5DF3C627B8E1B604B2AAAE4AF1FA1792D9F98E03_สรุปขั้นตอนการขอรับเงินบำเหน็จบำนาญ (1) Flipbook PDF


65 downloads 120 Views 2MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

สมุดพกเตือนสิ ทธิ ผูเ้ กษียณอายุราชการ

1

1

2

ที่มา : กลุ่มงานวิชาการและกากับการคลัง สานักงานคลังเขต 5 2

3

ที่มา : กลุ่มงานวิชาการและกากับการคลัง สานักงานคลังเขต 5 3

4

ที่มา : กลุ่มงานวิชาการและกากับการคลัง สานักงานคลังเขต 5

4

คำนำ ด้วยระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้ว ยการขอรับและการจ่ายบาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ.2527 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 6 กาหนดให้ขา้ ราชการที่พน้ จากราชการเพราะเกษียณอายุ ให้ยื่นคาขอรับบาเหน็จบานาญ ต่อส่ วนราชการเจ้าสังกัดล่วงหน้าได้เป็ นเวลา 8 เดือนก่อนวันครบเกษียณอายุ กล่าวคือ ยื่นแบบขอรับเงินได้ต้ งั แต่ เดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี ที่ จ ะเกษี ย ณอายุ เป็ นต้น ไปดัง นั้น เพื่อให้ก ารขอรั บ บาเหน็ จ หรื อบานาญของส่ ว น ราชการเป็ นไปอย่า งถูก ต้อง รวดเร็ ว และผูเ้ กษียณอายุได้รับเงินบาเหน็จหรื อบานาญต่อเนื่อง หลังจากเกษียณอายุ ราชการ รวมถึงสิ ทธิ ประโยชน์ต่ างๆ อัน พึงได้รับ จากทางราชการ ประกอบกับ ทายาทตามกฎหมายหรื อ ผู ท้ ี่ เกษียณอายุราชการแสดงเจตนามีสิทธิจ ะได้รับบาเหน็ จ ตกทอด และเงินช่วยพิเศษจากทางราชการในกรณี ที่ผรู ้ ับ บานาญเสี ยชีวิต ซึ่งบุคคลดังกล่าวอาจจะไม่ทราบถึงสิทธิการได้รับหรื อ แนวทางปฏิบตั ิ และเพื่อเป็ นการสร้างองค์ ความรู ้ให้แก่ ผปู ้ ฏิบตั ิงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเป็ นการเพิ่มประสิ ทธิภาพในการปฏิบตั ิงาน สานักงานคลังจังหวัด เชียงใหม่ จึงได้จดั ทา "เอกสารเตือนสิ ทธิสาหรับผูเ้ กษียณอายุราชการ (ข้าราชการ) ขึ้นเพื่อให้ ผูเ้ กษียณอายุร าชการ ทายาทตามกฎหมายหรื อผูท้ ี่ผเู ้ กษียณอายุราชการแสดงเจตนาไว้ มีความรู ้ความ เข้าใจและศึก ษา สมุด พกดังกล่าว เป็ นแนวทางในการขอรับสิ ทธิจ ากทางราชการ และสามารถเป็ นประโยชน์ ในการศึกษาทาความเข้าใจสาหรับผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ในการขอรับสิ ทธิประโยชน์จากทางราชการต่อไปได้

5

สารบัญ สรุ ปขั้นตอนการขอรับเงินบาเหน็จบานาญ ........................................................................................................... 9 ตรวจสอบประวัติ ................................................................................................................................................ 10 เตรี ยมการยืน่ เรื่ องขอรับบาเหน็จหรื อบานาญ ..................................................................................................... 10 เตรี ยมการยืน่ เรื่ องขอรับบาเหน็จหรื อบานาญด้วยตนเองผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ ................................................ 11 ผูท้ ี่สามารถยืน่ ขอรับบาเหน็จบานาญด้วยตนเอง ..................................................................................... 11 ยืน่ เรื่ องขอรับเงินบาเหน็จหรื อบานาญด้วยตนเอง สามารถดาเนินการได้ 2 ช่องทาง .................................. 11 ผูท้ ี่จะเกษียณอายุราชการเตรี ยมเครื่ องมือและข้อมูลสาหรับการยืน่ เรื่ องขอรับบาเหน็จหรื อบานาญด้วยตนเอง ..... 11 สามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน ......................................................................................................... 12 เรี ยนรู ้การใช้งานแอปพลิเคชัน ............................................................................................................. 12 จัดเตรี ยมเอกสาร ................................................................................................................................................. 13 ประกอบการยืน่ ขอรับบาเหน็จหรื อบานาญ ........................................................................................................ 13 เตรี ยมการยืน่ เรื่ องขอรับเงินจาก กบข. ................................................................................................................ 14 ยืน่ เรื่ องขอรับเงินจาก กบข. ................................................................................................................. 14 ตรวจสอบข้อมูลยอดเงินที่จะได้รับจาก กบข.......................................................................................... 14 เตรี ยมการยืน่ เรื่ องขอรับเงินจาก กสจ. ................................................................................................................. 14 บาเหน็จ (ไม่เป็ นสมาชิก กบข.) ........................................................................................................................... 15 กรณี ไม่เป็ นสมาชิก กบข. .................................................................................................................... 15 บาเหน็จ (เป็ นสมาชิก กบข.) ............................................................................................................................... 16 กรณี เป็ นสมาชิก กบข. ........................................................................................................................ 16 บานาญเดิม(ไม่เป็ นสมาชิก กบข.) ....................................................................................................................... 17 บานาญกบข.(เป็ นสมาชิก กบข.) ......................................................................................................................... 18 6

กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ (กบข.) .......................................................................................................... 18 

สมาชิก กบข. จะได้รับเงินอะไรบ้าง ......................................................................................... 18

สิทธิบาเหน็จลูกจ้าง............................................................................................................................................. 19 สิทธิบาเหน็จลูกจ้าง............................................................................................................................................. 20 สิทธิประโยชน์อื่น กรณี เลือกรับบานาญ ............................................................................................................. 21 บาเหน็จดารงชีพ.................................................................................................................................................. 21 หลักเกณฑ์การจ่ายเงินบาเหน็จดารงชีพ .............................................................................................................. 21 ขอรับครั้งแรก ..................................................................................................................................... 21 ขอรับครั้งที่สอง .................................................................................................................................. 22 ขอรับครั้งที่สาม .................................................................................................................................. 22 การขอรับบาเหน็จดารงชีพครั้งแรก..................................................................................................................... 22 การขอรับบาเหน็จดารงชีพครั้งที่ 2...................................................................................................................... 23 การขอรับบาเหน็จดารงชีพครั้งที่ 3...................................................................................................................... 23 บาเหน็จค้ าประกัน............................................................................................................................................... 24 ขั้นตอนการขอใช้สิทธิบาเหน็จค้ าประกัน ........................................................................................................... 24 ธนาคารที่เข้าร่ วมบาเหน็จบานาญค้ าประกัน ....................................................................................................... 28 บาเหน็จตกทอด................................................................................................................................................... 29 การขอรับบาเหน็จตกทอด ................................................................................................................................... 30 หลักฐาน - บิดาของผูร้ ับบานาญ/ บาเหน็จรายเดือน ............................................................................... 30 หลักฐาน - มารดาของผูร้ ับบานาญ/บาเหน็จรายเดือน............................................................................. 30 หลักฐาน - คู่สมรสตามกฎหมายของผูร้ ับบานาญ/บาเหน็จรายเดือน ........................................................ 31 หลักฐาน - บุตรของผูร้ ับบานาญ/ บาเหน็จรายเดือน............................................................................... 31 กรณี ไม่มีทายาทตามกฎหมาย ............................................................................................................................. 31 7

หลักฐาน - บุคคลที่ผรู ้ ับบานาญแสดงเจตนาระบุตวั ผูร้ ับบาเหน็จตกทอด ................................................. 31 เงินช่วยพิเศษ (ค่าทาศพ) ..................................................................................................................................... 32 การขอรับเงินช่วยพิเศษ ....................................................................................................................................... 32 สวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล................................................................................................................... 33 สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร .................................................................................................................. 33 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางกลับภูมิลาเนาเดิม .......................................................................................................... 34 ตรวจสอบสิทธิภายหลังเกษียณ ........................................................................................................................... 34 การโอนบานาญไปส่วนราชการผูเ้ บิกใหม่ .......................................................................................................... 35 เตรี ยมความพร้อมสาหรับทายาท ........................................................................................................................ 36 ช่องทางการติดต่อสื่อสาร.................................................................................................................................... 36

8

สรุปขั้นตอนกำรขอรับเงินบำเหน็จบำนำญ ขั้นตอนที่ผเู ้ กษียณอายุราชการจะขอรับเงินบาเหน็จ บานาญ หรื อบาเหน็จดารงชีพ มีดงั นี้ 1. ผูม้ ีสิทธิเตรี ยมเอกสารยืน่ ต่อส่วนราชการต้นสังกัด หรื อยืน่ ขอรับเงินบาเหน็จบานาญด้วยตนเองผ่านทาง ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ระบบ Digital Pension) 2. ส่วนราชการต้นสังกัดตรวจสอบความถูกต้องแล้ว จะบันทึกข้อมูลส่งไปที่กรมบัญชีกลางหรื อสานักงาน คลังเขต แล้วแต่กรณี 3. กรมบัญชีกลางหรื อสานักงานคลังเขตจะตรวจสอบข้อมูลความถูกต้อง, อนุมตั ิสงั่ จ่ายเงิน และแจ้งผลให้ ผูม้ ีสิทธิทราบผ่านทางระบบ Digital Pension 4. ผูม้ ีสิทธิได้รับทราบผ่านทางระบบ Digital Pension แล้ว ตรวจสอบความถูกต้อง ถ้าไม่ถูกต้อง ให้รีบแจ้ง ส่วนราชการต้นสังกัด เพื่อขอแก้ไขให้ถูกต้อง 5. ส่วนราชการผูเ้ บิกลงทะเบียนขอเบิกเงินบาเหน็จ บานาญ หรื อบาเหน็จดารงชีพแล้วแต่กรณี 6. กรมบัญชีกลางสัง่ จ่ายเงินเข้าบัญชีธนาคารที่ผมู ้ ีสิทธิแจ้งไว้ 7. ผูม้ ีสิทธิได้รับเงิน

9

ตรวจสอบประวัติ ก่อนออกจากราชการ ท่านต้องตรวจสอบความถูกต้องเกี่ยวกับประวัติของท่านกับนายทะเบียนต้นสังกัด(ส่วนราชการ สุ ดท้ายก่อนออกจากราชการ)ให้เรี ยบร้อยว่ามีการบัน ทึกข้อมูลประวัติของท่านในระบบ Digital Pension ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์แล้วหรื อไม่ โดยเฉพาะข้อมูลที่สาคัญดังนี้  คานาหน้าชื่อ ชื่อ - สกุล ของท่าน > ถูกต้องหรื อไม่  ที่อยู่ ของท่าน > สามารถติดต่อได้และเป็ นปัจจุบนั หรื อไม่  คานาหน้าชื่อ ชื่อ - สกุล บุคคลในครอบครัวท่าน (พ่อ แม่ สามี/ภรรยา และบุตร)  ถูกต้องหรื อไม่  มีสถานะข้อมูล สมบูรณ์ ทุกคนหรื อไม่  บุคคลอื่น > ท่านแสดงเจตนาระบุตวั ผูร้ ับบาเหน็จตกทอดและเงินช่วยพิเศษแล้วหรื อไม่ >นายทะเบียนต้นสังกัดท่านบันทึกข้อมูลบุคคลที่ท่านแสดงเจตนาไว้ในระบบฯ แล้วหรื อไม่ หากท่านพบว่า ข้อมูลของท่านไม่ถูกต้อง หรื อไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ควรดาเนินการแจ้งนายทะเบียนต้นสังกัด แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลให้ถูกต้อง เพื่อท่านจะได้ไม่ตอ้ งประสบปัญหาต่างๆ ในการขอรับสิ ทธิประโยชน์จากทาง ราชการ

เตรียมกำรยื่นเรื่ องขอรับบำเหน็จหรื อบำนำญ ผูท้ ี่จะเกษียณอายุราชการสามารถดาเนินการยืน่ ขอรับบาเหน็จหรื อบานาญได้ 2 วิธี คือ 1. การส่งยืน่ เรื่ องต่อนายทะเบียนต้นสังกัด(ส่วนราชการสุดท้ายก่อนออกจากราชการ) 2. การยืน่ ด้วยตนเองผ่านทาง Web Application หรื อ โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน Application บนระบบ android หรื อ ระบบ IOS กรณียื่นเรื่ องสำมำรถยีน่ ล่วงหน้ ำได้ ต้งั แต่เดือนกุมภำพันธ์ ของปี ที่ท่ำนเกษียณ โดยไม่ต้องรอคำสั่งเลื่อนขั้น เงินเดือนครั้งสุ ดท้ ำย ให้ใช้ฐานข้อมูลเงินเดือนปั จจุบนั ยื่นเรื่ องไปพลางก่อน เพื่อกรมบัญชีกลางหรื อสานักงานคลัง เขตจะได้ตรวจสอบและอนุมตั ิสงั่ จ่ายบาเหน็จหรื อบานาญได้ทนั ภายในช่วงสิ้นปี งบประมาณ หากท่านส่งเรื่ องขอรับบาเหน็จหรื อบานาญล่าช้า อาจกระทบต่อการรับเงินบาเหน็จหรื อบานาญ และความต่อเนื่องของการใช้สิทธิสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลหรื อสวัสดิการค่าการศึกษาของบุตรของผูร้ ับ บานาญใหม่

10

เตรียมกำรยื่นเรื่ องขอรับบำเหน็จหรื อบำนำญด้ วยตนเองผ่ ำนทำงอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ที่สำมำรถยื่นขอรับบำเหน็จบำนำญด้ วยตนเอง  ข้าราชการที่พน้ จากราชการและมีสิทธิได้รับบาเหน็จบานาญ  ลูกจ้างประจาที่ออกจากงานและมีสิทธิได้รับบาเหน็จ หรื อบาเหน็จรายเดือน ยื่นเรื่ องขอรับเงินบำเหน็จหรือบำนำญด้ วยตนเอง สำมำรถดำเนินกำรได้ 2 ช่ องทำง  ยืน่ ผ่านอินเตอร์เน็ตทาง https://dps.cgd.go.th/efiling-pension  Application : Digital Pension ผู้ที่จะเกษียณอำยุรำชกำรเตรียมเครื่ องมือและข้ อมูลสำหรับกำรยื่นเรื่ องขอรับบำเหน็จหรื อบำนำญด้ วยตนเอง ดังนี้ 1. โทรศัพท์มือถือ Smart phone พร้อมเบอร์โทรศัพท์ และมีสญ ั ญาณอินเตอร์เน็ต 2. บัตรประจาตัวประชาชนตัวจริ ง (สาหรับบันทึกหมายเลขบัตรประชาชนและหมายเลขหลังบัตรในการยืนยันตัวตน) 3. e- mail * (อีเมลส่วนบุคคลที่ใช้งานในโทรศัพท์สมาร์ทโฟน เช่น G-mail) 4. ข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ-สกุล ที่อยู่ วัน/เดือน/ปี เกิด 5. ข้อมูลการรับราชการ /ข้อมูลอายุราชการทวีคูณ 6. ข้อมูลหมายเลขบัญชีเงินฝากธนาคาร(บัญชีรับเงินเดือน/บานาญ) 7. ข้อมูลการรับเงินเดือน 8. ข้อมูลการรับราชการ /ข้อมูลอายุราชการทวีคูณ 9. ข้อมูลบุคคลในครอบครัว และ/หรื อบุคคลอื่น(ตามหนังสือแสดงเจตนา) 10. ข้อมูลการลดหย่อนภาษี หมายเหตุ : รายการที่ 1-3 สาหรับการลงทะเบียนเข้าใช้งาน รายการที่ 4-10 สาหรับตรวจสอบข้อมูลการยืน่ ขอรับบาเหน็จบานาญด้วยตนเอง

11

Digital Pension ระบบบาเหน็จบานาญอิเล็กทรอนิกส์

“ ระบบบาเหน็จบานาญ ยุคใหม่ ใส่ ใจ วัยเกษียณ ”

สำมำรถดำวน์ โหลดแอปพลิเคชัน เพื่อใช้งานได้ที่ Play Store และ App store

เรียนรู้กำรใช้ งำนแอปพลิเคชัน Digital Pension จากคู่มือการใช้งานตาม QR Code

12

จัดเตรียมเอกสำร ประกอบกำรยื่นขอรับบำเหน็จหรื อบำนำญ ในปี งบประมาณที่ ท่านจะเกษีย ณอายุราชการ ท่านต้องจัดเตรี ย มเอกสารหลักฐานที่เ กี่ ย วข้องให้ พร้อมสาหรับการขอยื่นเรื่ องรับสิ ทธิบาเหน็จหรื อบานาญ ดังนี้  แบบขอรับเงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญฯ (แบบ 5300)  ใบรับรองสมุดประวัติและวันทวีคูณฯ (แบบ 5302)  สาเนาสมุดประวัติ หรื อ ก.พ. 7  สาเนาบัตรตรวจจ่ายเงินเดือน  สาเนาคาสัง่ ให้ออก หรื อ ประกาศเกษียณ  สาเนาคาสัง่ เลื่อนขั้นเงินเดือน (ปัจจุบนั )  หลักฐานการมีสิทธิได้นบั เวลาทวีคูณ (ถ้ามี)  แบบ สรจ.1 (แบบลดหย่อนภาษี)  แบบ สรจ.3 (แบบขอรับเงินบาเหน็จดารงชีพ)  เอกสารประกอบอื่นๆ เช่น ใบเปลี่ยนชื่อ หรื อ นามสกุล เป็ นต้น  แบบขอรับเงินเพิ่มๆ (แบบ 5316) กรณี ขอรับเงินเพิ่มเนื่องจาก  มีคาสัง่ เลื่อนขั้นเงินเดือน หมำยเหตุ สำมำรถดำวน์ โหลดเอกสำรที่ออกจำกระบบ Digital Pension

13

เตรียมกำรยื่นเรื่ องขอรับเงินจำก กบข. หากท่ า นเป็ นสมาชิ ก กองทุ น บ าเหน็ จ บ านาญข้า ราชการ (กบข.) ท่ า นจะได้รั บ เงิ น ก้อ นหนึ่ งจาก กบข. เมือ่ เกษียณอายุราชการ ท่านควรดาเนินการดังนี้ 1.ยื่นเรื่ องขอรับเงินจำก กบข. โดยจัดทาแบบขอรับเงินจากกองทุน/แบบ กบข.รง.008/1/2555พร้อมแนบสาเนาคาสัง่ ให้ออกหรื อ ประกาศเกษียณและสาเนาสมุดบัญชีเงินฝาก (กรณี เลือกวิธีโอนเงินเข้าบัญชี) ยืน่ เรื่ องต่อนายทะเบียนต้นสังกัด เพื่อจัดส่ งให้ กบข.ทางไปรษณี ยห์ รื อส่งข้อมูลผ่านทางระบบบาเหน็จบานาญ (D Pension) โดยผูท้ ี่จะเกษียณอายุ ราชการสามารถแจ้งความประสงค์ยื่นเรื่ องขอรับเงิ นจาก กบข. ผ่านระบบ พร้อมกับยื่นเรื่ องขอรับเงินบาเหน็จ บานาญได้ 2.ตรวจสอบข้ อมูลยอดเงินที่จะได้ รับจำก กบข. ท่านควรตรวจสอบข้อมูลยอดเงินที่จะได้รับจาก กบข. (โดยประมาณ) ล่วงหน้าเพื่อทราบยอดเงินที่ จะได้รับสาหรับการวางแผนทางการเงินของท่าน ซึ่งสามารถตรวจสอบข้อมูลได้ 3 ช่องทาง ดังนี้ 1) ขอรับบริ การผ่าน Call Center ของ กบข. โทร.1179 2) ขอรับบริ การผ่านระบบบริ การทันใจ GPF Web Service จากเว็บไซต์กบข. 3) ขอรับบริ การผ่านบัตรและเครื่ อง ATM ธนาคารกรุ งไทย

เตรียมกำรยื่นเรื่ องขอรับเงินจำก กสจ. หากท่านที่เป็ นสมาชิกกองทุนสารองเลี้ยงชีพสาหรับลูกจ้างประจาของส่วนราชการ(กสจ.)ท่านจะได้รับ เงินก้อนหนึ่ งจาก กสจ. เมื่อเกษียณอายุราชการท่านควรดาเนิ นการยืน่ เรื่ องขอรับเงินจาก กสจ. ผ่านหน่ วยงาน ต้นสังกัดท่าน ดังนี้ 1. แบบคาขอรับเงินกองทุน กสจ. (แบบ กสจ.004/1) 2. สาเนาคาสัง่ ให้พน้ จากงาน หรื อ ประกาศเกษียณ 3. สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน 4. สาเนาบัญชีเงินฝากธนาคาร ประเภท ออมทรัพย์ (ยกเว้นบัญชี ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร)

14

บำเหน็จ (ไม่ เป็ นสมำชิก กบข.) กรณี ที่ท่านเลือกรับบาเหน็จ ท่านจะได้รับเงินก้อนใหญ่เพียงครั้งเดียวโดยมี วิธีการคานวณดังนี้ 1. กรณีไม่เป็ นสมำชิก กบข. วิธีการคานวณ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราซการปกติรวมทวีคูณ ตัวอย่ำง ข้าราชการได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้าย 36,000 บาท มีเวลาราชการ 36 ปี 4 เดือน 15 วัน เงินบำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ = 36,000 x 36 = 1,296,000.- บาท หมายเหตุ : เศษเดือนที่ไม่ถึง 6 เดือน ให้ตดั ทิ้ง ถ้าถึง 6 เดือน ให้ปัดเป็ น 1 ปี ตัวอย่ำง ข้าราชการได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้าย 36,000 บาท มีเวลาราชการ 36 ปี 6 เดือน เงินบำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ = 36,000 x 37 = 1,332,000.- บาท

15

บำเหน็จ (เป็ นสมำชิก กบข.) 2. กรณีเป็ นสมำชิก กบข. นอกจากจะได้รับเงินบาเหน็จแล้ว ยังมีสิทธิ์ได้รับเงินก้อนจาก กบข. วิธีกำรคำนวณ บำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ ตัวอย่ำง ข้าราชการได้รับเงินเดือนเดือนสุดท้าย 36,000 บาท มีเวลาราซการ36 ปี 4 เดือน 15 วัน (36.37 ปี ) กำรคำนวณเวลำรำชกำร 36 ปี = 36 4 เดือน = 4 = 0.33 12 เดือน 15 วัน

= 15 360

สรุปเวลำรำชกำรคำนวณได้

= 0.04

วัน

= 36 + 0.33+0.04 = 36.37 ปี

เงินบำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ = 36,000 x 36.37 = 1,309,320 บาท หมำยเหตุ : การคานวณเวลาราชการให้นบั จานวนปี + เศษของปี การนับเศษของปี คือ 12 เดือน และ 360 วัน = ปี

16

บำนำญเดิม(ไม่ เป็ นสมำชิก กบข.) ตามพระราชบัญญัติบาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ.2494 และที่แก้ไขเพิ่มเติม บำนำญ คือ เงินตอบแทนที่ท่านจะได้รับเป็ นรายเดือน กรณี ที่ไม่ได้เป็ นสมาชิก กบข. คานวณได้ดงั นี้ บำนำญปกติ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ 50 หมำยเหตุ : บานาญรายเดือนที่ได้รับต้องไม่เกินเงินเดือนเดือนสุดท้าย ตัวอย่ำง ข้าราชการรับเงินเดือนเดือนสุดท้าย 36,000 บาท มีเวลาราชการ 36 ปี 4 เดือน 15 วัน = เงินเดือนเดือนสุดท้าย X เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ 50 = 36,000 X 36 = 25,920.- บาท 50 *** ข้าราชการรายนี้ได้รับเงินบานาญรายเดือนเดือนละ 25,920.- บาท เนื่องจากอยูใ่ นเงื่อนไขตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนด คือ ต้องไม่เกินเงินเดือนเดือนสุดท้าย = 36,000 บาท

17

บำนำญกบข.(เป็ นสมำชิก กบข.) ตามพระราชบัญญัติกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ.2539 และที่แก้ไข เพิม่ เติม บำนำญปกติ = เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x เวลาราชการปกติรวมทวีคูณ 50 หมำยเหตุ : บานาญรายเดือนที่ได้รับต้องไม่เกิน 70%ของ เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย ตัวอย่ำง ข้าราชการมีเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย 30,200 บาท และมีเวลาราชการ 36 ปี 4 เดือน 15 วัน (36.37 ปี ) บำนำญปกติ = 30,200 X 36.37 = 21,967.48 บาท 50 หลักเกณฑ์ : บานาญต้องไม่เกิน 70% ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย = 30,200 X 70 % = 21,140 บาท สรุป เมื่อคานวณบานาญของข้าราชการรายนี้ได้จานวน 21,967.48 บาท ซึ่งเกิน 70%ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน สุดท้าย (21,140 บาท) จึงมีสิทธิได้รับบานาญเพียงเดือนละ 21,140 บาท และรับเงินก้อน ในส่วนของ กบข.

กองทุนบำเหน็จบำนำญข้ ำรำชกำร (กบข.) ข้าราชการที่เข้ารับราชการตั้งแต่วนั ที่ 27 มีนาคม 2540 ซึ่งเป็ นวันที่พระราชบัญญัติกองทุนบาเหน็จบานาญ ข้าราชการ พ.ศ. 2539 มีผลใช้บงั คับ จะต้องเป็ นสมาชิก กบข. และยังคงมีสิทธิ ได้รับบานาญ เพียงแต่เงินบานาญ ที่ได้รับจะต่ากว่าเงินบานาญแบบเดิม แต่จะมีเงินก้อนจาก กบข. มาชดเชยแทน  สมำชิก กบข. จะได้ รับเงินอะไรบ้ ำง เมื่อช้าราชการที่เป็ นสมาชิก กบข.นอกจากจะได้รับบาเหน็จหรื อบานาญแล้ว ยังมีสิทธิได้รับเงินก้อน จาก กบข. อีก 5 ก้อน ขึ้นอยูว่ ่าจะเป็ นสมาชิก กบข. ตั้งแต่เริ่ มตั้งกองทุนหรื อไม่ ประกอบด้วย 1. เงินสะสม 2. เงินสมทบ 3. เงินประเดิม (เฉพาะสมาชิกที่เลือกรับบานาญ และเป็ นสมาชิกที่สมัครเป็ น กบข. ตั้งแต่เริ่ มตั้งกองทุน) 4. เงินชดเชย(เฉพาะสมาชิกที่เลือกรับบานาญ 5. ผลประโยชน์ (ผลประโยชน์ที่ได้รับตอบแทนจากเงินตามข้อ 1-4 ที่กองทุนนาไปลงทุน) 18

สิ ทธิบำเหน็จลูกจ้ ำง สาหรับท่านที่เกษียณอายุราชการจะได้รับสิทธิได้รับ "บาเหน็จลูกจ้าง"โดยกระทรวงการคลังกาหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยบาเหน็จลูกจ้างของส่วนราชการ พ.ศ.2519 เพื่อให้ เกิดความเหมาะสมด้านสิทธิประโยชน์เกื้อกูลในส่วนของบาเหน็จลูกจ้างซึ่งท่านจะมีสิทธิเลือกรับบาเหน็จ ลูกจ้างได้ ดังนี้ 1.บาเหน็จปกติ 2.บาเหน็จรายเดือน บำเหน็จปกติ คือ เงินตอบแทนของลูกจ้างประจาที่ออกจากงานเนื่องจากทางานมานาน ซึ่งจายให้เงินก้อนครั้งเดียว สาหรับท่านที่เกษียณอายุราชการจะมีสิทธิได้รับบาเหน็จปกติ ต้องมี อายุครบ60 ปี บริ บูรณ์แล้ว และต้องมีเวลาทางานปกติไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี คำนวณ บาเหน็จปกติ = ค่าจ้างเดือนสุดท้าย x จานวนเดือนทางาน 12 เงื่อนไขกำรคำนวณ 1) เศษของบาท (เศษสตางค์) ให้ปัดทิ้ง 2) เศษของเดือนถ้าถึง 15 วัน ให้ปัดเป็ น 1 เดือน สมมุติ ลูกจ้างประจาอัตราค่าจ้างเดือนสุดท้าย 21,000.- บาท มีเวลาราชการปกติ รวมทวีคูณ26 ปี 3 เดือน 16 วัน = คิดเป็ นเวลาราชการที่ใช้คานวณบาเหน็จปกติรวม 316 เดือน บำเหน็จปกติ = 21,000 x 316 = 553,000 บาท 12 ดังนั้น ลูกจ้างประจาจะมีสิทธิได้รับบาเหน็จปกติ จานวน 553,000 บาท

19

สิ ทธิบำเหน็จลูกจ้ ำง บาเหน็จรายเดือน คือ เงินตอบแทนของลูกจ้างประจาที่ออกจากงานเนื่องจากทางานมานาน ซึ่งจ่ายเป็ น รำยเดือนเริ่ มตั้งแต่วนั ที่ออกจากงานจนกระทัง่ เสียชีวิตสาหรับท่านที่เกษียณอายุราชการจะมีสิทธิได้รับบาเหน็จ รายเดือน ต้องมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ดงั นี้ 1. เป็ นผู้มสี ิทธิรับบำเหน็จปกติ 2. มีเวลำทำงำนตั้งแต่ 25 ปี บริบูรณ์ขนึ้ ไป ซึ่งท่านจะมีสิทธิเลือกรับบาเหน็จปกติ หรื อ บาเหน็จรายเดือน ก็ได้ เมื่อท่านเลือกรับบาเหน็จรายเดือนท่านจะได้รับบาเหน็จรายเดือนและมีสิทธิ ประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่อง คือ บาเหน็จค้ าประกัน และ บาเหน็จตกทอด คำนวณ บำเหน็จปกติ = 21,000 x 316 = 11,060.- บาท 12 50 เงื่อนไขกำรคำนวณ 1) เศษของบาท (เศษสตางค์) ให้ปัดทิ้ง 2) เศษของเดือนถ้าถึง 15 วัน ให้ปัดเป็ น 1 เดือน สมมุติ ลูกจ้างประจาอัตราค่าจ้างเดือนสุดท้าย 21,000 บาท มีเวลาราชการปกติ รวมทวีคูณ 26 ปี 3 เดือน 16 วัน คิดเป็ นเวลาราชการที่ใช้คานวณบาเหน็จปกติรวม 316 เดือน บำเหน็จรำยเดือน = 21,000 x 316 = 11,060.- บาท 12 50 ดังนั้น ลูกจ้างประจาจะมีสิทธิได้รับบาเหน็จรายเดือน จานวน 11,060.- บาท

20

สิ ทธิประโยชน์ อื่น กรณีเลือกรับบำนำญ เมื่อท่านเลือกรับบานาญ ท่านจะได้รับบานาญรายเดือนและมีสิทธิประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่องดังนี้ 1. บาเหน็จดารงชีพ 2. บาเหน็จค้ าประกัน 3. บาเหน็จตกทอด 4. เงินช่วยพิเศษ 5. เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 6.เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร

บำเหน็จดำรงชีพ บาเหน็จดารงชีพ คือ เงินส่วนหนึ่งของบาเหน็จตกทอดที่ทางราชการจะให้ทายาทของผูร้ ับบานาญหรื อ ผูท้ ี่ผรู ้ ับบานาญแสดงเจตนาไว้ แล้วแต่กรณี เมื่อผูร้ ับบานาญเสียชีวิตไปแล้ว แต่เนื่องจากผูร้ ับบานาญเมื่อออกจา ราชการไปแล้ว อาจประสบเหตุปัญหาทางด้านการเงินหรื อสภาวะค่าครองชีพที่สูงขึ้น ทางราชการจึงช่วยเหลือ บรรเทาความเดือดร้อนโดยให้นาเงินบาเหน็จตกทอดส่วนหนึ่งมาใช้ได้ก่อนซึ่งผูร้ ับบานาญจะขอรับหรื อจะไม่ ขอรับก็ได้หากไม่ขอรับเงินส่วนนี้จะถูกเก็บเป็ นบาเหน็จตกทอดไว้ให้ทายาทของผูร้ ับบานาญ หรื อผูท้ ี่ผรู ้ ับ บานาญแสดงเจตนาไว้แล้วแต่กรณี เมื่อยามที่ผรู ้ ับบานาญเสียชีวิตแล้ว การขอรับบาเหน็จดารงชีพ กรมบัญชีกลางกาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายดังต่อไปนี้

หลักเกณฑ์ กำรจ่ ำยเงินบำเหน็จดำรงชีพ หลักเกณฑ์การจ่ายบาเหน็จดารงชีพตามที่กรมบัญชีกลางกาหนดไว้ มีดงั นี้การคานวณบาเหน็จดารงชีพ จะคานวณจากเงินบานาญรายเดือนเท่านั้น จะไม่นาเงินอื่น ๆ มารวมคานวณการขอรับเงินบาเหน็จดารงชีพ ขอรับได้ 3 ครั้ง ตามเงื่อนไข ดังนี้ ขอรับครั้งแรก  เงินบานาญ x 15 เท่าแต่ไม่เกิน 200,000 บาท  ยืน่ เรื่ องขอรับพร้อมกับเรื่ องขอรับบานาญก็ได้  หากไม่ยนื่ เรื่ องขอรับพร้อมกับขอรับบานาญ ให้ยนื่ เรื่ องขอรับได้ใน เดือน ตุลาคม - ธันวาคม ของทุกปี 21

ขอรับครั้งที่สอง  เงินบานาญ x 15 เท่า หัก บาเหน็จดารงชีพที่ขอรับครั้งแรก แต่รวมวงเงินที่ขอรับครั้งแรกและครั้งที่สองแล้วต้องไม่เกิน 400,000 บาท  ยืน่ เรื่ องขอรับเมื่ออายุครบ 65 ปี บริ บูรณ์ ขอรับครั้งที่สำม  เงินบานาญ x 15 เท่า หัก บาเหน็จดารงชีพที่ขอรับครั้งแรก และครั้งที่สอง แต่รวมวงเงินที่ขอรับทั้งสาม ครั้งแล้วต้องไม่เกิน 500,000 บาท  ยืน่ เรื่ องขอรับเมื่ออายุครบ 70 ปี บริ บูรณ์

กำรขอรับบำเหน็จดำรงชีพครั้งแรก การขอรับบาเหน็จดารงชีพครั้งแรก หากผูร้ ับบานาญยืน่ เรื่ องพร้อมกับการขอรับบานาญครั้งแรกเพียงแจ้งความ ประสงค์ที่จะขอรับบาเหน็จดารงชีพในแบบ 5300(แบบขอรับบานาญ) และยืน่ หนังสือรับรองและขอเบิกบาเหน็จดารง ชีพ (แบบ สรจ.3)แต่หากท่ านยังไม่ได้ขอรั บบาเหน็จ ดารงชีพพร้อมกับเรื่ องขอรับบานาญ ก็สามารถยื่น เรื่ องขอรั บ บาเหน็จ ดารงชีพในครั้งแรกได้เฉพาะในเดือน ตุ ลาคม - ธันวาคมของทุก ปี และต้องใช้เอกสารหลักฐานยื่นต่อนาย ทะเบียนต้นสังกัดของท่าน ดังนี้ 1) แบบขอรับเงินเทิ่ม (แบบ 5316) ขอรับได้ที่ส่วนราชการผูเ้ บิก 2) แบบหนังสือรับรองและขอเบิกบาเหน็จดารงชีพ (แบบ สรจ.3) 3) สาเนาบัญชีเงินฝากธนาคารที่รับโอนเงินบาเหน็จดารงชีพ (ต้องไม่เป็ นบัญชีเงินฝากธนาคาร ประเภทประจา) ตัวอย่ำง ท่านได้รับบานาญรายเดือน เดือนละ 32,000 บาท สิทธิในการขอรับ การคานวณบาเหน็จดารงชีพ = 32,000 X 15 = 480,000 บาท ท่านจะมีสิทธิขอรับบาเหน็จดารงชีพครั้งแรกของท่าน = 200,000 บาท

22

กำรขอรับบำเหน็จดำรงชีพครั้งที่ 2 เมื่อผูร้ ับบานาญอายุครบ 65 ปี บริ บูร ณ์แล้ว ท่ านมีสิทธิยื่น เรื่ องขอรั บบาเหน็จ ดารงชี พครั้งที่ 2 โดยกรมบัญชีกลางไม่ได้กาหนดเงื่อนไขช่วงระยะการยืน่ เรื่ องขอรับฯ อย่างน้อยต้องหลังวันเกิดของท่ ำน เอกสารหลักฐานที่ตอ้ งใช้สาหรับยื่นเรื่ องขอรับฯต่อนายทะเบียนต้นสังกัดของท่านมีดงั นี้ 1) แบบขอรับเงินเพิ่ม (แบบ 5316) ขอรับได้ที่ส่วนราชการผูเ้ บิก 2) สาเนาบัญชีเงินฝากธนาคารที่รับโอนเงินบาเหน็จดารงชีพ (ต้องไม่เป็ นบัญชีเงินฝากธนาคาร ประเภทประจา) ตัวอย่ำง ท่านได้รับบานาญรายเดือน เดือนละ 32,000 บาท สิทธิในการขอรับ การคานวณบาเหน็จดารงชีพ = 32,000 X 15 - 480,000 บาท ดังนั้นจะมีสิทธิได้รับบาเหน็จดารงชีพครั้งที่ 2 = 200,000 บาท (480,000 - 200,000 = 280,000 บาท แต่จะได้รับเพียง 200,000 บาท ตามที่ระเบียบกาหนด)

กำรขอรับบำเหน็จดำรงชีพครั้งที่ 3 เมื่อผูร้ ับบานาญอายุครบ 70 ปี บริ บูรณ์แล้ว ท่านมีสิทธิยนื่ เรื่ องขอรับบาเหน็จดารงชีพครั้งที่ 3 โดย กรมบัญชีกลางไมได้กาหนดเงื่อนไขช่วงระยะการยืน่ เรื่ องขอรับฯอย่างน้อยต้องหลังวันเกิดของท่านเอกสาร หลักฐานที่ตอ้ งใช้สาหรับยืน่ เรื่ องขอรับฯต่อนายทะเบียนต้นสังกัดของท่านมีดงั นี้ 1) แบบขอรับเงินเพิ่ม (แบบ 5316) ขอรับได้ที่ส่วนราชการผูเ้ บิก 2) สาเนาบัญชีเงินฝากธนาคารที่รับโอนเงินบาเหน็จดารงชีพ (ต้องไม่เป็ นบัญชีเงินฝากธนาคาร ประเภทประจา) ตัวอย่ำง ท่านได้รับบานาญรายเดือน เดือนละ 32,000 บาท สิทธิในการขอรับ การคานวณบาเหน็จดารงชีพ = 32,000 X 15 - 480,000 บาท รับบาเหน็จดารงชีพไปแล้วสองครั้ง = 200,000+200,000 บาท ดังนั้นจะมีสิทธิได้รับบาเหน็จดารงชีพครั้งที่ 3 = 80.,000 บาท

23

บำเหน็จคำ้ ประกัน บาเหน็จค้ าประกัน คือ การที่กรมบัญชีกลางหรื อสานักงานคลังจังหวัดได้ออกหนังสือรับรอง บาเหน็จตกทอดส่วนที่เหลืออยู่ (หักเงินบาเหน็จดารงชีพที่ขอรับไปแล้ว)เพื่อให้ผรู ้ ับบานาญไปใช้เป็ น หลักประกันการกูเ้ งินกับธนาคารที่เข้าร่ วมโครงการ สืบเนื่องจากผูร้ ับบานาญเมื่อออกจากราชการไปแล้ว อาจประสบปัญหาทางด้านการเงินประสงค์จะขอกู้ เงินกับธนาคารแต่ไม่สามารถกูไ้ ด้ เนื่องจากไม่มีหลักประกันที่ดี ทางราชการจึงช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อน ให้นาเงินบาเหน็จตกทอดส่วนที่เหลือค้ าประกันการกูเ้ งินธนาคาร โดยออกเป็ นหนังสื อรับรองฯ ไม่ได้เป็ นตัวเงิน สาหรับผูร้ ับบานาญที่จะขอใช้สิทธิบาเหน็จค้ าประกันได้ ต้องเป็ นผูจ้ ดั ทาหนังสือแสดงเจตนาระบุตวั ผูร้ ับ บาเหน็จตกทอดของข้าราชการ (แบบ 1) และยืน่ ต่อนายทะเบียนต้นสังกัด (ส่วนราชการผูเ้ บิกบานาญ) เพื่อบันทึก ข้อมูลในฐานระบบให้เรี ยบร้อยก่อน จึงจะขอใช้สิทธิบาเหน็จค้ าประกันได้

ขั้นตอนกำรขอใช้ สิทธิบำเหน็จคำ้ ประกัน กระบวนการขอใช้สิทธิบาเหน็จค้ าประกันมีข้นั ตอนโดยสรุ ปดังนี้ 1. เมื่อท่านมีความประสงค์จะขอใช้สิทธิบาเหน็จค้ าประกัน ท่านต้องไปติดต่อยืน่ คาร้องขอรับ หนังสือรับรองบาเหน็จค้ าประกันต่อส่วนราชการผูเ้ บิกบานาญของท่าน 2. ส่วนราชการจะดาเนินการตรวจสอบสิทธิของท่าน โดยเฉพาะฐานข้อมูลประวัติของท่านใน ระบบๆ จะต้องมีการแสดงเจตนาระบุตวั ผูร้ ับบาเหน็จตกทอดไว้ มิฉะนั้นจะใช้สิทธิไม่ได้ และท่านต้องยินยอม ให้ส่วนราชการผูเ้ บิ กบานาญหักเงินบานาญรายเดือนเพื่อชาระคืนงินกูแ้ ก่ธนาคารพร้อมทั้งแจ้งให้ทายาทหรื อ บุคคลที่มีสิทธิ ได้รับบาเหน็จตกทอดได้รับทราบถึงการใช้สิทธิดงั กล่าว 3. ส่วนราชการผูเ้ บิกที่รับเรื่ องฯ จะดาเนินการบันทึกการขอรับหนังสือรับรองบาเหน็จค้ า ประกันส่งให้กรมบัญชีกลางหรื อสานักงานคลังจังหวัดต่อไป 4. กรมบัญชีกลาง/สานักงานคลังจังหวัด จะตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในระบบฯ และพิจารณาอนุ มตั ิออกหนังสือรับรองบาเหน็จค้ าประกัน โดยจัดส่ งหนังสือรับรองฯ ให้ผขู ้ อใช้สิทธิโดยตรง ทางไปรษณี ยห์ รื อแจ้งความประสงค์ขอรับด้วยตนเองหรื อมอบให้ผอู ้ ื่นมารับแทนตามแบบที่กาหนด

24

25

ขั้นตอนกำรขอใช้ สิทธิบำเหน็จคำ้ ประกัน (อีกแบบ) กระบวนการใช้สิทธิบาเหน็จค้ าประกันมีข้นั ตอนโดยสรุ ปดังนี้ 1. เมื่อท่านได้รับหนังสือรับรองบาเหน็จค้ าประกันจากกรมบัญชีกลาง/สนง.คลังจังหวัดแล้ว สิ่งที่ท่าน ควรทาอันตับแรก ท่านควรหาข้อมูลเปรี ยบเทียบเงื่อนไซการกูเ้ งิน การผ่อนชาระคืนและอัตราดอกเบี้ยเงินกูข้ อง แต่ละธนาคารที่เข้าร่ วมโครงการให้ตีก่อน เนื่องจากมีธนาคารเข้าร่ วมโครงการถึง 14 ธนาคาร (ในหน้า 29) 2. เมื่อพิจารณาอย่างรอบคอบแล้ว ท่านนาหนังสือรับรองฯ ติดต่อธนาคารที่พจิ ารณาแล้ว เพื่อดาเนิ นการ ขอกูเ้ งินได้ทนั ที 3.ธนาคารจะตรวจสอบข้อมูลในระบบฯ พิจารณาอนุมตั ิพร้อมจ่ายเงินกูใ้ ห้แก่ท่านพร้อมส่งข้อมูลการกู้ เงินของท่านผ่านระบบฯ ให้กรมบัญชีกลาง เพื่อหักเงินชาระหนี้ 4.หากท่านผิดสัญญาเงินกูห้ รื อเสียชีวิตและยังคงเหลือเงินที่ตอ้ งชาระคืนเงินกูแ้ ก่ธนาคาร กรมบัญชีกลางจะชาระคืนเงินกูใ้ นส่วนที่เหลือ ให้แก่ธนาคาร (แต่ตอ้ งไม่เกินสิทธิในบาเหน็จตกทอดที่ระบุใน หนังสือรับรองสาหรับเงินส่วนต่างที่เหลือจากการชาระเงินกูแ้ ก่ธนาคารแล้วจะจ่ายคืนให้แก่ทายาทหรื อบุคคลผู ้ มีสิทธิได้รับบาเหน็จตกทอดต่อไป 5. กรณี ที่ท่านชาระเงินกูม้ าระยะเวลาหนึ่งหากต้องการกูเ้ งินเพิ่มเติมท่านก็สามารถตกลงกับธนาคารเพื่อ ขอขยายวงเงินกูไ้ ด้จากหนังสือค้ าประกันฉบับเดิมโดยไม่ตอ้ งขอหนังสือฉบับใหม่จาก สนง.คลังจังหวัด

26

27

ธนำคำรทีเ่ ข้ ำร่ วมบำเหน็จบำนำญคำ้ ประกัน

ที่มา : กลุ่มงานวิชาการและกากับการคลัง สานักงานคลังเขต 5 28

บำเหน็จตกทอด บาเหน็จตกทอด คือ เงินที่รัฐจ่ายเพื่อบรรเทาความเดือตร้อนให้แก่ทายาทของผูร้ ับบานาญ หรื อบาเหน็จ รายเดือนที่ถึงแก่ความตาย ซึ่งจ่ายเป็ นเงินก้อนครั้งเดียว สู ตรคำนวณ กรณี ผรู ้ ับบานาญเสียชีวิต = (บานาญ+ช.ค.บ.(ถ้ามี) x 30 เท่า หัก บาเหน็จดารงชีพที่ได้รับไปแล้วบาเหน็จตกทอด กรณี ผรู ้ ับบาเหน็จรายเดือนเสียชีวติ = บาเหน็จรายเดือน x 15 เท่า สัดส่วนการจ่ายเงินบาเหน็จตกทอดให้ทายาทตามกฎหมาย ดังนี้ 1. คู่สมรส 1 ส่วน 2. บุตร 2 ส่วน (บุตร 3 คนขึ้นไปให้ได้รับ 3 ส่วน) 3. บิดา/มารดา 1 ส่วน หมายเหตุ : 1.ถ้าไม่มีทายาทตามลาดับ 1 - 3 ให้จ่ายให้ผทู ้ ี่ผรู ้ ับบานาญได้แสดงเจตนาฯ ไว้ ตามแบบแสดงเจตนา ระบุตวั ผูร้ ับบาเหน็จตกทอด 2.หากผูร้ ับบานาญไม่มีทายาทและไม่ได้แสดงเจตนาฯ ตามแบบที่กาหนด ถือว่าการจ่ายบาเหน็จตกทอดเป็ นอันยุติ ตัวอย่ำง ท่านรับบานาญ 24,000 บาท + ช.ค.บ.1,500 บาท = 25,500 x 30 เท่า = 765,000 บาท หัก บาเหน็จดารงชีพที่รับไป 2 ครั้ง (200,000 + 160,000) บาเหน็จตกทอดที่ทายาทท่านจะได้รับทั้งหมด = 765,000- 360,000 = 405,000 บาท

29

กำรขอรับบำเหน็จตกทอด กรณี ผรู ้ ับบานาญเสียชีวิตทายาทตามกฎหมายหรื อผูท้ ี่ผูร้ ับบานาญหรื อผูร้ ับบาเหน็จรายเดือนแสดง เจตนาระบุตวั ผูร้ ับบาเหน็จตกทอดไว้ ต้องจัดเตรี ยมเอกสารหลักฐานมาติดต่อกับส่วนราชการผูเ้ บิก เพือ่ ดาเนินการยืน่ เรื่ องขอรับเงินบาเหน็จตกทอดดังนี้ 1. หลักฐานเกี่ยวกับการตายของผูร้ ับบานาญ (สาเนาใบมรณบัตร) 2. หลักฐานของทายาทตามกฎหมาย หรื อ ผูท้ ี่ผรู ้ ับบานาญแสดงเจตนาระบุตวั ผูร้ ับบาเหน็จตกทอด แล้วแต่กรณี 2.1 หลักฐำน - บิดำของผู้รับบำนำญ/ บำเหน็จรำยเดือน 1.สาเนาทะเบียนบ้าน 2.สาเนาใบมรณบัตร/ หนังสือรับรองการตายของผูท้ ี่ควรเชื่อถือได้กรณี บิดาตายไปก่อนแล้ว 3.สาเนาทะเบียนสมรส/ ใบสาคัญการสมรส/หลักฐานการหย่ากับมารดา/หนังสือรับรองของผูค้ วร เชื่อถือได้ที่รับรองว่า บิดามารดาสมรสก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2478 (กรณี ไม่มีหลักฐานสมรส) /ทะเบียนบ้าน/สูติ บัตรของบุตรร่ วมบิดามารดาเดียวกันซึ่งเกิดภายในปี 2478 หรื อก่อนนั้น 4.สาเนาสมุตบัญขีเงินฝากธนาคาร หน้าที่มีชื่อและเลขที่บญั ชีเงินฝากฯประเภทออมทรัพย์ สะสมทรัพย์ หรื อกระแสรายวัน ยกเว้น บัญชีเงินฝากประเภทประจา 2.2 หลักฐำน - มำรดำของผู้รับบำนำญ/บำเหน็จรำยเดือน 1.สาเนาทะเบียนบ้าน 2.สาเนาใบมรณบัตร/หนังสือรับรองการตายของผูท้ ี่ควรเชื่อถือได้ กรณี มารดาตายไปก่อนแล้ว 3.สาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร หน้าที่มีชื่อและเลขที่บญั ชีเงิน ฝากฯประเภทออมทรัพย์ สะสมทรัพย์ หรื อกระแสรายวัน ยกเว้น บัญชีเงินฝากประเภทประจา

30

2.3 หลักฐำน - คู่สมรสตำมกฎหมำยของผู้รับบำนำญ/บำเหน็จรำยเดือน 1.สาเนาทะเบียนบ้าน 2.สาเนาทะเบียนสมรส/ ใบสาคัญการสมรส 3.สาเนาใบมรณบัตร/ หนังสือรับรองการตายของผูท้ ี่ควรเชื่อถือได้กรณี คู่สมรสตายไปก่อนแล้ว 4.สาเนาทะเบียนการหย่า ใบสาคัญการหย่า/คาสัง่ ศาลกรณีที่มีการหย่า 5.สาเนาคาพิพากษา/ คาสัง่ ศาลที่แสดงว่าคู่สมรสคนใดเป็ นคู่สมรสที่ขอบด้วยกฎหมาย กรณี ที่มกี าร สมรสซ้อน 6.สาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร หน้าที่มีชื่อและเลขที่บญั ชีเงินฝากฯประเภทออมทรัพย์ สะสมทรัพย์ หรื อกระเสรายวัน ยกเว้น บัญชีเงินฝากประเภทประจา 2.4 หลักฐำน - บุตรของผู้รับบำนำญ/ บำเหน็จรำยเดือน 1.สาเนาทะเบียนบ้าน 2.สาเนาทะเบียนการรับบุตรบุญธรรม กรณี ที่เป็ นบุตรบุญธรรม 3.สาเนาใบมรณบัตร/ หนังสือรับรองการตายของผูท้ ี่ควรเชื่อถือได้กรณี บุตรคนใดได้ตายไปก่อนแล้ว 4.สาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร หน้าที่มีชื่อและเลขที่บญั ชีเงินฝากฯประเภทออมทรัพย์ สะสมทรัพย์ หรื อกระแสรายวัน ยกเว้น บัญชีเงินฝากประเภทประจา

กรณีไม่ มที ำยำทตำมกฎหมำย 2.5 หลักฐำน - บุคคลที่ผ้รู ับบำนำญแสดงเจตนำระบุตวั ผู้รับบำเหน็จตกทอด 1.สาเนาทะเบียนบ้าน/สาเนาบัตรประซาชน 2.แบบหนังสือแสดงเจตนาระบุตวั ผูร้ ับบาเหน็จตกทอด 3.สาเนาใบมรณบัตร /หนังสือรับรองการตายของผูท้ ี่ควรเชื่อถือได้กรณี บิดา มารดา ของผูร้ ับบานาญ เสียชีวิต 4.กรณี ผรู ้ ับบานาญมีคู่สมรส และ หรื อ บุตร และเสียชีวิตให้แนบสาเนาใบมรณบัตร/หนังสือรับรองการ ตายของผูท้ ี่ควรเชื่อถือได้ 5.สาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร หน้าที่มีชื่อและเลขที่บญั ชีเงินฝากฯประเภทออมทรัพย์ สะสมทรัพย์ หรื อกระแสรายวัน ยกเว้น บัญชีเงินฝากประเภทประจา

31

เงินช่ วยพิเศษ (ค่ ำทำศพ) เมื่อผูร้ ับบานาญเสียชีวิต รัฐจะจ่ายเงินช่วยเหลือให้แก่บุคคลที่ผรู ้ ับบานาญแสดงเจตนาให้เป็ นผูร้ ับเงิน ช่วยพิเศษหรื อทายาทตามกฎหมายของผูร้ ับบานาญเพื่อใช้ในการจัดการงานศพให้แก่ผรู ้ ับบานาญ สู ตรคำนวณ เงินช่วยพิเศษ - (บานาญ+ช.ค.บ.(ถ้ามี) ) x 3 เท่า ตัวอย่ำง ท่านรับบานาญ 24,000 บาท + ช.ค.บ.1,500 บาท = 25,500 x 3 เท่า = 76,500 บาท กำรจ่ำยเงินช่ วยพิเศษ จะจ่ำยตำมลำดับผู้มสี ิทธิ ดังนี้ 1. ผูท้ ี่ผรู ้ ับบานาญแสดงเจตนาระบุตวั ผูร้ ับเงินช่วยพิเศษ 2. คู่สมรส (กรณี ถา้ ผูร้ ับบานาญไม่ได้แสดงเจตนาระบุตวั ผูร้ ับเงินช่วยพิเศษ) 3. บุตร (กรณี มีบุตรหลายคน บุตรจะต้องลงชื่อยินยอมให้บุตรคนใดคนหนึ่งขอรับและต้องไม่มีบุคคล ตามลาดับที่ 1 และ 2 แล้ว) 4.บิดามารดา (กรณีไม่มีบุคคลตามลาดับที่ 1-3 แล้ว)

กำรขอรับเงินช่ วยพิเศษ การยืน่ เรื่ องขอรับเงินช่วยพิเศษจากส่ วนราชการผูเ้ บิกนั้น ผูม้ ีสิทธิรับเงิน คือ บุคคลที่ผรู ้ ับบานาญแสดง เจตนาไว้หรื อทายาทตามกฎหมายของผูร้ ับบานาญต้องจัดเตรี ยมเอกสารหลักฐานคือ 1. แบบคาขอรับเงินช่วยพิเศษ (ขอรับเอกสารนี้จากส่วนราชการผูเ้ บิก) 2. เอกสารประกอบแบบคาขอรับเงินฯ ดังนี้  ใบมรณบัตรของผูร้ ับบานาญ  หลักฐานที่แสดงความเป็ นผูม้ ีสิทธิได้รับเงินช่วยพิเศษ เช่น สาเนาทะเบียนบ้าน หลักฐานการสมรสเป็ นต้น หมำยเหตุ : ต้องยืน่ เรื่ องขอรับเงินช่วยพิเศษ ภายใน 1 ปี นับแต่วนั ที่ผรู ้ ับบานาญเสียชีวิต

32

สวัสดิกำรเกีย่ วกับกำรรักษำพยำบำล เมื่อท่านออกจากราชการ และได้รับอนุมตั ิให้ได้รับบานาญเรี ยบร้อยแล้ว ราชการยังคงดูแลให้สวัสดิการ เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลท่านและบุคคลในครอบครัวเช่นเดียวกับข้าราชการทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ของพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ.2553 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และหลักเกณฑ์ ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยวิธีการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ.2553และที่ แก้ไขเพิ่มเติม หากท่านมีขอ้ สงสัย สามารถอบถามเพิ่มเติมได้ที่ส่วนราชการผูเ้ บิกของท่านกรมบัญชีกลาง หรื อ สานักงานคลังจังหวัดใกล้บา้ นท่าน

สวัสดิกำรเกีย่ วกับกำรศึกษำของบุตร เมื่อท่านออกจากราชการ และได้รับอนุมตั ิให้ได้รับบานาญเรี ยบร้อยแล้ว ราชการยังคงดูแลให้สวัสดิการ เกี่ยวกับการศึกษาของบุตรเช่นเดียวกับข้าราชการ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามพระราชกฤษฎีกาเงิน สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรพ.ศ.2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการ เบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ.2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หากท่านมีขอ้ สงสัย สามารถสอบถามเพิม่ เติมได้ที่ส่วนราชการผูเ้ บิกของท่านกรมบัญชีกลางหรื อ สานักงานคลังจังหวัดใกล้บา้ นท่าน

33

ค่ ำใช้ จ่ำยในกำรเดินทำงกลับภูมลิ ำเนำเดิม ภูมลิ ำเนำเดิม หมายถึง ท้องที่ที่เริ่ มรับราชการ หรื อกลับเข้ารับราชการใหม่ บุคคลในครอบครัว หมายถึง ( 1) คู่สมรส (2) บุตร (3) บิดามารดาของผูเ้ ดินทางและหรื อบิดามารตาของ คู่สมรส และ (4) ผูต้ ิดตาม สิทธิในกำรเบิก ผูเ้ กษียณอายุราชการสามารถบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางกลับภูมิลาเนาเดิม สาหรับตนเองและบุคคลใน ครอบครัวตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ 1.รายการค่าเช่าที่พกั ค่าพาหนะ ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว เพื่อกลับภูมิลาเนาเดิม 2.ถ้าจะเบิกต่าใช้จ่ายไปท้องที่อื่นซึ่งมิใช่ภูมิลาเนาเติมโตยเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางไม่สูงกว่า ต้อง ได้รับอนุมตั ิจากอธิบดี (สาหรับราชการส่วนกลาง) หรื อผูว้ า่ ราชการจังหวัด (สาหรับราชการส่วนภูมิภาค) 3.ต้องเดินทางและขนย้ายภายใน 180 วันนับแต่ออกจากราชการ ถ้าเกินต้องขอทาความตกลงกับ กระทรวงการคลัง

ตรวจสอบสิ ทธิภำยหลังเกษียณ สาหรับท่านที่เลือกรับบานาญ เมื่อท่นออกจากราชการไปแล้ว สิ่งที่ท่านจะละเลยไม่ได้ คือ การรักษา ควำมถูกต้องเกีย่ วกับข้ อมูลประวัตขิ องท่ ำน ไม่ว่าจะเป็ นข้อมูลส่วนตัว หรื อทายาทตามกฎหมาย หรื อบุคคลที่ ท่านแสดงเจตนาไว้หากมีการเปลี่ยนแปลงหรื อแก้ไข ทาให้ขอ้ มูลประวัติตวั บุคคลไม่เหมือนเดิมตามที่ได้บนั ทึก ไว้ในระบบฯ ท่านต้องรี บนาเอกสารที่เกี่ยวข้องไปแจ้งกับนายทะเบียนต้นสังกัด (ส่วนราชการที่ขอเบิกบานาญ) ของท่น เพื่อแก้ไขข้อมูลประวัติในระบบให้ถูกต้อง เช่น  ชื่อ สกุล ของท่านและบุคคลที่เกี่ยวข้อง  ที่อยู่ ของท่านและบุคคลที่เกี่ยวข้อง  เบอร์โทรศัพท์ ของท่านและบุคคลที่เกี่ยวข้อง  บัญชีเงินฝากธนาคารที่รับโอนเงินบานาญ  รายการลดหย่อนภาษี ทั้งนี้ เพื่อรักษาสิทธิประโยชน์ของท่านและบุคคลที่เกี่ยวข้อง และท่านควรติดต่อนำยทะเบียนต้นสังกัด (ส่วนราชการที่ขอเบิกบานาญ อย่ำงน้ อยปี ละ 1 ครั้ง เพื่อสอบถามข่าวสารจากราชการหรื อการเปลี่ยนแปลง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ของท่าน

34

กำรโอนบำนำญไปส่ วนรำชกำรผู้เบิกใหม่ สาหรับท่านที่เลือกรับบานาญเมื่อเกิดความไม่สะดวกในการติดต่อส่วนราซการผูเ้ บิกบานาญเดิม ท่าน สามารถแจ้งความประสงค์ขอโอนบานาญไปยังส่วนราชการผูเ้ บิกใหม่ได้ในส่วนราชการเดียวกัน (สังกัต เดียวกัน) โดยมีช้นั ตอนคาเนินการดังนี้ 1.ท่านแจ้งความประสงค์ต่อส่วนราซการผูเ้ บิกบานาญเดิม เพื่อขอโอนการรับบานาญไปส่วนราชการผู ้ เบิกใหม่ 2.ส่วนราชการผูเ้ บิกบานาญเดิมของทาน จะจัดทาหนังสือสาคัญการโอนเบี้ยหวัดบานาญ (แบบ สรจ.1 1) เสนอผูม้ ีอานาจให้ความเห็นซอบแล้วส่งข้อมูลผ่านระบบบาเหน็จบานาญ (ระบบ e Pension) ไปในกรมบัญชีกลาง เพื่อสัง่ จ่ายโอนบานาญไปจ่ายทางส่วนราชการผูเ้ บิกใหม่กรณี ไม่สามารถส่ งหลักฐานผ่านระบบบาเหน็จบานาญได้ ให้ส่งทางไปรษณี ย ์ 3.กรมบัญชีกลางตรวจสอบข้อมูลและพิจารณาสัง่ ให้โอนบานาญ และส่งแบบสรจ.11 ให้ส่วนราชการผู ้ เบิกเดิมและส่วนราชการผูเ้ บิกใหม่ ผ่านระบบบาเหน็จบานาญ (ระบบ e-Pension) เพื่อแจ้งนายทะเบียนผู ้ รับ บาเหน็จบานาญบันทึกรายการทางทะเบียนต่อไป หมำยเหตุ : เมื่อกรมบัญชีกลางสัง่ โอนบานาญไปส่วนราชการผูเ้ บิกใหม่เรี ยบร้อยท่านสามารถติดต่อ เกี่ยวกับการขอเบิกสิทธิประโยชน์ต่างๆ ได้จากส่วนราชการผูเ้ บิกใหม่ อาทิ ค่ารักษาพยาบาล บาเหน็จตกทอด การเปลี่ยนแปลงข้อมูลของท่าน เป็ นต้น

35

เตรียมควำมพร้ อมสำหรับทำยำท 1. การรวบรวมเอกสารที่สาคัญของตนเอง โดยเฉพาะผูเ้ กษียณอายุราชการที่เลือกรับบานาญ ควรต้อง รวบรวมอกสารที่สาคัญของตนเองที่ทางราชการออกให้เพือ่ ให้ทายาทนาไปใช้ประกอบการขอรับบาเหน็จตก ทอด และเงินช่วยพิเศษ(ค่าทาศพ) ในคราวที่ผรู ้ ับบานาญเสียชีวิต 2. หลักฐานสาคัญของทายาท โดยการเตรี ยมเอกสารที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างผูร้ ับบานาญกับ ทา ยาท ซึ่งได้แก่ คู่สมรส บุตร บิดามารดา เพื่อมิให้เกิดการเสียสิทธิในการขอรับบาเหน็จตกทอดและเงินช่วยพิเศษ (ค่าทาศพ) กรณีที่ผรู ้ ับบานาญเสียชีวติ 3. จัดทาหนังสือแสดงเจตนา ใน 2 เรื่ อง คือ (1) หนังสือแสดงเจตนาระบุตวั ผูร้ ับบาเหน็จตกทอด (2) หนังสือแสดงเจตนาระบุตวั ผูร้ ับเงินช่วยพิเศษ (ค่าทาศพ) กรณี ที่มกี ารจัดทาหนังสือแสดงเจตนาไว้แล้ว หากประสงค์ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงตัวบุคคล ใหม่ หรื อกาหนดสัดส่วนการได้รับใหม่ ให้ติดต่อส่วนราชการผูเ้ บิกเพื่อขอแก้ไขให้เป็ นปัจจุบนั 4. แจ้งชื่อเจ้าหน้าที่หรื อส่วนราชการที่จะให้ทายาทติดต่อ เพื่อให้ทายาทได้ รับทราบ จะได้สะดวกใน การติดต่อขอรับสิทธิจากทางราซการในแต่ละกรณี

ช่ องทำงกำรติดต่ อสื่ อสำร มีขอ้ สงสัยเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ควรติดต่อสอบถามจากผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. ติดต่อสอบถามจากนายทะเบียนบานาญที่ส่วนราชการต้นสังกัดของผูร้ ับบานาญก่อน 2. หากติดต่อนายทะเบียนบานาญของท่านแล้ว ยังแก้ไขปัญหาหรื อข้อสงสัยของท่านไม่ได้สามารถ โทรศัพท์สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่กองบริ หารการเบิกจ่ายเงินเดือน คาจ้าง บาเหน็จบานาญ กรมบัญชีกลาง หมายเลขโทรศัพท์กลาง 0-2127-7000 3. เพจ Facebook สนง.คลังเขตห้า 4. ติดต่อ สานักงานคลังเขต 5 จังหวัดเชียงใหม่ หมายเลขโทรศัพท์ 0-5311-2482-4 5. E-mail [email protected]

36

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.