เกษตรกรตัวอย่าง แปลงใหญ่ 65_สตท.1-3 Flipbook PDF

เกษตรกรตัวอย่าง แปลงใหญ่ 65_สตท.1-3

49 downloads 108 Views 61MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

ถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ สตท. 1 – สตท.3 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ส านักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565


การถอดบทเรียนเกษตรกร โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจ าปีงบประมาณ2565 ส านักตรวจบัญชีสหกรณ์ชัยนาท ชื่อ-สกุล นายส าเริง ทับเส็ง อายุ58 ปี การศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี ที่อยู่18 ม.9 ต.ท่าฉนวน อ.มโนรมย์จ.ชัยนาท โทรศัพท์082-7064610 อาชีพ เกษตรกร ปลูกส้มโอ แนวความคิดหรือคติประจ าใจ ใช้ชีวิตอยู่บนความพอดี ไม่มากเกินไปไม่น้อยเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น และเตรียมตัวรับ ความเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน มีความสุขกับสิ่งที่มี การถอดบทเรียนเกษตรกร 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : ปลูกส้มโอ 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ เริ่มปลูกส้มโอเพราะสภาพดินและพื้นที่โดยรอบเหมาะแก่การปลูกส้มโอ ข้อดีของส้มโออีกอย่างหนึ่งที่จูงใจ ให้ชาวสวนนิยมปลูกกัน ก็คือเป็นผลไม้ที่จะยืดอายุการเก็บเกี่ยวได้พอสมควรหากว่ายังไม่พร้อมที่จะจ าหน่ายหรือ ถึงแม้ว่าเก็บเกี่ยวแล้ว แต่ยังจ าหน่ายไม่หมดก็ยังสามารถเก็บไว้ได้อีกหลายวัน โดยไม่เสียหายเหมือนผลไม้ชนิดอื่น แต่การผลิตส้มโอก็ใช่ว่าจะง่ายดายและประสบผลส าเร็จทุกรายเสมอไป เพราะส้มโอก็มีโรคแมลงศัตรูพืชรบกวนอยู่ เป็นประจ าโดยเฉพาะโรครากเน่า-โคนเน่า และอื่นๆ อีกมากมาย


3. วิธีการ/การด าเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน 3.1 ฤดูปลูกที่เหมาะสมคือช่วงฤดูฝน ให้ขุดหลุมปลูกขนาดกว้างและลึกประมาณ 50 เซนติเมตร 3.2 ผสมดิน ปุ๋ยคอกในหลุมให้เข้ากัน ให้สูงประมาณ 2 ใน 3 ของหลุม วางถุงต้นกล้าส้มโอลงในหลุมโดย ให้ระดับของดินในถุงต้นกล้าสูงกว่าระดับดินปากหลุมเล็กน้อย 3.3 กดดินบริเวณโคนต้นให้แน่น ปักไม้หลักและผูกเชือกยึด เพื่อป้องกันลมพัดโยก และหาวัสดุคลุมดิน บริเวณโคนต้น เช่นฟางข้าว หญ้าแห้ง 3.4 รดน้ าให้โชก และท าร่มเงาเพื่อป้องกันแสงแดด ใช้เวลา 5-6 ปี จึงจะเริ่มให้ผลผลิต ระหว่างนี้ใส่ปุ๋ย รดน้ า และดายหญ้าเป็นประจ า


4.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใช้น้ าหมักจุลินทรีย์ชีวภาพ และปุ๋ยคอก เพื่อความปลอดภัยและลดสารเคมีตกค้างในดิน


5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ 5.1 จดบันทึกบัญชีรับ - จ่ายในครัวเรือน และบัญชีตันทุนประกอบอาชีพตามประเภทรายการที่เกิดขึ้น โดยได้รับการสนับสนุนและค าปรึกษาจากเจ้าหน้าที่ส านักงานตรวจสหกรณ์ชัยนาท ในเรื่องของสมุดบันทึก รายรับ – รายจ่ายครัวเรือน และบัญชีต้นทุนอาชีพ 5.2 ค านวณยอดรวมรายรับ – รายจ่ายและยอดเงินคงเหลือทุกวัน ทุกเดือนที่มีรายการเกิดขึ้น 5.3 การจดบันทึกรายได้ บันทึกต้นทุน/ค่าใช้จ่าย จากการประกอบอาชีพ ทั้งปริมาณและจ านวนเงิน เพื่อวัดผลเชิงก าไร – ขาดทุน ในขั้นตอนสุดท้าย และใช้เป็นแผนก าหนดการผลิตในฤดูกาลถัดไป 6. การให้ค าปรึกษาแนะน าแก่เกษตรกร ได้ให้ค าแนะน าการจัดท าบัญชีต้นทุนอาชีพ แก่เพื่อนเกษตรกร 7. ผลงานและความส าเร็จ ลดต้นทุนโดยการใช้น้ าหมักจุลินทรีย์ชีวภาพ ลดการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้ถึง 70% เป็นผลดีต่อผู้ปลูก และผู้บริโภค เมื่อไม่ใช้สรเคมีก็จะลดความเสี่ยงต่อสุขภาพในระยะยาว 8. ปัญหาและอุปสรรค ประสบปัญหาศัตรูพืชจ าพวกหนอน มีผลท าให้ผิวของส้มโอไม่สวยงามท าให้เสียราคา อีกทั้งยังมีโรคราก เน่า-โคนเน่า และอื่นๆ อีกมากมาย


การถอดบทเรียนเกษตรกร โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจ าปีงบประมาณ2565 ส านักตรวจบัญชีสหกรณ์ชัยนาท ชื่อ-สกุล นายส ารวย โสธรรม อายุ56 ปี การศึกษาสูงสุด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่อยู่51/1 ม.9 ต.ท่าฉนวน อ.มโนรมย์ จ.ชัยนาท โทรศัพท์089-8394800 อาชีพ ปลูกส้มโอ อาชีพเสริม ประมงหาปลา แนวความคิดหรือคติประจ าใจ ท าปัจจุบันให้ดีที่สุด คิดอะไรอยากท าอะไรก็ลงมือท าไม่ต้องรอผัดวันประกันพรุ่ง เพราะเวลาไม่เคยคอย ใคร มีแต่เราเท่านั้นที่จะท าให้ความส าเร็จนั้นเกิดขึ้นได้ การถอดบทเรียนเกษตรกร 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : ปลูกส้มโอ 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ สาเหตุที่ท าให้มีความคิดที่จะเริ่มปลูกส้มโอ เพราะคิดว่าอยากจะใช้ที่ดินที่มีประมาณ 2 ไร่ ให้เกิด ประโยชน์มากที่สุดในระยะยาว และเห็นว่าการปลูกส้มโอนั้นให้ผลผลิตได้เรื่อยๆ จึงเริ่มปลูกและดูแลมาเรื่อยๆ จนกลายเป็นอาชีพหลักในที่สุด


3. วิธีการ/การด าเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน 3.1 ซื้อพันธ์ส้มโอจากแหล่งขาย และเตรียมขุดหลุมปลูกให้มีระยะห่างพอที่จะให้ต้นส้มโอที่โตขึ้นเบียดกัน 3.2 น าพันธ์ส้มโอที่เตรียมไว้วางตรงกลางหลุมโดยให้ระดับของดินในถุงต้นกล้าสูงกว่าระดับดินปากหลุม เล็กน้อย ใช้มีดที่คมกรีดถุงต้นกล้าจากก้นถุงขึ้นมาถึงปากถุงทั้งสองด้าน เมื่อกรีดถุงแล้วให้ดึงถุงพลาสติกอก โดยระวังอย่าให้ดินแตก กลบดินที่เหลือลงหลุม 3.3 หาวัสดุต่างๆ เช่นฟางข้าวมาคลุมดินบริเวณโคนต้น รดน้ าให้ชุ่ม 3.4 ฉีดยาและใส่ปุ๋ยควบคู่กันไป เมื่อโตขึ้นแล้วตัดแต่งกิ่งเพื่อให้การออกดอกติดผลดีขึ้น และเริ่มให้ ผลผลิตครั้งแรกตอนอายุ 3-4ปีขึ้นไป และให้ผลผลิตเต็มที่ตอนอายุ 8-9 ปี


4.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ท าการเกษตรโดยมีความคิดที่จะลดต้นทุนในการผลิตเลยน าวัสดุเหลือใช้มาท าปุ๋ยหมักชีวภาพจากพืชมา ใช้เอง และใช้ปุ๋ยคอกจากมูลสัตว์


5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ 5.1 จดบันทึกบัญชีรับ - จ่ายในครัวเรือน และบัญชีตันทุนประกอบอาชีพตามประเภทรายการที่เกิดขึ้น โดยได้รับการสนับสนุนและค าปรึกษาจากเจ้าหน้าที่ส านักงานตรวจสหกรณ์ชัยนาท ในเรื่องของสมุดบันทึกรายรับ – รายจ่ายครัวเรือน และบัญชีต้นทุนอาชีพ 5.2 ค านวณยอดรวมรายรับ – รายจ่ายและยอดเงินคงเหลือทุกวัน ทุกเดือนที่มีรายการเกิดขึ้น 5.3 การจดบันทึกรายได้ บันทึกต้นทุน/ค่าใช้จ่าย จากการประกอบอาชีพ ทั้งปริมาณและจ านวนเงินเพื่อ วัดผลเชิงก าไร – ขาดทุน ในขั้นตอนสุดท้าย และใช้เป็นแผนก าหนดการผลิตในฤดูกาลถัดไป 6. การให้ค าปรึกษาแนะน าแก่เกษตรกร ได้ให้ค าแนะน าการจัดท าบัญชีต้นทุนอาชีพ แก่เพื่อนเกษตรกร 7. ผลงานและความส าเร็จ ได้ผลผลิตที่ดีทุกปีและไม่เป็นการปล่อยที่ดินให้ว่างเปล่าประโยชน์และยังมีรายได้จุนเจือครอบครัว ที่เพียงพอ 8. ปัญหาและอุปสรรค การเจอโรคหนอน และใบมีเชื้อรา


การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจ าปีงบประมาณ 2565 ส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นนทบุรี ชื่อ-สกุล นายสมนึก เกตุกราย อายุ 81 ปี การศึกษาสูงสุด ประถมศึกษา ที่อยู่ 27 ม. 5 ต าบลบางตะไนย์ อ าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี อาชีพ ปลูกทุเรียน พื้นที่ 5 ไร่ แนวคิดหรือคติประจ าใจ ที่ใช้เป็นแนวทางในการด าเนินชีวิต ยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : ยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ เนื่องจากตนเองมีพื้นที่ในการท าสวนทุเรียน และได้น าต้นไม้ชนิดอื่น ปลูกเสริมในพื้นที่ร่องสวน เช่น มังคุด กล้วย มะยงชิด ผักสวนครัว เป็นต้น ปัจจุบันพื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่รอบบริเวณบ้าน โดยขุดเป็นแถวร่อง สวน ปลูกทุเรียนสลับกับมังคุด มะยงชิด มะพร้าว กล้วย ส้มโอและผักสวนครัว โดยใช้พื้นที่อย่างคุ้มค่า ตั้งแต่ปี 2554 ประสบอุทกภัยน้ าท่วมครั้งใหญ่ ท าให้ประสบปัญหาขาดทุนอย่างหนัก หลังจากน้ าลดแล้วพยายาม ปรับปรุงสภาพดิน เพื่อจะให้สวนทุเรียนฟื้นฟูได้อีกครั้ง แต่ก็ยังประสบกับปัญหาน้ าเค็มในพื้นที่ ไม่สามารถใช้ใน การเพาะปลูกทุเรียนและน ามารดในสวนได้ จึงพยายามน าต้นทุเรียนมาปลูกเพิ่มเพื่อทดแทนต้นที่ตายไป 3. วิธีการ/การด าเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน การด าเนินงานภายในสวนพยายามน าดินและสารปรับปรุงบ ารุงดิน มาใช้เพิ่มในพื้นที่สวน ขุดร่องสวนเพื่อให้น้ าได้ถ่ายเทได้ดีขึ้น ก่อนน าน้ าสูบเข้าร่องสวนจะตรวจค่าน้ าเค็มและเช็คข้อมูลจากอ าเภอ ผู้น าชุมชนก่อน เมื่อปี 2563 ยังมีผลผลิตบ้างในสวน แต่ในปี 2564 ไม่สามารถผลิตทุเรียนได้ เนื่องจากประสบ ปัญหาน้ าท่วม โรคใบไม้ รากทุเรียนไม่แข็ง ต้นทุเรียนเจอโรคต่าง ๆ - จนถึงปัจจุบัน 4. การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น าองค์ความรู้ที่ได้รับการอบรมมาท าปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต 5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ จดบันทึกรายรับ-รายจ่ายโดยเข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีเจ้าหน้าที่ให้ความรู้เพิ่มเติม จึงท าให้บันทึกรายรับ-รายจ่าย และต้นทุนอาชีพได้อย่างเป็นระบบ 6. การให้ค าปรึกษาแนะน าแก่เกษตรกร หลังจากที่ได้เข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน ความรู้เรื่องการปลูกพืช ปลูกไม้ผล การท าปุ๋ยหมัก รวมไปถึงปัญหาและอุปสรรค กับเพื่อนในโครงการระบบ ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่


7. ผลงานและความส าเร็จ 7.1 สามารถพึ่งพาตนเองได้ มีเงินเก็บออม และหนี้สินลดลง 7.2 จากการปลูกไม้ผล ท าให้ครอบครัวอยู่ได้อย่างยั่งยืน และพอเพียง 8. ปัญหาและอุปสรรค 1. ปัญหาเรื่องสภาพดิน ฟ้า อากาศ 2. ปัญหาเรื่องค่าน้ ามันราคาแพง 3. ปัญหาด้านศัตรูพืช โรคระบาดจากพืช 4. ปัญหาน้ าเค็มมีผลกระทบกับในร่องสวน


การถอดบทเรียนเกษตรกร โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจ าปีงบประมาณ2565 ส านักตรวจบัญชีสหกรณ์ชัยนาท ชื่อ-สกุล นายสัญญา เทิ้งกิ่ม อายุ45 ปี การศึกษาสูงสุด ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่อยู่519 ม.4 ต.คุ้งส าเภา อ.มโนรมย์จ.ชัยนาท โทรศัพท์083-8786080 อาชีพ เกษตรกร ท านา อาชีพเสริม รับจ้างบินโดรน แนวความคิดหรือคติประจ าใจ ใช้ชีวิตให้มีความสุขในทุกๆวัน และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง เพื่อให้ตัวเองไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคที่จะต้องเจอ การที่เรามีเชื่อมั่นจะท าให้เราประสบความส าเร็จในสิ่งที่จะท า เพราะหากเราขาดความเชื่อมั่นในสิ่งที่เราท า ย่อท้อ ต่ออุปสรรคที่ต้องเจอ เราจะประสบความส าเร็จได้ยาก การถอดบทเรียนเกษตรกร 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : ท านา 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ เริ่มจากที่เรียนจบมาแล้วอยากมีอาชีพที่ท าอยู่ที่บ้านได้ดูแลครอบครัว และเป็นอาชีพที่ท าต่อกันมาตั้งแต่ รุ่นพ่อแม่ จึงท าเกษตรกรเป็นอาชีพหลัก ต่อมาในระหว่างที่ข้าวยังไม่ได้เกี่ยวจึงหารายได้เพิ่มโดยการรับจ้างบินโด รนเป็นอาชีพเสริม ท าให้มีรายได้พออยู่พอกินไม่เดือดร้อน


3. วิธีการ/การด าเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน 3.1 เตรียมข้าวปลูกพันธุ์ กข79 ใช้วิธีหว่านข้าวงอกโดยการน าข้าวไปแช่น้ าให้งอกก่อนและจึงท าการหว่าน ในนาตม เป็นการหว่านเมล็ดข้าวที่ถูกเพาะให้รากงอกก่อนที่จะน าไปหว่านในที่ที่มีน้ าท่วมขัง เพราะหากไม่เพาะ เมล็ดเสียก่อน เมื่อหว่านแล้วเมล็ดข้าวอาจเน่าเสียได้ การเพาะข้าวทอดกล้าท าโดยการเอาเมล็ดข้าวใส่กระบุง ไปแช่น้ าเพื่อให้เมล็ดที่มีน้ าหนักเบาหรือลีบลอยขึ้นมาแล้วคัดทิ้ง แล้วน าเมล็ดถ่ายลงในกระบุงที่มีหญ้าแห้งกรุไว้ หมั่นรดน้ าเรื่อยไป อย่าให้ข้าวแตกหน่อ แล้วน าไปหว่านในที่นาที่เตรียมดินไว้แล้ว 3.2 ข้าวพันธ์นี้ใช้เวลาประมาณ 120 วันจึงจะเก็บเกี่ยวได้ ระหว่างนี้ ฉีดยาและใส่ปุ๋ยเคมี 2 ครั้งโดยใช้ปุ๋ย สูตร 18-8-8 ครั้งที่ 1 ใส่ตอนข้าวมีอายุไม่เกิน 1 เดือน ครั้งที่ 2 ใส่ตอนอายุข้าวไม่เกิน 2 เดือน 3.3 หลังจากที่ข้าวออกดอกหรือออกรวงประมาณ 20 วัน ชาวนาจะเร่งระบายน้ าออก เพื่อเป็นการเร่ง ให้ข้าวสุกพร้อมๆ กัน และท าให้เมล็ดมีความชื้นไม่สูงเกินไป จะสามารถเก็บเกี่ยวได้หลังจากระบายน้ าออกแล้ว ประมาณ 10 วัน ระยะเวลาที่เหมาะสมส าหรับการเก็บเกี่ยว เรียกว่า ระยะพลับพลึง คือสังเกตที่ปลายรวง จะมีสีเหลืองและกลางรวงเป็นสีตองอ่อน การเก็บเกี่ยวในระยะนี้จะได้เมล็ดข้าวที่มีความแข็งแกร่ง มีน้ าหนัก และมี คุณภาพในการสี


4.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่ทิ้งสารเคมีลงในแม่น้ าล าคลอง


5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ 5.1 จดบันทึกบัญชีรับ - จ่ายในครัวเรือน และบัญชีตันทุนประกอบอาชีพตามประเภทรายการที่เกิดขึ้น โดยได้รับการสนับสนุนและค าปรึกษาจากเจ้าหน้าที่ส านักงานตรวจสหกรณ์ชัยนาท ในเรื่องของสมุดบันทึกรายรับ – รายจ่ายครัวเรือน และบัญชีต้นทุนอาชีพ 5.2 ค านวณยอดรวมรายรับ – รายจ่ายและยอดเงินคงเหลือทุกวัน ทุกเดือนที่มีรายการเกิดขึ้น 5.3 การจดบันทึกรายได้ บันทึกต้นทุน/ค่าใช้จ่าย จากการประกอบอาชีพ ทั้งปริมาณและจ านวนเงิน เพื่อวัดผลเชิงก าไร – ขาดทุน ในขั้นตอนสุดท้าย และใช้เป็นแผนก าหนดการผลิตในฤดูกาลถัดไป 6. การให้ค าปรึกษาแนะน าแก่เกษตรกร ได้ให้ค าแนะน าการจัดท าบัญชีต้นทุนอาชีพ แก่เพื่อนเกษตรกร 7. ผลงานและความส าเร็จ มีรายได้ที่เพียงพอกับครอบครัว มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นจากการปฏิบัติตามแนวทฤษฎีเศรษฐกิจ แบบพอเพียง 8. ปัญหาและอุปสรรค ปัญหาขอบใบแห้ง พบบ่อยในการปลูกข้าวพันธุ์ กข79


การถอดบทเรียนเกษตรกร โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจ าปีงบประมาณ2565 ส านักตรวจบัญชีสหกรณ์ชัยนาท ชื่อ-สกุล นายสุทัศน์ จิตต์มั่น อายุ60 ปี การศึกษาสูงสุด ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่อยู่116 ม.3 ต.คุ้งส าเภา อ.มโนรมย์จ.ชัยนาท โทรศัพท์086-3422856 อาชีพ เกษตรกร ท านา อาชีพเสริม - แนวความคิดหรือคติประจ าใจ เวลาชีวิตมีไม่มากพอให้ลองผิดลองถูก ไม่ต้องใช้ชีวิตให้คุ้มค่า แต่ใช้ชีวิตให้มีคุณค่า ใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ไม่ต้องร่ ารวยเป็น เศรษฐี แต่ก็ไม่ได้อดอยากจนต้องเบียดเบียนตนเองและคนอื่น การถอดบทเรียนเกษตรกร 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : ท านา 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ ท าเกษตรกรช่วยให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นจากการปฏิบัติตามแนวทฤษฎีเศรษฐกิจแบบพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ช่วยให้มีรายได้เลี้ยงตนและครอบครัว เป็นอาชีพของบรรพบุรุษที่สืบทอดกันมา ได้ผลผลิตดี ทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี ตลาดต้องการมาก และผลผลิตขายได้ราคาดี มีแหล่งรับซื้อที่ใกล้ท าให้ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการขนส่งมาก


3. วิธีการ/การด าเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน 3.1 การเตรียมดิน คือ การไถดินช่วยพลิกดินที่กลบไว้ขึ้นมาอีกครั้ง เพื่อท าลายวัชพืชที่ขึ้นใหม่ และเป็น การย่อยดินให้มีขนาดเล็กลง จ านวนครั้งของการไถจึงขึ้นอยู่กับชนิดและปริมาณของวัชพืช ลักษณะดินและระดับ น้ าในพื้นที่ ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ าฝนด้วย แต่โดยทั่วไปแล้วจะไถเพียงครั้งเดียว 3.2 การหว่านข้าวงอก (หว่านน้ าตม) โดยใช้เมล็ดข้าวพันธุ์ กข79 ใช้ระยะเวลาประมาณ120 วันในการ เก็บเกี่ยวผลผลิต เป็นการหว่านเมล็ดข้าวที่ถูกเพาะให้รากงอกก่อนที่จะน าไปหว่านในที่มีน้ า ท่วมขัง เพราะหากไม่ เพาะเมล็ดเสียก่อน เมื่อหว่านแล้วเมล็ดข้าวอาจเน่าเสียได้ การเพาะข้าวทอดกล้า ท าโดยการเอาเมล็ดข้าวใส่กระบุง ไปแช่น้ าเพื่อให้เมล็ดที่มีน้ าหนักเบาหรือลีบลอยขึ้นมาแล้วคัดทิ้ง แล้วน าเมล็ดถ่ายลงในกระบุงที่มีหญ้าแห้งกรุไว้ หมั่นรดน้ าเรื่อยไป อย่าให้ข้าวแตกหน่อ แล้วน าไปหว่านในที่นาที่เตรียมดินไว้แล้ว 3.3 หลังจากที่หว่านข้าวไปแล้วได้ 8-12 วัน จะท าการฉีดยาคลุมหญ้าแล้วท าการหว่านปุ๋ย สูตร 18-8-8 3.4 การเก็บเกี่ยว หลังจากที่ข้าวออกดอกหรือออกรวงประมาณ 20 วัน ชาวนาจะเร่งระบายน้ าออก เพื่อเป็นการเร่งให้ข้าวสุกพร้อมๆ กัน และท าให้เมล็ดมีความชื้นไม่สูงเกินไป จะสามารถเก็บเกี่ยวได้หลังจากระบาย น้ าออกประมาณ 10 วัน ระยะเวลาที่เหมาะสมส าหรับการเก็บเกี่ยว เรียกว่า ระยะพลับพลึง คือสังเกตที่ปลายรวง จะมีสีเหลือง กลางรวงเป็นสีตองอ่อน การเก็บเกี่ยวในระยะนี้จะได้เมล็ดข้าวที่มีความแข็งแกร่ง มีน้ าหนัก ได้ผลผลิตประมาณ 90 ถังต่อไร่


4.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใช้วิธีการไถกลบและการตีนาปั่นดินแทนการเผาฟางข้าวเพื่อลดมลพิษทางอากาศ


5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ 5.1 จดบันทึกบัญชีรับ -จ่ายในครัวเรือน และบัญชีตันทุนประกอบอาชีพตามประเภทรายการที่เกิดขึ้น โดยได้รับการสนับสนุนและค าปรึกษาจากเจ้าหน้าที่ส านักงานตรวจสหกรณ์ชัยนาท ในเรื่องของสมุดบันทึกรายรับ – รายจ่ายครัวเรือน และบัญชีต้นทุนอาชีพ 5.2 ค านวณยอดรวมรายรับ – รายจ่ายและยอดเงินคงเหลือทุกวัน ทุกเดือนที่มีรายการเกิดขึ้น 5.3 การจดบันทึกรายได้ บันทึกต้นทุน/ค่าใช้จ่าย จากการประกอบอาชีพ ทั้งปริมาณและจ านวนเงินเพื่อ วัดผลเชิงก าไร – ขาดทุน ในขั้นตอนสุดท้าย และใช้เป็นแผนก าหนดการผลิตในฤดูกาลถัดไป 6. การให้ค าปรึกษาแนะน าแก่เกษตรกร ได้ให้ค าแนะน าการจัดท าบัญชีต้นทุนอาชีพ แก่เพื่อนเกษตรกร 7. ผลงานและความส าเร็จ มีเงินเก็บจากการท าอาชีพเกษตรกร สามารถเป็นพื้นที่ท ากินให้ลูกหลานในอนาคตต่อไป 8. ปัญหาและอุปสรรค แมลงศัตรูพืชที่ระบาด ท าความเสียหายต่อพืชผลทางการเกษตรเป็นปัญหาใหญ่ เพราะแมลงมีหลายร้อยชนิด แถมป้องกันและก าจัดได้ยาก บางชนิดมีขนาดเล็กขยายพันธุ์เร็ว ท าให้เกิดความเสียหายอย่างรวดเร็ว บางชนิดมีปีกบินไปได้ไกลๆ ขยายพื้นที่ระบาดได้เร็ว แมลงจะท าลายทั้งปริมาณ และคุณภาพของผลผลิต การระบาดของแมลงคาดการณ์การระบาดได้ยาก การใช้สารเคมีก าจัด นอกจากจะฆ่าแมลงศัตรูแล้วยังส่งผล กระทบกับแมลงที่มีประโยชน์และสิ่งแวดล้อมอีกด้วย


การถอดบทเรียนเกษตรกร โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจ าปีงบประมาณ2565 ส านักตรวจบัญชีสหกรณ์ชัยนาท ชื่อ-สกุล นายบุญส่ง เทิ้งกิ่ม อายุ76 ปี การศึกษาสูงสุด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่อยู่88/1 ม.3 ต.คุ้งส าเภา อ.มโนรมย์จ.ชัยนาท โทรศัพท์082-5136817 อาชีพ ท านา แนวความคิดหรือคติประจ าใจ การน าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน อยู่อย่างพอเพียงมีกินมีใช้ ไม่เป็นหนี้สิน นึกถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว มีสติในการท าสิ่งต่างๆและคิดก่อนท าเสมอ การถอดบทเรียนเกษตรกร 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : ท านา 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ การประกอบอาชีพเกษตรกรโดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เริ่มจากการที่เห็นหน่วยงานเริ่มรณรงค์ให้หันมาใช้ปุ๋ย อินทรีย์เพราะนอกจากจะลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ยเคมีแล้ว การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ยังช่วยรักษาสมดุลของธรรมชาติอีกด้วย และลดสารเคมีตกค้าง ถือว่าเป็นผลดีต่อทั้งผู้บริโภคและตัวเกษตรกรเอง อีกทั้งปัจจุบันปุ๋ยอินทรีย์หาซื้อได้ง่ายขึ้น ท าให้สะดวกต่อการซื้อ


3. วิธีการ/การด าเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน 3.1 การเตรียมดินจะท าการไถดินและจะไปไถในทิศทางสานกันเพื่อย่อยดิน และจะท าการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยคอก 3.2 การหว่านข้าวงอก (หว่านน้ าตม) เป็นการหว่านเมล็ดข้าวที่ถูกเพาะให้รากงอกก่อนที่จะน าไปหว่าน ในที่มีน้ า ท่วมขัง เพราะหากไม่เพาะเมล็ดเสียก่อน เมื่อหว่านแล้วเมล็ดข้าวอาจเน่าเสียได้การเพาะข้าวทอดกล้า ท าโดยการเอาเมล็ดข้าวใส่กระบุง ไปแช่น้ าเพื่อให้เมล็ดที่มีน้ าหนักเบาหรือลีบลอยขึ้นมาแล้วคัดทิ้ง แล้วน าเมล็ด ถ่ายลงในกระบุงที่มีหญ้าแห้งกรุไว้ หมั่นรดน้ าเรื่อยไป อย่าให้ข้าวแตกหน่อ แล้วน าไปหว่านในที่นาที่เตรียมดินไว้แล้ว 3.3 การเก็บเกี่ยว หลังจากที่ข้าวออกดอกหรือออกรวงประมาณ 20 วัน ชาวนาจะเร่งระบายน้ าออก เพื่อเป็นการเร่งให้ข้าวสุกพร้อมๆ กัน และท าให้เมล็ดมีความชื้นไม่สูงเกินไป จะสามารถเก็บเกี่ยวได้หลังจากระบาย น้ าออกประมาณ 10 วัน


4.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่ใช้สารเคมีในการท าการเกษตรแต่หันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายอีกทั้งยังเป็นการ รักษาสิ่งแวดล้อมอีกด้วย มูลสัตว์ชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น วัว ควาย ไก่ หมู ค้างคาว ซากต้นไม ใบไม้ ต้นหญ้า และสารอื่นๆ พวกกรดอะมิโน โคโมไลท์ รวมถึงแร่ธาตุต่างๆ ด้วย ซึ่งสิ่งเหล่านี้ทั้งหมดจะมีการย่อยสลาย แล้วท าให้กลายเป็นปุ๋ยอินทรีย์ตามที่เรารู้จักกัน


5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ 5.1 จดบันทึกบัญชีรับ - จ่ายในครัวเรือน และบัญชีตันทุนประกอบอาชีพตามประเภทรายการที่เกิดขึ้น โดยได้รับการสนับสนุนและค าปรึกษาจากเจ้าหน้าที่ส านักงานตรวจสหกรณ์ชัยนาท ในเรื่องของสมุดบันทึกรายรับ – รายจ่ายครัวเรือน และบัญชีต้นทุนอาชีพ 5.2 ค านวณยอดรวมรายรับ – รายจ่ายและยอดเงินคงเหลือทุกวัน ทุกเดือนที่มีรายการเกิดขึ้น 5.3 การจดบันทึกรายได้ บันทึกต้นทุน/ค่าใช้จ่าย จากการประกอบอาชีพ ทั้งปริมาณและจ านวนเงิน เพื่อวัดผลเชิงก าไร – ขาดทุน ในขั้นตอนสุดท้าย และใช้เป็นแผนก าหนดการผลิตในฤดูกาลถัดไป 6. การให้ค าปรึกษาแนะน าแก่เกษตรกร ได้ให้ค าแนะน าการจัดท าบัญชีต้นทุนอาชีพแก่เพื่อเกษตรกร 7. ท าให้มีความรู้จากการศึกษาค้นคว้า และพัฒนางานเกษตรอย่างต่อเนื่อง เช่น ใช้ปุ๋ยหมักแทนปุ๋ยเคมี ใช้สารสกัดจากพืชแทน สารเคมี เป็นต้น 8. ปัญหาและอุปสรรค ช่วงระยะที่ข้าวแตกกอพบว่ามีอาการใบผุ ใบแห้ง โรคข้าวที่ระบาดท าลายต้นข้าวจนเสียหายนั้น เกิดจาก เชื้อโรคหลายชนิด เช่น เชื้อรา เชื้อบักเตรีและเชื้อไวรัส นอกจากนี้ไส้เดือนฝอย ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนมองด้วยตา เปล่าไม่เห็น ก็สามารถท าให้ต้นข้าวเกิดเป็นโรคได้ด้วยท าให้ข้าวเกิดความเสียหาย


การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจ าปีงบประมาณ 2565 ส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นนทบุรี ชื่อ-สกุล นายชิงชัย หล่อประเสริฐ อายุ 84 ปี การศึกษาสูงสุด ประถมศึกษา ที่อยู่ 1/9 ม. 2 ต าบลบางตะไนย์ อ าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี อาชีพ ปลูกทุเรียน พื้นที่ 3 ไร่ แนวคิดหรือคติประจ าใจ ที่ใช้เป็นแนวทางในการด าเนินชีวิต เดินตามร่อยพ่อหลวงรัชกาลที่ 9 การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : ยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ เนื่องจากตนเองมีพื้นที่ในการท าสวนทุเรียน และได้น าต้นไม้ชนิดอื่น ปลูกเสริมในพื้นที่ร่องสวน เช่น มังคุด กล้วย มะยงชิด ผักสวนครัว เป็นต้น ปัจจุบันพื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่รอบบริเวณบ้าน โดยขุด เป็นแถวร่องสวน ปลูกรอบรั้วบ้าน ปลูกทุเรียนสลับกับมังคุด มะยงชิด มะพร้าว กล้วย และผักสวนครัว โดยใช้พื้นที่อย่างคุ้มค่า ตั้งแต่ปี2554 ประสบอุทกภัยน้ าท่วมครั้งใหญ่ ท าให้ประสบปัญหาขาดทุนอย่างหนัก หลังจากน้ าลดแล้วพยายามปรับปรุงสภาพดิน เพื่อจะให้สวนทุเรียนฟื้นฟูได้อีกครั้ง แต่ก็ยังประสบกับปัญหา น้ าเค็มในพื้นที่ ไม่สามารถใช้ในการเพาะปลูกทุเรียนและน ามารดในสวนได้ จึงพยายามน าต้นทุเรียนมาปลูกเพิ่ม เพื่อทดแทนต้นที่ตายไป


3. วิธีการ/การด าเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน การด าเนินงานภายในสวนพยายามน าดินและสารปรับปรุงบ ารุงดิน มาใช้เพิ่มในพื้นที่สวน ขุดร่องสวน เพื่อให้น้ าได้ถ่ายเทได้ดีขึ้น ก่อนน าน้ าสูบเข้าร่องสวนจะตรวจค่าน้ าเค็มและเช็คข้อมูลจากอ าเภอ ผู้น าชุมชนก่อน เมื่อปี 2563 ยังมีผลผลิตบ้างในสวน แต่ในปี 2564 ไม่สามารถผลิตทุเรียนได้ เนื่องจากประสบ ปัญหาน้ าท่วม โรคใบไม้ รากทุเรียนไม่แข็ง ต้นทุเรียนเจอโรคต่าง ๆ - จนถึงปัจจุบัน 4. การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น าองค์ความรู้ที่ได้รับการอบรมมาท าปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต 5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ จดบันทึกรายรับ-รายจ่ายโดยเข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีเจ้าหน้าที่ให้ความรู้เพิ่มเติม จึงท าให้บันทึกรายรับ-รายจ่าย และต้นทุนอาชีพได้อย่างเป็นระบบ 6. การให้ค าปรึกษาแนะน าแก่เกษตรกร หลังจากที่ได้เข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน ความรู้เรื่องการปลูกพืช ปลูกไม้ผล การท าปุ๋ยหมัก รวมไปถึงปัญหาและอุปสรรค กับเพื่อนในโครงการระบบ ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 7. ผลงานและความส าเร็จ 7.1 สามารถพึ่งพาตนเองได้ มีเงินเก็บออม และหนี้สินลดลง 7.2 จากการปลูกไม้ผล ท าให้ครอบครัวอยู่ได้อย่างยั่งยืน และพอเพียง


8. ปัญหาและอุปสรรค 1. ปัญหาเรื่องสภาพดิน ฟ้า อากาศ 2. ปัญหาเรื่องค่าน้ ามันราคาแพง 3. ปัญหาด้านศัตรูพืช โรคระบาดจากพืช 4. ปัญหาน้ าเค็มมีผลกระทบกับในร่องสวน


การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจ าปีงบประมาณ 2565 ส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นนทบุรี ชื่อ-สกุล นายเทวฤทธิ์ เทพนรินทร์ อายุ 54 ปี การศึกษาสูงสุด ปริญญาโท สาขาพฤกษาศาสตร์ ที่อยู่ 52/1 ม.1 ต าบลบางใหญ่ อ าเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี อาชีพ ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ พื้นที่ 7 ไร่ แนวคิดหรือคติประจ าใจ ที่ใช้เป็นแนวทางในการด าเนินชีวิต ขยัน อดทน ต่อสู้กับปัญหาในด้านต่าง ๆ การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง 1.หัวข้อการถอดบทเรียน : ยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ เนื่องจากตนเองมีบ้านเกิดที่ภาคใต้และท าสวนยางพารา แต่ตนเองเรียนจบระดับปริญญาตรีเมื่อปี 2535 จนถึงปี 2537 และได้เข้าท างานที่บริษัทในเครือสหพัฒน์ ส่วนงานที่ 1 ต าแหน่งหัวหน้าโครงการผลิตไม้ ดอกไม้ประดับในระบบการค้า โดยการใช้ระบบเพาะเนื้อเยื่อรวมถึงโครงการ รายละเอียดต่างๆ ระบบโครงสร้าง และอาคาร เขียนแบบและราคา ระบบขุดเจาะน้ าบาดาลและผลิตส่งออกได้ส่วนงานที่ 2 ในการขยายพันธุ์และ เพิ่มผลผลิตจากน้ ายางพารา แปลงสาธิตที่จ.พังงาและจ.ระยอง เมื่อปี 2538 ย้ายมาท างานในบ.อิตาเลี่ยนไทย ในต าแหน่งผู้จัดการโครงการแผนกเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อผลิตไม้ดอกไม้ประดับ ซึ่งบริษัทฯมีสาขาที่จ.จันทบุรี มีเนื้อที่ประมาณ 5,000 ไร่ มีสนามกอล์ฟและสวนผลไม้เนื่องจากต้องเดินทางไปท างานที่จันทบุรีค่อนข้างไกล และอยู่บนเขา ท าให้ท างานที่บริษัทนี้ได้ประมาณ 2 ปี ในปี 2540 ได้กลับมาศึกษาต่อระดับปริญญาโท สาขาพฤษาศาสตร์ และเมื่อปี 2542 ได้สมัครเป็นอาจารย์สอนที่มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เป็นอาจารย์ 8 ปี ระยะเวลาที่เป็นอาจารย์ได้เริ่มท า LAB ส่วนตัวที่ โดยได้รับ การสนับสนุนจากท่านอาจารย์ที่ท่านสอนตอนปริญญาโท แถวย่านบางเขน ต่อมาปี 2544 ได้เริ่ม LAB ส่วนตัวของตนเอง เพื่อผลิตของตัวเอง โดยมีออเดอร์ลูกค้าสั่งจอง จากบริษัทเดิมที่เคยท างาน และลูกค้าทั่วไป จากการเพาะท าให้สถานที่ไม่พอในการวางต้นไม้ได้ จึงต้องหาท าเล ในการวางต้นไม้ที่เพาะเนื้อเยื่อและต้นไม้ที่สามารถวางขายได้ เริ่มซื้อที่ดินบริเวณที่เป็นที่อยู่ปัจจุบันตั้งแต่ปี 2546 จนถึงปี 2556 จ านวน 8 ไร่ เป็นเงิน 8,950,000 บาท ด้วยน้ าพักน้ าแรงของตนเอง ภรรยาและครอบครัว ต่อปี 2554 ที่ประสบอุทกภัยจากน้ าท่วมท าให้ประสบปัญหา ขาดทุนจ านวน 5,000,000 บาท ท าให้รู้สึกท้อและอยากกลับไปท าสวนยางพาราที่อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี ในที่ดินของตนเองที่ซื้อไว้ จ านวน 100 ไร่ ซึ่งช่วงนั้นราคาน้ ายางพาราราคาดีมากจึงลงทุนท าสวนยางพาราไปด้วย แต่สวนไม้ดอกไม้ประดับที่บางใหญ่ก็ยังไม่ล้มเลิกยังท าต่อไป และพัฒนาต่อเนื่อง ในปี 2557 ประสบปัญหาไฟไหม้ ที่สวนยางพาราจ.กาญจนบุรี ความเสียหายจ านวน 5,000,000 บาท จึงไม่คิดจะลงทุนท าสวนยางพาราต่อ แต่ให้คนในพื้นที่เช่าท าการเกษตรแทน ด้วยมีความรักในอาชีพเกษตรกรอยู่แล้วต่อมาเข้ารับการอบรม โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีเจ้าหน้าที่ให้ความรู้เรื่องการจัดท าบัญชีรายรับ-รายจ่าย และบัญชี ต้นทุนอาชีพ จึงท าให้การจดบันทึกบัญชีเป็นระบบมากขึ้น


3.วิธีการ/การด าเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน การด าเนินงานภายในสวน 1. กิจกรรมซื้อมา ขายไป 2. กิจกรรมซื้อมาเพาะเลี้ยงต่อ 3. กิจกรรมผลิตเอง เพาะช ากล้าไม้ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และเริ่มจากจดต้นทุนจากการขายต้นไม้ ต้นทุนในการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ระยะเวลาเริ่มท าตั้งแต่ปี2564 - จนถึงปัจจุบัน 4.การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น าองค์ความรู้ที่ได้รับการอบรมมาท าปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต 5.วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ จดบันทึกรายรับ-รายจ่ายโดยเข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีเจ้าหน้าที่ให้ความรู้เพิ่มเติม จึงท าให้บันทึกรายรับ-รายจ่าย และต้นทุนอาชีพได้อย่างเป็นระบบ 6.การให้ค าปรึกษาแนะน าแก่เกษตรกร หลังจากที่ได้เข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน ความรู้เรื่องการปลูกพืช ปลูกไม้ผล การท าปุ๋ยหมัก การเลี้ยงสัตว์ รวมไปถึงปัญหาและอุปสรรค กับเพื่อนใน โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่


7.ผลงานและความส าเร็จ 7.1 สามารถพึ่งพาตนเองได้มีเงินเก็บออม และหนี้สินลดลง 7.2 จากการปลูกไม้ดอกไม้ประดับท าให้มีรายได้ที่มั่นคง และท าให้ครอบครัวอยู่ได้อย่างยั่งยืน และพอเพียง 7.3 สามารถจ าหน่ายสินค้าส่งออกต่างประเทศและการจ าหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ 8.ปัญหาและอุปสรรค 1. ปัญหาเรื่องสภาพดิน ฟ้า อากาศ 2. ปัญหาเรื่องลูกค้าเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการตลาด 3. ปัญหาด้านเครดิตในสั่งซื้อของลูกค้า 4. ปัญหาวัสดุอุปกรณ์ค่อนข้างแพงขึ้น 5. ปัญหาน้ าเค็มมีผลกระทบกับในร่องสวน 6. ปัญหาค่าไฟแพงจากการสูบน้ าออกจากร่องสวนในปี 2565


การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจ าปีงบประมาณ 2565 ส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นนทบุรี ชื่อ-สกุล นางประเมิน นาน่วม อายุ 69 ปี การศึกษาสูงสุด ประถมศึกษา ที่อยู่ 41/1 ม. 5 ต าบลบางตะไนย์ อ าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี อาชีพ ปลูกทุเรียน พื้นที่ 5 ไร่ แนวคิดหรือคติประจ าใจ ที่ใช้เป็นแนวทางในการด าเนินชีวิต ยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : ยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ เนื่องจากตนเองมีพื้นที่ในการท าสวนทุเรียน และได้น าต้นไม้ชนิดอื่น ปลูกเสริมในพื้นที่ร่องสวน เช่น มังคุด กล้วย มะยงชิด ผักสวนครัว เป็นต้น ปัจจุบันพื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่รอบบริเวณบ้าน โดยขุดเป็นแถวร่อง สวน ปลูกทุเรียนสลับกับมังคุด มะยงชิด มะพร้าว กล้วย ส้มโอและผักสวนครัว โดยใช้พื้นที่อย่างคุ้มค่า ตั้งแต่ปี 2554 ประสบอุทกภัยน้ าท่วมครั้งใหญ่ ท าให้ประสบปัญหาขาดทุนอย่างหนัก หลังจากน้ าลดแล้วพยายาม ปรับปรุงสภาพดิน เพื่อจะให้สวนทุเรียนฟื้นฟูได้อีกครั้ง แต่ก็ยังประสบกับปัญหาน้ าเค็มในพื้นที่ ไม่สามารถใช้ใน การเพาะปลูกทุเรียนและน ามารดในสวนได้ จึงพยายามน าต้นทุเรียนมาปลูกเพิ่มเพื่อทดแทนต้นที่ตายไป 3. วิธีการ/การด าเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน การด าเนินงานภายในสวนพยายามน าดินและสารปรับปรุงบ ารุงดิน มาใช้เพิ่มในพื้นที่สวน ขุดร่องสวนเพื่อให้น้ าได้ถ่ายเทได้ดีขึ้น ก่อนน าน้ าสูบเข้าร่องสวนจะตรวจค่าน้ าเค็มและเช็คข้อมูลจากอ าเภอ ผู้น าชุมชนก่อน เมื่อปี 2563 ยังมีผลผลิตบ้างในสวน แต่ในปี 2564 ไม่สามารถผลิตทุเรียนได้ เนื่องจากประสบ ปัญหาน้ าท่วม โรคใบไม้ รากทุเรียนไม่แข็ง ต้นทุเรียนเจอโรคต่าง ๆ - จนถึงปัจจุบัน


4. การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น าองค์ความรู้ที่ได้รับการอบรมมาท าปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต 5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ จดบันทึกรายรับ-รายจ่ายโดยเข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีเจ้าหน้าที่ให้ความรู้เพิ่มเติม จึงท าให้บันทึกรายรับ-รายจ่าย และต้นทุนอาชีพได้อย่างเป็นระบบ 6. การให้ค าปรึกษาแนะน าแก่เกษตรกร หลังจากที่ได้เข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน ความรู้เรื่องการปลูกพืช ปลูกไม้ผล การท าปุ๋ยหมัก รวมไปถึงปัญหาและอุปสรรค กับเพื่อนในโครงการระบบ ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 7. ผลงานและความส าเร็จ 7.1 สามารถพึ่งพาตนเองได้ มีเงินเก็บออม และหนี้สินลดลง 7.2 จากการปลูกไม้ผล ท าให้ครอบครัวอยู่ได้อย่างยั่งยืน และพอเพียง 8. ปัญหาและอุปสรรค 1. ปัญหาเรื่องสภาพดิน ฟ้า อากาศ 2. ปัญหาเรื่องค่าน้ ามันราคาแพง 3. ปัญหาด้านศัตรูพืช โรคระบาดจากพืช 4. ปัญหาน้ าเค็มมีผลกระทบกับในร่องสวน


การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจ าปีงบประมาณ 2565 ส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นนทบุรี ชื่อ-สกุล นายมาโนช ศรีสง่า อายุ 66 ปี การศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี ที่อยู่ 32/1 ม. 4 ต าบลบางตะไนย์ อ าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี อาชีพ ปลูกทุเรียน พื้นที่ 4 ไร่ แนวคิดหรือคติประจ าใจ ที่ใช้เป็นแนวทางในการด าเนินชีวิต ยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : ยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ เนื่องจากตนเองมีพื้นที่ในการท าสวนทุเรียน และได้น าต้นไม้ชนิดอื่น ปลูกเสริมในพื้นที่ร่องสวน เช่น มังคุด กล้วย มะยงชิด ผักสวนครัว เป็นต้น ปัจจุบันพื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่รอบบริเวณบ้าน โดยขุดเป็นแถวร่อง สวน ปลูกทุเรียนสลับกับมังคุด มะยงชิด มะพร้าว กล้วย ส้มโอและผักสวนครัว โดยใช้พื้นที่อย่างคุ้มค่า ตั้งแต่ปี 2554 ประสบอุทกภัยน้ าท่วมครั้งใหญ่ ท าให้ประสบปัญหาขาดทุนอย่างหนัก หลังจากน้ าลดแล้วพยายาม ปรับปรุงสภาพดิน เพื่อจะให้สวนทุเรียนฟื้นฟูได้อีกครั้ง แต่ก็ยังประสบกับปัญหาน้ าเค็มในพื้นที่ ไม่สามารถใช้ใน การเพาะปลูกทุเรียนและน ามารดในสวนได้ จึงพยายามน าต้นทุเรียนมาปลูกเพิ่มเพื่อทดแทนต้นที่ตายไป 3. วิธีการ/การด าเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน การด าเนินงานภายในสวนพยายามน าดินและสารปรับปรุงบ ารุงดิน มาใช้เพิ่มในพื้นที่สวน ขุดร่องสวนเพื่อให้น้ าได้ถ่ายเทได้ดีขึ้น ก่อนน าน้ าสูบเข้าร่องสวนจะตรวจค่าน้ าเค็มและเช็คข้อมูลจากอ าเภอ ผู้น า ชุมชนก่อน เมื่อปี 2563 ยังมีผลผลิตบ้างในสวน แต่ในปี 2564 ไม่สามารถผลิตทุเรียนได้ เนื่องจากประสบปัญหา น้ าท่วม โรคใบไม้ รากทุเรียนไม่แข็ง ต้นทุเรียนเจอโรคต่าง ๆ - จนถึงปัจจุบัน


4. การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น าองค์ความรู้ที่ได้รับการอบรมมาท าปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต 5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ จดบันทึกรายรับ-รายจ่ายโดยเข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีเจ้าหน้าที่ให้ความรู้เพิ่มเติม จึงท าให้บันทึกรายรับ-รายจ่าย และต้นทุนอาชีพได้อย่างเป็นระบบ 6. การให้ค าปรึกษาแนะน าแก่เกษตรกร หลังจากที่ได้เข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน ความรู้เรื่องการปลูกพืช ปลูกไม้ผล การท าปุ๋ยหมัก รวมไปถึงปัญหาและอุปสรรค กับเพื่อนในโครงการระบบ ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 7. ผลงานและความส าเร็จ 7.1 สามารถพึ่งพาตนเองได้ มีเงินเก็บออม และหนี้สินลดลง 7.2 จากการปลูกไม้ผล ท าให้ครอบครัวอยู่ได้อย่างยั่งยืน และพอเพียง 8. ปัญหาและอุปสรรค 1. ปัญหาเรื่องสภาพดิน ฟ้า อากาศ 2. ปัญหาเรื่องค่าน้ ามันราคาแพง 3. ปัญหาด้านศัตรูพืช โรคระบาดจากพืช 4. ปัญหาน้ าเค็มมีผลกระทบกับในร่องสวน


การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจ าปีงบประมาณ 2565 ส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นนทบุรี ชื่อ-สกุล นายสะอาด โตสิงห์ อายุ 71 ปี การศึกษาสูงสุด มัธยมศึกษาตอนปลาย ที่อยู่ 26/3 ม. 5 ต าบลบางตะไนย์ อ าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี อาชีพ ปลูกทุเรียน พื้นที่ 2 ไร่ แนวคิดหรือคติประจ าใจ ที่ใช้เป็นแนวทางในการด าเนินชีวิต ยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : ยึดหลักตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ เริ่มจาการประกอบอาชีพเกษตรกร มีการจดบันทึกบัญชีอย่างง่าย ไม่ละเอียดครบถ้วน และไม่เคยน า ข้อมูลมาใช้ประโยชน์ ต่อมาปี 2560 ได้เข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ท าให้ได้รับความรู้ เรื่องการจัดท าบัญชีอย่างเป็นระบบ คือ ได้รู้รายรับ-รายจ่าย และรู้ต้นทุน จากการบันทึกบัญชีอย่างสม่ าเสมอ ท าให้สามารถน าข้อมูลมาวิเคราะห์ เพื่อปรับเปลี่ยนขั้นตอนการปลูกหรือลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จ าเป็นออกได้อย่าง ถูกต้อง 3. วิธีการ/การด าเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน การด าเนินงานภายในสวนพยายามน าดินและสารปรับปรุงบ ารุงดิน มาใช้เพิ่มในพื้นที่สวน ขุดร่องสวนเพื่อให้น้ าได้ถ่ายเทได้ดีขึ้น ก่อนน าน้ าสูบเข้าร่องสวนจะตรวจค่าน้ าเค็มและเช็คข้อมูลจากอ าเภอ ผู้น าชุมชนก่อน เมื่อปี 2563 ยังมีผลผลิตบ้างในสวน แต่ในปี 2564 ไม่สามารถผลิตทุเรียนได้ เนื่องจากประสบ ปัญหาน้ าท่วม โรคใบไม้ รากทุเรียนไม่แข็ง ต้นทุเรียนเจอโรคต่าง ๆ - จนถึงปัจจุบัน


4. การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น าองค์ความรู้ที่ได้รับการอบรมมาท าปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต 5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ จดบันทึกรายรับ-รายจ่ายโดยเข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีเจ้าหน้าที่ให้ความรู้เพิ่มเติม จึงท าให้บันทึกรายรับ-รายจ่าย และต้นทุนอาชีพได้อย่างเป็นระบบ 6. การให้ค าปรึกษาแนะน าแก่เกษตรกร หลังจากที่ได้เข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน ความรู้เรื่องการปลูกพืช ปลูกไม้ผล การท าปุ๋ยหมัก รวมไปถึงปัญหาและอุปสรรค กับเพื่อนในโครงการระบบ ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 7. ผลงานและความส าเร็จ 7.1 สามารถพึ่งพาตนเองได้ มีเงินเก็บออม และหนี้สินลดลง 7.2 จากการปลูกไม้ผล ท าให้ครอบครัวอยู่ได้อย่างยั่งยืน และพอเพียง 8. ปัญหาและอุปสรรค 1. ปัญหาเรื่องสภาพดิน ฟ้า อากาศ 2. ปัญหาเรื่องค่าน้ ามันราคาแพง 3. ปัญหาด้านศัตรูพืช โรคระบาดจากพืช 4. ปัญหาน้ าเค็มมีผลกระทบกับในร่องสวน


การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง โครงการะบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจำปีงบประมาณ 2565 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ปทุมธานี ชื่อ-สกุล นางสาวตวงพร วสินสิทธิโชค อายุ 54 ปี การศึกษาสูงสุด ประถมศึกษาปีที่ 4 ที่อยู่ 39 หมู่ 4 ตำบลบางเตย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี อาชีพ เกษตรกร (ทำนา,ทำสวน) พื้นที่ 30 ไร่ แนวความคิดหรือคติประจำใจ ที่ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต ความคิดริเริ่ม และความพยายามฟันฝ่าอุปสรรคในการสร้างผลงาน การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ ลดต้นทุนการผลิตต่อไร่จากเดิมลง เพิ่มผลผลิตต่อไร่ และปรับรูปแบบการผลิตหรือรูปแบบ การจำหน่าย และการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตและขยายตลาด 3. วิธีการ/การดำเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน 3.1 รอบการผลิต ตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม 2564 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2565 3.2 เริ่มศึกษาวิธีการลดต้นทุนการผลิต นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะเปรียบเทียบ 3.3 นำข้อมูลที่ได้ทำการศึกษาไว้ ไปลงมือปฏิบัติ บันทึกผลเพื่อนำไปใช้ในปีต่อไป 3.4 เผยแพร่ความรู้ที่ได้ศึกษา แก่เกษตรเครือข่าย สร้างแรงจูงใจอย่างต่อเนื่อง 4. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีการอนุรักษ์ดิน น้ำ ป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสมและคุ้มค่า เช่น โดย การใช้ปุ๋ยคอกที่ได้มาจากมูลสัตว์ และลดการใช้สารเคมีและหันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพมากขึ้น


5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ 5.1 สมุดบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 5.2 สมุดปกแข็งของตนเอง 5.3 ปฏิทินรายวัน 6. การให้คำปรึกษาแนะนำแก่เกษตรกร สามารถสอนเผยแพร่บุคคลในครอบครัว และเกษตรกรรายใหม่ ในการจัดทำบัญชีรายรับ – จ่าย บัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ สารถถ่ายทอดองค์ความรู้ในการการทำอาชีพเกษตรกรให้ประสบ ความสำเร็จ 7. ผลงานและความสำเร็จ 7.1 ส่งเสริมให้เกษตรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมระบบเกษตรแบบแปลงใหญ่ให้บันทึก ต้นทุนประกอบอาชีพ 7.2 ลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต 7.3 เป็นเกษตรกรที่ดีและเป็นแบบอย่างให้กับคนที่สนใจอยากจะศึกษาและเรียนรู้ 8. ปัญหาและอุปสรรค เกษตรกรส่วนใหญ่ ที่เข้าร่วมโครงการ เป็นผู้สูงอายุ และไม่ค่อยสนใจในการจดบันทึก เพราะคิดว่าเมื่อจดบันทึกบัญชีแล้ว ค่าใช้จ่ายหรือ รายจ่าย มากกว่ารายได้ที่รับ และไม่ค่อยมี กำลังใจในการจดบันทึกบัญชีต่อ


การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง โครงการะบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจำปีงบประมาณ 2565 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ปทุมธานี ชื่อ-สกุล นายสุขุม ไตลังคะ อายุ 41 ปี การศึกษาสูงสุด ประถมศึกษาปีที่ 4 ที่อยู่ 108 หมู่ 6 ตำบลบางเตย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท์ 0957753163 อาชีพ เกษตรกร (ทำนา,ทำสวน) พื้นที่ 27 ไร่ แนวความคิดหรือคติประจำใจ ที่ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต การเตรียมการที่ดีที่สุดสำหรับวันพรุงนี้คือการทำวันนี้ใหดีที่สุด การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ นำปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียงมาใช้ในทางการเกษตร และดำเนินชีวิตแบบเรียบง่ายยึด หลักที่ว่า ขยัน อดออม รอบคอบ รู้จักกิน รู้จักใช้ ไม่ฟุ่มเฟือย 3. วิธีการ/การดำเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน 3.1 ตั้งแต่สมัยเริ่มต้น เป็นอาสาสมัครเกษตรด้านบัญชี ตั้งแต่ ปีพ.ศ.2560 จนถึง ปัจจุบัน 3.2 เริ่มคิด เริ่มวิเคราะห์ และศึกษาหาข้อมูล มาใช้ในการดำเนินการโครงการอย่างต่อเนื่อง 3.3 คอยเข้าไปกำกับและติดตาม การจัดทำบัญชีของเกษตรกรในโครงการอย่างต่อเนื่อง 4. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้าพเจ้าเริ่มตั้งแต่การปรับสภาพพื้นผิวดิน โดยข้าพเจ้าใช้วิธีทำน้ำหมักปลอดสารพิษมา รดพื้นผิวดินให้สภาพพื้นผิวดินที่ข้าพเจ้าต้องการมีความอุดมสมบูรณ์ หลังจากนั้นก็มาถึงขั้นตอน การคัดเลือก เมล็ดพันธุ์พืชเพื่อมาปลูกที่แปลงดินที่ข้าพเจ้าได้จัดเตรียมไว้ รูปภาพ


5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ 5.1 สมุดบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ ของกรมตรวจ บัญชีสหกรณ์ 5.2 สมุดปกแข็งของตนเอง 5.3 ปฏิทินรายวัน 6. การให้คำปรึกษาแนะนำแก่เกษตรกร คอยให้คำแนะนำแก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ รวมทั้งเกษตรที่อยู่ในตำบลและอำเภอเดียวกัน ให้เข้าใจและเห็นประโยชน์ของการจดบันทึก บัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ รวมถึงการให้คำแนะนำการรวมกลุ่มแบบแปลงใหญ่ 7. ผลงานและความสำเร็จ 7.1 ส่งเสริมให้เกษตรที่เข้าร่วม โครงการส่งเสริมระบบเกษตรแบบแปลง ใหญ่ให้บันทึกต้นทุนประกอบอาชีพ 7.2 ลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต 7.3 เป็นเกษตรกรที่ดีและเป็น แบบอย่างให้กับคนที่สนใจอยากจะศึกษา และเรียนรู้ 8. ปัญหาและอุปสรรค เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 70% ที่เข้าร่วมโครงการ เป็นผู้สูงอายุ และไม่ค่อยสนใจใน การจดบันทึก เพราะคิดว่าเมื่อจดบันทึกบัญชีแล้ว ค่าใช้จ่ายหรือ รายจ่าย มากกว่ารายได้ที่รับ และไม่ค่อยมีกำลังใจในการจดบันทึกบัญชีต่อ


การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง โครงการะบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจำปีงบประมาณ 2565 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ปทุมธานี ชื่อ-สกุล นายสุวรรณ ปานปูน อายุ 54 ปี การศึกษาสูงสุด ประถมศึกษาปีที่ 4 ที่อยู่ 36/1 หมู่ 6 ตำบลคลองพระอุดม อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท์ 0847680389 อาชีพ เกษตรกร (ทำนา,ทำสวน) พื้นที่ 15 ไร่ แนวความคิดหรือคติประจำใจ ที่ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต ใช้ชีวิตแบบพอเพียง โดยการทำการเกษตรแบบอินทรีย์ การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ อยากลดต้นทุนการผลิตในการทำไร่ เลยหันมาใช้การทำเกษตรแบบอินทรีย์ 3. วิธีการ/การดำเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน 3.1 ตั้งแต่สมัยเริ่มต้น เป็นอาสาสมัครเกษตรด้านบัญชี ตั้งแต่ ปีพ.ศ.2560 จนถึง ปัจจุบัน 3.2 เริ่มคิด เริ่มวิเคราะห์ และศึกษาหาข้อมูล มาใช้ในการดำเนินการโครงการอย่างต่อเนื่อง 3.3 คอยเข้าไปกำกับและติดตาม การจัดทำบัญชีของเกษตรกรในโครงการอย่างต่อเนื่อง 4. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้าพเจ้าเริ่มตั้งแต่การปรับสภาพพื้นผิวดิน โดยข้าพเจ้าใช้วิธีทำน้ำหมักปลอดสารพิษมา รดพื้นผิวดินให้สภาพพื้นผิวดินที่ข้าพเจ้าต้องการมีความอุดมสมบูรณ์ หลังจากนั้นก็มาถึงขั้นตอน การคัดเลือก เมล็ดพันธุ์พืชเพื่อมาปลูกที่แปลงดินที่ข้าพเจ้าได้จัดเตรียมไว้ รูปภาพ


5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ 5.1 สมุดบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 5.2 สมุดปกแข็งของตนเอง 5.3 ปฏิทินรายวัน 6. การให้คำปรึกษาแนะนำแก่เกษตรกร คอยให้คำแนะนำแก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ รวมทั้งเกษตรที่อยู่ในตำบลและอำเภอเดียวกัน ให้เข้าใจและเห็นประโยชน์ของการจดบันทึก บัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ รวมถึงการให้คำแนะนำการรวมกลุ่มแบบแปลงใหญ่


7. ผลงานและความสำเร็จ 7.1 ส่งเสริมให้เกษตรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมระบบเกษตรแบบแปลงใหญ่ให้บันทึก ต้นทุนประกอบอาชีพ 7.2 ลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต 7.3 เป็นเกษตรกรที่ดีและเป็นแบบอย่างให้กับคนที่สนใจอยากจะศึกษาและเรียนรู้ 8. ปัญหาและอุปสรรค เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 70% ที่เข้าร่วมโครงการ เป็นผู้สูงอายุ และไม่ค่อยสนใจใน การจดบันทึก เพราะคิดว่าเมื่อจดบันทึกบัญชีแล้ว ค่าใช้จ่ายหรือ รายจ่าย มากกว่ารายได้ที่รับ และไม่ค่อยมีกำลังใจในการจดบันทึกบัญชีต่อ


การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง โครงการะบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจำปีงบประมาณ 2565 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ปทุมธานี ชื่อ-สกุล นางสาวอรุณีชมดอกไม้ อายุ 35 ปี การศึกษาสูงสุด มัธยมปลาย ที่อยู่ 36/1 หมู่ 6 ตำบลคลองพระอุดม อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี อาชีพ เกษตรกร (ทำนา,ทำสวน) พื้นที่ 17 ไร่ แนวความคิดหรือคติประจำใจ ที่ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต ใช้ชีวิตแบบพอเพียง โดยการทำการเกษตรแบบอินทรีย์ การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ อยากลดต้นทุนการผลิตในการทำนา เลยหันมาใช้การทำเกษตรแบบอินทรีย์ 3. วิธีการ/การดำเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน 3.1 ตั้งแต่สมัยเริ่มต้น เป็นอาสาสมัครเกษตรด้านบัญชี ตั้งแต่ ปีพ.ศ.2560 จนถึง ปัจจุบัน 3.2 เริ่มคิด เริ่มวิเคราะห์ และศึกษาหาข้อมูล มาใช้ในการดำเนินการโครงการอย่างต่อเนื่อง 3.3 คอยเข้าไปกำกับและติดตาม การจัดทำบัญชีของเกษตรกรในโครงการอย่างต่อเนื่อง 4. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยสภาวะแวดล้อมปัจจุบัน เกษตรกรหันมาสนใจการทำเกษตรแบบอินทรีย์มากขึ้น ทำ ให้มีการปรับกระบวกการผลิต เป็นการทำนาที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยลดการใช้ปุ๋ยเคมี เพิ่ม การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ทดแทนในปริมาณที่สวนทางกันเพื่อเป้าหมายนาข้าวอินทรีย์ทั้งระบบ


5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ 5.1 สมุดบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ ของ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์เป็นประจำทุกวัน 5.2 บันทึกรายเอียดลงในสมุดของตนเอง 5.3 ปฏิทินรายวันจดวันสำคัญของการทำ การเกษตร 6. การให้คำปรึกษาแนะนำแก่เกษตรกร คอยให้คำแนะนำแก่เกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ รวมทั้งเกษตรที่อยู่ในตำบลและอำเภอเดียวกัน ให้เข้าใจและเห็นประโยชน์ของการจดบันทึก บัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ รวมถึงการให้ คำแนะนำการรวมกลุ่มแบบแปลงใหญ่


7. ผลงานและความสำเร็จ 7.1 ส่งเสริมให้เกษตรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมระบบเกษตรแบบแปลงใหญ่ให้บันทึก ต้นทุนประกอบอาชีพ 7.2 ลดค่าใช้จ่ายในการประกอบอาชีพได้ 7.3 มีความเข้าใจในการบักทึกบัญชี สามารถให้คำปรึกษาเกษตรกรรายอื่นๆ ได้อย่างที่ ต้องการ 8. ปัญหาและอุปสรรค ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจดบันทึกบัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือนและต้นทุนประกอบอาชีพ คือ การลืมจดบันทึกข้อมูลการรับจ่ายเงินในแต่ละวัน เกษตรกรไม่มีเวลาในการจัดทำบัญชี และไม่ สนใจในการจดบันทึก


การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง โครงการะบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจำปีงบประมาณ 2565 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ปทุมธานี ชื่อ-สกุล นางอิงอร ขวัญเจริญทรัพย์ อายุ 54 ปี การศึกษาสูงสุด ประถมศึกษาปีที่ 4 ที่อยู่ 44 หมู่ 6 ตำบลคลองพระอุดม อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท์ 0812797105 อาชีพ เกษตรกร (ทำนา,ทำสวน) พื้นที่ 10 ไร่ แนวความคิดหรือคติประจำใจ ที่ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต ความพยายามไม่ทำร้ายคนที่ตั้งใจ การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ นำปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียงมาใช้ในทางการเกษตร และดำเนินชีวิตแบบเรียบง่ายยึด หลักที่ว่า ขยัน อดออม รอบคอบ รู้จักกิน รู้จักใช้ ไม่ฟุ่มเฟือย 3. วิธีการ/การดำเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน 3.1 ตั้งแต่สมัยเริ่มต้น เป็นอาสาสมัครเกษตรด้านบัญชี ตั้งแต่ ปีพ.ศ.2559 จนถึง ปัจจุบัน 3.2 เริ่มคิด เริ่มวิเคราะห์ และศึกษาหาข้อมูล มาใช้ในการดำเนินการโครงการอย่างต่อเนื่อง 3.3 คอยเข้าไปกำกับและติดตาม การจัดทำบัญชีของเกษตรกรในโครงการอย่างต่อเนื่อง 4. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การปรับปรุงบํารุงดินที่มีความสามารถในการใหผลผลิตพืชต่ำ จะตองมีการปฏิบัติพรอม ๆ กันไปกับการอนุรักษดินหรือการควบคุมการสูญเสียเนื้อดินออกไปจากแปลงปลูก หลักการใน ประเด็นนี้นับว่าเป็นมาตรการที่สำคัญมาก ในทางปฏิบัติ วิธีการปรับปรุงบํารุงดินใหดีขึ้นพรอม ๆ กันไปกับการปองกันเสื่อมโทรมของดินโดยการใช้สารชีวภาพจากธรรมชาติ


5. วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช้ 5.1 สมุดบัญชีต้นทุนประกอบ อาชีพ ของกรมตรวจ บัญชีสหกรณ์ 5.2 สมุดปกแข็งของตนเอง 5.3 ปฏิทินรายวัน 6. การให้คำปรึกษาแนะนำแก่เกษตรกร คอยให้คำแนะนำแก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ รวมทั้งเกษตรที่อยู่ในตำบลและอำเภอเดียวกัน ให้เข้าใจและเห็นประโยชน์ของการจดบันทึก บัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ รวมถึงการให้คำแนะนำการรวมกลุ่มแบบแปลงใหญ่ 7. ผลงานและความสำเร็จ 7.1 ส่งเสริมให้เกษตรที่เข้าร่วมโครงการ ส่งเสริมระบบเกษตรแบบแปลงใหญ่ให้บันทึกต้นทุน ประกอบอาชีพ 7.2 ลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต 7.3 เป็นเกษตรกรที่ดีและเป็นแบบอย่างให้กับ คนที่สนใจอยากจะศึกษาและเรียนรู้ 8. ปัญหาและอุปสรรค เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 70% ที่เข้าร่วมโครงการ เป็นผู้สูงอายุ และไม่ค่อยสนใจใน การจดบันทึก เพราะคิดว่าเมื่อจดบันทึกบัญชีแล้ว ค่าใช้จ่ายหรือ รายจ่าย มากกว่ารายได้ที่รับ และไม่ค่อยมีกำลังใจในการจดบันทึกบัญชีต่อ


การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอยาง โครงการระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ ปงบประมาณ 2565 สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยุธยา ชื่อ-สกุล นางสาวญาณิศา ศรีสุข อายุ 27 ป การศึกษาสูงสุด มัธยมศึกษาตอนปลาย ที่อยู 2 หมู 4 ตําบลบางหลวง อําเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทรศัพท 084-3399822 อาชีพ ทํานาขาว พื้นที่ 14 ไร อาชีพเสริม เกษตรสวนผสม พื้นที่ 2 ไร แนวความคิดหรือคติประจําใจ ที่ใชเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต การกําหนดเปาหมายที่ชัดเจน จะทําใหเราไปสูความสําเร็จไดเร็วขึ้น การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอยาง 1.หัวขอการถอดบทเรียน: ทายาทนาแปลงใหญ 2.จุดเริ่มตน/แรงบันดาลใจ ภูมิลําเนาในอําเภอบางบาลเปนพื้นที่ทําการเกษตร สวนใหญคือ ทํานา ปลูกขาว จัดวาเปน ผลผลิตทางการเกษตรลําดับตนๆ ในพื้นที่ ทายาทผูเติบโตในครอบครัวเกษตรกร แมจะเคยประกอบอาชีพดานอื่น ในกรุงเทพมหานคร แตก็สนใจอาชีพในดานการเกษตรมาโดยตลอด และตั้งใจวาจะกลับมาดูแลพอแมและฟนฟู บานเกิด เมื่อหันหลังจากงานรับจางในเมืองใหญจึงกลายมาเปนเกษตรกรอยางเต็มตัว ดวยคุนเคยกับการทํานา มาตั้งแตเด็ก และมีโครงการสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญเกิดขึ้นจึงเขารวมรวมกลุมกับเกษตรกรในพื้นที่ 3.วิธีการ/การดําเนินการ/ระยะเวลาเริ่มตน – ปจจุบัน 3.1 ไถกลบดิน คราด ตีเทือก ยกรอง ตากดิน 3.2 ปลอยน้ําเขานา หวานเมล็ดพันธุและคราดกลบ 3.3 ใสปุยตามกําหนดเวลา และใหสารกําจัดวัชพืช 70-80 วัน ขาวจะออกดอกตั้งรวง ระบายน้ําออกรอเก็บเกี่ยว 3.4 90-100 วัน เก็บเกี่ยว สงเขาโรงสี รวมทั้งแบงทําเมล็ดพันธุ และแปรรูปไวบริโภค 4.การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พยายามลดการใชสารเคมีในการเพาะปลูกใหนอยที่สุด หมั่นดูแลสภาพของดิน และจัดการระบบ ระบายน้ําใหดี ปลูกพืชคันนาเพื่อใชประโยชนจากพื้นที่ใหเต็มที่


5.วิธีการจดบันทึก/เครื่องมือที่ใช 5.1 จดบันทึกบัญชีรับ – จาย ในครัวเรือนและบัญชีตนทุนประกอบอาชีพ โดยไดรับการ สนับสนุนและคําปรึกษาจากเจาหนาที่สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณพระนครศรีอยุธยา ในเรื่องของสมุดบันทึก รายรับ – รายจายครัวเรือน และบัญชีตนทุนอาชีพ 5.2 คํานวณยอดรวมรายรับ - รายจายและยอดเงินคงเหลือทุกวัน ทุกเดือนที่มีรายการเกิดขึ้น 5.3 การจดบันทึกรายได บันทึกตนทุน/คาใชจายจากการประกอบอาชีพ ทั้งปริมาณและจํานวน เงินเพื่อวัดผลเชิงกําไร - ขาดทุน ในขั้นสุดทาย และใชเปนแผนกําหนดการผลิตในฤดูการถัดไป 6. การใหคําปรึกษาแนะนําแกเกษตรกร อีกบทบาทหนาที่หนึ่งของคุณญาณิศา คือการเปนกรรมการกลุมวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑชุมชน ชาวสวนบางหลวง อําเภอบางบาลและดูแลสวนเกษตรผสมผสานตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหมของคุณพอ สมพงษ ศรีสุข Smart Farmer ตนแบบอําเภอบางบาล หนึ่งในผูรวมกอตั้งศูนยเรียนรูการเกษตรบวรรังสี สวนเกษตรแบบผสมผสาน ในพื้นที่อําเภอบางบาล ดวยพลังของคนรุนใหมที่กะตือรือรนอยูเสมอ จึงเปนแรง สนับสนุนสําคัญในการชวยคุณพอ ในงานดานประชาสัมพันธ และทําหนาที่ใหคําแนะดานการเกษตรแก เกษตรกรที่แวะเวียนเขามาใชบริการในศูนยฯ 7. ผลงานและความสําเร็จ 7.1 เกษตรกรโครงการแปลงใหญ อําเภอบางบาล พระนครศรีอยุธยา 7.2 คณะกรรมการกลุมวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑชุมชนชาวสวนบางหลวง อําเภอบางบาล 8. ปญหาและอุปสรรค 8.1 ภัยธรรมชาติ น้ําทวม เพราะพื้นที่อําเภอบางบาลเปนพื้นที่ลุมน้ําทวมถึงทุกป และเปนพื้นที่ ผันน้ําของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พืชที่ปลูกจึงเนนพืชระยะสั้น เพื่อใหสามารถเก็บเกี่ยวไดเร็ว 8.3 โรคพืชและแมลงศัตรูพืช มีทั้งโรคเกา และโรคใหมที่เปนตัวการที่กอใหเกิดความเสียหาย ใหกับพืชทั้งในดานปริมาณและคุณภาพ 8.4 ตลาดในการรับซื้อผลผลิต มีความไมแนนอน


การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง โครงการแปลงใหญ่ ประจ าปงงบประมา 2565 ส านักงานตรวจบัญชีสหกร ์พระนครศรีอยุธยา ชื่อ - สกุล นางปรานอม นามสกุล สุขประสิทธิ์ อายุ 46 ปง การศึกษา ปวส. ที่อยู่ 23/3 หมู่ 4 ต าบลล าตะเคียน อ าเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ - อาชีพ ผู้ใหญ่บ้าน อาชีพเสริม ท าการเกษตร พื้นที่ 10 ไร่ 2. แนวความคิดหรือคติประจ าใจ ที่ใช้เป็นแนวทางในการด าเนินชีวิต ใช้ชีวิตแบบพออยู่ พอเพียง 3. การถอดบทเรียนเกษตรกรตัวอย่าง 1. หัวข้อการถอดบทเรียน : ใช้ชีวิตแบบพออยู่พอกิน 2. จุดเริ่มต้น/แรงบันดาลใจ มีความคิดอยากท าการเกษตร ท านา เลี้ยงกุ้ง เพื่อเป็นอาชีพในการด ารงชีวิตของตนเอง เพื่อเป็น รายได้เสริมให้กับครอบครัวได้ 3. วิธีการ/การด าเนินการ/ระยะเวลาเริ่มต้น – ปัจจุบัน 3.1 ปรับบ่อเลี้ยงกุ้งโดนการน าปูนขาวมาโรยบ่อ 3.2 น าน้ าเข้าบ่อกุ้ง น าพันธุ์กุ้งมาปล่อยลงบ่อกุ้งที่ท าการอนุบาลมาแล้ว 2 เดือน ครั้ง 3.3 ให้อาหารกุ้ง ท าการเลี้ยง เป็นระยะเวลา 6 เดือน 3.4 ท าการจับกุ้งเป็นรอบ ๆ ประมา 3 รอบ


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.