BBS & HAZOB Flipbook PDF

BBS & HAZOB

18 downloads 114 Views

Recommend Stories

Story Transcript

BBS & HAZOB การสังเกตพฤติกรรมและสภาพการณ์ เพ ื ่ อความปลอดภ ั ย


Incident Accident Near Miss มาท าความรู้จักกับ 3 ค านี้กันก่อน นะครับ


Incident อุบัติการณ์หรือเหตุการณ์ผิดปกติ หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นแล้ว อาจมีผลให้เกิดความสูญเสีย หรือไม่เกิดความสูญเสีย เอ๊ะ!! แบบนี้จะมีอะไรเกิดขึ้นบ้างหรือไม่ - ตกจากเก้าอี้? - หกล้มจากพื้นลื่น? - โยนของให้ท าให้ตกใส่ศีรษะได้? แต่ยังไม่เกิดขึ้นนะครับ^_^ สถานที่ท างานไม่เรียบร้อยและไม่ มีความปลอดภัยในส านักงาน


เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นแล้ว และมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุ Near Miss บางหน่วยงานอาจจะก าหนดมูลค่าความ เสียหายที่ยอมรับได้ส าหรับกรณี Near Miss ผู้หญิงคนหนึ่งเดิน เหยียบน้ าที่หกบนพื้น ท าให้ลื่นเกือบหกล้ม เนื่องจากทรงตัวไว้ได้ อุ๊ย!! ลื่น


อุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดคิด และมีผลให้เกิดการบาดเจ็บ หรือเกิดความสูญเสียต่อ ทรัพย์สิน สภาพแวดล้อม หรือแม้แต่ชื่อเสียงขององค์กร Accident โอ๊ย!! เจ็บ สะดุดล้มท าให้ได้รับบาดเจ็บ ลิ้นชักไม่ได้ปิดไว้


มาสรุปกันอีกครั้งนะครับ อุบัติการณ์หรือเหตุการณ์ผิดปกติ (Incident) เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นแล้ว มีผลให้เกิดความสูญเสีย หรือไม่เกิดความสูญเสีย เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ (Near Miss) เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นแล้ว และมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุ อุบัติเหตุ (Accident) เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดคิด และมีผลให้เกิด การบาดเจ็บ หรือเกิดความสูญเสียต่อทรัพย์สิน สภาพแวดล้อม หรือ แม้แต่ชื่อเสียงขององค์กร ยกตัวอย่างเหตุการณ์ เช้าวันหนึ่งพนักงานเข้ามาท างานใน workshop แล้วพบว่าในพื้นที่มี ของวางเกะกะไม่เรียบร้อย อาจท าให้สะดุดหกล้มได้ (Incident) ในขณะที่ก าลังเก็บกวาดพื้นที่ มีพนักงานอีกกลุ่มหนึ่งเดินเข้ามาแล้วเห็น ตะปูที่พื้นจึงพยายามหลบท าให้เซไปจะชนโต๊ะ แต่ทรงตัวได้จึงไม่ล้มไป กระแทกโต๊ะ (Near Miss) เพื่อนอีกคนหนึ่งรีบวิ่งตามมาไม่ทันเห็น ตะปูที่พื้น ท าให้เหยียบได้รับบาดเจ็บที่เท้า (Accident) INCIDENT อุบัติการณ์ NEAR MISS เหตุการณ์เกือบ เกิดอุบัติเหตุ ACCIDENT อุบัติเหตุ


สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ สาเหตุของอุบัติเหตุ H.W. Heinrich ได้ศึกษาวิจัยถึงสาเหตุการ เกิดอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรม ในปี ค.ศ. 1920 สรุปได้ดังนี้ สาเหตุที่เราสามารถควบคุมได้ ก็คือ สาเหตุที่เกิดจากคน และ สาเหตุที่เกิดจากเครื่องจักร เกิดจากคน (Human Causes) มี จ านวนสูงที่สุด 88% เกิดจากเครื่องจักร (Mechanical failure) มีจ านวนเพียง 10% รวม ไปถึงอุปกรณ์เครื่องมือ ต่างๆด้วย เกิดจากชะตา (Acts of God) มี จ านวนเพียง 2% เช่น พายุ ฝนตก เป็นต้น


เสียชีวิต การบาดเจ็บ รุนแรง การบาดเจ็บเล็กน้อย เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ การกระท า และ สภาพการณ์ ที่ไม่ปลอดภัย สามเหลี่ยมการเกิดอุบัติเหตุ เมื่อมีการกระท า หรือ สภาพการณ์ ที่ไม่ ปลอดภัย มากๆ อาจท าให้เกิดเหตุการณ์เกือบ เกิดอุบัติเหตุขึ้นได้ ซึ่งเมื่อเกิดหลายๆครั้งโดยที่ ไม่มีการจัดการ อาจท าให้เกิดอุบัติเหตุขึ้น โดย ความรุนแรงจะขึ้นอยู่กับเหตุการณ์นั้นๆ


สามเหลี่ยมการเกิดอุบัติเหตุ เราลองเปลี่ยนให้มี การกระท า และ สภาพการณ์ที่ ปลอดภัย มากๆ กันดีกว่า จะท าให้ เหตุการณ์เกือบเกิด อุบัติเหตุ ลดจ านวนลง และส่งผลให้จ านวนอุบัติเหตุลดลง ตามไปด้วย แต่ไม่ได้หมายความว่าจะไม่มีอุบัติเหตุ เกิดขึ้นเลยนะครับ เสียชีวิต การบาดเจ็บ รุนแรง การบาดเจ็บเล็กน้อย เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ การกระท า และ สภาพการณ์ ที่ไม่ปลอดภัย


เรามาเปลี่ยน การกระท า และ สภาพการณ์ ที่ไม่ปลอดภัย ให้เป็น การกระท า และ สภาพการณ์ ที่ปลอดภัย กันดีกว่า พร้อมกันรึยังครับ


BBS คืออะไร ?? • หากเป็นพฤติกรรมที่ปลอดภัย เราจะชื่นชม ให้ก าลังใจผู้ที่กระท า • แต่หากเป็นพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัย จะต้อง มีการพูดคุยเพื่อหาสาเหตุ และจัดการแก้ไข ให้ปลอดภัย Behavior Based Safety การสังเกตพฤติกรรมเพื่อความปลอดภัย คือ การสังเกตพฤติกรรมของบุคคลอื่น ซึ่งพฤติกรรมนั้น อาจจะเป็นพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัย หรือเป็นพฤติกรรมที่ ปลอดภัยก็ได้ ต่อไปนี้จะขอเรียกสั้นๆว่า BBS ครับ


BBS สามารถน าไปใช้ได้ทุกๆที่ เลยนะครับ ถึงแม้ว่าในบางที่เราจะไม่สามารถเขียนลง แบบฟอร์มของหน่วยงานของเราได้ BBS ใช้ที่ไหนได้บ้าง ?? ตอนเดินทาง ที่บ้าน ที่ท างาน


บางเหตุการณ์อาจจะหยุดไม่ทัน แต่ต้องพูดคุย ทันทีเมื่อมีโอกาส เพื่อให้เกิดการแก้ไข BBS ที่สมบูรณ์ จะต้องมีการพูดคุย เพื่อการ แก้ไขที่ตรงกับสาเหตุ BBS ใช้ยังไง ?? พบเห็นการกระท าที่ปลอดภัย พบเห็นการกระท าที่ไม่ปลอดภัย ชื่นชม และให้ก าลังใจ เพื่อให้ผู้นั้นมีก าลังใจ ท าต่อไป เข้าไปหยุด พูดคุย เพื่อหาสาเหตุ ที่ท าพฤติกรรมเสี่ยง แนะน า เตือน ให้การสนับสนุน


BBS เป็นเครื่องมือในการช่วยเหลือ ไม่ใช่เครื่องมือ ในการจับผิดนะครับ หากต้องการให้ BBS มีประสิทธิภาพสูงสุด จะต้องให้ความร่วมมือกันทุกภาคส่วนนะครับ แนวความคิดของ BBS No Name No Blame ไม่ใส่ชื่อ ไม่ใส่ต าแหน่ง เนื่องจาก BBS ไม่ใช่เครื่องมือในการต าหนิ Friends Help Friends เพื่อนช่วยเพื่อน เนื่องจาก BBS เป็นเครื่องมือในการช่วยให้ เพื่อนปรับเปลี่ยนเป็นพฤติกรรมที่ปลอดภัย


WHO? WHAT? WHERE? WHY? HOW? BBS จะต้องเขียนอธิบายเหตุการณ์ให้ละเอียด และเมื่อผู้อื่นอ่านสามารถเข้าใจได้ง่าย หลักการเขียน BBS หลักการเขียน - พบเห็นใคร - ท าอะไรที่ปลอดภัย / ท าอะไรที่ไม่ปลอดภัย - พบเห็นที่ไหน - อาจมีความเสี่ยงอย่างไร - ท าไมถึงท าพฤติกรรมเสี่ยงนั้น - จัดการกับพฤติกรรมเสี่ยงนั้นอย่างไร


อยากให้เพื่อนร่วมงานเราและพื้นที่การท างาน ของเรามีความปลอดภัย อย่าลืมเตือนเพื่อน และเขียนลงแบบฟอร์มกันนะครับ ท าไมต้องเขียน BBS ปกติเรามีการท า BBS กันอยู่แล้ว เพียงแต่ไม่ได้เขียนลง ในแบบฟอร์ม ท าให้เหตุการณ์อาจเกิดซ้ าในลักษณะ เดียวกัน กับคนเดิมหรือคนอื่น และอาจเกิดเป็นอุบัติเหตุ ขึ้นได้ แต่หากเราเขียนลงแบบฟอร์มท าให้เรามีข้อมูลและ สามารถทราบถึงลักษณะพฤติกรรมเสี่ยงที่พบเจอว่า เกิดขึ้น มาก หรือ น้อย แค่ไหน ท าให้เราสามารถล าดับการจัดการกับพฤติกรรมเสี่ยงที่พบ เจอ เพื่อลดจ านวนพฤติกรรมเสี่ยงนั้นลง


แนวทางแก้ไขในแต่ละพื้นที่อาจแตกต่างกัน เช่น ประชุมเพื่อหาแนวทางร่วมกัน จัดท าโปสเตอร์ รณรงค์ หรือจัดท ากิจกรรมเพื่อกระตุ้นให้เกิด การตระหนัก เป็นต้น สถิติ BBS เมื่อได้ข้อมูล BBS มาแล้ว ผู้ที่รับผิดชอบจะด าเนินการ รวบรวมข้อมูลและจัดท าเป็นสถิติของพฤติกรรมที่ ปลอดภัยและพฤติกรรมเสี่ยง โดยจะเน้นไปที่ พฤติกรรมเสี่ยงก่อน เนื่องจากเราต้องการป้องกัน ไม่ให้เกิดเป็นอุบัติเหตุขึ้น ซึ่งการจัดล าดับพฤติกรรมเสี่ยงก็คือการท า Top 3 at Risk หมายถึง พฤติกรรมเสี่ยงใดที่พบมาก ที่สุด 3 ล าดับแรก โดยจะมีการหาแนวทางแก้ไข เพื่อ ลดพฤติกรรมเหล่านี้ก่อน


การเตือนบุคคลภายนอกองค์กร ต้องประเมินก่อนว่า เราควรเข้าไปเตือนเค้าหรือไม่ เราจะเป็นอันตราย หรือไม่ครับ การวิเคราะห์ BBS บางหน่วยงานสามารถเขียน BBS ได้ทุกสถานการณ์ ท าให้กลุ่มคนที่ ท าพฤติกรรมเสี่ยงมีทั้งคนในหน่วยงาน และคนที่ไม่ได้อยู่ใน หน่วยงาน ในการวิเคราะห์ BBS ควรแยกกลุ่มคนที่ท าพฤติกรรมเสี่ยง เพื่อท า ให้ทราบถึงพฤติกรรมเสี่ยงที่มีอยู่ในหน่วยงานเพียงอย่างเดียว ท าให้ Top 3 at Risk ชัดเจนมากยิ่งขึ้น บุคคลภายนอกเราไม่สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมได้ เนื่องจาก วัฒนธรรมความปลอดภัยอาจไม่เหมือนกับเรา BBS ต้องมีการพูดคุย เพื่อหาสาเหตุของ พฤติกรรมเสี่ยงนะครับ


มีค าว่า Hazard แสดงว่าเราจะสังเกต เฉพาะสิ่งที่ไม่ปลอดภัยเท่านั้นนะครับ Hazard Observation อีกสิ่งหนึ่งที่เราสามารถจัดการและลดความเสี่ยงได้ นั่นก็คือ สภาพการณ์ Hazard Observation หรือ HAZOB คือการสังเกต สภาพการณ์ เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่ผิดปกติไปจากเดิม และไม่ปลอดภัย ซึ่งพบเห็นโดยบังเอิญ หากปล่อยไว้ อาจน าไปสู่เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ หรืออุบัติเหตุ ได้ HAZOB จะเป็นเหตุการณ์ที่ไม่เกี่ยวกับคน แม้ในสภาพการณ์ที่ เราพบจะมีคนอยู่ด้วยก็ตาม


ลองนึกดูว่า ถ้าเราไม่เตือนว่าพื้นที่นั้นไม่ปลอดภัย แล้วมีใครเข้าไปใช้งาน จะเกิดอะไรขึ้น?? วิธีการท า HAZOB เมื่อเราพบเห็นสภาพการณ์ เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ ที่มี สภาพเสี่ยงและอาจเกิดอันตราย เราควรหยุดปฏิบัติงาน หรือไม่ให้ใครเข้าไปใช้ทันที การ หยุด คือการบอกกล่าว ติดป้ายเตือนผู้อื่น และแจ้ง เจ้าของพื้นที่เพื่อหาแนวทางป้องกัน แก้ไขให้อยู่ในสภาพที่ ปลอดภัย


วัตถุประสงค์เดียวกัน คือ การจัดการความเสี่ยงใน พื้นที่ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย Hazard Hunt Hazard Hunt คือการค้นหาอันตราย โดยเป็นการ ตั้งใจเข้าไปค้นหา โดยในบางหน่วยงานจะมีการจัดทีม และแบ่งกันไปค้นหาความเสี่ยงตามพื้นที่ต่างๆใน หน่วยงาน และท าการแก้ไขให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย HAZOB และ Hazard Hunt ไม่ใช่ เครื่องมือจับผิดเจ้าของพื้นที่นะครับ HAZOB และ Hazard Hunt แตกต่างกันที่เจตนา กล่าวคือ HAZOB จะพบเจอโดยบังเอิญ Hazard Hunt จะตั้งใจไปค้นหา


ใครยังสับสน กลับไปอ่านใหม่ได้นะครับ ก่อนที่เราจะไปท ากิจกรรมต่อไปครับ มาทบทวนกันหน่อย ว่าเรารู้จัก อะไรกันไปบ้าง ??? Accident อุบัติเหตุ Incident อุบัติการณ์ หรือเหตุการณ์ BBS การสังเกต พฤติกรรมเพื่อ ความปลอดภัย HAZOB การ สังเกตสภาพการณ์ ที่ผิดปกติไป จากเดิมและไม่ ปลอดภัย Hazard Hunt การค้นหา อันตราย Near Miss เหตุการณ์เกือบ เกิดอุบัติเหตุ


มาดูเหตุการณ์ในภาพกันจะมีอะไรกันบ้าง??? Photo Hunt หลังจากทบทวนกันแล้ว ลองมาดูเหตุการณ์ ในภาพ แล้วช่วยน้องนักสืบพิจารณาว่าแต่ละ เหตุการณ์คืออะไรกันนะครับ มีกี่เหตุการณ์นะ??? ไปช่วยกันหาเลยครับ Accident อุบัติเหตุ HAZOB การสังเกตสภาพการณ์ ที่ผิดปกติไปจากเดิมและไม่ปลอดภัย BBS การสังเกตพฤติกรรม เพื่อความปลอดภัย Near Miss เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ


ค่อยๆอธิบายทีละเหตุการณ์กันครับ บันไดมีการเคลื่อนตัวเนื่องจากไม่มี คนจับท าให้พนักงานติดป้ายเสียการ ทรงตัว และตกลงมา เหตุการณ์นี้เป็น อุบัติเหตุ แน่นอน ถ้าไม่อยากให้เกิดเหตุการณ์แบบนี้ ต้องใช้บันไดทรงเอและมีคนช่วยจับ ด้วยนะครับ Photo Hunt


ค่อยๆอธิบายทีละเหตุการณ์กันครับ Photo Hunt พนักงานคนหนึ่งขับรถชนกล่อง เหตุการณ์นี้เป็น อุบัติเหตุ แน่นอน!!! ถ้าไม่อยากให้เกิดเหตุการณ์แบบนี้ ต้องขับรถในเส้นทางที่ก าหนดไว้


ค่อยๆอธิบายทีละเหตุการณ์กันครับ Photo Hunt พบเห็นสายไฟวางไม่เป็นระเบียบ อาจมีคนเดิน สะดุดหกล้มได้เหตุการณ์นี้เป็น สภาพการณ์ที่ไม่ ปลอดภัย แน่นอน!!! ถ้าไม่อยากให้มีคนเดินสะดุดสายไฟหกล้มต้อง มีการจัดเก็บสายไฟให้เรียบร้อย


ค่อยๆอธิบายทีละเหตุการณ์กันครับ Photo Hunt พนักงานสูบบุหรี่นอกพื้นที่ที่ก าหนดอาจท าให้ เกิดไฟไหม้ได้เหตุการณ์นี้เป็น พฤติกรรมเสี่ยง ถ้าไม่อยากให้เกิดเหตุการณ์แบบนี้ พนักงาน ควรสูบบุหรี่ในพื้นที่จัดเตรียมไว้


ค่อยๆอธิบายทีละเหตุการณ์กันครับ Photo Hunt มีเด็กวิ่งเล่นในพื้นที่ท างานอาจท าให้สะดุด หรือชนกับสิ่งของเสียหายได้ เหตุการณ์นี้เป็น พฤติกรรมเสี่ยง ถ้าไม่อยากให้เกิดเหตุการณ์แบบนี้ไม่ควรให้ เด็กวิ่งเล่นในส านักงานเพื่อป้องกันการเกิด อุบัติเหตุ


ค่อยๆอธิบายทีละเหตุการณ์กันครับ Photo Hunt พนักงานน าโต๊ะและเก้าอี้ที่ช ารุดมาใช้งาน โต๊ะ อาจหักและท าให้พนักงานได้รับบาดเจ็บ เหตุการณ์นี้เป็น พฤติกรรมเสี่ยง ถ้าไม่อยากให้เกิดเหตุการณ์แบบนี้ พนักงานไม่ ควรน าอุปกรณ์/เครื่องมือ ที่ช ารุดมาใช้งาน


ค่อยๆอธิบายทีละเหตุการณ์กันครับ Photo Hunt กาน้ าร้อนวางอยู่บนโต๊ะช ารุด ขาโต๊ะอาจหัก และท าให้กาน้ าร้อนตกลงมาได้รับความ เสียหาย/น้ าร้อนหกใส่ผู้ที่อยู่ใกล้เคียงได้รับ ความบาดเจ็บ เหตุการณ์นี้เป็น HAZOB ถ้าไม่อยากให้เกิดเหตุการณ์แบบนี้ ควรแจ้งผู้รับผิดชอบมาเปลี่ยนโต๊ะ


ค่อยๆอธิบายทีละเหตุการณ์กันครับ Photo Hunt พนักงานนั่งเก้าอี้ที่ช ารุดอาจท าให้ตกจากเก้าอี้ ได้รับบาดเจ็บ เหตุการณ์นี้เป็น พฤติกรรมเสี่ยง ถ้าไม่อยากให้เกิดเหตุการณ์แบบนี้ พนักงานไม่ควรน าอุปกรณ์/เครื่องมือ ที่ช ารุดมา ใช้งาน


ค่อยๆอธิบายทีละเหตุการณ์กันครับ Photo Hunt มีกล่องวางบังถังดับเพลิง หากเกิดเหตุ ฉุกเฉินจะท าให้ไม่สามารถหยิบถังดับเพลิงได้ สะดวก เหตุการณ์นี้ คือ HAZOB การแก้ไข ไม่ควรวางสิ่งของกีด ขวางเส้นทางหนีไฟ หรืออุปกรณ์ดับเพลิง และควรตีเส้นพื้นที่บริเวณหน้าอุปกรณ์


ค่อยๆอธิบายทีละเหตุการณ์กันครับ Photo Hunt พื้นในอาคารช ารุด และไม่มีป้ายแจ้งเตือน หรือกั้นพื้นที่ อาจท าให้สะดุดหกล้มได้ เหตุการณ์นี้ คือ HAZOB การแก้ไข ควรตั้งป้ายเตือน และ กั้นพื้นที่ ในระหว่างรอการซ่อมบ ารุง


ค่อยๆอธิบายทีละเหตุการณ์กันครับ Photo Hunt ในตู้ยา ไม่มียา เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่จะต้องใช้ จะไม่สามารถหาให้ได้ทันเวลา เหตุการณ์นี้ คือ HAZOB การแก้ไข ควรมีการจัดท ารายการ ยา และจัดให้มียาสามัญประจ าส านักงาน


ค่อยๆอธิบายทีละเหตุการณ์กันครับ Photo Hunt ขาบันได้เวทีช ารุด อาจท าให้คนตกลงมาได้รับ บาดเจ็บเมื่อใช้งาน เหตุการณ์นี้ คือ HAZOB การแก้ไข ควรตรวจสอบอุปกรณ์ ก่อนน ามาใช้งาน และควรซ่อมแซมอุปกรณ์ที่ ช ารุดให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน หรือติด ป้ายห้ามใช้งาน


Photo Hunt เครื่องมือที่เราเรียนรู้กันไป ไม่ได้เป็นเครื่องมือ ก าจัดอุบัติเหตุ หรือความเสี่ยงให้หมดไปอย่างสิ้นเชิง บางเหตุการณ์ยังเกิดขึ้นซ้ าๆ ซึ่งเกิดจากบุคคลที่ ยังไม่ตระหนักถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้ หรือ การปฏิบัติงานภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ ากัด เหตุการณ์บางเหตุการณ์ยังอาจเกิดขึ้นได้ แต่อาจจะ ลดความรุนแรงลง จากอุบัติเหตุ (บาดเจ็บรุนแรง) เป็นเหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ (ไม่บาดเจ็บ)


เป็นอย่างไรกันบ้างครับ เข้าใจเครื่องมือต่างๆ และคิดว่าสามารถน าไปใช้งานกันได้หรือไม่ เครื่องมือบางอย่างอาจต้องใช้เวลาในการปรับตัว แต่ถ้าไม่เริ่มใช้ก็อาจสายเกินไปนะครับ วัฒนธรรมความปลอดภัยสร้างได้จากตัวเราเอง และค่อยๆพัฒนา และกระจายไปยังคนรอบข้าง เพียงแค่ทุกๆคน ได้เริ่มใช้เครื่องมือต่างๆที่เรียนรู้ กันมาด้วยความเต็มใจ เพียงแค่นี้ความปลอดภัยใน องค์กรเราก็จะมีเพิ่มมากขึ้นแล้วครับ สุดท้ายนี้


สุดท้ายนี้ ก่อนจากกันไป อย่าลืมท าแบบทดสอบ กันนะครับ ใครยังไม่มั่นใจสามารถกลับไปทบทวน อีกสักนิด แล้วเริ่มท าแบบทดสอบได้เลยครับ ขอบคุณ และสวัสดีครับ


BBS & HAZOB การสังเกตพฤติกรรมและสภาพการณ์ เพ ื ่ อความปลอดภ ั ย


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.