของรัฐ), co (หนวยงานเอกชน) เปนตน สวนที่ 3 เปน Sub domain ที่หมายถึงชือ ่ ขององคกรหรือหนวยงาน ซึ่งชื่อนี้อาจจะเหมือน หรือไมเหมือนชื่อขององคกรก็ได ดังนั้น kku.ac.th จึงเปนชื่อประจําเครื่องคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัยขอนแกนซึง่ เปน สถาบันการศึกษาในประเทศไทย

ตารางรหัสโดเมนระดับบนสุด ของหนวยงานที่ไมไดจดทะเบียนในสหรัฐอเมริกา

รหัส โดเมน au

ประเทศ ออสเตรเลีย

รหัส โดเมน

ประเทศ

ie

ไอรแลนด

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

255

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

at

ออสเตรีย

jp

ญี่ปุน

ca

แคนาดา

th

ไทย

dk

เดนมารค

uk

อังกฤษ

ตารางรหัสโดเมนยอย ในประเทศไทย

รหัส โดเมน

ใชสําหรับ ตัวอยาง

or

กลุมธุรกิจการคา

nectec.o r.th

ac

สถาบันการศึกษา

chula.ac. th

go

หนวยงานของรัฐบาล (ที่ไมใชหนวยงานทางทหาร)

mua.go.t h

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

256

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

ตอนที่ 2 เวิลดไวดเว็บ (World Wide Web, WWW) จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหนักศึกษามีความสามารถดังตอไปนี้ 1. บอกความหมายและลักษณะของเวิลดไวดเว็บได 2. บอกลักษณะของเว็บบราเซอรได 3. สามารถคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ตได 4. ใชเทคนิคตางๆ ในการใชงานอินเทอรเน็ตกับเว็บเบราเซอรได

1. ความหมาย และลักษณะของเวิลดไวดเว็บ เวิลดไวดเว็บ (World Wide Web หรือ WWW) หมายถึง การสื่อสารขอมูลบนเครือขาย อินเทอรเน็ต โดยขอความทีแ ่ สดงผล สามารถจัดทําเปนระบบขอความหลายมิตห ิ รือไฮเพอรเท็กซ (hypertext system) ที่ใชเปนจุดเชื่อมโยงหลายมิติ (hyperlink) เพื่อเชื่อมโยงไปยังแสดงเอกสารอีก ฉบับหนึ่ง ที่อาจอยูคนเว็บไซตกันได เครื่องคอมพิวเตอรที่ใหบริการขอมูลเวิลดไวดเว็บ จะเรียกวา โฮสต (Host) หรือ เว็บเซิรฟ  เวอร (Web Server) การเรียกชื่อเว็บเซิรฟเวอร ใหใชคํานําหนาวา www แลวตอดวย DNS เชน www.seed.com และ www.inet.co.th เปนตน ลักษณะของเวิลดไวดเว็บ จะนําเสนอขอมูลในลักษณะหนากระดาษอิเล็กทรอนิกสที่เรียกวา เว็บเพจ (Web Page) เปรียบเสมือนหนาหนังสือ หรือหนานิตยสาร ซึ่งสามารถบรรจุขอความ รูปภาพ และเสียงไวไดดวย สวนหนาแรกของเว็บเพจเราเรียกวา โฮมเพจ (Home Page) เมื่อเราเอาเว็บเพจหลายๆ เว็บเพจมารวมไวในแหลงเดียวกัน เราเรียกวา เว็บไซด (Web Site) เว็บไซตจะถูกเก็บไวในเว็บเซิรฟเวอรดังที่กลาวมาแลว เมื่อเราตองการคนหาขอมูลจากเว็บไซตใดๆ เราก็ ตองใชโปรแกรมเว็บเบราเซอร (Web browser) ติดตอไปยังเว็บไซต ซึ่งโดยปกติจะเปดอิสระใหทุกคน เขาไปคนขอมูลได ขอเพียงแตใหผใู ชทราบที่อยูของเว็บไซตนั้นๆ ที่อยูนี้เรียกเปนภาษาอินเทอรเน็ตวา ยูอารแอล (URL : Uniform Resource Locator) แตละเว็บไซตจะมีชื่อของยูอารแอลไมซา้ํ กัน สวนประกอบของยูอารแอลจะเขียนดังตัวอยางนี้ http://www.microsoft.com DNS หรือ URL ของบริษัทไมโครซอฟท ยอมาจาก HyperText Transfer Protocol เปนการติดตอกับโฮสตดวยโปรโตคอล HTTP

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

257

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

โฮมเพจของบริษัทไมโครซอฟท (www.microsoft.com) โฮมเพจของแตละเว็บไซต จะมีทั้งขอความและรูปภาพ ซึ่งตกแตงไวอยางสวยงาม บางขอความ จะมีการเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจหนาอื่น ที่มเี นื้อหาเกี่ยวของหรือเปนรายละเอียดเพิ่มเติม ขอความที่ เชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่น เปนคําที่ขด ี เสนใตไว และเมื่อนําเมาสไปชีท ้ ี่คาํ ดังกลาว เมาสกลายเปนรูปภาพ มือ ซึ่งเมื่อคลิก ก็จะเปนการเปดเว็บเพจหนาใหมที่ไดเชื่อมโยงไว วิธีการดังกลาวนี้ เรียกวา ลิงก (Link)

เว็บเพจ Office

2. การเชื่อมตอเขาสูระบบอินเทอรเน็ตเวิลดไวดเว็บ การเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรที่บานที่ใชระบบปฏิบัติการ WindowsXP เขากับอินเตอรเน็ต มีวิธี ที่จะตองปฏิบต ั ิ ดังนี้

2.1 สรางการเชื่อมตอ คลิกที่ปม ุ Start > Setting > Control Panel ดับเบิลคลิกที่ไอคอน Network Connections คลิกทีห ่ ัวขอ Create New Connection

จะปรากฏหนาตาง New Connection Wizard ขั้นตอนแรก คือ Welcome to the New Connection Wizard ใหคลิกทีป ่ ุม Next

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

258

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

ขั้นตอน Network Connection Type ใหคลิกเลือกหัวขอ Connect to the Internet แลว คลิกปุม Next.

ขั้นตอน Getting Ready คลิกเลือกหัวขอ Select Setup my Internet connection manually แลวคลิกปุม Next

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

259

ขั้นตอน Internet Connection คลิกเลือกหัวขอ Connect using a dial-up modem แลว คลิกปุม Next

ขั้นตอน ConnectionName ใหพิมพชื่อของ ISP จะติดตอเขาไปใชบริการ แลวคลิกปุม Next

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

260

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

ขั้นตอน Phone Number to Dial ใหพิมพหมายเลขโทรศัพทของ ISP แลวคลิกปุม Next

ขั้นตอน Internet Account Information พิมพชื่อผูใช ทีช ่ อง User name, พิมพรหัสผานที่ ชอง Password และพิมพรหัสผานซ้ําอีกครัง้ เพื่อยืนยันทีช ่ อ  ง Confirm password แลว คลิกปุม Next

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

261

ขั้นตอน Completing the New Connection Wizard จะปรากฏรายละเอียดตางๆ ที่ได ดําเนินการผานมา และขั้นตอนนี้ สามารถจะกําหนดไดวา จะใหมีไอคอน Shortcut ปรากฏ ที่เดสทอปของจอภาพหรือไม เมื่อจบขั้นตอนนี้ใหคลิกปุม Next

2.2การหมุนหมายเลขโทรศัพท คลิกที่ปม ุ Start > Setting > Connection แลวคลิกที่ไอคอนที่เปนชื่อของ ISP ที่ไดสราง ไว ตรวจสอบชื่อผูใ ช และรหัสผาน แลวคลิกปุม Dial เพื่อติดตอไปยัง ISP ที่ใหบริการเชื่อมตอ อินเทอรเน็ต

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

262

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

3.2 ในขณะที่เชื่อมตออินเทอรเน็ต เมื่อโมเด็มสามารถติดตอกับ

ISP

และเชือ ่ มตอกับอินเทอรเน็ตไดสําเร็จ

จะปรากฏไอคอนรูป

จอคอมพิวเตอรซอนกัน 2 เครื่อง ที่แถบงาน (Taskbar) ดานขวา เพื่อแสดงสภาวะการ เชื่อมตอ ถาดับเบิลคลิกที่ไอคอนดังกลาว จะปรากฏหนาตางแสดงสถานภาพของการติดตออินเทอรเน็ต โดยจะบอกรายละเอียดของสถานภาพการติดตอ (Status) ระยะเวลาที่ตด ิ ตอ (Duration) ความเร็วใน การเชื่อมตอ (Speed) และจํานวนของขอมูลที่รับสง (Send/Received)

3. การใชโปรแกรมเว็บเบราเซอร (Web Browser) เพื่อเปดขอมูล เวิลดไวดเว็บ หลังจากเครื่องคอมพิวเตอรไดทําการติดตอกับอินเทอรเน็ตเรียบรอยแลว ก็จะสามารถติดตอไป ยังเว็บไซตที่เปนแหลงขอมูลเวิลดไวดเว็บนั้น โปรแกรมทีใ่ ชตด ิ ตอคือ โปรแกรมเว็บเบราเซอร (Web Browser) โปรแกรมเว็บบราเซอรยอดนิยมในปจจุบันคือ เน็ตสเคป คอมมิวนิเคเตอร (Netscape Communicator) สมัยกอนเรียกวา เน็ตสเคปเนวิกเตอร (Netscape Navigator) ของบริษัทเน็ตสเคป คอมมิวนิเคชั่น และอีกโปรแกรมหนึ่งคือ อินเทอรเน็ตเอ็กซพลอเรอร (Internet Explorer) ของบริษัท ไมโครซอฟต ในที่นี้จะแนะนําการใชโปรแกรมอินเทอรเน็ตเอ็กซพลอเรอร ซึ่งมักจะติดตั้งอยูใ น คอมพิวเตอรทก ุ เครื่องอยูแลว

3.1 รูจักกับ Microsoft Internet Explorer โปรแกรม Microsoft Internet Explorer หรือเรียกกันทั่วไปวาไออี (IE) คือโปรแกรมเว็บเบราว เชอร (Web Browser) ซึ่งใชในการแสดงขอมูลของเว็บเพจ (Web Page) ตางๆ บนเครือขาย อินเตอรเน็ต โดยเว็บเบราวเชอรจะทําการติดตอกับเว็บไซต (Web Site) หรือเครื่องคอมพิวเตอรทใี่ ชเก็บ ขอมูลเว็บเพจตางๆ เพื่อทําการโอนยายขอมูลมาแสดงบนเครือ ่ งคอมพิวเตอรของผูใชงาน โปรแกรม Microsoft Internet Explorer เปนโปรแกรมทีน ่ ิยมใชกันอยางแพรหลาย เนือ ่ งจาก โปรแกรม Microsoft Windows ไดจากการติดตั้ง Internet Explorer มาใหเรียบรอยแลว โดยใน Windows XP ไดพัฒนามาเปนเวอรชัน 6 หรือมักเรียกยอๆ วา IE6 มีคุณสมบัตใิ หมหลายประการ เชน เพิ่มประสิทธิภาพและระบบรักษาความปลอดภัยที่ดีมากยิ่งขึน ้

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

263

3.2 การเรียกใชโปรแกรมอินเทอรเน็ตเอ็กซพลอเรอร การเรียกใชโปรแกรมอินเทอรเน็ตเอ็กซพลอเรอร สามารถทําได 3 วิธี ดังนี้ วิธีที่1 1. คลิกปุม Start 2. คลิกเลือก Internet ซึ่งอยูบริเวณไอคอนของโปรแกรมที่ใชงานบอย 3. เขาสูหนาจอโปรแกรมอินเทอรเน็ตเอ็กซพลอเรอร วิธีที่ 2 1. คลิกเลือก Start 2. คลิกเลือก All Programs 3. คลิกเลือก Internet Explorer 4. เขาสูหนาจอโปรแกรมอินเทอรเน็ตเอ็กซพลอเรอร

วิธีที่ 3 1. คลิกปุม Launch Internet Explorer Browser บนแถบงาน )Taskbar) 2. เขาสูหนาจอโปรแกรมอินเทอรเน็ตเอ็กซพลอเรอร

NOTE: หากไมมีปุม Launch Internet Explorer Browser ใหทําการเรียกแถวคําสัง่ Quick Launch ขึ้นมา โดยมี วิธีดังนี้ 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณที่วางบนแถบงาน )Taskbar) 2. คลิกเลือกเมนู Toolbars จะปรากฏเมนูยอย 3. คลิกเลือกเมนู Quick Launch ใหปรากฏเครื่องหมายดานหนา

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

264

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

3.3 สวนประกอบตางๆ ของหนาตางโปรแกรม

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) ทําหนาที่บอกชื่อโปรแกรมและชือ ่ ของเว็บเพจที่แสดงผลอยูขนาดนั้น แถบเมนูคําสั่ง ( Menu Bar) ทําหนาที่แสดงเมนูคําสั่งตางๆ แถบเครื่องมือ (Toolbars) ทําหนาทีแ ่ สดงปุมคําสั่งตางๆ ทีใ่ ชงานบอย เชน ปุมถอยหลัง เปนตน แถบแอดเดรส (Address Bar) สําหรับใสที่อยูข  องเว็บไซต เพื่อทองไปยังเว็บเพจตางๆ พื้นที่แสดงเว็บเพจ แถบแสดงสถานะ (Status Bar) ทําหนาที่แสดงสถานะในการทํางาน แถบเลื่อน (Scrollbar) ทําหนาที่เลื่อนมุมมองของจอภาพในแนวตั้งหรือแนวนอน เมื่อจอภาพไม แสดงขอมูลได 8. สัญลักษณของ Windows ถาเคลื่อนไหวแสดงวา ขณะนั้นโปรแกรมกําลังทํางานอยู 9. ปุมควบคุมหนาตางโปรแกรม (Control Buttons) ประกอบดวยปุมตางๆ โดยจะมี 4 สถานะ คือ ปุมยอหนาตาง (Minimize) ทําหนาทีย ่ อหนาตางของโปรแกรมที่เปดใชงานอยูมาเก็บที่แถบงาน )Taskbar) ปุมขยายหนาตาง (Maximize) ทําหนาที่ขยายหนาตางของโปรแกรมใหเต็มพื้นทีท ่ ั้งหมด ปุมกลับสูส  ภาพเดิม (Restore Down) ทําหนาที่ขยายหนาตางกลับไปมีขนาดที่กอนขยาย หนาตางโปรแกรมใหเต็มหนาจอ ปุมปดหนาตาง (Close) ทําหนาที่ออกจากโปรแกรม Microsoft Internet Explorer

3.4 การเปดหนาเว็บเพจ การไปยังเว็บเพจตางๆ บนอินเตอรเน็ต ผูใชตองระบุตําแหนงของเว็บเพจ โดยตําแหนงที่อยูของ เว็บเพจนี้จะอยูใ นรูปแบบมาตรฐานหรือเรียกวา URL (Uniform Resource Locator) เชน http://www.msn.com และ http://www.hotmail.com ลงไปในแถบแอดเดรส (Address Bar) ดังตอไปนี้ 1. พิมพ URL ลงไปในแถบแอดเดรส 2. คลิกปุม GO หรือกดแปน 3. จะปรากฏหนาเว็บเพจของ URL ที่กําหนด

3.5 ไฮเปอรลงิ ก (Hyperlink) การไปยังหนาเว็บเพจตางๆ บนอินเตอรเน็ต นอกจากการพิมพ URL ลงไปในแถบแอดเดรสแลว จุดเดนที่สาํ คัญอีกอยางหนึ่งบนเว็บเพจคือ คุณสมบัติของไฮเปอรลิงก (Hyperlink) ซึ่งเปนการเชื่อมโยง เอกสารเว็บเพจไปยังหนาอื่นๆ ไดอยางรวดเร็ว เพียงแคนําเมาสไปวางบนขอความที่มักจะขีดเสนใต เมาส จะเปลี่ยนรูปมือชี้ จากนั้นใหคลิกเมาส ก็จะสามารถไปยังหนาเว็บเพจที่มีการเชื่อมโยงไดทน ั ที

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

265

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

1. เมื่อตัวชี้เมาสอยูบนขอความ หรือรูปภาพที่เปนลิงก เมาสจะเปลี่ยนจาก จากนั้นใหคลิกเมาส 2. จะปรากฏหนาเว็บเพจที่มีการเชื่อมโยง

เปน

คลิกที่ “ขอมูลยารักษาโรค” จะปรากฏหนาเว็บเพจรายละเอียดตอไป

3.6 การยอนกลับไปดูหนาเว็บเพจ เมื่อผูใชเปดหนาตางโปรแกรม Microsoft Internet Explorer และไปยังหนาเว็บเพจตางๆ หลายๆหนา โปรแกรมจะทําการเก็บตําแหนงตางๆ ของหนาเว็บเพจที่ผใู ชเปดในหนาตางเอาไว หาก หรือ ตองการยอนกลับไปดูหนาเดิมที่เคยเปดไปแลว ก็สามารถโดยการคลิกที่ปุมยอนกลับ Back บนแถบเครื่องมือ (Toolbar) เพื่อเปนการถอยหลังยอนกลับไปหนาเว็บเพจที่ตองการ และเมื่อทํา การถอยหลังแลวก็สามารถจะเดินหนาโดยคลิกที่ปุมไปขางหนา

หรือ Forward

3.7 การแกไขปญหาในการโหลดเว็บเพจ ในการเปดเว็บเพจ หรือเรียกวาการโหลดขอมูลนั้น อาจเกิดปญหาตางๆ เชน ใชเวลาในการ โหลดนานเกินไป โดยไมมีการเคลื่อนไหวใดๆ ใหผูใชคลิกปุม  Stop เพื่อหยุดการโหลดขอมูล ในบางครั้งหนาเว็บเพจที่เปดมานั้นอาจไมสมบูรณ ขอมูลหรือภาพขาดหายไป หรือขอมูลมีการ เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ เชนเว็บเพจของหนังสือพิมพทจ ี่ ะมีการเปลี่ยนขาวทุกๆ วัน ถาเปดเว็บเพจขึ้นมา แลวปรากฏวาเปนขาวเกา ถาตองการดูขาวลาสุด ก็คลิกทีใ่ ชปุม Refresh เพจนั้นอีกครั้ง

เพื่อทําการโหลดหนาเว็บ

3.8 การบันทึกรูปภาพ รูปภาพสวยงามจํานวนมากที่พบในขณะทองอินเตอรเน็ต สามารถเก็บบันทึกไวในเครื่อง คอมพิวเตอร เพื่อนําไปใชประโยชนในภายหลังได โดยมีวธ ิ ีทําดังนี้ 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณรูปภาพทีต ่ องการบันทึก 2. จะปรากฏเมนูลด ั มีตัวเลือกดังนี้ • Save Picture As/… เปนการบันทึกรูปภาพมาไวในเครื่อง • E-mail Picture… เปนการสงภาพทางอีเมล • Print Picture... เปนการสั่งพิมพรูปแบบออกมาทางเครื่องพิมพ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

266

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต



Go to My Picture เปนการเปดโฟลเดอร My Picture เพื่อดูการวาดภาพทีต ่ องการ บันทึกมีในเครือ ่ งมือหรือไม • Set as Background เปนการกําหนดรูปภาพนั้นเปนพื้นหลังเดสกทอป กรณีใหเลือก Save Picture As เปนการกําหนดรูปภาพนั้นเปนพื้นหลังเดสกทอป 3. จะปรากฏหนาตาง Save Picture ใหเลือกตําแหนงทีต ่ องการบันทึกรูปภาพ ในชอง Save in 4. ตั้งชื่อไฟลในชอง File name 5. คลิกปุม Save

3.9 การปรับเว็บเพจใหแสดงผลภาษาไทย บางครั้งเว็บเพจที่มต ี ัวอักษรเปนภาษาไทย อาจพบกับปญหาตัวหนังสือทีไ ่ มสามารถอานได ผูใช สามารถแกปญหาไดดังกลาว ตอไปนี้ 1. คลิกเลือกเมนู View > Encoding 2. เลือก (Windows) 3. หนาเว็บเพจจะแสดงผลเปนภาษาไทย

3.10 การบันทึกเว็บเพจไวใน Favorites ถาพบเว็บเพจที่ชื่นชอบในขณะทองอินเตอรเน็ต หรือตองการกลับมาดูเว็บเพจที่ชื่นชอบซ้ําอีก ครั้ง ผูสามารถเก็บชื่อที่มีอยูเหลานั้นไวใน Favorites เพื่อใหสะดวกในการกลับมายังเว็บเพจได โดยไม ตองจดจํา URL มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนู Favorites > Add to Favorites 2. จะปรากฏหนาตาง Add Favorites ใหตั้งชื่อเว็บเพจ 3. คลิกปุม Create in เพื่อเลือกโฟลเดอรทต ี่ องการเก็บชื่อที่อยู ่ ยก 4. จะปรากฏชื่อโฟลเดอร โดยปกติจะเก็บที่โฟลเดอร หากตองการสรางโฟลเดอรยอยทีแ หมวดหมูเว็บเพจ ใหคลิกปุม New Folder... เพื่อสรางโฟลเดอร 5. จะปรากฏหนาตาง New Folder ใหพิมพชอ ื่ โฟลเดอร 6. คลิกปุม OK 7. เลือกโฟลเดอรที่ตองการเก็บเว็บเพจ 8. คลิกปุม OK

3.11 การเปดเว็บเพจที่เก็บใน Favorites ที่อยูของเว็บเพจที่เก็บไวใน Favorites นั้น สามารถเรียกใชไดดังนี้ 1. เลือกเมนู Favorites 2. เลือกโฟลเดอรที่เก็บชื่อที่อยู หรือชื่อที่อยูท  ี่ตอ  งการ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

267

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

ตอนที่ 3 การคนหาขอมูลดวย Search Engine จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหนักศึกษามีความสามารถดังตอไปนี้ 1. คนหาขอมูลในเวิลดไวดเว็บดวย Search Engine ได 2. คนหาขอมูลประเภทตางๆ ได

1. การคนหาขอมูลดวยเว็บไซตบริการคนหาขอมูล เวิลดไวดเว็บ (World Wide Wed) เปนแหลงขอมูลขนาดใหญที่ขาวสาร ความรู จํานวนมหาศาล ในการคนหาและมีอัตราการเติบโตอยางรวดเร็ว ปจจุบันเว็บเพจมากกวาพันลานหนา จึงกลาวไดวา เวิลดไวดเว็บเปรียบเสมือนคลังขอมูลขนาดใหญ ผูใชสามารถคนหาขอมูลทีต ่ องการจากทั่วโลกได เพียง เชื่อมตอกับอินเตอรเน็ตเทานั้นเมื่อมีจํานวนเว็บไซตเพิ่มมากขึ้น จึงมีผูบริการเว็บไซตในการคนหาขอมูลที่ เรียกวา Search

รวดเร็ว

Engine ชวยผูใชสามารถหาขอมูลที่ตองการไดอยางสะดวก

ปจจุบันมีเว็บไซตที่บริการคนหาขอมูลเกิดขึน ้ มากมาย เชน google.co.th, MSN.com ที่ใหกรอก ขอมูลหรือคําทีต ่ องการคนหา นอกจากนี้ยังมีบางเว็บไซตใหบริการแบงหมวดหมูเว็บไซต (Directory) ตางๆ ใหผใู ชคนหาเว็บไซตโดยการคลิกเลือกหมวดหมูท  ี่ตองการเทานัน ้ yahoo.com, altavista, sanook.com เปนตน

1.1 วิธีการคนหาขอมูลดวยเว็บไซตบริการคนขอมูล การคนหาขอมูลจากเว็บไซตตา งๆ มีวิธีการคลายคลึงกันทุกๆ เว็บไซต เพียงแตหนาจอมีการ ติดตอกับผูใชแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับการออกแบบของผูใหบริการเว็บไซตแตละราย ผูใ ชสามารถนําไป ประยุกตใชได ตอไปนี้เปนอยางการคนหาขอมูลแบบพิมพคําสั่งทีต ่ องการคนหาขอมูลดวยเว็บไซต google.co.th, และการคนหาขอมูลดวยการเลือกหมวดหมูดว ยเว็บไซต sanook.com

คนหาขอมูลดวยเว็บไซต www.google.co.th

คนหาขอมูลดวยเว็บไซต www.sanook.com

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

268

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

ตัวอยางการคนหาขอมูลจากเว็บไซต google.co.th 1. พิมพชื่อ ของเว็บไซตที่ใหบริการคนหาขอมูลในแถบแอดเดรส ตัวอยางนีใ้ หพิมพ www.google.co.th 2. คลิกปุม GO หรือกดแปน 3. จะปรากฏเว็บไซต ใหพม ิ พคําที่ตองการคนหาลงไป เชน อาหารไทย 4. คลิกเลือกประเภทการคนหา • เว็บทั่วโลก • เฉพาะหนาของประเทศไทย 5. คลิกปุม คนหาโดย Google 6. จะปรากฏหนาเว็บเพจ แสดงผลลัพธการคนหา ี่ องการดูขอมูล 7. คลิกเพื่อเชื่อมโยงไปยังเว็บไซตทต 8. ปรากฏหนาเว็บที่เชื่อมโยง พิมพ www.google.co.th

กดปุม Go หรือกดแปน

ตัวอยางการคนหาขอมูลจากเว็บไซต google.co.th

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

269

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

ตัวอยางการคนหาขอมูลจากเว็บไซต sanook.com 1. พิมพชื่อ URLของเว็บไซตที่ใหบริการคนหาขอมูลในแถบแอดเดรส ตัวอยางนี้ใหพิมพ www.sanook.com 2. คลิกปุม GO หรือกดแปน 3. จะปรากฏเว็บไซต ใหคลิกเลือกหมวดหมูทต ี่ อ  งการคนหา เชน แหลงทองเที่ยวจังหวัดตางๆ 4. จะปรากฏรายชือ ่ เว็บไซตในหมวดหมูท  ี่เลือก ใหคลิกเพื่อเชื่อมโยงไปยังเว็บไซตทต ี่ องการดู ขอมูล 5. ปรากฏหนาเว็บที่เชื่อมโยง

จากขั้นตอนที่ 3คลิกเลือกหมวดหมูท  ี่ตองการคนหาแลวจะแสดงรายชื่อเว็บไซตในหมวดหมูที่เลือก

ตัวอยางการคนหาขอมูลจากเว็บไซต sanook.com

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

270

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

ตัวอยางการคนหารูปภาพจากเว็บไซต google.co.th 1. พิมพชื่อ URL ของเว็บไซตที่ใหบริการคนหาขอมูลในแถบแอดเดรส ตัวอยางนี้ใหพิมพ www.google.co.th 2. คลิกปุม GO หรือกดแปน 3. จะปรากฏเว็บไซต ใหคลิกแท็บ รูปภาพ 4. พิมพชื่อรูปภาพที่ตองการคนหาลงไป เชน computer 5. คลิกปุม คนหาโดย Google 6. จะปรากฏหนาเว็บเพจ แสดงผลลัพธการคนหา 7. ผูใชสามารถคลิกที่รูปภาพเพื่อเชื่อมโยงไปยังแหลงขอมูลของรูปภาพนั้นได 8. จะปรากฏหนาเว็บเพจ แสดงแหลงขอมูลของภาพ

เมื่อคลิกที่ปุม คนหาโดย Google แลวจะปรากฏหนาเว็บเพจ แสดงผลลัพธการคนหา

ตัวอยางการคนหารูปภาพจากเว็บไซต google.co.th

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

271

หลังจากไดผลลัพธการคนหารูปภาพทีผ ่ ูใชตอ  งการแลว ผูใชสามารถจะนํารูปภาพเหลานัน ้ ไปใชประโยชน ได แตภาพที่ไดนั้นอาจไดรับการคุมครองลิขสิทธ ผูใชตองระวังเรื่องการนําไปใชดวย ตัวอยางการคัดลอกรูปภาพไปใชในโปรแกรมอื่นๆ เชน ในโปรแกรม Microsoft Word มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกปุมขวาของเมาสบริเวณรูปภาพทีต ่ องการคัดลอก และเลือกคําสั่ง Copy 2. เปดโปรแกรม Microsoft Word 3. คลิกเลือกคําสัง่ Edit » Paste หรือคลิกปุม Paste บนแถบเครื่องมือมาตรฐาน 4. รูปภาพจะถูกนําไปวางบนหนาจอเอกสารของโปรแกรม Microsoft Word

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

272

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

ตอนที่ 4 การสมัครและการใชอีเมล จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหนักศึกษามีความสามารถดังตอไปนี้ 1. มีความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอีเมล 2. สามารถรับ–สงอีเมลได 3. สามารถสงไฟลขอมูลไปกับอีเมลได

1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอีเมล (E-mail) บริการอินเทอรเน็ตประเภทหนึง่ ที่เปนที่นย ิ มของผูคนตั้งแตอน ิ เทอรเน็ตในยุคแรกจนถึงปจจุบัน ใหสามารถติดตอสื่อสารขอมูลกันไดอยางรวดเร็วคือ บริการอีเมล หรือไปรษณียอิเล็กทรอนิกส

1.1 ความหมาย อีเมล (E-mail) เปนคําเรียกที่เปนทีร่ ูจักกันโดยทั่วไป มาจากคําเต็มวา Electronic Mail ใน ภาษาไทย มีคาํ เรียกวา จดหมายอิเล็กทรอนิกส แตพจนานุกรมศัพทคอมพิวเตอร ฉบับราชบัณฑิตสถาน กําหนดใหใชคาํ วา ไปรษณียอเิ ล็กทรอนิกส อีเมล คือ วิธีการติดตอสื่อสารดวยตัวหนังสือแบบใหม แทนจดหมายบนกระดาษ แตใชวิธีการ จากเครื่องคอมพิวเตอรหนึ่งไปยังผูร ับอีกเครื่องหนึ่ง ใน สงขอความในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส เครือขายอินเทอรเน็ต

1.2 จุดเดนของอีเมล จุดเดนที่ทาํ ใหอีเมลไดรับความนิยมอยางแพรหลาย เมื่อเปรียบเทียบกับการสงจดหมายดวย กระดาษหรือไปรษณียธรรมดาๆ แลว การสงอีเมลดูเหมือนจะยุงยากและมีวิธีการใชสลับซับซอนกวา แต หากไดรับการชีแ ้ นะ และทําทดลองสงอีเมลแลว จะพบวาอีเมลไมไดยุงยากแตประการใด โดยเฉพาะใน ่ ําคัญ ปจจุบัน โปรแกรมที่ใชรับสงอีเมลไดรับการพัฒนาใหใชงานไดอยางสะดวก ไมซับซอน และทีส อีเมลมีจุดเดนกวาไปรษณียธรรมดาหลายประการคือ 1. ความรวดเร็ว อีเมลเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งไดรวดเร็วมาก เชน เราสามารถสง อีเมลจากประเทศไทยไปยังผูร ับที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ภายใน 1-5 นาทีเทานั้น ถาสงไปรษณียด  วน EMS อยางเร็วที่สด ุ ตองใชเวลา 2-3 วัน ซึ่งเปรียบเทียบกันไมไดกับความเร็วของอีเมล ุ ของอีเมลเพราะการดําเนินธุรกิจ การติดตอคาขาย ความเร็วเปนขอไดเปรียบที่สําคัญที่สด จําเปนตองใชความรวดเร็วจึงจะประสบความสําเร็จ สวนการติดตอกับบุคคลทั่วๆ ไป ก็จําเปนตองใช ความรวดเร็วเชนกัน ดังนั้นอีเมลจึงเปนนวัตกรรมใหมในการสื่อสาร 2. ความประหยัด คาใชจา ยในการสงอีเมลถือวาต่ํามาก เมื่อเปรียบเทียบกับจดหมายธรรมดา ้ กระดาษ ซือ ้ แสตมปโดยมีมูลคาตามระยะทางที่สง หาก ปกติถาเราสงจดหมายธรรมดาตองซื้อซอง ซือ ตองการประกันความผิดพลาดก็ตองมีคาลงทะเบียน หรือหากตองการความรวดเร็วก็จะตองสงแบบ จดหมายดวน หรือ EMS ยิ่งถาสงไปตางประเทศก็ตองเสียคาใชจายมากขึน ้ อีก และถาสงวันละนับสิบ นับรอยฉบับแลว คาใชจายก็จะเพิ่มขึ้นเทากับจํานวนฉบับทีส ่ ง แตอีเมลนั้นคาใชจายในสวนของอีเมลไมมี ่ องเสียไปกับการคาโทรศัพท และคาบริการอินเทอรเน็ต ที่ใชอยูเทานัน ้ มีเพียงคาใชจายทีต อีเมลทําใหเราไมตองใชกระดาษ ประหยัดกระดาษไดมาก เชน ถาวันหนึ่ง ๆ มีคนสงอีเมลถึง กัน 1 ลานฉบับ ถาเขียนจดหมายธรรมดาตองใชซอง กระดาษ แสตมป เปนลานๆ ชิ้น รวมทั้งตองมีการ ขนสง ตองมีการใชพลังงานน้าํ มัน ดังนั้นการใชอีเมลจึงชวยใหประหยัดคาใชจา ยไดมาก 3. ไมจํากัดระยะทาง ระยะทางเปนขอกําหนดปกติของการสงขอความเพื่อสื่อสารกัน หาก ติดตอกับคนในประเทศเดียวกัน ระยะเวลาทีใ่ ชอยางเร็วทีส ่ ด ุ ก็คือ 1 วัน แตถาตองการติดตอกับคนใน ประเทศอื่นๆ ระยะเวลาก็ตองใชมากขึ้นเปนธรรมดา นอกจากนั้น ยังตองเดินทางไปที่ทาํ การไปรษณีย หรือตูไปรษณียเ พื่อสงจดหมาย  ี่บาน หรือที่ทํางาน การสงอีเมลไปยังคนอื่นๆ ในขณะที่การสงอีเมล สามารถทําไดในขณะที่อยูท ที่อยูในประเทศหรือตางประเทศพรอมๆ กัน ไมวาจะมีระยะทางไกลเพียงใด ขามประเทศหรือขามทวีป ทุกคนจะไดรับอีเมลในเวลาไลเลี่ยกัน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

273

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

นอกจากนั้น การฝากสงอีเมล ผูสงสามารถจะติดตอขอใชบริการไดจากสถานีบริการแหงใดก็ได ที่อยูในอินเทอรเน็ต ในขณะเดียวกัน เมื่อเวลารับอีเมล ไมวาจะอยูใ นสถานที่ใด ก็สามารถจะติดตอไปยัง สถานีบริการในอินเทอรเน็ต เพื่อรับอีเมลไดโดยไมมีขอจํากัดเรื่องระยะทาง คามรวดเร็ว ประหยัด และทรงประสิทธิภาพของอีเมล ทําใหคนนับลานๆ คนทั่วโลกนิยมใช ิ ประจําวัน อีเมลในการติดตอกับเพื่อน ครอบครัว และการคาขาย ซึ่งนับวันอีเมลจะยิ่งมีบทบาทในชีวต ของผูใชอินเทอรเน็ตมากขึ้น และบริการแรก ๆ ที่ผูเริ่มใชอินเทอรเน็ตควรจะทําคือ การขอรับบริการ อีเมล

1.3 ระบบการทํางานของอีเมล ระบบการทํางานของอีเมลเปนการสงขอความ (Message) อิเล็กทรอนิกสจากเครื่องคอมพิวเตอร หนึ่งไปยังคอมพิวเตอรอีกเครือ ่ งหนึ่ง ขอมูลทีส ่ งไปมีทั้งตัวหนังสือ รูปภาพ เสียง และภาพวิดีโอ โดย โปรแกรมคอมพิวเตอรจะสงอีเมล ผานชองทางอินเทอรเน็ต ไปยังเมลเซิรฟเวอร (Mail Server) เมือ ่ ขอมูลไปถึงเมลเซิรฟ  เวอรปลายทางจะถูกเก็บไวในเมลบ็อกซ (Mail Box) รอใหผูรับมารับไป การเดินทาง เชนนี้ทําใหอีเมลเดินทางรอบโลกไดอยางรวดเร็ว

ระบบการทํางานของอีเมล จากภาพเราจะพบกระบวนการทํางานของอีเมล แบงเปน 3 ขั้นตอน คือ 1. ติดตอเขาอินเทอรเน็ต การสงอีเมลนั้น เราจะตองเชื่อมตอเขากับอินเทอรเน็ตเพื่อเขาไปใช บริการเมลเซิรฟ  เวอร ทีท ่ ําหนาที่เปนสถานีไปรษณียท  ี่สามารถใหบริการสงอีเมลได 2. นําอีเมลไปยังเซิรฟ  เวอร เมื่อเขียนหรือพิมพอีเมลเสร็จแลว คอมพิวเตอรที่เราใชงานจะสง อีเมลไปให SMTP เซิรฟเวอร เซิรฟเวอรก็จะตรวจสอบชื่อ–ที่อยูของผูร ับ แลวจัดสงอีเมลไปยังเมล เซิรฟเวอรของผูรับ อีเมลจะรออยูที่เมลเซิรฟ  เวอรปลายทาง 3. สงไปยังผูร  ับปลายทาง เมื่อผูรับปลายทางติดตอเขาใชบริการเมลเซิรฟ  เวอรของตนเอง ก็ จะเปดอานอีเมลที่อยูใ นเมลบอ ็ กซ โดยผูร ับสามารถเลือกทีจ ่ ะ ลบอีเมลทงิ้ ตอบกลับ พิมพบนกระดาษ ทางเครื่องพิมพ หรือเก็บอีเมลไวบนฮารดดิสกไวอานทีหลังได

1.4 อีเมลแอดเดรส (E-mail Address) อีเมลแอดเดรส (E–mail Address) คือ ระบบชื่อและที่อยูใ นอินเทอรเน็ต อีเมลแอดเดรส ประกอบดวย 2 สวนสําคัญ ดังตัวอยางดังนี้ [email protected]

1. ชื่อบัญชีสมาชิกของผูใชเรียกวา user name อาจใชชอ ื่ จริง ชื่อเลน หรือชื่อองคกร ก็ได 2. สวนนีค ้ ือ เครื่องหมาย @ (at sign) อานวา “แอท” 3. สวนที่สามคือ โดเมนเนม (Domain Name) เปนชื่อของเมลเซิรฟเวอร 4. สวนสุดทายเปนรหัสบอกประเภทขององคกร และประเทศ ในที่นี้คือ .co.th โดยที่ .co หมายถึง commercial เปนองคกรดานการคา สวน .th หมายถึง Thailand อยูในประเทศไทย อีเมลของคนทีม ่ ีชื่อเสียง เชน ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา [email protected] นายบิลล เกตส (เจาของบริษัทไมโครซอฟท) [email protected] มาดอนนา [email protected]

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

274

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

ถาเราตองการทราบขอมูลอีเมลแอดเดรสของกลุมตางๆ สามารถใชอินเทอรเน็ตคนหาขอมูลไดที่ http://www.four.com http://www.whowhere.com http://home.netscape.com

1.5 การขออีเมลลแอดเดรส ปจจุบันผูใ ชอินเทอรเน็ตสวนใหญจะมีอีเมลลข  องตนเอง เชน เมื่อเราสมัครสมาชิกอินเทอรเน็ต กับ ISP ใด ISP นั้นก็จะออกอีเมลแอดเดรสใหแกเรา ปญหาที่มักพบ คือ เมื่อเรายุตก ิ ารใชบริการ ISP รายนั้น อีเมลแอดเดรสของเราก็ถูกยกเลิกไปดวย ผูใ ชอินเทอรเน็ตคนอื่นๆ ที่จะติดตอเราก็ทําไมไดอีก วิธีการแกไขคือ เราควรขออีเมลแอดเดรสจากผูใหบริการอินเทอรเน็ตอิสระ ที่ใหบริการโดยไมขึ้นกับ ISP ที่เราสมัครสมาชิก เว็บไซตทใี่ หบริการอีเมลฟรี และไดรับความนิยมแหงหนึ่ง คือ yahoo mail สามารถเขาไป ลงทะเบียนไดที่ www.yahoo.com ซึ่งมีขน ั้ ตอนการสมัครดังนี้ 1. คลิกปุม Start 2. คลิกเลือก Internet Explorer 3. จะปรากฏหนาตางโปรแกรม Microsoft Internet Explorer 4. คลิกทีช ่ องแอดเดรสและพิมพ www.yahoo.com แลวคลิกปุม  GO หรือกดแปน 5. จะปรากฏเว็บไซตของ Yahoo 6. คลิกที่ไอคอน Mail

7. 8. 9. 10.

เขาสูหนาจอ Yahoo Mail คลิกที่ปม ุ Sign up now จะปรากฏหนาจอประเภทของอีเมล คลิกที่ขอความ Sign up for Yahoo! mail จาก Free Yahoo Mail

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

11. 12. 13. 14.

จะปรากฏหนาจอเพื่อปอนขอมูลสมาชิกใหม Yahoo Mail พิมพชื่อ นามสกุล และเลือกเพศผูใ ช พิมพชื่ออีเมลทต ี่ องการ พิมพรหัสผานและยืนยันรหัสผาน ใหตรงกันทัง้ สองชอง

15. คลิกเลือกคําถามกันลืมรหัสผาน พิมพตอบคําถาม เลือก เดือน/วัน/ปเกิด พิมพ รหัสไปรษณีย และอีเมลที่ใชรบ ั รหัสผาน 16. คลิกเลือกประเภทอาชีพ เลือกตําแหนง และความสามารถพิเศษ

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

275

276

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

17. พิมพขอความทีเ่ ห็นในกรอบดานลาง (รูปจากตัวอยางคือ GFHU ) 18. คลิกปุม I Agree

19. เขาสูหนาจอแจงใหทราบการสมัครสมาชิกถูกตองเรียบรอย 20. คลิกปุม Continue to Yahoo Mail 21. จะปรากฏหนาจออีเมลของผูใชระบบ (อีเมลตัวอยางของ241 [email protected]) H

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

1.6 การล็อกอิน (Login) เขาสูอีเมล 1. พิมพชื่อล็อกอินและรหัสผาน 2. คลิกปุม Sign In

3. เขาสูหนาจอ Yahoo Mail (อีเมลตัวอยางของ @yahoo.com ) 4. แสดงจํานวนอีเมลทย ี่ ังไมไดอา น

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

277

278

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

1.7 การสงอีเมล 1. 2. 3. 4. 5. 6.

คลิกปุม Compose จะปรากฏหนาจอเขียนจดหมาย Compose พิมพที่อยูอีเมล (E-mail Address) ของผูรับจดหมาย พิมพหัวเรื่องจดหมาย (Subject) ที่จะสง พิมพขอความลงในจดหมาย คลิกปุม Send

NOTE 1. การสง E-mail ไปยังบุคคลอื่น มากกวา 1 คน ใหพิมพ E-mail Address ลงในชอง Cc (carbon copy) ซึ่งหมายถึง สําเนาอีเมลใหกับผูอื่นดวย โดยใหคั่นดวยจุลภาค(.) เชน [email protected], [email protected] 2. ชอง Bcc (blind carbon copy) หมายถึง สงสําเนาอีเมลใหคนอื่นดวย แตซอน (blind) อีเมลของผูรับ ที่ปรากฏในชอง Bcc

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

279

1.8 การสงไฟลแนบไปกับอีเมล 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

คลิกที่ จะปรากฏหนาจอแนบไฟล (Attach File) คลิกปุม Browse คลิกเลือกไฟล คลิกปุม Open คลิกปุม Attach File จะปรากฏหนาจอกําลังแนบไฟล (Attach File) จะปรากฏหนาจอตรวจสอบไฟลแนบ ไมพบ ไวรัสคอมพิวเตอร

9. คลิกปุม 10. จะปรากฏหนาจอเขียนจดหมาย 11. คลิกปุม Send 12. จะปรากฏหนาจอวาไดสงจดหมาย เรียบรอยแลว

NOTE ถาตองการแนบไฟลตั้งแตหนึ่งไฟลใหคลิกปุม Browse… แนบไฟลที่สอง และแนบไฟลทส ี่ ามในขั้นตอน ที่ 3 ถึงขั้นตอนที่ 5

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

280

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

1.9 การรับและอานอีเมล 1. คลิกเลือกเมนู Inbox

2. จะปรากฏกลองจดหมายเขา Inbox ของผูใช (ตัวอยางเปนอีเมลของ [email protected] )

3. 4. 5. 6.

คลิกเลือกหัวขอเรื่องที่ตองการอาน จะปรากฏจดหมายตามหัวเรื่องที่เลือกไว คลิกปุม Reply เมื่อตองการตอบจดหมาย คลิกปุม Previous หรือปุม Next เพื่อเปดจดหมายฉบับอื่น (ถามี)

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

NOTE ตัวเลขในวงเล็บหลัง Inbox เปนจํานวนของอีเมลที่ยังไมเปดอาน

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

281

282

บทที่ 6 อินเทอรเน็ต

1.10 การลบจดหมาย 1. 2. 3. 4.

คลิกกลองจดหมายเขา คลิกเครื่องหมาย ลงในกลอง คลิกปุม Delete จะปรากฏกลองจดหมายเขาทีล ่ บจดหมายออกแลว

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

บรรณานุกรม

283

บรรณานุกรม ทรงศักดิ์ ลิ้มสิรส ิ ันติกุล. (2544). Microsoft Office 2000 step by step. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน ่ . นฤชิต แววศรีผอง และรุงทิวา ศิรินารารัตน. (2545). หนังสือเรียนคอมพิวเตอรเบื้องตน เลม 5. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น พันจันทร ธนวัฒนเสถียร และอัมรินทร เพ็ชรกุล. (2545). Microsoft Windows XP home edition. กรุงเทพฯ: ชัคเชสมีเดีย. ภัททิรา เหลืองวิลาศ. (2545). เรียนรูการใชงานภาคปฏิบัติ Microsoft Power Point 2002. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น ภานุฤทธิ์ ยุกตะทัต และสุรพงษ โสภนกิจ. (2544). เรียนรูไ  ดดวยตนเอง step by step Microsoft Windows XP. กรุงเทพฯ: ซอพตแวรปารค ศรีไพร ศักดิร์ ุงพงศากุล และคณะ. (2547). คูมือการใช Windows XP และ Office 2003. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. ศิริพงษ วิทยวิโรจน. (2542). กาวสูโลกอินเตอรเน็ตดวยตนเอง. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : มติชน. สุธีร นวกุล. (2546). “ติดตาม Microsoft Office 2003 Beta 2 kit”. Internet Magazine. 8, 85: 87-94. สุรพงษ โศภนกิจ. (2543). เรียนรูดว  ยตนเอง step by step Windows, Office XP Microsoft Office XP. กรุงเทพฯ: ซอฟแวรปารค. โอฬาร เมธาไชย, ผูแปล. (2542). Windows 98 เขาใจงาย สไตล 3 มิต.ิ กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. Maran, R. (2001). Windows XP Simplified. NY: Hungry Minds Inc. Michael, Toot. (2003). Master Visually Windows Office 2003. MA: Wiley Publishing Inc Nectec's Webbase Learning. (2546). ความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร. คนขอมูล 21 พฤษภาคม 2546. จาก http://www.nectec.or.th/courseware/computer/index.html Shelly, G., Cashman,T. and Vernaat, M. (2002). Microsoft Windows, Office XP Introductory concepts and techniques. MA: Course technology.

412 141 คอมพิวเตอรขั้นแนะนําสําหรับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.