7FF076C0-D4CF-4973-A043-87285643BF55 Flipbook PDF


105 downloads 114 Views 1MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

วิวัฒนาการของ

นาฏศิลป์และละครไทย

สมัยอยุธยา การแสดงละครชาตรีละครนอก การแสดงละครชาตรีละครนอก ละครในแต่เดิมที่เล่นเป็นละครเร่ ละครในแต่เดิมที่เล่นเป็นละครเร่ จะแสดงตามพื้นที่ว่างโดยไม่ต้อง จะแสดงตามพื้นที่ว่างโดยไม่ต้อง มีโรงละคร มีโรงละครเรียกว่า เรียกว่าละครชาตรี ละครชาตรี ต่อมาได้มีการวิวัฒนาการเป็น ต่อมาได้มีการวิวัฒนาการเป็น ละครรำเรียกว่าละครใน ละครรำเรียกว่าละครในละคร ละคร นอก นอกโดยปรับปรุงรูปแบบ โดยปรับปรุงรูปแบบให้มี ให้มี การแต่งกายที่ประณีงดงามมาก การแต่งกายที่ประณีงดงามมาก ขึ้นมีดนตรีและบทร้องและมีการ ขึ้นมีดนตรีและบทร้องและมีการ สร้างโรงแสดงอยุธยา สร้างโรงแสดงอยุธยา

สมัยธนบุรี

สมัยรัตนโกสินทร์ ร.3

ให้ทรงยกเลิกละครหลวง พระบรมวงศานุวงศ์จึงพากัน ฝึกหัดการแสดง ทางโขนละครถือเป็นแบบแผนในการปฏิบัติ สืบต่อมา ร.9 โปรดเกล้าฯ ให้ บันทึภาพยนตร์สี ส่วนพระองค์ บันทึกท่ารำเพลง หน้าพาทย์องค์ พระพิราพท่ารา เพลงหน้าพาทย์ ของ ลิง ยักษ์ พระ นาง

วิวัฒนาการของ นาฏศิลป์ และละคร ไทย

สมัยนี้บทละครในสมัยอยุธยาไดัสูญหายไปสมเด็จ พระเจ้ากรุงธนบุรีหรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงรวบรวมศิลปิน บทละคร ที่เหลือมาทรงพระราชนิพนธ์บทละคร เรื่องรามเกียรติ์ อีก 5 ตอน ญาณภัทร ประชุมรัตน์ ม4/2 เลขที่ 11

รุ่งเพชร มาสังข์ ม4/2 เลขที่ 14

สมัยสุโขทัย

รับวัฒนธรรมของอินเดีย ผสม ผสานกับ วัฒนธรรมไทย มีการบัญญัติ ศัพท์ขึ้นใหม่ เพื่อใช้เรียก ศิลปะการแสดงของไทย ว่า โขน ละคร ฟ้อนรำ

ร.4

ได้ฟื้นฟูละครหลวงขึ้นใหม่ให้ ราษฎรฝึกละครในได้ จึงมีข้อห้าม ในการแสดงที่ไม่ใช่ละครหลวง ร.5 เกิดละครดึกดำบรรพ์ และละคร พันทาง

ร.6 โขน ละคร ดนตรีปี่พาทย์เจริญถึงขั้นสุด ร.7

โขนมหรสพกลายเป็นโขนศิลปากรและมี ละครเพลงเกิดขึ้น ร.8 จัดตั้งโรงเรียนนาฏกดุริยางคศาสตร์

สมัยน่านเจ้า มีนิยายเรื่อง นามาโนราห์ เป็นนิยาย ของพวกไตหรือคนไทยในสมัยน่าน เจ้าที่มีปรากฏอยู่ก่อนหน้าคือ การ แสดงจำพวกระบำ เช่น ระบำหมวก ระบำนกยูง

วิวัฒนาการของ การละครตะวันตก

วิวัฒนาการของ การละครตะวันตก ละครตะวันตกยุคเริ่มต้น ละครสมัยกรีก ละครสมัยโรมัน •ละครโศกนาฏกรรมกรีก เป็นละครเล่าเรื่องชีวิตและความ

หมายของเทพเจ้าแล้วจบด้วยการ

ตาย •ละครสุขนาฏกรรม เป็นละครที่แสดงเพื่อบูชา

เทพเจ้า

•ละครโศกนาฏกรรมโรมันในงานละคร

นี้ผู้แสดงจะต้องมีความสามารถสูง

เน้นภาพความโหด ทารุณ หยาบโลน •ละครสุขนาฏกรรมโรมันนำแบบอย่างมา

จากละครสุขนาฏกรรมกรีกเนื้อเรื่องเน้น

ความสนุกสนาน ตลกขบขัน

ละครตะวันตกในยุคกลาง ละครศาสนา •จัดแสดงโดยนักบวชและนักร้อง

ประสานเสียงภายในโบสถ์

ละครที่ไม่เกียวกับศาสนา •ละครพื้นบ้าน-วีรบุรุษ เกี่ยวกับการผจญ

ภัย •ละครตลกขบขัน เป็นละครล้อเลียน เสียดสี

สังคม

อ้างอิง นายสรรพาวุธ ศรีทอง เลขที่ 15

https://sites.google.com/site/lakhrtawantk/ http://drama-study.blogspot.com/2014/09/blog-post_21.html

วิวัฒนาการของ การละครตะวันตก ละครตะวันตกในยุคฟื้นฟู

ละครสมัยใหม่

•อินเตอร์เมทซี (Intermezzi) เป็นการแสดงสลับฉาก มักเป็นเรื่องราวจาก

ตำนานกรีกและโรมัน ซึ่งมีปรากฏการณ์ที่ต้องใช้เทคนิคพิเศษเข้าช่วย เช่น เฮ

อร์คิวลิสเดินทางไปในนรก หรือ เปอร์ซิอุสขี่ม้าเหาะไปต่อสู้กับปีศาจทะเล

เป็นต้น มีการใช้ดนตรีและระบำเป็นส่วนประกอบสำคัญ การแสดงสลับฉากนี้

อาจอยู่เป็นเอกเทศ ไม่เกี่ยวกับละครที่แสดงอยู่ก็ได้

-ละครแนวสัจจนิยมและแนวธรรมชาตินิยม ละครสมัยใหม่ ที่เรียกกันว่าแนวสัจจนิยมหรือแนวสมจริง (Realism) และแนว. ธรรมชาตินิยม

(Naturalism) ให้ความสำคัญมากแก่คนธรรมดาสามัญยิ่งกว่ายุคที่ผ่านมา ก่อนหน้านั้นตัวละครที่เป็น

สามัญชนจะเข้ามามีบทบาทก็เพียงตัวประกอบ ตัวคนใช้ ปราศจากความสำคัญ ส่วนตัวเอกจะเป็นคน

ฐานะร่ำรวย สมบูรณ์พร้อมด้วยฐานันดรศักดิ์ทุกประการ แต่ละครสมัยใหม่เปลี่ยนแปลงรูปโฉมดังกล่าว เสียสิ้น ละครสมัยใหม่ไม่จำกัดวิถีชีวิตของสามัญเอาไว้ ทว่า จะนำมาสู่สาระของเรื่องราวให้มากขึ้น ตัว ละครเอกอาจจะเป็นชาวนา เสมียน โจร ขอทาน โสเภณี ฯลฯ เทคนิคการแต่งตัวก็เปลี่ยนตามไปด้วย การ เสนอละครเรื่องหนึ่งไม่ใช่การสมมติขึ้นเท่านั้น -ละครแนวต่อต้านสัจจนิยม (Anti – realism) •ละครสัญญลักษณนิยม (Symbolism) เป็นละครที่ใช้วัตถุหรือการกระทำที่เป็นสัญลักษณ์ ซึ่งจะกระตุ้น

และโยงความรู้สึกนึกคิดของคนดูเข้ากับญาณพิเศษที่นักเขียนรู้สึกเกี่ยวกับความเป็นจริง ละครชนิดนี้

พยายามมองให้ลึกลงไปถึง สัจธรรมที่ไม่อาจจับต้องได้ •ละครเอ็กซ์เปรสชั่นนิสม์ เป็นละครที่เสนอความเป็นจริงตามความคิดของตัวละคร ซึ่งอาจไม่ตรงกับ

ความเป็นจริงที่ปรากฏแก่สายตาคนทั่วไป โดยใช้ฉากที่มีสภาพไม่เหมือนจริง ใช้คำพูดที่ไม่เป็นเหตุเป็นผล นัก หรือใช้ข้อความสั้นๆ •ละครเพื่อสังคม (Theatre for Social Action) หรือละครเอพิค (Epic Theatre) เป็นละครที่กระตุ้นความ สำนึกทางสังคม นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงแก้ไขสังคมให้ดีขึ้น โดยไม่คำนึงถึงความเป็นกลางแบบ

ธรรมชาติ หรือการบันทึกความเป็นจริงแบบตรงไปตรงมา

•โอเปรา (Opera) คือ การรวมเอาดนตรี การขับร้อง และระบำ เข้ามาไว้ในเรื่อง

ราวที่ผูกขึ้นเป็นละคร โอเปรานั้นนิยมใช้การจัดฉากหรูหรา เหตุการณ์มหัศจรรย์

ที่ต้องใช้เทคนิคพิเศษอยู่ด้วย รูปแบบใหม่นี้ เป็นที่นิยมทั่วอิตาลี และแพร่สะพัดไป

ทั่วยุโรปอย่างรวดเร็ว

นายสรรพาวุธ ศรีทอง เลขที่ 15

การชม วิจารณ์ และการประเมิน คุณภาพของการแสดง

หลักในการชมละคร

หลักการวิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์

-ศึกษาความรู้เกี่ยวกับรูปแบบของการแสดง -เมื่อจบการแสดง ควนให้เกียรติด้วยการปรบมือ -เป็นผู้ชมที่ดี ฟังเป็น -จิตใจผ่อนคลาย สมาธิในการรับชม -มีอารมณ์คล้อยตาม -มีมารยาท ปิดเครื่องมือสื่อสาร ไม่คุยเสียงดัง ไม่รับประทานอาหาร

-พูด เขียนถึงการรับรู้สิ่งที่เห็น -บรรยาย แจกแจงส่วนประกอบต่างๆ -วิเราะห์องค์ประกอบต่างๆในผลงาน -ความเป็นเอกภาพ -ความงดงามของการร่ายรำ

การชม วิจารณ์ และการประเมิน

คุณภาพของการแสดง หลักการวิจารณ์การแสดงละคร

โครงเรื่อง3ตอน -ตอนต้น ปุพื้น ของตัวละคร -ตอนกลาง สร้างอุปสรรค ขัดแย้ง ของตัวละคร -ตอนอวสาน เรื่องค่อยๆคลี่คลาย ตอนปลายเรื่อง

การวิจารณ์โครงเรื่อง -เหตุการณ์ต่างๆชัดเจนหรือไม่ -เหตุการณ์เข้มข้นพอหรือไม่ -ตอนจบดีหรือไม่ -ละครน่าติดตามทั้งเรื่องหรือไม่ -สิ่งใดทำให้เรื่องน่าสนใจ

สร้างตัวละคร บทบาท -ตัวละครดำเนินเรื่อง -ใช้บทเจรจา บุคลิคตามตัวละคร

นายฐิติวัฒน์ ภักดีโชติ เลขที่ 1

การชม วิจารณ์ และการ

ประเมินคุณภาพของการแสดง การวิจารณ์ตัวละครมีข้อควรพิจารณา ดังนี้ -การสร้างบุคลิคตัวละคร คล้ายกับชีวิตจริงหรือไม่ -ตัวละครดึงดูดให้ผู้ชม คล้อยตามมากเพียงใด -ตัวละครแสดงได้สมบทบาท หรือไม่

ภาพที่เห็น -ฉาก การแสดง ทัศนองค์

ประกอบต่างๆ สอดคล้องกับตัวละคร สร้าง

บรรยากาศ สร้างอารมณ์ได้อย่างสมเหตุสม

ผล

americanidiotonbroadway.com/wp-content/uploads/2019/03/art-of-thai-750x460.jpg

แนวความคิดที่เป็นแก่นของเรื่อง -ผู้ประพันธุ์จะต้องมีแนวคิดว่าให้เรื่อง ดำเนินไปได้อย่างไร -แนวคิดของละคร เช่น เพื่อสังคม ความบันเทิง เป็นต้นั

ข้อที่ควรทำมาวิจารณ์แนวคิด -ดูละครแล้วได้แนวคิดอะไรบ้าง -เห็นด้วยกับแนวคิดของเรื่องหรือไม่ -แนวคิดของเรื่องเกิดในชีวิตจริงได้ หรือไม่ -ตัวละคร มีคติ คำคมที่น่าจดจำหรือไม่ -เนื้อเรื่อง ฉาก มีความสอดคล้องกัน หรือไม่

นายฐิติวัฒน์ ภักดีโชติ เลขที่ 1

การชม วิจารณ์ และการประเมิน

คุณภาพของการแสดง

คุณภาพด้านการแสดง -การนำเสนอต้องชัดเจนเรื่องประเภท -ผู้แสดงมีเอกลักษณ์เคลื่อนไหวร่างกาย -การแสดงงดงาม ทั้งพื้นฐานแและ มาตรฐาน -ผลงานควรมีประโยชน์ต่อสังคม สติ ปัญญา จิตใจ

คุณภาพด้านองค์

ประกอบการแสดง

หลักการประเมินนาฏศิลป์

หลักการประเมินการ

แสดงนาฏศิลป์และละคร

-ลีลาเคลื่อนไหวถูกต้องตามแบบแผน -นำหลักแห่งการสมดุลมาใช้ โดยใช้จุดกลางของเวที เป็นสมดุลให้มีสัดส่วนเท่ากัน ไม่ไปอยู่จุดไหนจุดหนึ่ง มาเกินไป -มีการเคลื่อนไหว แปรแถวไม่น่าเบื่อ -ดนตรี ชับร้อง ท่วงทำนอง จังหวะเพลง เครื่องแต่งกายสอดคล้องกัน

-เครื่องประกอบการแสดงบนเวที เช่น อุปกรณ์ฉาก อุปกรณ์แสดง ถูกต้องตามยคุสมัยหรือไม่ -ระบบเสียง ชัดเจน ไม่มีการสะท้อน การก้อง -เครื่องแต่งกาย แต่งหน้าตามยุคสมัย -คุณภาพด้านองค์ประกอบการแสดงสะท้อนว่า ผู้จัดการมีความรู้ด้านศิลปะเป็นอย่างดี

นายฐิติวัฒน์ ภักดีโชติ เลขที่ 1

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.