E-book วารสารนาวิกโยธิน ฉบับประจำเดือน มกราคม 2565 Flipbook PDF

วารสารนาวิกโยธิน ฉบับประจำเดือน มกราคม 2565

52 downloads 104 Views

Recommend Stories


Get Instant Access to ebook Magia Con Velas PDF at Our Huge Library MAGIA CON VELAS PDF. ==> Download: MAGIA CON VELAS PDF
Get Instant Access to eBook Magia Con Velas PDF at Our Huge Library MAGIA CON VELAS PDF ==> Download: MAGIA CON VELAS PDF MAGIA CON VELAS PDF - Are y

Get Como Superar Conflictos De Pareja pdf ebook download free site
Get Como Superar Conflictos De Pareja pdf ebook download free site >-- Click Here to Download Como Superar Conflictos De Pareja Now --< >-- Click H

Story Transcript

สารบัญ วารสารนาวิกโยธิน Operation Weseruburg การยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบก ครั้งแรกของสงครามโลกครั้งที่ ๒ โดย น.ท.วีรกมล สวนจันทร์

๑๑





การยกพลขึ้นบกท่ีกัลลิโพลี โดย พล.ร.ท.โกศล ไตรยคุณ

๒๐



ยุทธการเอเรียล ดันเคิร์กครั้งที่ ๒ ๒๙ ของกองทัพพันธมิตร โดย ปัญญาณัฏฐ์ ณัธญาธรนินน์



พัฒนาการที่ไม่หยุดยั้งของ ชุดเครื่องบินเล็ก ควบคุมระยะไกล นย. โดย The TAB

๓๓





วารสารนาวิกโยธิน

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๕ “เป็นบันทึกประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่า และสร้างภูมิปัญญาให้แก่สมาชิก”

ที่ปรึกษา

กองบรรณาธิการ

พลเรือโท รณรงค์ สิทธินันทน์ พลเรือตรี นพดล ฐิตวัฒนะสกุล พลเรือตรี อภิรักษ์ กลิ่นหม่น พลเรือตรี ชัยวัฒน์ คุ้มทิม พลเรือตรี เทอดเกียรติ จิตต์แก้ว พลเรือตรี อภิชาติ ทรัพย์ประเสริฐ พลเรือตรี ชวเลิศ เลขะวัฒนะ

นาวาเอก นึกอนันต์ แสนอุบล นาวาเอก วิษณุ จันศิริรัตน์ นาวาโท ภูวเมศวร์ สามัญ นาวาโท สมปอง วัฒนกูล นาวาโท พานุรัตน์ อุ่นญาติ เรือเอก สุพจน์ พึ่งเจริญ เรือตรี ธเนศ สุภผล พันจ่าเอก วีระชัย สิมสวัสดิ์ จ่าเอก กุศลส่ง รอดสุวรรณ จ่าโท วันชัย อินทรประสาท นางฐิตินันท์ เจาะสุนทร

บรรณาธิการ นาวาเอก ชยุต ฉัตรอิสรกุล

ผู้ช่วยบรรณาธิการ ว่าที่ นาวาเอก วรฐ ปัจจุสานนท์

สำ�นักงานกิจการวารสาร นย. ศูนย์การฝึก หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน สัตหีบ ชลบุรี ๒๐๑๘๐ โทร.๖๒๖๕๓ โทร.๐ ๓๘๓๓ ๔๓๕๑ e-mail: [email protected]

บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ในวารสารนี้เป็นของผู้เขียนเองทั้งสิ้น มิได้ผูกพันต่อทางราชการแต่อย่างใด อ่านบทความเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ www.navigbook.com

บทบรรณาธิการ

สวัสดีครับท่านสมาชิกและผูท้ ตี่ ดิ ตามอ่านวารสารนาวิกโยธินทุกท่าน ในเดือนมกราคมนีเ้ ป็นเดือนแรกของปี พ.ศ.๒๕๖๕ ซึ่งถือว่าเป็นเดือนที่สำ�คัญ ที่บางท่านเริ่มคิดที่จะเปลี่ยนแปลงตนเองไปในทางที่ดีไม่ว่าจะเป็นการดำ�เนินชีวิต การปฏิบัติตน การทำ�งาน รวมทัง้ การดูแลสุขภาพทีเ่ ป็นสิง่ สำ�คัญของแต่ละบุคคล ในสถานการณ์ปจั จุบนั ทีไ่ วรัสโคโรน่า หรือ COVID-19 ยังคงอยู่ และแพร่ระบาดไปทั่วโลก ประเทศไทยของเราก็ได้รับผลกระทบต่อการแพร่เชื้อโดยเฉพาะตอนนี้มีเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์โอไมครอนซึ่งติดเชื้อได้ง่ายเข้ามาสู่ประเทศไทย แต่ที่ดีหน่อยคือความรุนแรงของเชื้อตัวนี้มันน้อยกว่าสายพันธุ์อื่น ที่เคยแพร่เชื้อทำ�ให้อัตราการเสียชีวิตน้อย แต่อย่างไรก็ตามเชื้อไวรัสโคโรนาไม่ว่าจะเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์ไปเป็นตัวไหน ในอนาคต ท่านสมาชิกและผู้ท่ีติดตามอ่านวารสารนาวิกโยธินคงจะต้องไม่ประมาทเป็นการที่ดีท่ีสุด ต้องปฏิบัติตน ไม่ให้ได้รบั เชือ้ หรือติดเชือ้ มาได้ รวมทั้งการฉีดวัคซีนป้องกัน COVID-19 ก็ต้องฉีดกันต่อไป ให้สภาพร่างกายของแต่ละท่าน มีภูมิต้านทานป้องกันไม่ว่าเชื้อจะกลายพันธุ์เป็นตัวไหน เพื่อสุขภาพของทุกท่านนะครับ วารสารนาวิ กโยธิ น ฉบั บ เดื อ นมกราคมนี้ ยั ง คงมี ส าระน่ า รู้ จากข่ า วสารการดำ � เนิ น งาน ความเป็ นไปของ หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน และยังมีบทความการรบและการพัฒนาในด้านต่างๆ อัดแน่นอยู่ภายในวารสารเล่มนี้ ได้แก่ Operation Weseruburg การยุทธสะเทินน้�ำ สะเทินบกครัง้ แรกของสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ โดย น.ท.วีรกมล สวนจันทร์ นายทหารนาวิกโยธินเหล่าปืนใหญ่ ของ นย. ทีไ่ ด้ไปค้นคว้าหาข้อมูลการยุทธสะเทินน้�ำ สะเทินบก ทีฝ่ า่ ยเยอรมันได้ท�ำ การปฏิบตั ิ การยุทธสะเทินน้�ำ สะเทินบกต่อฝ่ายสัมพันธมิตร ซึง่ มีนอ้ ยคนนักทีจ่ ะได้ทราบว่าเยอรมันก็ท�ำ การยุทธสะเทินน้�ำ สะเทินบก ได้ทราบ การวางแผนที่มีความละเอียดรอบคอบของฝ่ายเยอรมันอย่างไร การยกพลขึ้นบกที่กัลลิโพลี โดย พล.ร.ท.โกศล ไตรยคุณ ซึ่งคุณครูท่านนี้ก็ได้นำ�เนื้อหาสาระของการยกพลขึ้นบก ซึ่งถือว่ามีการใช้กำ�ลังมากมายของกองทัพจักรภพอังกฤษ และสาธารณรัฐฝรั่งเศสใช้กำ�ลังกว่า ๕๐๐,๐๐๐ นาย ขณะที่กำ�ลังตั้งรับของตุรกีวางกำ�ลังป้องกันกว่า ๓๐๐,๐๐๐ นาย ซึ่งถือว่าเป็นความล้มเหลว ในการปฏิบัติการยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบกของฝ่ายอังกฤษและสัมพันธมิตร และการรบครั้งนี้ ถือเป็นบทเรียนทีก่ องทัพสหรัฐฯ นำ�ไปจัดทำ�หลักนิยมการยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบก และทำ�การวางแผนการยุทธฯ ที่นอร์มังดีี ประเทศฝรั่งเศส ในสงครามโลกครั้งที่ ๒ ที่เราได้ทราบกัน ยุทธการเอเรียลดันเคิร์กครั้งที่ ๒ ของกองทัพพันธมิตร โดย ปัญญาณัฏฐ์ ณัธญาธรนินน์ จะพาท่านสมาชิกได้ทราบการถอย การอพยพของทหารอังกฤษและพันธมิตร ที่อพยพจาก ประเทศอังกฤษกลับประเทศ ในช่วงต้นของสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ ในขณะทีเ่ ยอรมันกำ�ลังเคลื่อนกำ�ลังเข้ายึดประเทศฝรัง่ เศส รวมทั้งเนื้อหาสาระอื่นๆ ที่น่าติดตามอีกมากมาย หวังว่าท่านสมาชิกและผู้ติดตามอ่านวารสารนาวิกโยธินทุกท่านจะได้สาระ และความรู้เช่นเดิมครับ

น.อ. (ชยุต ฉัตรอิสรกุล) บรรณาธิการวารสารนาวิกโยธิน

พล.ร.ท.รณรงค์์ สิิทธิินันั ทน์์ ผบ.นย. เป็็นประธานพิิธีทำี �บุ ำ ญ ุ ตัักบาตร และพิิธีขี อพรผู้้บั� งั คัับบััญชา เนื่่อ� งในโอกาสวัันขึ้้น� ปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ โดยมีีนายทหารชั้้�นผู้้�ใหญ่่ ชมรมภริิยานาวิิกโยธิิน ข้้าราชการ กำำ�ลัังพล และครอบครััว เข้้าร่่วมพิิธีีฯ เมื่่�อ ๒๙ ธ.ค.๖๔ ณ ศาสนสถาน นย. เฉลิิมพระเกีียรติิ ๘๐ พรรษา ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

พล.ร.ท.รณรงค์์ สิิทธิินัันทน์์ ผบ.นย. รัับรายงานตนและมอบของที่่�ระลึึกให้้กัับนายทหารใหม่่ พรรคนาวิิกโยธิิน ที่่สำ� �ำ เร็็จการศึึกษาจากโรงเรีียนนายเรืือ รุ่่�นที่่� ๑๑๕ เมื่่อ� ๒๙ ธ.ค.๖๔ ณ ห้้องโถง บก.นย. ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

พล.ร.ท.รณรงค์์ สิิทธิินัันทน์์ ผบ.นย. ร่่วมพิิธีีสดุุดีวีี ีรชนกองทััพเรืือ เนื่่�องใน “ วัันสดุุดีีวีีรชนกองทััพเรืือ ” ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ เพื่่อ� รำำ�ลึึกถึึงวีีรกรรมความกล้้าหาญของบรรพชนทหารเรืือที่่�ได้้เสีียสละเลืือดเนื้้�อและชีีวิติ ในสมรภููมิิการรบ เมื่่อ� ๑๗ ม.ค.๖๕ ณ อนุุสรณ์์เรืือหลวงธนบุุรีี รร.นายเรืือ อ.เมืืองสมุุทรปราการ จ.สมุุทรปราการ

พล.ร.ท.รณรงค์์ สิิทธิินัันทน์์ ผบ.นย. ร่่วมพิิธีีกระทำำ�สััตย์์ปฏิิญาณตนต่่อธงชััยเฉลิิมพล เนื่่�องใน “ วัันกองทััพไทย ” ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ เมื่่อ� ๑๘ ม.ค.๖๕ ณ ลานอเนกประสงค์์ สอ.รฝ. อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

พล.ร.ต.นพดล ฐิิตะวััฒนสกุุล รอง ผบ.นย. เป็็นประธานอ่่านคำำ�กล่่าวสดุุดีีวีีรชนกองทััพเรืือของ ผบ.ทร. เนื่่�องใน วัันสดุุดีวีี รี ชนกองทััพเรืือ ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ เมื่่อ� ๑๗ ม.ค.๖๕ ณ สนามหน้้า บก.นย. ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

พล.ร.ต.ชััยวััฒน์์ คุ้้ม� ทิิม รอง ผบ.นย. นำำ�กำ�ลั ำ งั พลเเถวรัับฟัังสารอวยพรของ ผบ.ทร. เนื่่อ� งในโอกาสวัันขึ้้น� ปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ เมื่่�อ ๓๐ ธ.ค.๖๔ ณ สนามหน้้า บก.นย. ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

พล.ร.ต.ชวเลิิศ เลขะวััฒนะ เสธ.นย. เป็็นประธานการจััดกิิจกรรมการอบรมอาชีีพเพื่่�อเสริิมรายได้้ วััตถุุประสงค์์เพื่่�อให้้ กำำ�ลังั พลและครอบครััวมีรี ายได้้เพิ่่มขึ้ � น�้ เเละนำำ�ไปปฏิิบัติั ไิ ด้้ในชีีวิตป ิ ระจำำ�วััน เมื่่อ� ๑๙ ม.ค.๖๕ ณ อาคารหมายเลข ๗ ( ดริิลฮอลล์์ ) ศฝ.นย. ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

พล.ร.ต.เทอดเกีียรติิ จิิตต์์แก้้ว ผบ.พล.นย. ร่่วมพิิธีีทำำ�บุุญตัักบาตร และพิิธีีขอพรผู้้�บัังคัับบััญชา เนื่่�องในโอกาสวัันขึ้้�นปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ เมื่่อ� ๒๙ ธ.ค.๖๔ ณ ศาสนสถาน นย. เฉลิิมพระเกีียรติิ ๘๐ พรรษา ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

พล.ร.ต.เทอดเกีียรติิ จิิตต์์แก้้ว ผบ.พล.นย. ตรวจเยี่่�ยมพื้้�นที่่� อาคารฝึึกการลอยตััว ทร. และพื้้น� ที่่� พััน.ลว.พล.นย. เพื่่อ� เตรีียมการ ถปภ.ฯ เมื่่อ� ๒๐ ม.ค.๖๕ ณ พััน.ลว.พล.นย. อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

พล.ร.ต.เทอดเกีียรติิ จิิตต์์แก้้ว ผบ.พล.นย. เป็็นประธานพิิธีีกระทำำ�สััตย์์ปฏิิญาณตนต่่อธงชััยเฉลิิมพล เนื่่�องในวัันกองทััพไทย ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ เมื่่อ� ๑๘ ม.ค.๖๕ ณ ลานสวนสนาม พััน.ร.๙ รอ.กรม ร.๓ พล.นย. ค่่ายจุุฬาภรณ์์ อ.เมืืองนราธิิวาส จ.นราธิิวาส

น.อ.นิิพััธน์์ สุุดใจ รอง ผบ.พล.นย. เป็็นประธานพิิธีีเปิิดการฝึึกเป็็นหน่่วย พััน.ร.หนุุน กจต. และตรวจสภาพ ความพร้้อมรบ ประจำำ�ปีี งป.๖๕ เมื่่อ� ๗ ม.ค.๖๕ ณ ลานอเนกประสงค์์ ค่่ายพระมหาเจษฎาราชเจ้้า อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

น.ท.ชััยชาญณรงค์์ วัังคะฮาด หน.กพร.พล.นย. รัับมอบน้ำำ��ดื่่�ม อุุปกรณ์์ทางด้้านการเเพทย์์ จาก บริิษัทั สิิงห์์ คอร์์เปอเรชั่่น� จำำ�กัดั เพื่่อ� เป็็นขวััญ กำำ�ลังั ใจให้้กัับบุุคลากรทางการเเพทย์์และเจ้้าหน้้าที่่� ประจำำ� รพ.สนาม เมื่่�อ ๑๑ ม.ค.๖๕ ณ รพ.สนามค่่ายพระมหาเจษฎาราชเจ้้า อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

น.ท.พิิทัักษ์์ภููมิิ วงศ์์สุุวรรณ ผบ.พััน.ร.๒ กรม ร.๑ พล.นย. นำำ�กำำ�ลัังพลแถวรัับฟัังสารอวยพรของ ผบ.ทร. เนื่่�องใน โอกาสวัันขึ้้น� ปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ เมื่่อ� ๓๐ ธ.ค.๖๔ ณ บก.พััน.ร.๒ กรม ร.๑ พล.นย. ค่่ายตากสิิน อ.เมืืองจัันทบุุรีี จ.จัันทบุุรีี

น.ท.พิิทัักษ์์ภููมิิ วงศ์์สุุวรรณ ผบ.พััน.ร.๒ กรม ร.๑ พล.นย. จััดกิิจกรรมในรููปแบบ นิิว นอ มอล มอบอุุปกรณ์์กีีฬา และอุุปกรณ์์ทางการศึึกษาให้้กัับนัักเรีียน พร้้อมทำำ�กิิจกรรมเสาธง ๕ นาทีี เนื่่�องในวัันเด็็กแห่่งชาติิประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ เมื่่�อ ๕ ม.ค.๖๕ ณ โรงเรีียนบ้้านนาซา อ.นายายอาม จ.จัันทบุุรีี

น.ท.พิิทัักษ์์ภููมิิ วงศ์์สุุวรรณ ผบ.พััน.ร.๒ กรม ร.๑ พล.นย. เป็็นประธานอ่่านคำำ�กล่่าวสดุุดีีวีีรชนกองทััพเรืือ ของ ผบ.ทร. เนื่่�องใน วัันสดุุดีีวีีรชนกองทััพเรืือ ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ เมื่่�อ ๑๗ ม.ค.๖๕ ณ หน้้า บก.พััน.ร.๒ กรม ร.๑ พล.นย. ค่่ายตากสิิน อ.เมืืองจัันทบุุรีี จ.จัันทบุุรีี

พััน.ร.๒ กรม ร.๑ พล.นย. จััดกิิจกรรม “รัักษ์์ทะเลไทย ตามเเนวพระราชดำำ�ริิ สมเด็็จพระเจ้้าลููกเธอ เจ้้าฟ้้าสิิริวัิ ณ ั ณวรีี นารีีรัตั นราชกััญญา” โดยจััดกำำ�ลัังพลร่่วมกัับประชาชนในพื้้�นที่่�พััฒนาทำำ�ความสะอาด ปรัับภููมิิทััศน์์ เมื่่�อ ๗ ม.ค.๖๕ ณ บริิเวณชายหาดพื้้�นที่่�หาดเจ้้าหลาว อ.ท่่าใหม่่ จ.จัันทบุุรีี

พััน.ร.๓ กรม ร.๑ พล.นย. จััดกำำ�ลัังพล ร่่วมกิิจกรรมบริิจาคโลหิิต เนื่่�องในวัันคล้้ายวัันปราบดาภิิเษก สมเด็็จพระเจ้้าตากสิินมหาราช ๒๘ ธ.ค. ของทุุกปีี เมื่่�อ ๒๗ ธ.ค.๖๔ ณ โรงพยาบาลสมเด็็จพระนางเจ้้าสิิริิกิิติ์์� พร. อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

พััน.ร.๓ กรม ร.๑ พล.นย. จััดกิิจกรรม “รัักษ์์ทะเลไทย ตามเเนวพระราชดำำ�ริิ สมเด็็จพระเจ้้าลููกเธอ เจ้้าฟ้้าสิิริวัิ ณ ั ณวรีี นารีีรัตั นราชกััญญา” โดยจััดกำำ�ลัังพลพร้้อมอุุปกรณ์์ร่่วมกิิจกรรม เมื่่�อ ๗ ม.ค.๖๕ ณ บริิเวณชายหาดค่่ายพระมหาเจษฎาราชเจ้้า อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

น.อ.สุุรวุุฒิิ สุุมงคล ผบ.กรม ร.๒ พล.นย./ผบ.ฉก.นย.๔๑๑ เป็็นประธานในกิิจกรรมปล่่อยพัันธุ์์�สััตว์์น้ำำ�� เนื่่�องใน วัันปราบดาภิิเษกสมเด็็จพระเจ้้าตากสิินมหาราช เมื่่�อ ๒๘ ธ.ค.๖๔ ณ บริิเวณชายทะเลด้้านหน้้าสโมสรทะเลไทย กรม ร.๒ พล.นย. อ.เมืืองกระบี่่� จ.กระบี่่�

น.อ.สุุรวุุฒิิ สุุมงคล ผบ.กรม ร.๒ พล.นย./ผบ.ฉก.นย.๔๑๑ เยี่่�ยมบำำ�รุุงขวััญกำำ�ลัังพลที่่�ปฏิิบััติิงานห้้วงเทศกาลปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ เมื่่อ� ๑ มค.๖๕ ณ จุุดบริิการประชาชน และกำำ�ลังั พลที่่�ปฏิิบัติั งิ านประจำำ� รพ.สนามอาคารโกเมน และ รพ.สนามพลบดีี มหาวิิทยาลััยการกีีฬาแห่่งชาติิ อ.เมืืองกระบี่่� จ.กระบี่่�

น.อ.สุุรวุุฒิิ สุุมงคล ผบ.กรม ร.๒ พล.นย./ผบ.ฉก.นย.๔๑๑ เป็็นประธานการจััดกิิจกรรม “รัักษ์์ทะเลไทย ตามเเนวพระราชดำำ�ริิ สมเด็็จพระเจ้้าลููกเธอ เจ้้าฟ้้าสิิริิวััณณวรีี นารีีรััตนราชกััญญา” โดยจััดกำำ�ลัังพลร่่วมกิิจกรรมปลููกต้้นโกงกาง ปล่่อยพัันธุ์์�สััตว์์น้ำำ�� และเก็็บขยะ เมื่่�อ ๗ ม.ค.๖๕ ณ บริิเวณพื้้�นที่่�ชายหาดพุุทรา กรม ร.๒ พล.นย. อ.เมืืองกระบี่่� จ.กระบี่่�

น.อ.สุุรวุุฒิิ สุุมงคล ผบ.กรม ร.๒ พล.นย./ผบ.ฉก.นย.๔๑๑ เป็็นประธานในกิิจกรรม สาธารณประโยชน์์ เนื่่�องใน วัันกองทััพไทยและวัันวีีรชนกองทััพเรืือ ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ เมื่่อ� ๑๗ ม.ค.๖๕ ณ พื้้น� ที่่� ม.๒ ต.หนองทะเล อ.เมืืองกระบี่่� จ.กระบี่่�

น.อ.คมสััน ท้้วมพงษ์์ รอง ผบ.กรม ร.๒ พล.นย./รอง ผบ.ฉก.นย.๔๑๑ เป็็นประธานการจััดกิิจกรรมจิิตอาสาพััฒนา มััสยิิด และถนนในชุุมชน เมื่่อ� ๒๖ ธ.ค.๖๔ ณ บริิเวณเส้้นทางสามแยกมััสยิิดบ้้านคลองม่่วง ถึึง รร.บ้้านคลองม่่วง อ.เมืืองกระบี่่� จ.กระบี่่�

น.ท.ปััญญา จาปรุุง ผบ.พััน.ร.๖ กรม ร.๒ พล.นย. พร้้อมกำำ�ลังั พลในสัังกััด เข้้าร่่วมกิจิ กรรม เนื่่อ� งในวัันคล้้ายวัันปราบดาภิิเษก สมเด็็จพระเจ้้าตากสิินมหาราช ประจำำ�ปีี ๒๕๖๔ เมื่่�อ ๒๘ ธ.ค.๖๔ ณ บริิเวณศาลสมเด็็จพระเจ้้าตากสิินมหาราช ในพื้้�นที่่� จ.ตราด และจ.ระยอง

น.ท.ปััญญา จาปรุุง ผบ.พััน.ร.๖ กรม ร.๒ พล.นย. ร่่วมพิิธีทำี �บุ ำ ญ ุ ตัักบาตร และพิิธีขี อพรผู้้บั� งั คัับบััญชา เนื่่อ� งในโอกาสวัันขึ้้น� ปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ เมื่่�อ ๒๙ ธ.ค.๖๔ ณ ศาสนสถาน นย. เฉลิิมพระเกีียรติิ ๘๐ พรรษา ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

น.ท.ปััญญา จาปรุุง ผบ.พััน.ร.๖ กรม ร.๒ พล.นย. พร้้อมด้้วยกำำ�ลังั พล จััดกิิจกรรมมอบของขวััญวัันเด็็กให้้กัับเด็็กๆ ที่่�สััญจรไปมาตามด่่านตรวจต่่างๆเนื่่�องในเทศกาลวัันเด็็ก เมื่่�อ ๘ ม.ค.๖๕ ณ ด่่านตรวจในพื้้�นที่่� อ.เขาสมิิง เเละด่่านตรวจในพื้้�นที่่� อ.เมืืองตราด จ.ตราด

พััน.ร.๖ กรม ร.๒ พล.นย. จััดกำำ�ลังั พลร่่วมกิจิ กรรม “เดิินเท้้ามอบของขวััญเนื่่อ� งในวัันเด็็กแห่่งชาติิ” แด่่เด็็กผู้้ด้้� อยโอกาส ทางสัังคม เมื่่�อ ๓ ม.ค.๖๕ ณ พื้้�นที่่� ต.ตะกาง รร.ชุุมชนวััดท่่าพริิก และรร.วััดบางปรืือ อเมืืองตราด จ.ตราด

น.อ.โยธิิน ธนะมููล ผบ.กรม ร.๓ พล.นย./ผบ.ฉก.นย.ทร./ผบ.ฉก.นย.ภต. ให้้การต้้อนรัับ นางเตืือนใจ วานิิ ครููสอนปัักผ้้า ศิิลปาชีีพฯและสมาชิิกศิิลปาชีีพกลุ่่�มปัักผ้้าบ้้านไอร์์สาเมาะ ในโอกาสเข้้าพบอวยพรในเทศกาลวัันขึ้้�นปีีใหม่่ เมื่่�อ ๒๖ ธ.ค.๖๔ ณ ห้้องรัับรองศาลาเกยหาด ค่่ายจุุฬาภรณ์์ อ.เมืืองนราธิิวาส จ.นราธิิวาส

น.อ.โยธิิน ธนะมููล ผบ.กรม ร.๓ พล.นย./ผบ.ฉก.นย.ทร./ผบ.ฉก.นย.ภต. เป็็นประธานในพิิธีทำี �บุ ำ ญ ุ ตัักบาตร เพื่่อ� ถวาย เป็็นพระราชกุุศลแด่่ พระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หััวมหาวชิิราลงกรณ บดิินทรเทพยวรางกููร และพระบรมวงศานุุวงศ์์ เนื่่อ� งในโอกาสมงคลขึ้้น� ปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ เมื่่อ� ๑ ม.ค.๖๕ ณ อาคารอเนกประสงค์์ พััน.ร.๙ รอ.กรม ร.๓ พล.นย. ค่่ายจุุฬาภรณ์์ อ.เมืืองนราธิิวาส จ.นราธิิวาส

น.อ.โยธิิน ธนะมููล ผบ.กรม ร.๓ พล.นย./ผบ.ฉก.นย.ทร./ผบ.ฉก.นย.ภต. เป็็นประธานจััดกิิจกรรม “วัันเด็็กแห่่งชาติิ” ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ เพื่่อ� เป็็นการส่่งเสริิมและสนัับสนุุนให้้เด็็กได้้รัับความสุุขสนุุกสนาน สร้้างรอยยิ้้ม� และให้้กำำ�ลังั ใจเเก่่เด็็ก และเยาวชน เมื่่�อ ๘ ม.ค.๖๕ ณ สถานสงเคราะห์์เด็็กชาย นราธิิวาส อ.เมืืองนราธิิวาส จ.นราธิิวาส

น.อ.โยธิิน ธนะมููล ผบ.กรม ร.๓ พล.นย./ผบ.ฉก.นย.ทร./ผบ.ฉก.นย.ภต. เป็็นประธานอ่่านคำำ�กล่่าวสดุุดีีวีีรชนกองทััพเรืือ ของ ผบ.ทร. เนื่่อ� งในวัันสดุุดีวีี รี ชนกองทััพเรืือ ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ เมื่่อ� ๑๗ ม.ค.๖๕ ณ บริิเวณลานหน้้า บก.กรม ร.๓ พล.นย./ บก.ฉก.นย.ทร./บก.ฉก.นย.ภต. ค่่ายจุุฬาภรณ์์ อ.เมืืองนราธิิวาส จ.นราธิิวาส

น.ท.สุุรชาติิ รอดผล ผบ.พััน.ร.๗ กรม ร.๓ พล.นย. เป็็นประธานอ่่านคำำ�กล่่าวสดุุดีีวีีรชนกองทััพเรืือ ของ ผบ.ทร. เนื่่�องในวัันสดุุดีีวีีรชนกองทััพเรืือ ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ เมื่่�อ ๑๗ ม.ค.๖๕ ณ สนามหน้้า บก.พััน.ร.๗ กรม ร.๓ พล.นย. ค่่ายมหาสุุรสิิงหนาท อ.เมืืองระยอง จ.ระยอง

น.อ.ธีีรนัันท์์ มาแดง ผบ.กรม ป.พล.นย. ร่่วมพิิธีีทำำ�บุุญตัักบาตร และพิิธีีขอพรผู้้บั� ังคัับบััญชา เมื่่�อ ๒๙ ธ.ค.๖๔ ณ ศาสนสถานหน่่วยบััญชาการนาวิิกโยธิิน เฉลิิมพระเกีียรติิ ๘๐ พรรษา ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

น.อ.ธีีรนัันท์์ มาแดง ผบ.กรม ป.พล.นย. เข้้าเยี่่�ยมคำำ�นัับ พล.ร.ท.วิินััย สุุขต่่าย เจ้้ากรมสรรพาวุุธทหารเรืือ เมื่่อ� ๒๙ ธ.ค.๖๔ ณ บก.กรมสรรพาวุุธทหารเรืือ อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

น.อ.ธีีรนัันท์์ มาแดง ผบ.กรม ป.พล.นย.รัับคำำ�กล่่าวอวยพรจาก น.อ. สมคิิด ลาภมาก รอง ผบ.กรม ป.พล.นย. ในนาม ข้้าราชการและพลทหาร สัังกััด กรม ป.พล.นย. เนื่่�องในเทศกาลปีีใหม่่ ๒๕๖๕ ณ บก.กรม ป.พล.นย. อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

น.อ.ธีีรนัันท์์ มาแดง ผบ.กรม ป.พล.นย. นำำ�กำ�ลั ำ ังพลแถวรัับฟัังสารอวยพรของ ผบ.ทร. เนื่่�องใน โอกาสวัันขึ้้น� ปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ เมื่่อ� ๓๐ ธ.ค.๖๔ ณ บก.กรม ป.พล.นย. อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

น.อ.ธีีรนัันท์์ มาแดง ผบ.กรม ป.พล.นย./ผอ.รร.วิิวัฒ ั น์์พลเมืือง ทร.๓ ให้้การต้้อนรัับ นายสุุทินิ ไชยวััฒน์์ ผอ.สำำ�นักั งานคุุมประพฤติิ จ.ชลบุุรีี เนื่่อ� งในโอกาสเยี่่ย� มเยีียนประสานงาน รัับฟัังปััญหาข้้อขััดข้้อง ร่่วมหารืือแนวทางการบริิหารงานของ รร.วิิวัฒ ั น์์พลเมืือง ทร.๓ เมื่่�อ ๑๓ ม.ค.๖๕ ณ รร.วิิวัฒ ั น์์พลเมืือง ทร.๓ และ บก.กรม ป.พล.นย. อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

น.อ.จามร พููลเนีียม รอง ผบ.กรม ป.พล.นย. เป็็นประธานพิิธีเี ปิิดการอบรมทหารกองประจำำ�การก่่อนปลดเป็็นทหารกองหนุุน ผลััดที่่� ๔/๖๒ เเละผลััดที่่� ๓/๖๓ เมื่่�อ ๑๐ ม.ค.๖๕ ณ โรงประกอบเลี้้�ยง พััน.ปกค.กรม ป.พล.นย. อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

น.อ.จัักรพงษ์์ อาษานอก ผบ.กรม สน.พล.นย. ร่่วมพิิธีีทำำ�บุุญตัักบาตรและขอพรผู้้�บัังคัับบััญชา เนื่่�องในโอกาสวัันขึ้้�นปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ เมื่่อ� ๒๙ ธ.ค.๖๔ ณ ศาสนสถาน นย. เฉลิิมพระเกีียรติิ ๘๐ พรรษา ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

น.อ.จัักรพงษ์์ อาษานอก ผบ.กรม สน.พล.นย. และกำำ�ลัังพลในอััตราสวนสนามของ กรม สน.พล.นย. สวนสนามในพิิธีีกระทำำ� สััตย์ป์ ฏิิญาณตนต่่อธงชััยเฉลิิมพล เนื่่อ� งในวัันกองทััพไทย ประจำำ�ปีี งป.๖๕ เมื่่อ� ๑๘ ม.ค.๖๕ ณ ลานอเนกประสงค์์ สอ.รฝ. อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

น.อ.แทน ทองรัับแก้้ว รอง ผบ.กรม สน.พล.นย. นำำ�กำำ�ลัังพลเข้้ารัับฟัังสารอวยพรของ ผบ.ทร. เนื่่�องในโอกาส วัันขึ้้น� ปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ เมื่่อ� ๓๐ ธ.ค.๖๔ ณ สนามหน้้า บก.กรม สน.พล.นย. ต.สััตหีบี อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

น.ท.กวีีวัฒ ั น์์ เก่่งการ ผบ.พััน.ลว.พลนย. พร้้อมข้้าราชการเเละพลทหาร ร่่วมพิิธีทำี �บุ ำ ญุ ตัักบาตร และพิิธีีขอพรผู้้�บัังคัับบััญชา เนื่่�องในโอกาสวัันขึ้้�นปีีใหม่่ ๒๕๖๕ เมื่่�อ ๒๙ ธ.ค.๖๔ ณ ศาสนสถาน นย. เฉลิิมพระเกีียรติิ ๘๐ พรรษา ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

น.ท.กวีีวััฒน์์ เก่่งการ ผบ.พััน.ลว.พล.นย. ตรวจเยี่่�ยมการฝึึกเบื้้�องต้้นเฉพาะหน่่วย ลว. ของพลทหาร ผลััด ๒/๖๔ เมื่่อ� ๑๘ ม.ค.๖๕ ณ บริิเวณพื้้�นที่่�สนามฝึึก ทร. หมายเลข ๑๕ หาดยาว อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

น.ท.กวีีวััฒน์์ เก่่งการ ผบ.พััน.ลว.พล.นย. เป็็นประธานพิิธีีประดัับเครื่่�องหมายอัันเป็็นสััญลัักษณ์์ของหน่่วยและหมวกบาเร่่ห์์ ให้้แก่่ทหารใหม่่ ผลััด ๒/๖๔ ที่่ผ่� า่ นหลัักสููตรเบื้้อ� งต้้นเฉพาะหน่่วยฯ เมื่่อ� ๒๑ ม.ค.๖๕ ณ หน้้า บก.พััน.ลว.พล.นย. อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

พล.ร.ต.อภิิชาติิ ทรััพย์์ประเสริิฐ ผบ.ศฝ.นย. ตรวจเยี่่ย� มการฝึึกการยิิงอาวุุธประจำำ�กายด้้วยกระสุุนจริิงของทหารใหม่่ หลัักสููตรเบื้้อ� งต้้นทั่่ว� ไปของทหารทุุกเหล่่าพรรคนาวิิกโยธิิน ผลััด ๓/๖๔ เพื่่อ� รัับทราบปััญหาข้้อขััดข้้องและข้้อเสนอเเนะ โดยมีี น.อ.วีีระเชษฐ์์ ขยัันทำำ� ผบ.กฝท.ศฝ.นย. ให้้การต้้อนรัับ เมื่่�อ ๑๑ ม.ค.๖๔ ณ สนามยิิงปืืนหมายเลข ๑ ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

พล.ร.ต.อภิิชาติิ ทรััพย์์ประเสริิฐ ผบ.ศฝ.นย. ให้้การต้้อนรัับเเละให้้โอวาทพร้้อมทั้้�งเเนะเเนวทางการรัับราชการ เเก่่นายทหารใหม่่ นย. เมื่่�อ ๒๕ ม.ค.๖๕ ณ ห้้องประชุุม บก.ศฝ.นย. ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

น.อ.ปรีีชา รััตนสำำ�เนีียง รอง ผบ.ศฝ.นย. นำำ�กำ�ลั ำ งั พลร่่วมพิิธีแี ถวฟัังสารอวยพรของ ผบ.ทร. เนื่่อ� งในโอกาสวัันขึ้้น� ปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ เมื่่�อ ๓๐ ธ.ค.๖๔ ณ สนามหน้้า บก.ศฝ.นย. ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

น.อ.วีีระเชษฐ์์ ขยัันทำ�ำ ผบ.กฝท.ศฝ.นย. นำำ�กำ�ลั ำ งั พลร่่วมพิิธีแี ถวฟัังสารอวยพร ของ ผบ.ทร. เนื่่อ� งในโอกาสวัันขึ้้น� ปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ เมื่่�อ ๓๐ ธ.ค.๖๔ ณ สนามหน้้า บก.กฝท.ศฝ.นย. ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

น.อ.วีีระเชษฐ์์ ขยัันทำำ� ผบ.กฝท.ศฝ.นย. นำำ�กำำ�ลัังพลตรวจหาเชื้้�อ COVID - 19 ด้้วยวิิธีีการ ATK. หลัังช่่วงเทศกาลปีีใหม่่ ๒๕๖๕ ตามนโยบายของ ทร. เพื่่�อสร้้างความเชื่่�อมั่่�นเเละกำำ�ลัังพลปลอดภััยจากเชื้้�อ COVID - 19 เมื่่�อ ๔ ม.ค.๖๕ ณ อาคารหมายเลข ๘ ( มะรีีนฮอลล์์ ) ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

น.อ.วีีระเชษฐ์์ ขยัันทำำ� ผบ.กฝท.ศฝ.นย. เป็็นประธานอ่่านคำำ�กล่่าวสดุุดีีวีีรชนกองทััพเรืือของ ผบ.ทร. เนื่่�องในวัันสดุุดีี วีีรชนกองทััพเรืือ ประจำำ�ปีี ๒๕๖๕ เมื่่อ� ๑๗ ม.ค.๖๕ ณ สนามหน้้า บก.กฝท.ศฝ.นย. ค่่ายกรมหลวงชุุมพร อ.สััตหีบี จ.ชลบุุรีี

น.ท.วีีรกมล สวนจัันทร์์ ผบ.กอง นทน.กปค.รร.นย.ศฝ.นย. นำำ�คณะนายทหารนัักเรีียนหลัักสููตรนายทหารใหม่่ นย. รุ่่�นที่่� ๑๔ ฟัังบรรยายสรุุปเเละเยี่่�ยมชมหน่่วยขึ้้�นตรง กองพลนาวิิกโยธิิน ในพื้้�นที่่�สััตหีีบ เมื่่�อ ๑๗ - ๒๑ ม.ค.๖๕ ณ หน่่วยขึ้้�นตรง กองพลนาวิิกโยธิิน ในพื้้�นที่่�สััตหีีบ อ.สััตหีีบ จ.ชลบุุรีี

พล.ร.ท.รณรงค์์ สิิทธิินันั ทน์์ ผบ.กปช.จต.กปช.จต. เป็็นประธานพิิธีวี างพานพุ่่�ม เนื่่อ� งในวัันปราบดาภิิเษกสมเด็็จพระเจ้้าตากสิินมหาราช เพื่่�อน้้อมรำำ�ลึึกในพระมหากรุุณาธิิคุุณของสมเด็็จพระเจ้้าตากสิินมหาราช เมื่่�อ ๒๘ ธ.ค.๖๔ ณ พระบรมราชานุุสาวรีีย์์ สมเด็็จพระเจ้้าตากสิินมหาราช ค่่ายตากสิิน อ.เมืืองจัันทบุุรีี จ.จัันทบุุรีี

พล.ร.ท.รณรงค์์ สิิทธิินันั ทน์์ ผบ.กปช.จต.กปช.จต.เป็็นประธานเปิิดกิิจกรรม “เราทำำ�ความ ดีี ด้้วยหััวใจ” บำำ�เพ็็ญสาธารณประโยชน์์ ปรัับปรุุงภููมิิทััศน์์ ทำำ�ความสะอาด เนื่่�องในวัันปราบดาภิิเษกสมเด็็จพระเจ้้าตากสิินมหาราช เพื่่�อน้้อมรำำ�ลึึกในพระมหากรุุณาธิิคุุณ ของสมเด็็จพระเจ้้าตากสิินมหาราช เมื่่�อ ๒๘ ธ.ค.๖๔ ณ วััดพลัับ บางกะจะ อ.เมืืองจัันทบุุรีี จ.จัันทบุุรีี

พล.ร.ท.รณรงค์์ สิิทธิินัันทน์์ ผบ.กปช.จต.กปช.จต. ร่่วมมอบอาหารปรุุงสุุกจากรถครััวสนาม เคลื่่อ� นที่่ก� องทััพเรืือ ให้้กัับประชาชนที่่ไ� ด้้รัับผลกระทบจากโรคติิดเชื้้อ� ไวรััสโคโรนา ๒๐๑๙ เมื่่อ� ๒๘ ธ.ค.๖๔ ณ ศาลหลัักเมืือง อ.เมืืองจัันทบุุรีี จ.จัันทบุุรีี

พล.ร.ต.อภิิรักษ์ ั ์ กลิ่่�นหม่น่ รอง ผบ.กปช.จต. ตรวจเยี่่ย� มบำำ�รุงุ ขวััญกำำ�ลังั พลที่่ป� ฏิิบัติั งิ าน ตามด่่านตรวจร่่วม ในช่่วงเทศกาลปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ เมื่่�อ ๓๑ ธ.ค.๖๔ ณ ด่่านตรวจร่่วมเขาเกลืือและด่่านตรวจร่่วมเขาแหลม อ.สอยดาว จ.จัันทบุุรีี

พล.ร.ต.อภิิรักษ์ ั ์ กลิ่่�นหม่น่ รอง ผบ.กปช.จต. ตรวจเยี่่ย� มบำำ�รุงุ ขวััญกำำ�ลังั พลที่่ป� ฏิิบัติั งิ านตามด่่านตรวจร่่วมฯ ในช่่วงเทศกาลปีีใหม่่ พุุทธศัักราช ๒๕๖๕ เมื่่�อ ๑ ม.ค.๖๕ ณ ด่่านตรวจร่่วมบ้้านท่่าจอด อ.เขาสมิิง ด่่านตรวจร่่วมบ้้านเนิินสููง และด่่านตรวจช่่องทางธรรมชาติิบ้้านท่่าเส้้น อ.เมืืองตราด จ.ตราด

น.ท.ไพรวััลย์์ จัันเเจ ผบ.พััน.ร.ฉก.นย.จัันทบุุรี/ี เสธ.ฉก.นย.จัันทบุุรีี ตรวจเยี่่ย� มมอบสิ่่ง� ของบำำ�รุงุ ขวััญ จุุดตรวจ/จุุดบริิการประชาชน ในห้้วงเทศกาลปีีใหม่่ ๒๕๖๕ เมื่่�อ ๑ ม.ค.๖๕ ณ จุุดตรวจ จุุดบริิการประชาชน ในพื้้�นที่่� อ.โป่่งน้ำำ��ร้้อน จ.จัันทบุุรีี

น.อ.พงษ์์ศักดิ์์ ั � ทองไสย ผบ.ฉก.นย.ตราด อวยพรปีีใหม่่พร้้อมทั้้�งมอบของขวััญปีีใหม่่ให้้เเก่่ นขต.ฉก.นย.ตราด เเละหน่่วยขึ้้น� ควบคุุม ทางยุุทธการ ของ ฉก.นย.ตราด เพื่่�อเป็็นขวััญเเละกำำ�ลัังใจเเก่่กำำ�ลัังพลในการปฏิิบััติิงาน เมื่่�อ ๒๗ ธ.ค.๖๔ ณ บก.ฉก.นย.ตราด อ.เมืืองตราด จ.ตราด

น.ท.อำำ�นาจ ภู่่�ทอง รอง เสธ.ฉก.นย.ทร. เป็็นประธานพิิธีีกิิจกรรมบำำ�เพ็็ญสาธารณประโยชน์์ เนื่่�องใน วัันกองทััพไทยและวัันวีีรชนกองทััพเรืือ เมื่่อ� ๑๘ ม.ค.๖๕ ณ รร.บ้้านบืือราเปะ อ.เมืืองนราธิิวาส จ.นราธิิวาส

นาวิกโยธิน / ๔

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

สารอวยพร เนื่องในวันขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๖๕ จาก พลเรือเอก สมประสงค์ นิลสมัย ผู้บัญชาการทหารเรือ ************************ เพื่อนข้าราชการ ทหาร ลูกจ้าง และพนักงานราชการกองทัพเรือ ที่รักทุกท่าน ผมทราบดีว่า ตลอดปีที่ผ่านมากำ�ลังพลกองทัพเรือทุกท่าน ได้มุ่งมั่นปฏิบัติหน้าที่ราชการ อย่างเต็มกำ�ลัง ความรู้ ความสามารถ เพื่อให้ภารกิจของกองทัพเรือสำ�เร็จลุล่วงไปด้วยดี แม้จะมีอุปสรรคต่าง ๆ เข้ามาบ้าง แต่ ทุกท่านก็ได้รว่ มมือ ร่วมแรง ร่วมใจ จนสามารถฝ่าฟันอุปสรรคไปได้ เปรียบเสมือน “ลงเรือลำ�เดียวกัน” แล้วช่วยกัน นำ�เรือลำ�นี้ ไปสูจ่ ดุ หมายปลายทางได้เป็นอย่างดี เป็นการแสดงออก ให้เห็นว่า “กองทัพเรือ” มีความรัก ความสามัคคี กลมเกลียว เป็นพี่น้องกัน เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติงาน จึงขอให้กำ�ลังพลทุกท่านได้ดำ�รงความมุ่งมั่นตั้งใจ และความดีงามดังกล่าวนี้ไว้ตลอดไป เนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๖๕ ผมขอส่งความปรารถนาดี ความห่วงใย และขออำ�นวยพร ให้กำ�ลังพลกองทัพเรือทุกท่านและครอบครัว จงมีแต่ความสุข มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีกำ�ลังกาย กำ�ลังใจ และ กำ�ลังสติปญ ั ญา ในการปฏิบตั หิ น้าทีร่ าชการ เพือ่ ความมัน่ คงของประเทศชาติ ราชนาวี และประชาชนสืบไป รวมทัง้ ขอให้มีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ราชการ สมหวังในสิ่งอันพึงปรารถนาทุกประการ

พลเรือเอก

(สมประสงค์ นิลสมัย) ผู้บัญชาการทหารเรือ

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๕

คำ�กล่าว ของ พลเรือเอก สมประสงค์ นิลสมัย ผู้บัญชาการทหารเรือ ในพิธีสดุดีวีรชนกองทัพเรือ ประจำ�ปี ๒๕๖๕ ณ อรุสรณ์เรือหลวงธนบุรี โรงเรียนนายเรือ วันจันทร์ที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๕ ************************ กองทัพเรือ กำ�หนดให้วันที่ ๑๗ มกราคม ของทุกปี เป็นวันสดุดีวีรชนกองทัพเรือ เพื่อเป็นการรำ�ลึกถึง วีรกรรมความกล้าหาญของบรรพชนทหารเรือไทย ที่ได้เสียสละเลือดเนื้อและชีวิตในสมรภูมิการรบอย่างกล้าหาญ และองอาจในหลายเหตุการณ์ เพื่อปกป้องเอกราช และอธิปไตยของชาติให้มั่นคงสืบมาจนถึงทุกวันนี้ โดยเมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๔๘๔ เกิดยุทธนาวีที่เกาะช้าง จังหวัดตราด กองเรือของฝรั่งเศสที่มีเรือลาดตระเวนลามอตต์ปิเกต์ เป็นเรือธง พร้อมเรือ อีก ๖ ลำ� ได้ล่วงล้ำ�เข้ามาในน่านน้ำ�ไทยบริเวณเกาะช้าง จังหวัดตราด เพื่อที่จะโจมตีหัวเมือง ชายทะเลของไทย กำ�ลังฝ่ายเราซึ่งประกอบด้วย เรือหลวงธนบุรี เรือหลวงสงขลาและเรือหลวงชลบุรี ภายใต้ การบังคับบัญชาของ นาวาโท หลวงพร้อม วีรพันธุ์ ผู้บังคับการเรือหลวงธนบุรี จึงเข้าทำ�การต่อตีเพื่อสกัดกั้น กองเรือข้าศึกโดยไม่หวาดหวัน่ ทัง้ ทีเ่ ป็นฝ่ายเสียเปรียบด้วยจำ�นวนเรือและระวางขับน้�ำ แม้จะสามารถขับไล่ผรู้ กุ ราน ให้ล่าถอยไปได้ แต่ฝ่ายเราต้องสูญเสียเรือรบทั้ง ๓ ลำ� พร้อมด้วยชีวิตของกำ�ลังพลรวม ๓๖ นาย นอกจากนี้ ประวัตศิ าสตร์ของกองทัพเรือได้จารึกเหตุการณ์ส�ำ คัญทีแ่ สดงถึงความกล้าหาญของทหารเรือไทย ที่ได้พลีชีพในการรบครั้งสำ�คัญไว้หลายเหตุการณ์ อาทิ การรบที่ปากแม่น้ำ�เจ้าพระยา เมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๒ เรือหลวงมกุฎราชกุมาร พร้อมหมูป่ นื ทีป่ อ้ มพระจุลจอมเกล้าและป้อมผีเสือ้ สมุทร ได้ยงิ สกัดกัน้ การรุกรานของเรือรบฝรั่งเศส จำ�นวน ๒ ลำ� อย่างสุดความสามารถ จนสูญเสียทหารเรือไป จำ�นวน ๑๒ นาย ในสงครามมหาเอเชียบูรพา กองทัพเรือได้จัดเรือหลวงสมุยพร้อมกำ�ลังพลภายใต้การบังคับบัญชาของ นาวาตรี ประวิทย์ รัตนอุบล เดินทางฝ่าอันตรายเพือ่ ลำ�เลียงน้�ำ มันเชือ้ เพลิงจากสาธารณรัฐสิงคโปร์มายังประเทศไทย หลายครั้ง จนกระทั่งในวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๔๘๘ ระหว่างการลำ�เลียงน้ำ�มันเป็นเที่ยวที่ ๑๘ เรือหลวงสมุยได้ถูก ตอร์ปโิ ดจากเรือดำ�น้�ำ ซีไลออน ของฝ่ายสัมพันธมิตรเข้าโจมตีและจมลงบริเวณนอกฝัง่ รัฐตรังกานู สหพันธรัฐมาเลเซีย ทำ�ให้มีผู้เสียชีวิตจำ�นวน ๓๑ นาย และในสงครามเดียวกันนี้ กองทัพเรือยังสูญเสียกำ�ลังพลจำ�นวน ๗ นาย ในการ ต่อสู้ป้องกันการโจมตีทางอากาศในอีกหลายพื้นที่ ในช่วงสงครามเกาหลี กองทัพเรือได้ส่งเรือหลวงประแส เรือหลวงบางปะกง และเรือหลวงท่าจีน ร่วมกับ กำ�ลังกองทัพสหประชาชาติ โดยระหว่างภารกิจระดมยิงฝัง่ เมือ่ วันที่ ๖ มกราคม ๒๔๙๔ เราได้สญ ู เสียเรือหลวงประแส ลำ�ที่หนึ่ง พร้อมกับกำ�ลังพลประจำ�เรือ จำ�นวน ๒ นาย ต่อมาในสงครามเวียดนาม กองทัพเรือได้ส่งเรือหลวงพงัน และเรือ ต.๑๒ ไปร่วมปฏิบัติการในเวียดนามใต้ ซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเข้มแข็งและกล้าหาญ นำ�ชื่อเสียง

นาวิกโยธิน / ๖

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

มาสู่กองทัพเรืออย่างน่าภาคภูมิใจ ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเผชิญกับภัยคุกคามจากลัทธิคอมมิวนิสต์ ทำ�ให้มกี ารสูร้ บเกิดขึน้ ในหลายพืน้ ที่ ระหว่างปี ๒๕๑๖-๒๕๒๗ กำ�ลังพลของกองทัพเรือได้เข้าร่วมในยุทธการสำ�คัญหลายครั้ง ได้แก่ ยุทธการสามชัย จังหวัดเพชรบูรณ์ ยุทธการดอยผาจิ จังหวัดเชียงราย ยุทธการกรุงชิง จังหวัดนครศรีธรรมราช ยุทธการดอนน้อย จังหวัดหนองคาย ยุทธการบ้านโขดทราย และยุทธการบ้านชำ�ราก จังหวัดตราด กองทัพเรือต้องสูญเสียทหารกล้า ในยุทธการที่กล่าวมานี้ รวมจำ�นวน ๓๘ นาย นอกจากการรบที่ได้กล่าวมาแล้ว ปัจจุบันกองทัพเรือได้ส่งกำ�ลังพลเข้าร่วมแก้ไขปัญหาในอีกหลายยุทธภูมิ รวมถึงความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยกำ�ลังพลเหล่านี้ยอมเสียสละชีวิตของตนเองเพื่อปกป้องชีวิต ของประชาชนผู้บริสุทธิ์และนำ�ความสงบสุขกลับคืนมา วีรกรรมอันกล้าหาญที่กล่าวมานับเป็นเกียรติภูมิของเหล่า ผู้วายชนม์ ซึ่งได้ทำ�หน้าที่ของทหารเรือไทยอย่างสมบูรณ์ครบถ้วน ด้วยจิตวิญญาณที่เปี่ยมไปด้วยความรักชาติ อย่างแท้จริง อันเป็นที่กล่าวขานยกย่องและได้รับการจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ของชาติและของกองทัพเรือตลอดไป ในโอกาสทีว่ นั สดุดวี รี ชนกองทัพเรือเวียนมาถึงในวันนี้ ผมขอเชิญชวนท่านทัง้ หลาย ร่วมกันตัง้ จิตอธิษฐาน ขออานุภาพแห่งคุณพระศรีรตั นตรัยและสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ง้ั หลายในสากล พระบารมีแห่งพระสยามเทวาธิราช ดวงพระวิญญาณ อันศักดิ์สิทธิ์ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ได้โปรดดลบันดาลให้ดวงวิญญาณอันบริสทุ ธิข์ องวีรชนทหารเรือทุกท่านซึง่ ได้ลว่ งลับไปแล้ว จงสถิตอยู่ในสุคติภพชั่วนิรันดร์กาล

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๗ วันคล้ายวันสถาปนา

กรมทหารปืนใหญ่ กองพลนาวิกโยธิน หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน ๓๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๕

ประวัติความเป็นมา ทหารปืนใหญ่ นาวิกโยธิน เป็นหน่วยซึง่ มีหน้าทีห่ ลัก ในการยิงสนับสนุนให้กบั หน่วยดำ�เนินกลยุทธ์แต่ในการที่ จะปฏิบตั ภิ ารกิจของทหารปืนใหญ่นนั้ จะต้องประกอบด้วย ผูต้ รวจการณ์ ศูนย์อ�ำ นวยการยิง และส่วนยิง ซึง่ กรมทหาร ปืนใหญ่ได้ฝึกกำ�ลังพลให้มีความรู้ความสามารถในการ ทำ�งานของแต่ละส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้สามารถ ตอบสนองภารกิจของหน่วยเหนือ โดยยึดคำ�ขวัญที่ว่า “ชำ�นาญ ดีกว่าโชค” เมือ่ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๐๙ กองพันทหารปืนใหญ่ กรมผสมนาวิกโยธิน กรมนาวิกโยธิน (พัน.ป.ผส.นย.) ได้จัดกำ�ลังพลพร้อมอาวุธ ปบค.ขนาด ๗๕ มม. จำ�นวน ๒ กระบอก เพือ่ ไปปฏิบตั ภิ ารกิจในยุทธการบ้านหาดเล็ก ป้องกันการรุกล้ำ�อธิปไตยจากประเทศกัมพูชา ดังนั้น จึงได้ถือเอาเหตุการณ์และวันสำ�คัญตามประวัติศาสตร์ ดังกล่าว ในวันที่ ๓๑ มกราคม ของทุกปี เป็น “วันคล้าย วันสถาปนากรมทหารปืนใหญ่” ภารกิจ กรมทหารปืนใหญ่ กองพลนาวิกโยธิน หน่วย บั ญ ชาการนาวิ กโยธิ น มี ภ ารกิ จในการยิ ง สนั บ สนุ น การปฏิบตั กิ ารรบของกองพลนาวิกโยธิน และป้องกันภัย ทางอากาศ ต่ออากาศยานที่บินต่ำ�ให้แก่ที่ตั้งต่าง ๆ ของ กองพลนาวิกโยธิน การรบที่สำ�คัญในอดีต ป้องกันอธิปไตยของประเทศ - ยุทธการบ้านหาดเล็ก บ้านหาดสารพัดพิษ อ.คลองใหญ่ จ.ตราด เมือ่ ๓๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๙

จัดปืนใหญ่เบากระสุนวิถโี ค้ง ขนาด ๗๕ มิลลิเมตร จำ�นวน ๒ กระบอก สนับสนุนการรบ - ยุทธการบ้านหนองกก อ.โป่งน้�ำ ร้อน จ.จันทบุรี เมื่อ ๑๒ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๖ - ยุทธการบ้านกระดูกช้าง อ.บ่อไร จ.ตราด เมือ่ ๒๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๘ จัดปืนใหญ่เบากระสุนวิถีโค้ง ขนาด ๑๐๕ มิลลิเมตร และปืนใหญ่กลางกระสุนวิถีโค้ง ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร จำ�นวน ๑ กองร้อย สนับสนุนการรบ - ยุทธการบ้านชำ�ราก อ.เมือง จ.ตราด เมือ่ ๑ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๒๘ จัดหนึง่ กองพันทหารปืนใหญ่ สนับสนุนการรบ ประกอบด้วย ๕ กองร้อยทหารปืนใหญ่ ปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ - ยุทธการสามชัย ที่ภูหินร่องกล้า รอยต่อ ระหว่างจังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดเลย ตัง้ แต่เดือน กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ ถึง มกราคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๖ จั ด ปื นใหญ่ เ บากระสุ น วิ ถี โ ค้ ง ขนาด ๑๐๕ มิลลิเมตร จำ�นวน ๑ กองร้อย สนับสนุนการรบ - ยุทธการผาภูมิ ทีด่ อยผาจิก รอยต่อระหว่าง จั ง หวั ด เชี ย งราย และจั ง หวั ด น่ า น ตั้ ง แต่ ตุ ล าคม พุทธศักราช ๒๕๑๖ ถึง มกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๗ จัดปืนใหญ่เบากระสุนวิถีโค้ง ขนาด ๑๐๕ มิลลิเมตร จำ�นวน ๑ กองร้อย สนับสนุนการรบ - ปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิว นิส ต์ ที่ ค่ายกรุงชิง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งแต่ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๒๐ ถึง กันยายน พุทธศักราช ๒๕๒๔ จัดปืนใหญ่เบากระสุนวิถีโค้ง ขนาด ๑๐๕ มม. จำ�นวน ๑ กองร้อย สนับสนุนการรบ

นาวิกโยธิน / ๘ กรมทหารปืนใหญ่ กองพลนาวิกโยธิน หน่วย บัญชาการนาวิกโยธิน จะมุง่ มัน่ พัฒนาขีดความสามารถ ของกำ�ลังพลและยุทโธปกรณ์ของหน่วย เพือ่ ให้เกิดความ เชื่อมั่นจากผู้บังคับบัญชาและตอบสนองต่อภารกิจของ หน่วยเหนืออย่างมีประสิทธิภาพ การทีจ่ ะทำ�ให้ กรมทหาร ปืนใหญ่ กองพลนาวิกโยธิน หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน มีความพร้อมที่จะดำ�เนินการดังกล่าวได้นั้น จะต้องมี การฝึกฝนกำ�ลังพลอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ดั่งคำ�ขวัญ ของทหารปืนใหญ่ “ชำ�นาญ ดีกว่าโชค”

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

น.อ.ธีรนันท์ มาแดง ผบ.กรม ป.พล.นย.

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๙ วันคล้ายวันสถาปนา

กองรักษาความปลอดภัย ฐานทัพเรือสงขลา กรมรักษาความปลอดภัย หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน ๓๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๕

ประวัติ กองรักษาความปลอดภัย ฐานทัพเรือสงขลา เดิมชื่อกองรักษาความปลอดภัย สถานีทหารเรือสงขลา (กอง รปภ.สน.สข.) ได้จัดตั้งขึ้นตามคำ�สั่ง ทร.ลับมาก (เฉพาะ) ที่ ๓๘๙/๒๕๑๙ ลง ๓๐ พ.ย.๑๙ เรื่อง แก้อัตรา กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๑๐ พร้อมกับจัดตั้ง กรมรักษาความ ปลอดภัย หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน โดยใช้การจัดและ บรรจุกำ�ลังพลตามอัตราเฉพาะกิจ หมายเลข ๒๒๘๑๐ ตั้งแต่ ๒๒ ต.ค.๑๙ ประกอบด้วย กองบังคับการ กองร้อยกองบังคับการและ บริการ และ ๒ กองร้อยรักษาความปลอดภัย กำ�ลังพลทีไ่ ด้รบั การบรรจุสว่ นแรก ประกอบด้วย กองบังคับการ และ ๑ กองร้อยรักษาความปลอดภัย ได้เคลือ่ นย้ายกำ�ลังพลจากค่ายกรมหลวงชุมพร อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ถึงสถานีทหารเรือสงขลา เมื่อ ๒๙ ม.ค.๒๐ เข้ า ที่ ต้ั ง ชั่ ว คราวบริ เ วณอาคารสถานี ก ารบิ น สงขลา และเริ่ ม เข้ า รั บ หน้ า ที่ รั ก ษาความปลอดภั ย ต่ อ จาก กองพันทหารราบที่ ๘ กรมผสมนาวิกโยธิน เมื่อ ๓๐ ม.ค.๒๐ ต่อมาในเดือน ส.ค.๒๑ ได้รับการบรรจุกำ�ลังพล และยุทโธปกรณ์ตามอัตราเฉพาะกิจหมายเลข ๒๒๘๑๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทาน ธงชัยเฉลิมพลให้กบั กองรักษาความปลอดภัย สถานีเรือ สงขลา เมื่อ ๑๐ ส.ค.๒๑ โดยมี ร.อ.สิทธิชัย อยู่สวัสดิ์ รองผูบ้ งั คับกองรักษาความปลอดภัย สถานีทหารเรือสงขลา

ในขณะนั้นเป็นผู้รับพระราชทาน มื่อ ๗ ก.พ.๒๘ กองทัพเรือได้รับอนุมัติจาก กองบัญชาการทหารสูงสุด ให้แก้อตั รากองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๑๐ ซึ่งในส่วนของกองรักษาความปลอดภัย สถานีทหารเรือ สงขลา ได้รับอนุมัติเพิ่มอัตรากำ�ลังอีก ๑ กองร้อย รักษาความปลอดภัย ตามอัตราเฉพาะกิจหมายเลข ๒๒๑๐๐ การจัดหน่วยประกอบด้วย กองบังคับการ กองร้อย กองบังคับการและบริการ และอีก ๓ กองร้อยรักษา ความปลอดภัย ในปี พ.ศ.๒๕๒๙ สถานีทหารเรือสงขลา ได้เปลีย่ น สภาพเป็น ฐานทัพเรือสงขลา ตามพระราชกฤษฎีกา การแบ่งส่วนราชการ และกำ�หนดหน้าที่ส่วนราชการ กองทัพเรือ กองบัญชาการทหารสูงสุด กระทรวงกลาโหม เมือ่ วันที่ ๑๒ ต.ค.๒๕๒๘ และราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๑๒ ตอน ๔๔ ก.หน้า ๘ เมื่อ ๑ เม.ย.๔๗ กองรักษาความปลอดภัย ฐานทัพเรือสงขลา ได้ขนึ้ การบังคับบัญชากับทัพเรือภาคที่ ๒ จึงได้เปลีย่ นชือ่ เป็น กองรักษาความปลอดภัย ทัพเรือ ภาคที่ ๒ (เพื่อพลาง) และ เมื่อ ๑ พ.ค.๕๑ ได้ปรับสภาพ เป็นหน่วยขึ้นสมทบฐานทัพเรือสงขลา ภารกิจ มีหน้าทีใ่ นการป้องกัน และรักษาความปลอดภัย ให้แก่พื้นที่ฐานที่ตั้งหน่วยทหารปกติของกองทัพเรือ ใน เขตความรับผิดชอบของ ฐานทัพเรือสงขลา ทัพเรือภาคที่ ๒

นาวิกโยธิน / ๑๐

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

การจัดหน่วย กอง รปภ.ฐท.สข กองบังคับการ ร้อย.บก.และบริการ ร้อย.รปภ.ฯ บก.ร้อย.

มว.รปภ.ฯ หมู่ รปภ.ฯ

น.ท.พงศ์ทิวัตถ์ พินิจมนตรี ผบ.กอง รปภ.ฐท.สข. กรม รปภ.นย.

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๑๑

Operation Weseruburg การยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบกครั้งแรกของสงครามโลกครั้งที่ ๒ โดย น.ท.วีรกมล สวนจันทร์ หากจะกล่าวถึงการยุทธสะเทินน้�ำ สะเทินบกในช่วง สงครามโลกครั้งที่ ๒ นั้น หลาย ๆ ท่านอาจนึกถึง การ ยกพลขึน้ บกที่ นอร์มงั ดี หรือในสมรภูมแิ ปซิฟกิ แต่หากจะ ถามว่า การยุทธสะเทินน้�ำ สะเทินบก ในช่วงสงครามโลก ครั้งที่ ๒ ครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อใด หรือที่ไหนนั้น น้อยคน นักที่จะสามารถตอบได้ ในบทความนี้ผมจึงขอนำ�เสนอ รายละเอียดของ Operation Weserubung ซึง่ มีแนวความคิด ในการปฏิบัติ รวมถึงมีบทเรียนทางการรบ ที่น่าสนใจ เป็นอย่างยิง่ ซึง่ Operation Weserubung นอกจากจะ เป็นการยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบกครั้งแรกในสงครามโลก ครั้งที่ ๒ แล้ว ยังได้ชื่อว่าเป็นครั้งแรกของการรบร่วม หรือ Joint Operations ที่มีครบทั้ง ๓ มิติ คือ การใช้ กำ�ลังรบทางบก ทางทะเล และทางอากาศ อีกด้วย Operation Weserubung เป็นยุทธการสำ�คัญ ยุทธการหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๒ (๙ เม.ย. - ๑๐ มิ.ย.๑๙๔๐) โดยมีคู่สงครามคือ ฝ่าย สัมพันธมิตร (อังกฤษ ฝรัง่ เศส และโปแลนด์) กับฝ่ายอักษะ (เยอรมัน) ส่วนเดนมาร์คและนอร์เวย์ประกาศตัวเป็นกลาง โดย สหรัฐฯ นัน้ ให้การสนับสนุนฝ่ายสัมพันธมิตรแบบลับ ๆ ในช่วงต้นของสงคราม ทัง้ ฝ่ายอักษะและฝ่ายสัมพันธมิตร ต่างเห็นความสำ�คัญของประเทศนอร์เวย์ และเดนมาร์ค ซึง่ เป็นประเทศทีม่ คี วามสำ�คัญอย่างมากในช่วงสงครามโลก ครั้งที่ ๒ กล่าวคือ ประเทศนอร์เวย์ เป็นประเทศที่ฝ่ายเยอรมันใช้เป็นเส้นทางส่งกำ�ลังบำ�รุง โดยเฉพาะอย่างยิ่งแร่เหล็กที่ใช้ ในการผลิตอาวุธต่าง ๆ จะถูกขนส่งทางรถไฟจากสวีเดนมาที่ท่าเรือที่เมือง Narvik ของประเทศนอร์เวย์ ซึ่งไม่ สามารถขนส่งทางทะเลได้ในช่วงฤดูหนาว เนือ่ งจากทะเลบอลติกบริเวณนัน้ จะกลายเป็นน้�ำ แข็ง การทีเ่ ยอรมันเลือก ทีจ่ ะยึดนอร์เวย์แทนทีจ่ ะเป็นสวีเดนนัน้ เนือ่ งจาก เมือ่ ยึดนอร์เวย์ได้จะทำ�ให้สวีเดนโดนปิดล้อมไปด้วยชาติทสี่ นับสนุน ฝ่ายอักษะ ซึ่งในขณะนั้นสหภาพโซเวียตที่ยังอยู่กับฝ่ายอักษะ ได้ยึดประเทศฟินแลนด์ไว้แล้ว รวมทั้งหากยึดประเทศ นอร์เวย์ได้จะทำ�ให้อังกฤษไม่สามารถทำ�การปิดทะเล (Blockade) ที่บริเวณช่องหมู่เกาะออร์กนี่ กับฝั่งนอร์เวย์ รวมถึงช่องโดเวอร์ได้ นอกจากนี้ ยังเป็นการออมกำ�ลังโดยไม่ต้องสูญเสียกำ�ลังทหารโดยไม่จำ�เป็น หากสามารถยึด นอร์เวย์ได้และเจรจาต่อรอง (เชิงกดดัน) กับประเทศสวีเดนได้สำ�เร็จ

นาวิกโยธิน / ๑๒

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

ภาพ แผนที่ประเทศในแถบ Scandinavia ในส่วนประเทศเดนมาร์คนั้น เป็นประเทศที่จะยึดเพื่อใช้เป็นฐานทัพเรือและฐานทัพอากาศส่วนหน้าของ เยอรมัน รวมถึงเป็นประเทศทีม่ ถี นนเชือ่ มถึงแผ่นดินเยอรมัน จึงสามารถใช้เป็นเส้นหลักในการส่งกำ�ลังบำ�รุงทางบกได้ Operation Weserubung สามารถแยกการรบได้ ๒ ห้วงดังนี้ ๑. เยอรมันเข้ายึดนอร์เวย์และเดนมาร์ค กองทัพ เยอรมัน ประกอบด้วย กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพ อากาศ ได้ใช้กำ�ลังทางทหาร เข้ายึดประเทศเดนมาร์ค และนอร์เวย์ได้ ในวันที่ ๙ เม.ย.๑๙๔๐ ด้วยอำ�นาจ กำ � ลั ง รบที่ เ หนื อ กว่ า ทั้ ง สองประเทศ โดยใช้ ห ลั ก การ จู่ โ จม (Surprise) เข้ า ยึ ด เมื อ งหลวง และเมื อ งท่ า ทางทะเลที่สำ�คัญ ๆ อย่างรวดเร็วในห้วงเวลาเดียวกันคือ เช้ามืดของวันที่ ๙ เม.ย.๑๙๔๐ โดยถูกต้านทานจากทั้ง สองประเทศรวมถึงประเทศอังกฤษเพียงเล็กน้อย จากภาพฝ่ายเยอรมันใช้การกระจายกำ�ลังเข้า ทำ�การยึดพืน้ ทีซ่ งึ่ เป็นเมืองท่าทีส่ �ำ คัญต่าง ๆ ของ นอร์เวย์ และเดนมาร์คโดยใช้การปฏิบัติการร่วมที่สอดคล้องและ เกื้อหนุนกัน ได้แก่ ๑. การใช้หน่วยยานเกราะเคลื่อนที่เร็วในการ ดำ�เนินกลยุทธ์แบบ Blitzkrieg ยึดพื้นที่ของนอร์เวย์ที่มี ภาพ กองกำ�ลังต่าง ๆ ของเยอรมัน แผ่นดินติดกับเยอรมัน เพือ่ การใช้สนามบินในการต่อระยะ ในการเข้ายึดแต่ละพื้นที่

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๑๓

ปฏิบัติการให้กับอากาศยาน รวมถึงจัดตั้งเป็นพื้นที่ส่งกำ�ลังบำ�รุงส่วนหน้า

ภาพ การดำ�เนินกลยุทธ์แบบ Britzkrieg ๒. จากการทีม่ คี วามได้เปรียบทางอากาศ (Air Superiority) จึงมีการใช้อากาศยานโจมตีและการส่งทางอากาศ เพื่อยึดสนามบินและท่าเรือต่าง ๆ ไว้ใช้ในการขนส่งกำ�ลังทางบกอย่างได้ผล (หน่วยส่งทางอากาศ ของเยอรมัน สังกัดกองทัพอากาศ) ๓. กำ�ลังรบยกพลขึ้นบก (ในสงครามโลกครั้งที่ ๒ เยอรมันใช้ ทบ.ในการยกพลขึ้นบก) สามารถขึ้นสู่ฝั่ง ได้โดยไม่มีการโจมตีจากฝ่ายสัมพันธมิตรในระหว่างขั้นการเคลื่อนย้ายกำ�ลัง (Movement) เนื่องจากใช้การลวงโดย เมื่อฝ่ายเยอรมันในขณะนั้น สามารถดักฟังการส่งข่าวโดยเครื่องเข้ารหัส Enigma จากกองทัพอังกฤษได้ ทำ�ให้ ทราบแผนการบินลาดตระเวนทางทะเล จึงให้กองเรือต่าง ๆ เดินเรือให้มีทีท่าว่าจะเข้าไปโจมตีแผ่นดินอังกฤษ เมื่อ กองเรืออังกฤษโดนลวงจากผลการลาดตระเวนทางอากาศ ก็จะเปลี่ยนเส้นทางกลับเข้านอร์เวย์ ทำ�ให้กองเรือของ ฝ่ายอังกฤษ ปรับแผนในการต่อตีไม่ทัน นอกจากนี้ยังมีการบรรทุกกำ�ลังพลให้มากับเรือพิฆาตแทนที่จะเป็น เรือระบายพลหรือเรือยกพล และเรือสินค้าดัดแปลง ทำ�ให้ฝ่ายสัมพันธมิตรไม่ทันตั้งตัว จึงไล่ตามหรือขัดขวางไม่ทัน

ภาพ การลงเรือเล็กเพื่อขึ้นสู่ฝั่ง

นาวิกโยธิน / ๑๔

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

๒. การตอบโต้จากฝ่ายสัมพันธมิตร หลังจากการเข้ายึดของเยอรมัน ฝ่ายสัมพันธมิตรใน Operation Weseruburg นั้น ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส โปแลนด์ รวมถึง กองพลทหารราบที่ ๖ นอร์เวย์ ได้พยายามต่อสู้เพื่อยึดพื้นที่คืนจากกองทัพเยอรมัน แต่ก็ประสบความล้มเหลว เนื่องจากกำ�ลังทางบกถึงแม้ว่าจะมี กำ�ลังมากกว่าถึง ๓ เท่า แต่ขีดความสามารถที่ด้อยกว่าเนื่องจากขาดอาวุธ ยุทโธปกรณ์ทางทหารที่สำ�คัญในการรบ เช่น อาวุธสนับสนุนและอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการรบพื้นที่หิมะ รวมถึงอำ�นาจกำ�ลังรบที่ไม่มีตัวตน เช่น ขวัญ การฝึก ประสบการณ์ ของทหาร ทำ�ให้ไม่สามารถยึดประเทศคืนได้ จนต้องถอนกำ�ลังกลับไป อย่างไรก็ตาม กำ�ลังรบทางเรือ ของอังกฤษนั้น เหนือกว่าฝ่ายเยอรมันค่อนข้างมาก จนมีผลให้สามารถควบคุมและยึดเมือง Narvik คืนได้ แต่ ด้วยสถานการณ์สงครามที่ขณะนั้น ฝ่ายอักษะมีท่าทีที่จะยึดฝรั่งเศสได้ กำ�ลังทหารของชาติพันธมิตรทั้งหมด จึงต้องถอนกำ�ลังทั้งหมดไปช่วยในวันที่ ๙ มิ.ย.๑๙๔๐ ทำ�ให้เยอรมันสามารถควบคุมประเทศนอร์เวย์และเดนมาร์ค จนกระทั่งถึงวันที่เยอรมันประกาศยอมแพ้ในวันที่ ๘ พ.ค.๑๙๔๕ บทวิเคราะห์การยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบก เยอรมันมีการปฏิบัติการยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบกตามหลักนิยม Force Projection โดยทำ�การยึดเมืองท่า ต่าง ๆ ของนอร์เวย์ได้สำ�เร็จเนื่องจาก สามารถลวงกองทัพอังกฤษให้เข้าใจผิดทำ�ให้ไม่สามารถสกัดกั้นทางทะเลได้ ทันการ รวมถึงการต่อต้านการยกพลขึ้นบกและการต้านทานตามจุดขึ้นบกต่าง ๆ มีอยู่ค่อนข้างน้อย และที่สำ�คัญ ที่สุดการข่าวโดยเฉพาะการวางกำ�ลังต่าง ๆ ของนอร์เวย์ ค่อนข้างถูกต้องทำ�ให้ การดำ�เนินกลยุทธ์หลังจากขั้นการ เคลื่อนที่จากเรือสู่ฝั่ง ทำ�ได้ตามแผน

ภาพ การจัดชุดลาดตระเวนเดินเท้าของเยอรมัน ข้อได้เปรียบเสียเปรียบ ฝ่ายสัมพันธมิตรมีกำ�ลังทางเรือที่มีขีดความสามารถสูงกว่าฝ่ายอักษะ กล่าวคือ ในการรบทางเรือ เรือรบ ของอังกฤษสามารถจมเรือของเยอรมันได้เป็นจำ�นวนมาก นอกจากนี้ยังมีเรือบรรทุกเครื่องบินที่สามารถต่อระยะ ตรวจการณ์และระยะยิงให้ได้เปรียบฝ่ายอักษะในพื้นที่ ๆ อยู่นอกระยะปฏิบัติการของ กองทัพอากาศเยอรมัน แต่

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๑๕

ค่อนข้างเสียเปรียบกำ�ลังทางอากาศจากกองทัพอากาศ ทีม่ าสนับสนุนมีระยะปฏิบตั กิ ารทีจ่ �ำ กัดจากฐานบินในประเทศ หน่วยรักษาฝั่งก็ไม่สามารถหยุดยั้งการเคลื่อนที่จากเรือสู่ฝั่งของเยอรมันได้ ในส่วนของกำ�ลังทางบก ที่สามารถ ขึ้นฝั่งเพื่อยึดนอร์เวย์คืนจากเยอรมันในช่วงท้ายยุทธการ ก็มีขีดความสามารถที่ด้อยกว่าเยอรมันมาก แม้จะมีกำ�ลัง ค่อนข้างมากกว่าก็ตาม ฝ่ายอักษะมีการแยกกำ�ลังเป็นกองเรือเฉพาะกิจกระจายเพือ่ ยึดเมืองท่าสำ�คัญทำ�ให้ฝา่ ยอังกฤษและนอร์เวย์ เกิ ด การสั บ สนในการแก้ ไ ขตามแผนเผชิ ญ เหตุ ท่ี ไ ด้ เ ตรี ย มไว้ นอกจากนี้ ใ นแต่ ล ะกองเรื อ จะได้ รั บ เรื อ กวาด ทุ่นระเบิดซึ่งสามารถปฏิบัติได้ดี แม้ว่าอังกฤษจะสามารถวางทุ่นระเบิดตามแผน Wilfred ได้ แต่ก็ไม่ปรากฏเรือ เยอรมันถูกจมด้วยทุน่ ระเบิดเลยสักลำ�เดียว นอกจากนีเ้ ยอรมันสามารถใช้ประโยชน์จากกำ�ลังทางอากาศจากกองทัพ อากาศ ที่สามารถครองอากาศในพื้นที่ปฏิบัติการได้เกือบทั้งประเทศ ยกเว้นในช่วงแรกในพื้นที่เมือง Narvik กำ�ลังรบยกพลขึน้ บกเยอรมัน สามารถขึน้ บกและยึดเมืองต่าง ๆ ได้อย่างจูโ่ จมตามแผน นอกจากนี้ ยังสามารถ ตั้งรับจากการถูกโจมตีเพื่อยึดเมืองคืนจากอังกฤษได้ แม้ว่าจำ�นวนกำ�ลังทหารจะน้อยกว่าอยู่มาก เรือสินค้าดัดแปลงสำ�หรับขนส่งกำ�ลังพล เป็นอีกปัจจัยสำ�คัญที่สามารถลวงฝั่งอังกฤษได้ จนสามารถลด ความสูญเสียในการถูกโจมตีทางเรือ หน่วยทหารพลร่ม สามารถใช้การแทรกซึมทางอากาศเพื่อเข้ายึด พื้นที่สำ�คัญ ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สนามบิน ซึ่งเอื้อต่อการปฏิบัติในขั้นต่อ ๆ ไปของเยอรมันได้เป็นอย่างดี เจ้าหน้าที่หาข่าวต่าง ๆ เช่น สายลับ ทูต การดักฟังและถอดรหัสในการส่งข่าว ฯลฯ สามารถหาข่าวและ ยืนยันเป้าหมายได้อย่างถูกต้องสามารถสนับสนุนการวางแผนและการปฏิบัติได้เป็นอย่างดี

ภาพ อากาศยานเยอรมันแบบ JUNKER อังกฤษ ใช้หลักนิยมการควบคุมทะเล ในพืน้ ทีท่ ะเลเหนือซึง่ ในภาพรวมของยุทธการถือว่าประสบความสำ�เร็จ ยกเว้น ห้ ว งที่ เ ยอรมั น สามารถยกพลขึ้ น บกได้ เนื่ อ งจากการประมาณสถานการณ์ ผิ ด พลาดจนนำ�ไปสู่ การตอบโต้ ที่ ไ ม่ ทั น สถานการณ์ ใน Operation Weserubung การรบระหว่ า งเรื อ ผิ ว น้ำ� ต่ อ เรื อ ผิ ว น้ำ � ฝ่ า ยอั ง กฤษ สามารถจมเรือของเยอรมันได้อย่างมากมาย ฝ่ายอังกฤษใช้การป้องกันภัยทางอากาศของเรือเพือ่ สนับสนุนการควบคุมทะเลของกำ�ลังทางเรือ โดยมีเรือ

นาวิกโยธิน / ๑๖

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

ในกองเรือที่มีขีดความสามารถในการป้องกันภัยทางอากาศให้กับกองเรือได้เป็นอย่างดี ทำ�ให้กองเรือ Home Fleet สามารถที่จะปฏิบัติการทางทะเลได้โดยไม่ต้องกังวลกับภัยคุกคามทางอากาศ กองเรือของอังกฤษใช้การปราบเรือดำ�น้�ำ เพือ่ สนับสนุนการควบคุมทะเล สามารถป้องกันการถูกโจมตีจาก เรือดำ�น้ำ�ของเยอรมันได้เป็นอย่างดี โดยเรือดำ�น้ำ�เยอรมันไม่สามารถทำ�ลายกองเรือ Home Fleet ของอังกฤษได้ เนื่องจากในกองเรือนี้มีเรือที่มีเทคโนโลยีในการปราบเรือดำ�น้ำ�ได้เป็นอย่างดี ในยุทธการนี้อังกฤษสามารถใช้เรือดำ�น้ำ�ได้ผลสำ�เร็จในหลาย ๆ เหตุการณ์โดยเฉพาะภารกิจ ลาดตระเวน หาข่าวความเคลื่อนไหวของกองเรือต่าง ๆ ของเยอรมัน เพื่อสนับสนุนการควบคุมทะเล อังกฤษมีการใช้กำ�ลังทางอากาศจาก กองทัพอากาศ และกำ�ลังของอากาศนาวี ในการหาข่าวและโจมตี กองเรือเยอรมัน โดยในช่วงก่อนเยอรมันเข้ายึดนอร์เวย์นนั้ การหาข่าวจาก กองทัพอากาศล้มเหลวเนือ่ งจากพืน้ ทีท่ าง ทะเลกว้าง ไม่สามารถเกาะติดสถานการณ์ตลอดจนทัศนวิสัยที่เลวร้ายในห้วงนั้นจนนำ�ไปถึงได้ข่าวสารคลุมเครือ ทำ�ให้หน่วยเหนือประมาณสถานการณ์ผิดจนเยอรมันสามารถยกพลขึ้นบกที่นอร์เวย์ได้ แต่สำ�หรับการใช้อากาศนาวี ในการหาข่าวนั้นค่อนข้างสำ�เร็จโดยเฉพาะพื้นที่เมือง Narvik สามารถได้ภาพสถานการณ์ จนทำ�ให้กองเรืออังกฤษ ควบคุมทะเลในพื้นที่นั้นได้ในที่สุด อังกฤษมีการวางทุ่นระเบิดในชายฝั่งทะเลของนอร์เวย์ ซึ่งเป็นการวางทุ่นระเบิดทางรับสนับสนุน การ ปิดอ่าว (Blockade) ในช่วงก่อนเยอรมันเข้ายึดนอร์เวย์ ๑-๒ วัน ที่ไม่ประสบความสำ�เร็จเท่าที่ควรเนื่องจากไม่ สามารถจมเรือหรือทำ�อันตรายกับเรือเยอรมันได้รวมถึงเยอรมันมีการใช้เรือกวาดทุน่ ระเบิดในยุทธการนี้ จึงทำ�ได้แค่ เพียงป้องปรามแบบหลวม ๆ เท่านั้น เยอรมัน ใช้หลักนิยมการควบคุมทะเล ได้ส�ำ เร็จในขัน้ แรก ในการเข้ายึดนอร์เวย์ เนื่องจากใช้การจู่โจม (Surprise) กระจายกองเรือต่าง ๆ ในการเข้ายึด ทำ�ให้ตลอด เส้นทางเดินเรือจนถึงเมืองท่าต่าง ๆ ทีท่ �ำ การยกพลขึน้ บก อังกฤษและนอร์เวย์ไม่สามารถสกัดกัน้ หรือยับยัง้ กองเรือ ของเยอรมันได้ ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จนั้นมาจากการ วางแผนการใช้ก�ำ ลังได้เหมาะสมกับเวลาและการข่าวทีด่ ี รวมถึงความเหนือความคาดหมายเนื่องจากช่วงนั้นเป็น ช่วงมรสุมไม่เหมาะแก่การเดินเรือ นอร์เวย์และอังกฤษ จึงประมาณสถานการณ์เยอรมันผิดพลาด นอกจากนี้ยัง ใช้หลักนิยมกองเรือคงชีพ ในพื้นที่ปฏิบัติการยังมีเรือรบ เยอรมันในพื้นที่และคอยรบกวนการปฏิบัติการทางเรือ ต่ออังกฤษอยู่ประปราย ฝ่ายเยอรมันใช้การป้องกันภัยทางอากาศของ เรือเพือ่ สนับสนุนการควบคุมทะเลของกำ�ลังทางเรือ โดย สามารถกระทำ�ได้อย่างจำ�กัดเนือ่ งจากการกระจายกำ�ลัง ภาพ การลงเรือเล็กของกองทัพเยอรมัน เป็นกองเรือต่าง ๆ ทำ�ให้ขดี ความสามารถในการป้องกันภัย เพื่อขึ้นบกที่เมือง Trondheim

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๑๗

ทางอากาศในแต่ละกองเรือต่ำ�จนนำ�ไปสู่การถูกจมเรือโดยอากาศนาวีของอังกฤษในการรบที่เมือง Narvik ในยุทธการ Weseruburg นั้น เยอรมันไม่ประสบความสำ�เร็จในการปราบเรือดำ�น้ำ� ผลของการสูญเสีย เรือดำ�น้�ำ ในยุทธการนีข้ องเยอรมันมากกว่าฝัง่ อังกฤษ รวมถึงกองเรือของอังกฤษสามารถใช้เรือดำ�น้�ำ หาข่าวความเคลือ่ นไหว เรือรบในกองเรือต่าง ๆ ของเยอรมันได้ นอกจากนี้ การใช้เรือดำ�น้ำ� ถือว่าไม่ประสบความสำ�เร็จเนื่องจาก กองเรือของอังกฤษสามารถป้องกัน การถูกโจมตีจากเรือดำ�น้ำ�ของเยอรมันได้เป็นอย่างดี โดยเรือดำ�น้ำ�เยอรมันไม่สามารถทำ�ลายกองเรือ Home Fleet ของอังกฤษได้ เนื่องจากในกองเรือนี้มีเรือที่มีเทคโนโลยีในการปราบเรือดำ�น้ำ�ได้เป็นอย่างดี เยอรมันใช้กำ�ลังทางอากาศจาก กองทัพอากาศ อย่างได้ผล อากาศยานจากกองทัพอากาศของเยอรมัน เช่น Junker นั้นมีขีดสมรรถนะเหนือกว่าฝั่งอังกฤษและนอร์เวย์อย่างมาก สามารถทำ�การหาข่าวและโจมตีกองเรือ อังกฤษได้เป็นอย่างดี โดยยังสามารถสร้างความยำ�เกรงในกรณีที่อังกฤษจะมีการเคลื่อนกำ�ลังเข้าเขตปฏิบัติการ ทางอากาศของฝ่ายเยอรมันอีกด้วย ข้อเด่นของการยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบกที่เห็นได้ชัดคือ สามารถเลือกช่องทางที่จะเข้าปฏิบัติการได้อย่าง หลากหลายตลอดแนวชายฝั่ง เช่น นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งค่อนข้างยาว (ประมาณ ๒,๐๐๐ กิโลเมตร) ทำ�ให้ยากที่จะวางกำ�ลังทั้งทางบก เรือ และอากาศ ต้านทานได้อย่างคลอบคลุม

ภาพ ทหารฝรั่งเศสยอมแพ้สงคราม สรุป ฝ่ายเยอรมันสามารถชนะสงครามในยุทธการนี้ได้เนื่องจากประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้ สามารถใช้หลักการสงครามในหลักการดำ�เนินกลยุทธ์ (Maneuver) ทำ�การเคลื่อนที่หน่วยและวางกำ�ลัง ในลักษณะที่ทำ�ให้ข้าศึกอยู่ในฐานะเสียเปรียบ หลักการรักษาความปลอดภัย (Security) ทำ�ให้ฝ่ายตรงข้าม ไม่สามารถติดตามความเคลือ่ นไหวหรือดักรับข้อมูลต่าง ๆ ได้ จนนำ�ไปสูห่ ลักการจูโ่ จม (surprise) ทีท่ กุ พืน้ ทีไ่ ม่สามารถ

นาวิกโยธิน / ๑๘

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

แจ้งเตือนได้ทันหรือระวังป้องกันได้ รวมถึงสามารถวิเคราะห์จุดศูนย์ดุล (Center of Gravity หรือ COG) ของฝ่ายข้าศึกและฝ่ายตนเองได้อย่างถูกต้อง ทำ�ให้สามารถนำ�จุดแข็งไปโจมตีจุดอ่อนหรือจุดล่อแหลมวิกฤติต่าง ๆ ของฝ่ายตรงข้ามได้อย่างถูกที่ถูกเวลา นอกจากนี้ ยังสามารถใช้การดำ�เนินกลยุทธ์ นำ�กำ�ลังรบที่น้อยกว่าชนะ กำ�ลังรบทีม่ ากกว่าได้อกี ด้วย เช่น การป้องกันการเข้ามายึดพืน้ ทีค่ นื ของกองทัพอังกฤษ โดยหน่วยนาวิกโยธิน (Royal Marine) ทีม่ กี �ำ ลังมากกว่าในสัดส่วนถึง ๖ ต่อ ๑ ก็ยงั ไม่สามารถยึดคืนพืน้ ทีไ่ ด้เนือ่ งจาก โดนต้านทานจากอาวุธวิถโี ค้ง และอากาศยาน จากการวางแผนที่ดีในการยิงสนับสนุนการตั้งรับของกองทัพบกเยอรมัน สามารถใช้การรบร่วม จากกองทัพบก เรือ อากาศ อย่างมีประสิทธิภาพ มีเอกภาพในการบังคับบัญชา มีการข่าวกรองและการวางแผนที่ดีในการใช้กำ�ลังเข้ายึดนอร์เวย์อย่างรวดเร็ว ประเทศอังกฤษถอนกำ�ลังเนื่องจากสถานการณ์สงครามในสมรภูมิต่าง ๆ ที่อังกฤษเข้าร่วมโดยเฉพาะที่ ฝรั่งเศสซึ่งมีท่าทีว่าฝ่ายเยอรมันจะเป็นฝ่ายชนะ จึงทำ�ให้กำ�ลังต่าง ๆ ทั้งทางบก เรือ และอากาศ จากอังกฤษและ ชาติต่าง ๆ ที่ส่งกำ�ลังมาช่วย ได้แก่ ฝรั่งเศส โปแลนด์ และนอร์เวย์ ต้องถอนกำ�ลังและยอมแพ้เยอรมัน การประมาณสถานการณ์ที่ผิดพลาดจากการลาดตระเวนทางอากาศที่ถูกฝ่ายเยอรมันลวง และการ ขาดเอกภาพในการบังคับบัญชาในช่วงที่จะต้องใช้กำ�ลังต่อต้านเยอรมันในการเข้ายึดนอร์เวย์ ทำ�ให้ไม่สามารถยับยั้ง การยึดนอร์เวย์ของเยอรมันได้ทั้ง ๆ ที่มีแผน Plan R4 ในการต่อต้านไว้แล้ว ในยุทธการนีเ้ รือธงของกองเรือเยอรมันทีจ่ ะไปยึด Oslo ถูกจมด้วยตอร์ปโิ ดและปืนรักษาฝัง่ ของนอร์เวย์ซงึ่ เกิดจากการประมาณการข่าวกรองที่ผิดพลาด จนเสียเวลาในการแก้สถานการณ์ท�ำ ให้กษัตริย์และรัฐบาลนอร์เวย์ หลบหนีไปตัง้ รัฐบาลพลัดถิน่ ได้ในเวลาต่อมา หากในขณะนัน้ สามารถจับผูน้ �ำ ประเทศมาต่อรองทางการเมืองกองกำ�ลัง ต่าง ๆ ที่กำ�ลังต้านทานหรือวางแผนต่อต้านในเวลาต่อมาอาจล้มเลิกความตั้งใจ หลังจากยึดประเทศได้แล้ว กองทัพเยอรมันได้วางแผนใช้ประโยชน์จากภูมปิ ระเทศทีเ่ ป็นแบบ Fjord ในการ ป้องกันการใช้กำ�ลังเข้าต่อต้านจากอังกฤษ เช่น การใช้ทุ่นระเบิด การเพิ่มเติมการใช้หน่วยปืนรักษาฝั่งและใช้กำ�ลัง ทางอากาศมากยิ่งขึ้น ซึ่งได้ผลอย่างมาก แต่มีข้อจำ�กัดในพื้นที่ภาคเหนือบริเวณเมือง Narvik

ภาพ ภูมิประเทศแบบ Fyod

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๑๙

ในบทความนี้ข้อมูลส่วนใหญ่จะมาจากบทความและตำ�ราที่เป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งหากค้นหาทาง Internet เป็นภาษาไทยจะพบข้อมูลน้อยมาก สำ�หรับผู้ที่ชอบการศึกษาหาความรู้ต่าง ๆ ผมขอแนะนำ�ว่า ทักษะภาษาอังกฤษ มีความจำ�เป็นอย่างมากในชีวติ ประจำ�วันสมัยนี้ แนวทางพัฒนาอีกแนวทางทีน่ า่ จะได้ผลคือ ศึกษาในสิง่ ทีต่ นเองสนใจ เช่น หากชอบสงครามหรือเรื่องทางทหาร ก็ลองค้นหาโดยใช้ภาษาอังกฤษ ช่วงแรกอาจะไม่สะดวกแต่ไม่น่าเบื่อ เนื่องจากความชอบในเรื่องนั้น ๆ จะสามารถลดปัญหาความน่าเบื่อที่เกิดจากการไม่รู้คำ�ศัพท์ได้เป็นอย่างดี

ภาพ ปืนใหญ่ ๒๒๐ มม.ของกองทัพบกเยอรมัน

อ้างอิง

: https://en.wikipedia.org/wiki/Norwegian_campaign#/media/File:Austrian_Gebirgsjäger_head ing_for_Snåsa.jpg https://en.wikipedia.org/wiki/Blitzkrieg https://en.wikipedia.org/wiki/Weser

นาวิกโยธิน / ๒๐

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

การยกพลขึ้นบกท่ีกัลลิโพลี โดย พล.ร.ท.โกศล ไตรยคุณ สงครามโลกครัง้ ที่ ๑ สงครามแห่งความขัดแย้ง ระดับโลกทีเ่ กิดขึน้ ระหว่าง ค.ศ.๑๙๑๔ ถึง ค.ศ.๑๙๑๘ ระหว่าง ฝ่ายพันธมิตรกับฝ่ายมหาอำ�นาจปรัสเซีย สาเหตุเกิดจาก การปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมทำ �ให้ เ กิ ด ความเข้ ม แข็ ง เป็ น มหาอำ�นาจ การเกิดลัทธิจักรวรรดินิยมทางเชื้อชาติ มหาอำ�นาจในยุโรปพยายามขยายอำ�นาจและอิทธิพล ออกไปสู่ดินแดนนอกประเทศ การเกิดลัทธิชาตินิยม ว่าเชื้อชาติอารยัน ผิวขาว ผมทอง เป็นเชื้อชาติบริสุทธิ์ เป็นความรู้สึกรัก และภูมิใจในชาติของตนอย่างรุนแรง ปรารถนาจะเห็นชาติของตนมีอ�ำ นาจยิง่ ใหญ่เหนือชนชาติอน่ื โดยการสร้างกองทัพให้เข้มแข็งรุกรานชนชาติอื่น การลอบปลงพระชนม์อาร์คดยุค ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์ รัชทายาทของบัลลังก์จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี โดยกัฟรีโล ปรินซีป ชาวเซิร์บบอสเนีย และการแก้แค้นของ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ต่อราชอาณาจักรเซอร์เบียก็ทำ�ให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ก่อให้เกิดสงครามครั้งใหญ่ปะทุขึ้น คาบสมุทรกัลลิโพลี Gallipoli เป็นคาบสมุทรในประเทศตุรกี อยูบ่ นฝัง่ ตอนใต้ของประเทศส่วนทีอ่ ยูใ่ นทวีปยุโรป เป็นแผ่นดินแคบ ๆ ยืน่ ยาวไปในทะเลตะวันตกเฉียงใต้ ระหว่างช่องแคบดาร์ดะเนลส์ทางตะวันออกเฉียงใต้กบั อ่าวซารอส และทะเลอีเจียนทางตะวันตกเฉียงเหนือและตะวันตก สมรภูมิคาบสมุทรกัลลิโพลีเกิดขึ้นในสงครามโลกครั้งที่ ๑ จากแนวคิดของจักรภพอังกฤษที่ต้องการเคลื่อน กำ�ลังรบทางเรือไปยังบริเวณทะเลดำ� เพื่อช่วยรัสเซียที่กำ�ลังตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบต่อกองทัพเยอรมันในแนวรบ ด้านตะวันออก การเคลือ่ นกำ�ลังรบทางเรือจำ�เป็นต้องเคลือ่ นจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปยังทะเลดำ�ชายฝัง่ รัสเซีย ซึง่ ต้องผ่านช่องแคบดาร์ดะเนลส์พื้นที่คาบสมุทรกัลลิโพลีและด่านที่สองผ่านช่องแคบบอสพอรัสซึ่งเป็นที่ตั้งของ กรุงคอนสแตนติโนเปิลหรือเมืองอิสตันบูลเมืองหลวงประเทศตุรกีในปัจจุบนั การเคลือ่ นกำ�ลังรบทางเรือถูกสะกัดโดย กองทัพตุรกีีบนแหลมกัลลิโพลีภายใต้การช่วยเหลือของเยอรมันอย่างหนักหน่วง และในช่องแคบมีสนามทุ่นระเบิด ดูเหมือนการนำ�กองเรือผ่านช่องแคบเป็นภารกิจที่แทบจะเป็นไปไม่ได้ จึงจำ�เป็นต้องยึดคาบสมุทรกัลลิโพลีด้วยการยกพลขึ้นบก การสู้รบเป็นไปอย่างดุเดือดระหว่างวันที่ ๒๕ เมษายน ๑๙๑๕ – ๙ มกราคม ๑๙๑๖ กองทัพจักรภพอังกฤษและสาธารณรัฐฝรัง่ เศสใช้ก�ำ ลังรบประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ นาย โดยอังกฤษใช้กองกำ�ลังผสมชาวอาณานิคมอินเดีย นิวซีแลนด์และออสเตรเลีย เคลื่อนทัพเป็นกองเรือขนาดมหึมา เรือประจัญบานขนาดใหญ่ ๑๘ ลำ� พร้อมเรือรบประเภทอืน่ ๆ อีกหลายสิบลำ� การตัง้ รับของตุรกีวี างกำ�ลังรบป้องกัน อย่างเหนียวแน่นกว่า ๓๐๐,๐๐๐ นาย โดยได้รบั การสนับสนุนการควบคุมกำ�ลังรบบางส่วนจากเยอรมัน ใช้การตัง้ รับ โดยมีการวางทุ่นระเบิดใต้น้ำ� ปืนใหญ่ชายฝั่ง

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๒๑

ช่องแคบดาร์ดะเนลส์ วันที่ ๑๗ มีนาคม ค.ศ.๑๙๑๕ รล.เพยตัน แห่งราชนาวีอังกฤษ มีผู้โดยสารบุคคลสำ�คัญ พล.อ.เซอร์ เอียน แฮมมิงตัน ผูท้ ไี่ ด้รบั แต่งตัง้ เป็นผูบ้ ญ ั ชาการภาคเมดิเตอร์เรเนียนคนใหม่ ซึง่ เป็นผูท้ มี่ ปี ระวัตกิ ารทำ�งานโดดเด่น ได้รบั เหรียญกล้าหาญ ๒ ครั้งที่ มาจูบา ในปี ค.ศ.๑๘๘๑ อีแลงค์สลากี้ ค.ศ.๑๘๘๙ เคยเข้าสงครามโบเออร์ครั้งที่ ๒ เคยเป็นผูส้ งั เกตการณ์ในกองทัพญีป่ นุ่ ทีท่ �ำ สงครามกับรัสเซีย พล.อ.แฮมมิงตันเดินทางถึงแอมโนสในเวลา บ่าย ๓ โมง เดินทางเข้าประชุมบนเรือควีนเอลิซาเบธกับ พล.ร.ท.เดอ โรเบค ผบ.กองเรือ ทันที และมีผเู้ ข้าร่วมประชุม ฝ่ายเสนาธิการ พล.ต.แบร์เวท และพลจัตวา คีย์ พล.ร.ท.เวมเยย์ ผบ.ฐานทัพ มูโด พล.อ.ดามาเด ผบ.กองพลฝรั่งเศส พล.ร.ท.กูรแปร์ ผบ.กองเรือฝรั่งเศส พล.อ.แฮมมิงตันตัดสินใจอย่างรวดเร็วว่าจะไปตรวจการณ์แหลมกัลลิโพลี ในวันรุ่งขึ้นบน รล.เพยตัน

ซ้าย นายพลเรือ เดอ โรเบค General Sir Ian Hamilton คนกลาง ขวา นายพลเบริดวูด

นาวิกโยธิน / ๒๒

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

การลาดตระเวนของ พล.อ.แฮมมิงตันในวันที่ ๑๘ มีนาคม ๑๙๑๕ ตรวจดูแนวชายฝั่งของปลายแหลมโดย มองผ่านช่องกระจกบนสะพานเดินเรือที่แล่นผ่านอย่างรวดเร็ว ประมวลความคิดในการวางแผนที่จะกระทำ�ต่อไป เมื่อเรืออ้อมผ่านแหลมเฮล พล.อ.แฮมมิงตันจินตนาการเห็นภาพของเรือกวาดทุ่นระเบิดที่ถูกระดมยิงจากปืนใหญ่ บนฝั่งที่ซ่อนตัวอยู่ในที่กำ�บังอย่างมิดชิด เรือรบหลายลำ�ถูกยิงเสียหาย หลังจากนั้น มีการประชุมอีกครั้งหนึ่งบนเรือควีนเอลิซาเบธเวลา ๑๐๐๐ วันที่ ๒๒ มีนาคมที่ประชุมเห็นว่า กองเรือไม่สามารถผ่านช่องแคบดาร์ดะเนลส์ได้ถา้ ไม่มกี �ำ ลังทางบกยึดครองแหลมกัลลิโพลีโดยใช้การสนับสนุนการส่ง กำ�ลังบำ�รุงจากอเล็กซานเดรียในอียิปต์ พล.อ.แฮมมิงตันรายงาน คิชเชอเนอร์ รัฐมนตรีกระทรวงสงครามอังกฤษ ว่าสามารถทำ�การยกพลขึ้นบกได้เร็วที่สุด วันที่ ๑๑ เมายน ๑๙๑๕ พล.อ.แฮมมิงตัน ทำ�งานอย่างไม่พักผ่อนมีปัญหามากมายที่ต้องแก้ไข การสนับสนุนจากอเล็กซานเดรีย การยกพลขึ้นบกที่มีกำ�ลังข้าศึกวางป้องกัน แนวความคิดหลักคือจะยกพลขึ้นบกบริเวณตอนใต้ของปลายแหลม เพื่อ ดำ�รงการสนับสนุนอย่างใกล้ชดิ จากกองเรือ ทีไ่ หนคือพืน้ ทีย่ กพลขึน้ บกเป็นข้อพิจารณาทีส่ �ำ คัญ คิชเชอเนอได้ก�ำ หนด ข้อห้ามไม่ให้ทำ�การปฏิบัติการรบในเขตทวีปเอเซีย แหลมยาว ๔๕ ไมล์ และกว้างที่สุด ๑๒ ไมล์ มีหาดที่สามารถ ยกพลขึ้นบกได้ประมาณ ๔ แห่ง ๑. บริเวณ บลูแลร์ซึ่งมีอ่าวบัคลา ลิมัน และอ่าวซาลอส ๒. อ่าวเซิฟลา ๓. กาเบ เทเป ๔. แหลมเฮล

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๒๓

แผ่นดินทางด้านเอเซียเป็นข้อห้ามไม่สามารถทำ�ได้ พล.อ.แฮมมิงตันปฏิเสธใช้อ่าวซาลอสเป็นหลักเพราะ เห็นว่ามีแนวตัง้ รับบูลแลร์แข็งแรงมาก ยามตรวจการณ์บนเรือเพยตันรายงานว่ามีแนวลวดหนามวางไว้หนาแน่นมาก และทีอ่ า่ วบัคลา ลิมนั อยูใ่ นการยิงคุม้ ครองของปืนใหญ่ขา้ ศึก อ่าวเซิฟลาจากลักษณะภูมปิ ระเทศ มีพนื้ ทีร่ าบเล็กน้อย และมีเนินเขาทั้งเบื้องหลังและทางปีก พล.อ.แฮมมิงตันตัดสินใจเลือกพื้นที่แหลมเฮลเป็นพื้นที่ยกพลขึ้นบกหลักและ พืน้ ทีย่ กพลขึน้ บกรอง คือ ๑๓ ไมล์ทางเหนือของกาเบ เทเป ทำ�การตีโอบหลังข้าศึกทีต่ งั้ รับบริเวณแหลมเฮล และ ๖ ไมล์ ที่ กิลิ บาร์ พื้นที่ที่คุ้มครองส่วนที่แคบที่สุดของช่องแคบ มีแผนลวงโจมตียกพลขึ้นบกที่อ่าวซาลอส และโจมตี โฉบฉวยขึน้ บกที่ กัม กาเล ทางด้านเอเซียมีการข่มอำ�นาจการยิงฝ่ายข้าศึกทีอ่ าจมีผลต่อการยกพลขึน้ บกทีแ่ หลมเฮล บนแหลมกัลลิโพลีในปี ค.ศ.๑๙๑๕ ภูมปิ ระเทศค่อนข้างจำ�กัดต่อการปฏิบตั ดิ ว้ ยเนินเขาสูง อ่าวทีม่ จี �ำ กัด และ จำ�กัดการเคลื่อนที่ระหว่างพี้นที่ยกพลขึ้นบกแต่ละแห่ง แนวป้องกันของข้าศึกที่บูลแลร์ เป็นที่มั่นแข็งแรงที่กำ�ลัง อังกฤษ ฝรั่งเศส สร้างไว้ตั้งแต่สงครามไครเมีย และอยู่ในความยึดครองของตุรกีในสงครามบอลข่าน ค.ศ.๑๙๑๒ สามารถตั้งรับขับไล่ฝ่ายบัลกาเรียไว้ได้ เป็นแนวตั้งรับที่มีประสิทธิภาพสามารถส่งกำ�ลังบำ�รุงจากฝั่งเอเซียได้ วันที่ ๑๐ เมษายน ๑๙๑๕ กองบัญชาการบน รล.อัคคาเดีย จอดอยู่ที่ เลมโนส พล.อ.แฮมมิงตัน แถลง แผนการปฏิบัติแก่ นายพล เดอ โรเบค พลจัตวา คีย์ พล.ร.ท.เวมเยย์ ผบ.ฐานทัพ มูโด เขาได้เน้นว่าโอกาสทอง ของการปฏิบตั คิ รัง้ นีค้ อื การก่อวินาศกรรมทีฝ่ า่ ยข้าศึกขาดการระวังป้องกัน โดยเฉพาะจุดอ่อนที่ นสพ.อียปิ ต์ไม่ได้ถกู ควบคุม การบรรทุกทหารทีอ่ เล็กซานเดรียล่าช้า และการเดินทางของกองพลที่ ๑๙ ช้าออกไป ความคิดทีจ่ ะยกพลด้วย กำ�ลังทัง้ หมด แทบจะทำ�ไม่ได้ และอ่าวทีใ่ กล้กบั ทีห่ มาย กิลลิ แบร์ มีจ�ำ กัด จำ�นวนเรือบรรทุกทหารขึน้ บกมีไม่เพียงพอ แผนของเขาก็คือจะทำ�การยกพลขึ้นบกที่ แหลมเฮล และเสด เอลบาร์ ด้วยกองพลที่ ๒๙ และพร้อมกัน กับ กองพลน้อย แอนแซค ขึน้ บกทีท่ างเหนือของ กาเบ เทเป เพือ่ ยึดทีส่ งู ข่มของแหลมและตัดเส้นทางการถอนตัวของข้าศึก กรมผสมฝรัง่ เศสทำ�การขึน้ บกโจมตีโฉบฉวยที่ กัมกาเล ทางด้านฝัง่ เอเซียทีป่ ากช่องแคบให้ขม่ การยิงของข้าศึก ในระยะปืนจากอ่าวม๊อตโต และป้องกันข้าศึกเสริมกำ�ลังจากด้านนี้ กองพลนาวิกโยธินแสดงกำ�ลังเพือ่ ตรึงกำ�ลังข้าศึกทีบ่ ลูแลร์ เป็นเรือ่ งทีน่ า่ สนใจว่า พล.อ.แฮมมิงตันปรับปรุงการประมาณการณ์ของเขามากน้อยแค่ไหน เมือ่ เขาได้สรุป จากครั้งแรกในวันที่ ๙ เมษายน ๑๙๑๕ เดินทางไปเลมโนสจาอียิปต์ แถลงให้กับกำ�ลังทางเรือในวันที่ ๑๐ เมษายน หลังจากปรับปรุงแผนการส่งกำ�ลังบำ�รุงจากฝ่ายเสนาธิการ ตอนนี้ วัน-ว.ได้ถูกกำ�หนดเป็นวันที่ ๒๕ เมษายน ๑๙๑๕ ทางด้านฝ่ายข้าศึกผลจากการโจมตีของกอง เรืออังกฤษเมือ่ วันที่ ๑๘ มีนาคมทำ�ให้มกี ารเสริมกำ�ลังให้ เข้มแข็งขึน้ วันที่ ๒๕ มีนาคม ๑๙๑๕ นายพล ลิมนั วอน แซนเดอร์ หัวหน้านายทหารเยอรมันทีส่ นับสนุนตุรกีได้ควบคุม บังคับบัญชากองทัพตุรกีที่ ๕ ป้องกันช่องแคบดาร์ดะเนลส์ เขายกเลิกแนวความคิดของทหารตุรกีที่จะป้องกันที่มั่น ทุกแห่งอย่างเหนียวแน่น วันที่ ๒๕ เมษายน วอนแซนเดอร์ สั่งทหาร ๖ กองพลถอนตัวจากแนวป้องกัน มาวาง กำ�ลังเป็น ๓ ส่วน ทางเหนือ กองพลที่ ๕ และ ๗ ป้องกัน แนว บลูแลร์ ทางใต้ กองพลที่ ๑๙ เป็นกองหนุนทีแ่ มร์โดส กองพลที่ ๙ วางกำ�ลังทีแ่ หลมเฮล ป้องกันด้านเอเซียด้วย Otto Liman von Sanders, in Turkey,

นาวิกโยธิน / ๒๔

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

กองพลที่ ๓ ป้องกัน กัม กาเล กองพลที่ ๑๑ ที่อ่าวบลูซิการ์เป็นการป้องกันที่เข้มแข็งพอสมควร ความแข็งแกร่ง ของทหารออตโตมานถึง ๖๐,๐๐๐–๖๒,๐๗๗ คน วอน แซนเดอร์ พูดกับเพื่อนนายทหารเยอรมันว่าอังกฤษคง จะถอนกำ�ลังไปในเวลา ๘ วัน เริ่มแสงตะวัน วันที่ ๒๕ เมษายน ๑๙๑๕ การรบที่กัลลิโพลีเริ่มเปิดฉากยุทโธปกรณ์ทั้งวัตถุและบุคลากร พร้อมปฏิบัติการเป็นไปตามแผน มีหน่วยแอนแซคเท่านั้นที่ขึ้นบกผิดที่หมายที่กำ�หนดไว้คือทางเหนือ ๒-๓ ร้อยหลา ของ กาเบ เทเป แต่เนื่องจากกระแสน้ำ�ทำ�ให้ผิดไปเป็นไมล์ อ่าวเล็กนี้เดิมชื่ออาริเบอนู แต่หลังจากนี้เป็นที่ รูจ้ กั กันว่าอ่าวแอนแซค เต็มไปด้วยเถาวัลย์ไม้เลือ้ ยรกทึบ ต้องคลานเคลือ่ นทีไ่ ปด้วยความยากลำ�บาก แต่กโ็ ชคร้ายที่ ผบ.กองพลตุรกีที่ ๑๙ ทีอ่ ยูใ่ กล้แอมโนส มุสตาฟา เคมาล เขานำ�กำ�ลังเคลือ่ นทีไ่ ปยังสถานทีไ่ ด้ยนิ เสียงปืนโดยไม่รอคำ�สัง่ ทหารแอนแซคที่เหน็ดเหนื่อยอ่อนล้าแต่ตายยาก สามารถยึดพื้นที่สูงข่ม มองเห็นฝอยน้ำ�กระจายจากการเคลื่อนที่ ของทหารมุตตาฟา ที่มีกองหนุนจากกรมที่ ๑๗ อีกด้วย ทหารตุรกีผลักดันทหารแอนแซคที่ยังจัดกำ�ลังไม่สมบูรณ์ ถอยร่นไปบนเนินเขา ทหารแอนแซคถูกกวาดต้อน ด้วยเศษกระสุนปลิวว่อนจนสูญเสียหนัก แฮมมิงตันได้ รับการร้องขอให้ถอนตัวจาก นายพล เบริดวูค แต่แฮมมิงตันตอบว่าให้ทหารขุดดัดแปลงทีม่ นั่ เอาไว้ “Dig dig dig”

Battle of Gallipoli ที่แหลมเฮลกองพลที่ ๒๙ ขึ้นบก ระลอกที่ ๔ ขึ้นบกโดยไม่รู้ว่าระลอกที่ ๕ ได้ขึ้นบกไปก่อนแล้ว ในแม่น้ำ� ไคล์นทีไ่ หลลงมาทีห่ าดใกล้กบั ป้อม เซ็ด เอล บาร์ แม่น�้ำ บางส่วนกลายเป็นสีแดงตลอดทัง้ วัน จนทำ�ให้ พล.อ.แฮมมิงตัน ไม่สบายใจจนกระทั่งเวลามืด ป้อม เซ็ด เอล บาร์ เป็นที่หมายเด่นชัดของปืนเรือ กองกำ�ลัง อังกฤษ ฝรั่งเศส เคลือ่ นทีไ่ ปข้างหน้าแต่ละนิว้ ด้วยความยากลำ�บาก ส่วนทีก่ มั กาเล ประสบความสำ�เร็จในเทีย่ งวันของวันที่ ๒๕ เมษายน ต่อมาก็ต้องถอนกำ�ลังในคืนวันที่ ๒๖ ถึงเช้าวันที่ ๒๗ เมษายน พล.อ.แฮมมิงตันตัดสินใจที่จะเข้าโจมตีอีก ครัง้ ในวันที่ ๒๗ เมษายน ด้วยกองพลที่ ๒๙ และกำ�ลังฝรัง่ เศสใช้ปนื ใหญ่เรือระดมยิงเพือ่ ยึด อัคชี บาร์บา แต่กพ็ บกับ กองกำ�ลังตุรกีที่แข็งแกร่งคือ กองพลที่ ๗ และกองพลที่ ๑๑ บางส่วนรวมกับ ๕ กองพันของกองพลที่ ๕ ที่ ถูกเรียกมาจากฝั่งเอเซีย การส่งกำ�ลังบำ�รุงของฝ่ายพันธมิตรค่อนข้างมีปัญหา ทัง้ สองฝ่ายเสริมกำ�ลังหลังจากการปะทะครัง้ แรกทัง้ กำ�ลังแอนแซคและทีแ่ หลมเฮลหลังจากพ่ายแพ้แก่ฝา่ ย

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๒๕

ตุรกีอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ พล.อ.แฮมมิงตันร้องขอกำ�ลังเสริมจากลอร์ดคิชเชอเนอร์ กองพลอีสท์เลนที่ ๔๒ และกรมผสม อินเดียที่ ๒๙ จากอียิปต์การโจมตีของตุรกีในวันที่ ๑ และ ๓ พฤษภาคมทำ�ให้พันธมิตรสูญเสียอย่างหนัก แฮมิงตัน จะทำ�การโจมตีแหลมเฮลอีกครัง้ ในวันที่ ๖ พฤษภาคม มีก�ำ ลัง ๒ กรมผสม ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ กำ�ลังเดินทางมา พร้อมด้วยกองพลนาวิกโยธิน แต่มีปัญหาคือกระสุนปืนขาดแคลน คืนวันที่ ๙-๑๐ พฤษภาคม ตุรกีโจมตีตอบโต้ ทำ�ให้สูญเสีย ต้องถอยร่นไปที่เนินลูกแรกเมื่อยกพลขึ้นบก กำ�ลังกองพลนาวิกโยธินอยู่ทางปีกซ้าย กำ�ลังฝรั่งเศส อยู่ปีกขวา หลุมบุคคลและสนามเพลาะเป็นเครื่องป้องกันที่ดี การยิงของข้าศึกจากฝั่งเอเซียเริ่มสร้างปัญหา

ทางด้านแอนแซคหลังการรบวันแรกกำ�ลังสนับสนุนเดินทางมาถึงในวันที่ ๒๘-๒๙ เมษายน ๑ กองพันทหารม้าเบา ออสเตรเลีย ๑ กองพลนาวิกโยธิน แผนรุกคืบหน้าใน ๓๐ เมษายน มีปญ ั หาเนือ่ งจากมีผบู้ าดเจ็บจากการรบมากจึงล้มเลิก การรุกเข้ายึดโมนา กลูรี่ ในวันที่ ๒ พฤษภาคม ดำ�เนินไปได้แต่ก็มีปัญหาปืนเรือพิฆาตยิงใส่ทหารในแนวหน้า และถูกข้าศึกระดมยิงด้วย คืนต่อมาจึงไม่มีการปฏิบัติ เนื่องจากการส่งกำ�ลังบำ�รุงขาดแคลน ใช้กำ�ลังคนขนอุปกรณ์ จากชายหาดบางครั้งก็ถูกระดมยิง วันที่ ๑๙ พฤษภาคม ถูกตุรกีโจมตีอย่างหนักด้วยกำ�ลังประมาณ ๓ หมี่นนาย เป้าหมายใหญ่คอื กำ�ลังแอนแซค มีรายงานการเสริมกำ�ลังของข้าศึกทีแ่ มร์โดส กำ�ลังแอนแซคเสียชีวติ ทหาร ๕๐๐ นาย จากการโจมตี การปฏิบัติทั้งสองฝ่ายสงบลงชั่วคราว จนถึง ๒๘-๓๐ มิถุนายน ๓๐ เมษายน พล.อ.แฮมมิงตัน ย้ายกองบัญชาการจากเรือควีนเอลิซาเบธไปที่ รล.อัคคาเดีย เป็นครั้งแรก ทีเ่ ห็นฝ่ายเสนาธิการย้ายตามเขาไปด้วย ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาวิจารณ์วา่ ประการแรก เขาประมาณการณ์ขดี ความสามารถ ข้าศึกต่ำ�เกินไป ประการที่สองการสนับสนุนการยิงจากปืนเรือไม่ได้ผลตามที่คาดไว้ คนเติร์กในสายตาคนยุโรปว่าเป็นตัวตลกในสงครามไครเมีย การปฏิบัติของทหารตุรกีไม่น่าประทับใจ โดย เฉพาะสงครามบอลข่านปี ค.ศ.๑๙๑๒ การส่งกำ�ลังบำ�รุงกองทัพตุรกีท�ำ ได้ไม่ดที หารต้องเก็บกินผักหญ้า ครัง้ นีท้ หารตุรกี ต่อสู้เพื่อป้องกันประเทศของเขาและมีกองทัพเยอรมันหนุนหลังอยู่ ทหารพันธมิตรต้องต่อสู้โดยไม่มีน้ำ�เหมือน อยู่ในเรือต้องใช้ลาขนน้ำ�และสัมภาระยุทโธปกรณ์ มีกำ�ลังข้าศึกตุรกีที่เข้มแข็ง อยู่ในที่มั่นดัดแปลงแข็งแรงที่มั่นคง กระสุนปืนใหญ่เรือมีอานุภาพทำ�ลายได้นอ้ ย กระสุนเป็นชนิดเจาะเกราะใช้ท�ำ ลายเรือแต่ขาดกระสุนระเบิดทำ�ลายแรงสูง

นาวิกโยธิน / ๒๖

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

ทำ�ให้การสนับสนุนจากปืนเรือได้ผลน้อยเนื่องจากทะลุเป้าหมายเป็นส่วนมาก วันที่ ๘ มิถนุ ายน ๑๙๑๕ พล.อ.แฮมมิงตัน ย้ายกองบัญชาการมาอยูบ่ นบกทีเ่ อ็มโนส คณะทำ�งานดาร์ดะเนลส์ ทีอ่ งั กฤษประชุมตัดสินใจส่งทหารให้อกี ๓ กองพล คือ กองพล ที่ ๑๐, ๑๑ และ ๑๓ และเพิม่ อีก ๒ กองพลทีจ่ ะมาถึง ในต้นเดือนกรกฎาคมคือ กองพลเวลล์ที่ ๕๓ และกองพลอัลจีเรียตะวันออกที่ ๕๔ ในกระดาษ พล.อ.แฮมมิงตัน มีก�ำ ลัง ๑๓ กองพล และ ๕ กรมผสม แต่ก�ำ ลังทีม่ อี ยูจ่ ริงขณะนี้ อยูใ่ นสภาพไม่สมบูรณ์ และขาดกระสุน เขาจึงวางแผน จะโจมตีในต้นเดือนสิงหาคม เพื่อยึดพื้นที่บนแหลมให้ได้ทั้งหมด

Turkish Army, Gallipoli ลิมนั วอนแซนเดอร์ มีก�ำ ลัง ๑๒ กองพล และกองทัพน้อยสนับสนุน หน่วยรบพิเศษเยอรมัน เขาเคลือ่ นกองพล ที่ ๗ และ ๑๒ ไปป้องกันแนวบลูแลร์ อ่าวซาโรส นายพลเดอ โรเบค เห็นว่ามีความสำ�คัญ ห่างจากเอ็มโบสและมูโดสมาก เหมาะทีจ่ ะเป็นฐานทัพเรือ คิดว่าจะปฏิบัติการในวันที่ ๖ สิงหาคม โดยใช้กำ�ลัง กองพลแอนแซค กองพลที่ ๑๓ และกรมผสมที่ ๒๙ อินเดีย เพิ่มเติมด้วยทหารม้านิวซีแลนด์ภายใต้การบังคับบัญชาของ พล.ต.เซอร์ อเล็กซานเดอร์ กูดเลย์ คุ้มกันทางปีกซ้าย แนวสันเขา ซารริด บาร์ เหนือของอ่าวเซิฟลา ย่านกลางใช้กองทัพน้อยที่ ๙ ทีม่ าถึงใหม่ ภายใต้การบังคับบัญชาของ พล.ท.เซอร์เฟรดเดอริค สตัฟฟอร์ด มีกองพลที่ ๑๐ และ ๑๑ เขายึดโลนไพน์ทางขวาและปีกซ้ายของแอนแซค กรมผสมออสเตรเลียป้องกันที่แหลมเฮล และกองทัพน้อยที่ ๘ วันที่ ๑๐ สิงหาคม ความหวังของพล.อ.แฮมมิงตันล้มเหลว เมือ่ ยึดได้ซาริดบาร์แต่เป้าหมายหลักคืออ่าวเซิฟลา ขณะที่แอนแซคเข้าตีบนทางทุรกันดารอย่างยากลำ�บากและภูมิประเทศไม่คุ้นเคยมุ่งไปที่โลนไพน์ โชคไม่ดีทหารตุรกี ร้องด้วยความตกใจทำ�ให้เสียการจูโ่ จม การเข้าตีทม่ี น่ั แข็งแรงอย่างยากลำ�บากและมีเวลาให้กองหนุนข้าศึกทำ�การตีโต้ตอบ แต่สามารถรักษาที่มั่นที่ซาริบาร์ ป้องกันอ่าวเซิฟลาไว้ได้ ทหารแอนแซคสูญเสียมาก

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๒๗

พล.อ.แฮมมิงตันย้ายกองพลที่ ๒๙ ไปทีอ่ า่ วเซิฟลา และกองพลที่ ๕๔ จากอียปิ ต์ พล.ท.สตอปฟอร์ด บังคับบัญชา กองทัพน้อยที่ ๙ เข้าตี อิสมัน อารกู เทเปเน ทีส่ งู ข่มคุม้ ครองอ่าวเซิฟลาและอ่าวแอนแซค การเข้าตีรกุ คืบหน้าได้เพียงเล็กน้อย แต่สูญเสียมากผลการรบครั้งนี้ส่งผลสำ�คัญต่อการรบทั้งหมด ๑๗ ตุลาคม ๑๙๑๕ พล.อ.แฮมมิงตันถูกเรียกกลับประเทศอังกฤษ หลังจากการสูร้ บทีก่ ลั ลิโพลีเป็นไปอย่างดุเดือด ระหว่างวันที่ ๒๕ เมษายน ๑๙๑๕ – ๙ มกราคม ๑๙๑๖ กองทัพจักรวรรดิบริติชและสาธารณรัฐฝรั่งเศสใช้กำ�ลังรบ ประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ นาย โดยอังกฤษใช้กองกำ�ลังผสมชาวอาณานิคมอินเดีย นิวซีแลนด์และออสเตรเลีย เคลือ่ นทัพ เป็นกองเรือขนาดมหึมา เรือประจัญบานขนาดใหญ่ ๑๘ ลำ� พร้อมเรือรบประเภทอื่น ๆ อีกหลายสิบลำ� ระหว่าง วันที่ ๒๕ เมษายน ๑๙๑๕ – ๒๖ เมษายน ๑๙๑๕ ทหารกองทัพจักรวรรดิบริติชและสาธารณรัฐฝรั่งเศสเสียชีวิตกว่า ๗,๐๐๐ นายและบาดเจ็บอีกหลายพันคน รูปแบบการรบสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ ๑ เป็นสงครามสนามเพลาะแย่งชิงพืน้ ที่ การต่อสูร้ ะหว่างเรือประจัญบานกับป้อมปืนใหญ่ชายฝัง่ การรบในสมรภูมคิ าบสมุทรกัลลิโพลียตุ ลิ งในวันที่ ๙ มกราคม ค.ศ.๑๙๑๖ กองทัพจักรวรรดิออตโตมันได้รบั ชัยชนะแต่ตอ้ งสูญเสียทหารไปกว่า ๕๖,๖๐๐ นาย ในขณะทีก่ องทัพจักรวรรดิบริตชิ และสาธารณรัฐฝรัง่ เศสเสียทหารไปกว่า ๕๖,๗๐๗ นายและถอนกำ�ลังออกจากคาบสมุทรกัลลิโพลีไปยังประเทศกรีซ หลังสงครามครั้งนี้ มุตตาฟา เคมาล ได้รับความนิยมจากชาวตุรกี เป็นประธานาธิบดีคนแรก ตั้งแต่ปี ค.ศ.๑๙๒๓ จนกระทั่งเขาถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ.๑๙๓๘ การรบในสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ ๑ เป็นสงครามสนามเพลาะ คู และหลุมบุคคลเป็นสิง่ สำ�คัญของสนามรบ ปืนกล เป็นอาวุธที่มีอำ�นาจทำ�ลายสูง ส่งผลให้ฝ่ายตั้งรับได้เปรียบมากกว่าฝ่ายเข้าตี หลังจากการยกพลขึ้นบกที่กัลลิโพลี นักการทหารมีแนวความคิดว่าการยกพลขึน้ บกบนฝัง่ ข้าศึกทีม่ กี �ำ ลังต้านทาน ไม่สามารถกระทำ�ได้ แต่ทหารนาวิกโยธินสหรัฐฯ ส่วนหนึ่งได้นำ�การรบที่กัลลิโพลีมาศึกษาอย่างละเอียด นำ�มาจัดทำ�เป็นหลักนิยมการยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบก ใช้ในกองทัพสหรัฐฯ

นาวิกโยธิน / ๒๘

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

การยกพลขึน้ บกทีก่ ลั ลิโพลี ได้รวมแบบการยุทธสะเทินน้�ำ สะเทินบกทุกรูปแบบไว้ในการยุทธครัง้ เดียวกันคือ ๑. การยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบกหลัก ๒. การยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบกรอง ๓. การยุทธสะเทินน้ำ�สะเทินบกลวง ๔. การโจมตีโฉบฉวยสะเทินน้ำ�สะเทินบก ๖. การถอนตัวสะเทินน้ำ�สะเทินบก

การถอนตัวที่ กัลลิโพลี

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๒๙

ยุทธการเอเรียล ดันเคิร์กครั้งที่ ๒ ของกองทัพพันธมิตร โดย ปัญญาณัฏฐ์ ณัธญาธรนินน์

เมื่อกองทัพพันธมิตร ถูกกองทัพเยอรมันล้อม เอาไว้ที่เมืองดันเคิร์ก ประเทศฝรั่งเศส ปฏิบัติการที่มีชื่อ ว่า “ไดนาโม” เริม่ ขึน้ ระหว่างวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ถึงวันที่ ๔ มิถนุ ายน ค.ศ.๑๙๔๐ มันคือปฏิบตั กิ ารอพยพทหารพันธมิตร ทั้งของกองทัพอังกฤษ ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม และโปแลนด์ รวมกันแล้วกว่า ๓๓๐,๐๐๐ นาย ข้ามช่องแคบกลับไปยัง ประเทศอังกฤษ มันเป็นการระดมกองเรือรบของราชนาวี อังกฤษและชาติพนั ธมิตร รวมถึงเรือโดยสารประเภทต่างๆ ของพลเรือน ที่พากันล่องเรือข้ามช่องแคบไปรับทหาร เหล่านีก้ ลับมา มันเป็นปฏิบตั กิ ารทีส่ �ำ เร็จลงอย่างงดงาม ของกองทั พ อั ง กฤษและชาติ พั น ธมิ ต ร แต่ นั่ น ก็ ไ ม่ ไ ด้ หมายความว่าสงครามที่กำ�ลังดำ�เนินอยู่นั้นจะยุติ

บนแผ่นดินตนเอง ซึ่งแท้จริงแล้ว กองกำ�ลังอังกฤษ ที่อพยพที่ดันเคิร์กนั้น เป็นแค่กำ�ลังส่วนหนึ่งที่อังกฤษมี อยูใ่ นฝรัง่ เศสเท่านัน้ เพราะหลังจากเหตุการณ์ทดี่ นั เคิรก์ จบลง ยังมีทหารอังกฤษยืนหยัดร่วมรบเคียงข้างสหาย ฝรั่งเศสอีกกว่า ๑๔๐,๐๐๐ นาย พวกเขายังรบต่อไปแม้ กระทั่งฝรั่งเศสจะยอมแพ้ต่อเยอรมันแล้วก็ตาม

ทหารฝรั่งเศสถูกปลดอาวุธ โดยมีทหารเยอรมันคอยควบคุม ทหารฝ่ายพันธมิตรยืนรอขึ้นเรือ ที่ชายหาดเมืองดันเคิร์ก เมือ่ กองทัพอังกฤษและชาติพนั ธมิตรอพยพจาก ดันเคิรก์ ได้แล้ว การรุกเข้าสูต่ วั ประเทศฝรัง่ เศสของกองทัพ เยอรมันจึงเริม่ ต้นขึน้ อย่างเป็นทางการ แต่ในความเข้าใจ ของใครหลายๆ คนมักเข้าใจว่า กองทัพอังกฤษทอดทิง้ เพือ่ น ร่วมรบชาวฝรั่งเศสให้เผชิญชะตากรรมอย่างเดียวดาย

กองทัพเยอรมันรุกฝ่าแนวรับต่างๆ เข้ามาได้ อย่างรวดเร็ว กองพลยานเกราะของเยอรมัน หรือทีร่ จู้ กั กัน ในชือ่ พานเซอร์ดวิ ซิ นั่ (Panzerdivision) เป็นหัวหอกหลัก ในการทะลวงแนวรับของฝรัง่ เศสและอังกฤษ ยุทธวิธกี ารรบ แบบบลิซคลีก (Blitzkrieg) ดูเหมือนเป็นสิง่ ทีจ่ ะสามารถ พิชิตฝรั่งเศสลงได้ในไม่ช้า รถถังเยอรมันและฝรั่งเศส เข้าปะทะในหลายๆ สมรภูมิ แต่ความเหนือชั้นกว่าของ

นาวิกโยธิน / ๓๐

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

หลักนิยมทางยุทธวิธี และการที่รถถังเยอรมันมีวิทยุ ติดต่อสื่อสารกัน ทำ�ให้พวกเขาทำ�ลายรถถังฝรั่งเศสที่มี จำ�นวนมากกว่าลงได้อย่างไม่ยากเย็น

ทหารฝรั่งเศสกลายเป็นเชลยสงคราม ในบ้านเกิดของตนเอง กองพลยานเกราะของเยอรมันรุกไล่ฝ่ายพันธมิตร ไปอย่างกระชั้นชิด ความปราชัยของกองทัพฝรั่งเศสเริ่มเด่นชัด มากยิง่ ขึน้ เรือ่ ยๆ วันที่ ๑๓ มิถนุ ายน ค.ศ.๑๙๔๐ แนวรับของ กองทัพฝรั่งเศสที่แม่น้ำ�มาร์นถูกตีแตก หน่วยยานเกราะ เยอรมันรุกไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว พร้อมทัง้ ข้ามแม่น�ำ้ เซน เคลื่อนพลเข้าไปประชิดทางทิศตะวันตกของกรุงปารีส ท่าทีของรัฐบาลฝรั่งเศสเริ่มโน้มเอียงไปกับการขอเจรจา กับฝ่ายเยอรมัน ประชาชนฝรั่งเศสต่างอกสั่นขวัญหาย ข้าศึกทีพ่ วกเขาเคยคิดว่ามันสิน้ ฤทธิไ์ ปแล้วหลังสงครามโลก ครั้งที่ ๑ วันนี้มันกลับมา และบุกเข้ามาจนถึงหน้าประตู กรุงปารีส วันที่ ๑๔ มิถนุ ายน ค.ศ.๑๙๔๐ เพือ่ หลีกเลีย่ งหายนะ จากการทำ�ลายล้างของกองทัพเยอรมัน ที่เคยกระทำ� ต่อเมืองต่างๆ ก่อนหน้านี้ มีการประกาศให้กรุงปารีส เป็นเมืองเปิด ห้ามมิให้ชาวปารีสขัดขวางหรือต่อต้านการ เคลื่อนพลเข้ามาของทหารเยอรมัน ก่อนทีฝ่ รัง่ เศสจะถูกเยอรมันพิชติ วิสตัน เชอร์ชลิ เดินทางไปทีฝ่ รัง่ เศสเพือ่ เสนอต่อรัฐบาลฝรัง่ เศสให้มกี าร “รวมเป็นประเทศเดียวกับอังกฤษ” ในลักษณะของ สหพันธรัฐ เพือ่ ให้ฝรัง่ เศสยังยืนหยัดสูก้ บั กองทัพเยอรมัน ต่อไป แต่ทว่า กองทัพเยอรมันเคลือ่ นพลฝ่าเข้ามาจนใกล้ จะประชิดกรุงปารีส และท่าทีของรัฐบาลฝรัง่ เศสในตอนนัน้ เริ่มหมดกำ�ลังใจที่จะรบต้านทานพวกเยอรมันต่อไป มัน จึงทำ�ให้ข้อเสนอนี้ได้รับการปฏิเสธ

เมื่อสถานการณ์เป็นเช่นนี้ กองทัพอังกฤษจึง ออกคำ�สั่งให้ กองกำ�ลังรบนอกประเทศกองทัพอังกฤษ หรือ บริทิซ เอ็กซเพดดิชั่นนารี ฟอร์ซ หรือเรียกสั้นๆ ว่า บีอีเอฟ (BEF - British Expeditionary Force) ที่ยังทำ�การรบอยู่ในฝรั่งเศสทั้งหมด ถอนกำ�ลังออกมา จากประเทศฝรั่งเศส ในขณะนั้นหน่วยทหารอังกฤษ หน่วยต่างๆ กระจายกำ�ลังกันอยู่ในเมืองแชร์บวกและ คาบสมุทรบริทานี พวกเขาต้องรีบถอนกำ�ลังออกไปให้ เร็วที่สุด ก่อนที่กองทัพเยอรมันจะเคลื่อนพลตามมา แม้ ทหารฝรัง่ เศสหลายหน่วยจะยังคงยืนหยัดสู้รบต่อไป แต่ หากรัฐบาลฝรั่งเศสประกาศหยุดยิง หรือ เจรจาสงบศึก กับเยอรมัน พวกเขาคงต้องยุติการรบต้านทาน และนั่น จะยิ่งเปิดช่องให้กองทัพเยอรมันเคลื่อนพลไล่ติดตาม กองทัพอังกฤษได้อย่างรวดเร็ว ในครั้งนี้ฝ่ายเยอรมันก็ คาดหวังว่า จะไม่ท�ำ พลาดเหมือนทีด่ นั เคิรก์ อีกเป็นอันขาด

ทหารอังกฤษยิงต่อสู้เครื่องบินเยอรมัน ที่บินเข้ามาทิ้งระเบิดที่ดันเคิร์ก

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑ กองทั พ อั ง กฤษต้ อ งการให้ ก ารอพยพครั้ ง นี้ รวดเร็วและเรียบร้อยเฉกเช่นทีด่ นั เคิรก์ ยุทธการเอเรียล (Operation Aerial) อันเป็นชือ่ ของภารกิจจึงเริม่ ต้นขึน้ ราชนาวีอังกฤษระดมเรือรบและเรือลำ�เลียงพลทุกลำ�ที่ เคยลำ�เลียงทหารหนีตายที่ดันเคิร์กมาแล้ว กลับมารวม กองเรือใหม่อกี ครัง้ เพือ่ ไปช่วยทหารของตนออกมาให้ได้ เฉกเช่นเดียวกับภารกิจครัง้ ทีผ่ า่ นมา หน่วยทหารอังกฤษ ทุกๆ หน่วยได้รับคำ�สั่งให้ไปยังท่าเรือที่สำ�คัญต่างๆ ทั้ง ในเมืองแชร์บวก (Cherbourg) ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือของฝรัง่ เศสและอยูใ่ กล้กบั เกาะอังกฤษมากทีส่ ดุ รวมถึงในคาบสมุทรบริทานี (Brittany Peninsula) ซึ่ง เป็นแหลมยืน่ ออกไปทางตะวันตกของฝรัง่ เศส โดยเฉพาะ ในคาบสมุทรบริทานี มีท่าเรือสำ�คัญหลายท่าอยู่ในเมือง เซนต์มาโล (St Malo) เบรสต์ (Brest) และเซนต์นาแซร์ (St Nazaire) ชาวฝรั่งเศสถึงแม้จะรู้ดีว่า ความปราชัยของ ประเทศชาติคงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่พวกเขายัง หาญกล้าทีจ่ ะช่วยมิตรร่วมรบของตน เร่งรีบหนีออกไปให้พน้ เงือ้ มมือพวกเยอรมันทีก่ �ำ ลังไล่ตดิ ตามมา รถบรรทุกของ หน่ว ยราชการฝรั่งเศสบางหน่ว ย หรือของพลเรือน ฝรั่งเศสเอง ต่างลำ�เลียงทหารอังกฤษและชาติพันธมิตร ไปยังท่าเรือ ระหว่างทางชาวบ้านฝรัง่ เศสนำ�ขนมปัง ผลไม้ และน้ำ�ดื่ม มามอบให้กับทหารพันธมิตร พวกเขาช่วย ปฐมพยาบาลทหารทีบ่ าดเจ็บและรีบเคลือ่ นย้ายพวกเขา ออกไปให้เร็วที่สุด กองเรือของราชนาวีอังกฤษ แล่นออกจาก ฐานทัพเรือในเมืองพอร์ตสมัธ, เซาท์แธมป์ตนั และเวย์มธั ในการนี้ กองทัพอากาศอังกฤษระดมอากาศยานทุกประเภท เข้าร่วมคุม้ กันกองเรือ มันคือสิง่ ทีพ่ วกเขาเคยทำ�สำ�เร็จมาแล้ว คราวนีพ้ วกเขาจะทำ�มันให้ส�ำ เร็จอีกครัง้ เรือพิฆาตนำ�หน้า ขบวนเรือ และบางส่วนขนาบปีกทั้งสองข้างของขบวน เพื่อคุ้มกันกองเรือจากการโจมตีของเรือดำ�น้ำ�เยอรมัน ทีท่ า่ เรือเมืองแชร์บวก วันที่ ๑๕ มิถนุ ายน ค.ศ. ๑๙๔๐ ยานเกราะและรถถัง ปืนใหญ่ รวมทั้งทหารที่บาดเจ็บ ถูกลำ�เลียงขึ้นเรือไปก่อน กองทัพอังกฤษไม่ต้องการ

นาวิกโยธิน / ๓๑ ทิง้ ยุทโธปกรณ์อนั มีคา่ เหล่านีไ้ ว้ทชี่ ายหาดเฉกเช่นเคยทำ� ที่ดันเคิร์ก ทหารราบจากกองพลทหารราบที่ ๕๒ โลว์ แลนด์ (52nd Lowland Division) วางกำ�ลังตั้งรับและ คุ้มกันการถอนกำ�ลัง ให้แก่กองพลยานเกราะที่ ๑ นำ�รถ ถังและยานเกราะขึ้นไปบนเรือลำ�เลียง กระทั่งช่วงบ่าย วันที่ ๑๘ มิถุนายน ทั้งกองพลก็ได้รับคำ�สั่งให้ขึ้นเรือ มี ทหารกว่า ๓๐,๐๐๐ นาย อพยพออกไปได้

การลำ�เลียงยุทโธปกรณ์ขึ้น เรือที่ท่าเรือเมืองแชร์บวกของฝรั่งเศส ขณะทีท่ า่ เรือเมือง แซงต์โล มีทหารกว่า ๒๑,๐๐๐ นาย ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นทหารแคนนาดา จากกองพลทหารราบ ที่ ๑ ของแคนนาดา (1st Canadian Division) ต่างอพยพขึ้นเรือไปอย่างเป็นระเบียบ ในระหว่างวันที่ ๑๗ ถึง ๑๘ มิถนุ ายน ค.ศ.๑๙๔๐ ระหว่างการอพยพอยูน่ นั้ เครื่ อ งบิ น ของกองทั พ อากาศเยอรมั น บิ น ฝ่ า เข้ า มา โจมตีท่าเรือ แต่เครื่องบินรบของกองทัพอากาศอังกฤษ สามารถบินเข้าสกัดกั้นการจู่โจมครั้งนี้ได้ โดยไม่มีทหาร คนไหนเสียชีวติ จากการโจมตีทางอากาศของเยอรมันเลย แม้แต่คนเดียว

ทหารอังกฤษบนเรือลำ�เลียงมองดูทา่ เรือกำ�ลังถูกโจมตี

นาวิกโยธิน / ๓๒ ท่าเรือทีเ่ มืองเบรสต์ การอพยพทีน่ ี่ จำ�นวนเรือ ลำ�เลียงพลมีนอ้ ย ดังนัน้ ทหารอังกฤษและพันธมิตรจึงจำ� ใจต้องทิ้งอาวุธขนาดหนัก ยานพาหนะ รถเกราะ เอาไว้ ที่ท่าเรือ ขณะเดียวกันแนวการรุกของเยอรมันกำ�ลังพุ่ง ตรงมาทีท่ า่ เรือแห่งนี้ ดังนัน้ พวกเขาจึงจำ�เป็นต้องเร่งรีบ ขึน้ เรือเป็นการด่วน การอพยพเริม่ ขึน้ ในระหว่างวันที่ ๑๖ ถึง ๑๗ มิถนุ ายน ค.ศ.๑๙๔๐ มีทหารอังกฤษ ๒๘,๐๐๐ นาย ในจำ�นวนนีส้ ว่ นใหญ่เป็นทหารอากาศอังกฤษ ซึง่ มีทง้ั นักบิน ช่างเครือ่ ง และเจ้าหน้าทีป่ ระจำ�ตำ�แหน่งต่างๆ ในสนามบิน อพยพออกไป และทหารพันธมิตรชาติอนื่ ๆ กว่า ๔,๕๐๐ นาย ทัง้ ฝรัง่ เศส โปแลนด์ เช็ก เบลเยีย่ ม ก็ออกอพยพขึน้ เรือ แล่นกลับไปยังอังกฤษได้สำ�เร็จ นอกจากนีท้ หารอังกฤษและพันธมิตรทีร่ ออพยพ อยูท่ า่ เรือต่างๆ ทัง้ ในเซนต์นาแซร์, ลาพาลิเซ่, เลอแวร์ดอง, บอร์โดซ ต่างก็อพยพออกไปได้สำ�เร็จ สรุปแล้วมีทหาร และพลเรือนพันธมิตร ทัง้ อังกฤษ ฝรัง่ เศส โปแลนด์ เช็ก เบลเยีย่ ม รวมกันแล้วกว่า ๑๙๑,๐๐๐ คน อพยพกลับไปยัง อังกฤษได้สำ�เร็จ แม้ทหารเยอรมันจะรีบเร่งเคลื่อนพล ไล่ตดิ ตามเข้ามา แต่ก�ำ ลังทางอากาศของอังกฤษ ยิงกราด และทิ้งระเบิดขบวนยานเกราะเยอรมันเอาไว้ รวมทั้ง ทหารฝรัง่ เศส และผูร้ กั ชาติฝรัง่ เศสจำ�นวนมาก รบหน่วง เหนี่ยวเวลาและขัดขวางการเคลื่อนพลของเยอรมัน

อ้างอิง

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑ เอาไว้ได้ วันที่ ๒๒ มิถุนายน ค.ศ.๑๙๔๐ มีการลงนาม การสงบศึกระหว่างฝรัง่ เศสกับเยอรมนี รัฐบาลวิซฝี รัง่ เศส อันเป็นรัฐบาลหุ่นเชิดของเยอรมันในฝรั่งเศสได้รับการ สถาปนา

สภาพแออัดบนเรือลำ�เลียงซึ่งเต็มไปด้วย ทหารจากหลากหลายชาติ นี่เป็นหนึ่งในปฏิบัติการ ที่กองทัพอังกฤษและ พันธมิตร ต้องอพยพหนีตายกันอย่างเร่งรีบอีกครั้ง แม้ มันจะไม่ใช่การรบทีพ่ วกเขาสามารถกำ�ชัยชนะเหนือข้าศึก มันเป็นเพียงแค่การหลบหนีขา้ ศึกกลับบ้าน แต่การหลบหนี ไปในครัง้ นีข้ องพวกเขา เป็นเพียงการเริม่ ต้นของการต่อสู้ ที่ยาวนานกว่า ๔ ปี ก่อนที่พวกเขาจะกลับมาใหม่ และ ล้างแค้นพวกเยอรมันอีกครั้งในวันดีเดย์

: 1. 2. 3. 4.

http://dunkirk1940.org/index.php?&p=1_21 http://www.historyofwar.org/articles/operation_aerial.html https://nmmc.co.uk/2021/07/falmouth-and-operation-aerial/ https://www.naval-history.net/xDKWDa-Aerial.htm

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๓๓

พัฒนาการทีไ่ ม่หยุดยัง้ ของชุดเครือ่ งบินเล็ก ควบคุมระยะไกล นย. โดย The TAB

ร้อย.ป.คปม.กรม ป.พล.นย. มีผังการจัด ประกอบด้วย ๔ ส่วน ได้แก่ กองบังคับการกองร้อย หมวดเรดาร์ (ประกอบด้วย ๔ ชุดเรดาร์ต่อต้าน ป./ค. และ ๔ ชุดเรดาร์กำ�หนดที่ตั้งเป้าหมายเคลื่อนที่) หมวดสื่อสาร และ ๑ ชุดเครื่องบินเล็กควบคุมระยะไกล (UAV) ใน ๑ ระบบ ประกอบด้วย เครื่องบินเล็กควบคุมระยะไกล จำ�นวน ๓ ลำ�) ชุดเครื่องบินเล็กควบคุมระยะไกล (อากาศยาน ไร้คนขับ : Unmanned Aerial Vehicle (UAV)) ของ กองร้อยทหารปืนใหญ่ ค้นหาเป้าหมาย กรมทหารปืนใหญ่ สามารถพิสูจน์ทราบและกำ�หนดที่ตั้งเป้าหมายที่อยู่ลึก เข้าไปในเขตยึดครองของข้าศึก ไม่นอ้ ยกว่า ๕๐ กิโลเมตร จากแนวทางปะทะ จากขีดความสามารถดังกล่าว จึงได้ พัฒนาขีดความสามารถทั้งในด้านองค์บุคคล และด้าน องค์วัตถุ ซึ่งมีพัฒนาการ ดังนี้ ด้านองค์บุคคล ดำ�เนินการจัดกำ�ลังพลศึกษาดูงาน เข้าร่วมการ ฝึกร่วม/ผสมต่างๆ ที่มีการใช้อากาศยานไร้คนขับในการฝึก และเข้าร่วมการฝึกอบรมหลักสูตรนักบินภายนอก และ นักบินภายใน ของสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม หรือ สทป. เพื่อเป็นการ พัฒนาขีดความสามารถในด้านการบิน และให้มีความรู้ในเรื่องการใช้อากาศยานไร้คนขับเป็นอย่างดี - ปี งป.๖๐ จัดกำ�ลังพลศึกษาดูงาน ร้อย.ป.คปม.พล.ป.ทบ. จว.ลพบุรี

นาวิกโยธิน / ๓๔

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

- ปี งป.๖๐ แนะนำ�การบินเบื้องต้น โดยเป็นลักษณะการถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ พร้อมทั้ง สาธิตและปฏิบัติ โดยได้รับการกำ�กับดูแลจาก น.อ.วิพัฒน์ศักดิ์ ปานรักษา และ น.อ.รังสี ปั้นบรรจง

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๓๕



- ปี งป.๖๓ จัดกำ�ลังพลร่วมสังเกตการณ์ฝึก UAV รุ่น Orbiter 3 ณ สนามฝึกบิน กองบิน ๑ กบร.



การฝึกร่วม/ผสม - จัดกำ�ลังพลเข้าร่วมการฝึกร่วม/ผสม Cobra Gold เป็นประจำ�ทุกปี

นาวิกโยธิน / ๓๖



- จัดกำ�ลังพลเข้าร่วมการฝึกกรมผสม งป.๖๔

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๓๗

การจัดกำ�ลังพลเข้ารับการฝึกอบรม - การฝึกอบรมหลักสูตรอากาศยานไร้คนขับแบบปีกหมุน (นารายณ์) ของ สวพ.ทร. จำ�นวน ๒ นาย ได้แก่ ร.ท.สมศักดิ์ คณาภิบาล และ ร.ต.บุญนำ� ภู่พงษ์ หลักสูตรนักบินอากาศยานไร้คนขับของสถาบันเทคโนโลยีปอ้ งกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวง กลาโหม หรือ สทป. - ปี งป.๕๙ หลักสูตรผู้บังคับอากาศยานไร้คนขับนักบินภายนอกขั้นต้น แบบ Fix wing รุ่นที่ ๒ จำ�นวน ๒ นาย ได้แก่ ร.ท.สมศักดิ์ คณาภิบาล และ พ.จ.อ.ศิริโรจน์ วงศ์คำ�จันทร์ - ปี งป.๖๐ หลักสูตรผู้บังคับอากาศยานไร้คนขับนักบินภายนอกขั้นต้น รุ่นที่ ๓ จำ�นวน ๔ นาย โดยแบ่งเป็น แบบ Fix wing ๒ นาย จ.อ.รัฐนันท์ ปันต๊ะบุตร และ จ.อ.พงษ์เพชร ฤทธิ์อินทร์ แบบ Multi rotor ๒ นาย พ.จ.อ.วีรนันท์ รุณภัย และ จ.อ.สายัณห์ พะณะงาม - ปี งป.๖๒ แบ่งเป็น ๒ หลักสูตร คือ ๑. หลักสูตรผู้บังคับอากาศยานไร้คนขับนักบินภายนอกขั้นต้น แบบ Fix wing รุ่นที่ ๔ จำ�นวน ๖ นาย ได้แก่ ร.ต.บุญนำ� ภู่พงษ์ พ.จ.อ.ณัฐภูมิ ผู้ภักดี จ.อ.สุรัตน์ ไชยเชตุ จ.อ.กิตติพันธ์ นภากาศ จ.อ.ฐิตินันท์ บรรจง ใหม่ และ จ.อ.ณัฐวุฒิ แผ้วสมบุญ ๒. หลักสูตรผู้บังคับอากาศยานไร้คนขับนักบินภายภายในขั้นต้น รุ่นที่ ๓ จำ�นวน ๑ นาย ได้แก่ จ.อ.ประภาวัฒน์ บุญล้น - งป.๖๓ หลักสูตรผู้บังคับอากาศยานไร้คนขับนักบินภายนอกขั้นต้น แบบ fix wing รุ่นที่ ๖ ๑ นาย พ.จ.อ.ไพรสณฑ์ พันธ์เพ็ง

นาวิกโยธิน / ๓๘

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

การฝึกที่กล่าวมาข้างต้น ใช้โควต้าจาก ทร. ในการเข้ารับการฝึก การฝึกและค่าใช้จ่ายหลักสูตร เบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก ได้รับการสนับสนุนจาก สทป. ทั้งหมด - หลักสูตรหลังจาก ปี งป.๖๔ สทป. จะทำ�การเปิดหลักสูตรเต็มรูปแบบโดยผูผ้ า่ นการอบรมหลักสูตรจะได้ License ที่ผ่านการรับรองจาก The Civil Aviation Authority of Thailand (CAAT) : สำ�นักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทย โดยจะเปิดหลักสูตร RPL (Remote Pilot license) ผู้ควบคุมอากาศยานระยะไกล โดย ในเบือ้ งต้นหลักสูตรจะเปิดโอกาสให้ศษิ ย์การบินทีเ่ คยมาเรียนกับทางสถาบันกลับมาทบทวนเพือ่ ให้ผา่ นมาตรฐานการฝึก เดียวกัน และจะออก License ให้ผู้ที่มารับการทบทวน - งป.๖๕ สทป จะเปิดหลักสูตร IRPL (Instructor Remote Pilot License) หลักสูตรครูการบิน โดย ทางต้นสังกัด จะต้องออกค่าใช้จ่ายทั้งหมด ตามที่ สทป.กำ�หนด

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๓๙

เมื่อปี งป.๖๓ กรม ป.พล.นย โดย ร้อย.ป.คปม.กรม ป.พล.นย. ส่งกำ�ลังพล ๒ นาย ร่วมปฏิบัติงานกับ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม หรือ สทป. ในชื่อโครงการวิจัยและพัฒนา องค์ประกอบพื้นฐานของระบบยานไร้คนขับ (D43) ตั้งแต่ ๑๕ ต.ค.๖๒ - ๓๐ ก.ย.๖๓ การมาปฏิบัติงานที่ สทป. ขึ้นอยู่กับภารกิจและการร้องขอจาก สทป.) ๑. พ.จ.อ.วีรนันท์ รุณภัย ๒. จ.อ.ณัฐวุฒิ แผ้วสมบุญ ตำ�แหน่ง คณะทำ�งานโครงการ D43 หน้าที่ จัดเตรียมอุปกรณ์ ทำ�การประกอบ ติดตั้ง ทดสอบอุปกรณ์ และบินทดสอบระบบของ UAV ฝึก ทบทวนการบิน และเรียนระบบการทำ�งานของต้นแบบระบบอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก Mini UAV รุน่ D-eyes 02 ที่ได้รับกลับมาใช้ในราชการของหน่วยต่อไป ประโยชน์ ที่ได้รับจากการร่วมปฏิบัติงาน - ในการปฏิบตั งิ าน ณ ทีต่ งั้ หรือ Lab ได้ความรูพ้ นื้ ฐาน ในการประกอบ การเลือกใช้อปุ กรณ์ การบำ�รุงรักษา ซ่อมแซม และข้อจำ�กัดต่างๆ ในเบื้องต้น - เมือ่ ออกฝึกบิน รูถ้ งึ ขีดความสามารถ และการใช้งานอย่างปลอดภัยของระบบ แก้ปญ ั หาเฉพาะหน้า และการ ตัดสินใจ เมื่อมีเหตุฉุกเฉิน และทราบถึงขีดจำ�กัด

นาวิกโยธิน / ๔๐

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

ให้การสนับสนุนการฝึกของหน่วย - ให้การสนับสนุนเครื่องบินฝึกไล่เป้าพร้อมด้วยพร้อมด้วยนักบิน ในการฝึกเป็นหน่วยกองร้อย ของ พัน. ปตอ.กรม ป.พล.นย. และการฝึกเป็นหน่วยกองพัน ป.

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๔๑

- ทำ�การฝึกเป็นหน่วย ป.คปม.เบื้องต้น เป็นประจำ�ทุกปี

- ทำ�การฝึกทบทวนการใช้งานระบบอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก (Mini UAV) รุ่น D-EYES 02 ประจำ�ปี ห้วงเดือน ส.ค.๖๔ ณ สนามฝึกบินโพธาราม อ.โพธาราม จ.ราชบุรี (สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ : สทป. จัดครูฝึก และสนามให้)

นาวิกโยธิน / ๔๒

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

- นอกจากการเรียนรูใ้ นเรือ่ ง UAV แล้ว กองร้อยทหารปืนใหญ่คน้ หาเป้าหมายฯ ยังได้ท�ำ การเรียนรูเ้ กีย่ วกับ อุปกรณ์หรือระบบต่อต้านอากาศยานไร้คนขับ (Anti Drone) ควบคู่กันไปด้วย

ด้านองค์วัตถุ - เริม่ แรกได้กอ่ ตัง้ กลุม่ เครือ่ งบินเล็กโดยผูท้ ชี่ นื่ ชอบการเล่นเครือ่ งบิน หรือ เฮลิคอปเตอร์ บังคับวิทยุ (กลุม่ RC) โดยใช้ชื่อกลุ่ม Arty Flying Club ซึ่งเป็นข้าราชการ กรม ป.พล.นย. เป็นส่วนใหญ่ และใช้งบประมาณส่วนตัว ในการจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ มาเพื่อใช้ในการฝึกบิน

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๔๓

- ทำ�และประกอบเครื่องบินโฟม แบบ F22 เพื่อใช้ในการฝึกนักบินเอง และนำ�เข้าร่วมการฝึกร่วม/ผสม Cobra Gold 2019 โดยทำ�การฝึกแลกเปลี่ยนกับชุด UAV นย.สหรัฐฯ

นาวิกโยธิน / ๔๔

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

- ปี งป.๖๐ น.ต.วีรกมล สวนจันทร์ ผบ.ร้อย.ป.คปม.กรม ป.พล.นย. (ชั้นยศและตำ�แหน่งในขณะนั้น) ได้ จัดซื้อ DRONE ยี่ห้อ DJI รุ่น Mavic Pro มาไว้ใช้ในราชการ ร้อย.ป.คปม.กรม ป.พล.นย.

- ปี งป.๖๐ น.อ.วิพัฒน์ศักดิ์ ปานรักษา มอบเครื่องบินบังคับให้กับ ร้อย.ป.คปม.กรม ป.พล.นย. ไว้ใช้งาน ในการฝึกบุคลากรทางการบิน จำ�นวน ๓ เครื่อง

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๔๕

- ปี งป.๖๐ น.อ.จักร์กฤช ศิริรักษ์ มาแนะนำ�กล่อง Stabilize และชุดโมดูลใช้ในการถ่ายทอดสัญญาณ ภาพติดเครื่องบินบังคับ และมอบไว้เพื่อทดลองใช้ในการปฏิบัติภารกิจ

- ปี งป.๖๒ ร้อย.ป.คปม.กรม ป.พล.นย. ได้รับอากาศยานไร้คนขับ แบบ Multi Rotor ระบบเล็ก จำ�นวน ๔ ระบบ จาก ฝ่าย สส.อล.นย.

นาวิกโยธิน / ๔๖

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

- เมื่อปี งป.๖๓ น.อ.ฉัตรชัย ศุกระศร ผบ.กรม ป.พล.นย. (ชั้นยศและตำ�แหน่งในขณะนั้น) ได้มอบงบ ประมาณ ในการสร้าง Shop เครือ่ งบินเล็ก เพือ่ ไว้สร้างและซ่อมบำ�รุงเบือ้ งต้น และเปิดการฝึกอบรมการสร้างเครือ่ ง บินบังคับวิทยุขั้นต้น โดยเชิญวิทยากรจาก กบร.ทร. พ.จ.อ.ไพรัช ธนสาร มาทำ�การสอน ณ โรงเก็บเครื่องบินเล็ก ร้อย.ป.คปม.กรม ป.พล.นย. เพือ่ ให้ก�ำ ลังพลมีความรูค้ วามสามารถในการทำ�เครือ่ งบินเพือ่ ไว้ใช้เป็นเครือ่ งฝึกบินต่อไป

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๔๗

- และเมื่ อ วั น ที่ ๙ ธ.ค.๖๔ สถาบั น เทคโนโลยี ป้ อ งกั น ประเทศ : สทป. ได้ ม อบต้ น แบบระบบ อากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก (Mini UAV) รุ่น D-EYES 02 ให้หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน (ร้อย.ป.คปม.กรม ป. พล.นย.) ไว้ทดลองการใช้ในการสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจ จำ�นวน ๒ ระบบ

- จากการพัฒนาในด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับ อากาศยานไร้คนขับ : Unmanned Aerial Vehicle (UAV) ของ กองร้อยทหารปืนใหญ่ค้นหาเป้าหมาย กรมทหารปืนใหญ่ กองพลนาวิกโยธิน นั้น ทำ�ให้มีข้าราชการในสังกัดได้แก่ พ.จ.อ.เปรมปิติ ทองคำ�ขาว ตำ�แหน่ง ช่างซ่อมเรดาร์ ชุดเรดาร์ตอ่ ต้านปืนใหญ่/เครือ่ งยิงลูกระเบิดที่ ๑ หมวดเรดาร์ กองร้อยทหารปืนใหญ่ค้นหาเป้าหมาย ไปเข้ารับการฝึกอบรมระบบอากาศยานไร้คนขับ (UAV) แบบ RQ – 21 A Blackjack ในหลักสูตร Air Vehicle Operator ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างเดือน ม.ค.๖๔ - ก.พ.๖๔ ตามโครงการ Maritime Security Initiative (MSI) โดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกา สนับสนุนค่าใช้จ่ายทั้งหมด และได้นำ�ความรู้ จากการอบรมมาถ่ายทอดให้กับกำ�ลังพลในสังกัดได้เป็นอย่างดี

นาวิกโยธิน / ๔๘

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

๕ เทรนด์ AI ที่ต้องจับตาในปี ๒๕๖๕ โดย Godzilla.IT

สวัสดีปใี หม่ ปี ๒๕๖๕ ครับ พบกันอีกครัง้ สำ�หรับข้อมูลข่าวสารในโลก IT กับ Godzilla.IT ทีจ่ ะนำ�สาระและ ความรู้ทางด้าน IT มาบอกเล่ากัน ฉบับนี้ในปี ๒๕๖๕ เทรนด์ AI : Artificial Intelligence คือ ปัญญาประดิษฐ์ โปรแกรมทีถ่ กู เขียนและพัฒนาให้มคี วามฉลาด มีความสามารถคิด วิเคราะห์ วางแผน และตัดสินใจได้ จากการประมวลผล ของฐานข้อมูลขนาดใหญ่ และยังสามารถดัดแปลงการประมวลผล ประยุกต์ ให้เป็นไปตามสถานการณ์ต่าง ๆ เรามาดูกันว่าปี ๒๕๖๕ AI แบบไหนบ้างที่น่าจับตา AI จะต่อยอดศักยภาพ 5G 5G มีศกั ยภาพมหาศาลในการพัฒนาขับเคลือ่ นอุตสาหกรรม ตัง้ แต่การสตรีมมิง่ การสือ่ สาร ไปจนถึงเรือ่ ง ของหุ่นยนต์ก้าวล้ำ�และงานสายการผลิต 5G เป็นจุดทีพ่ ลังสองอย่างมาบรรจบกัน คือการสือ่ สารภายใต้แบนด์วดิ ธ์สงู ทีม่ คี วามเสถียร และการกระจาย พลังคอมพิวติ้งอย่างรวดเร็วทั่วทั้งเครือข่าย

ความสลับซับซ้อนของระบบเครือข่ายโทรคมนาคมในปัจจุบนั และการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้การ จัดการและควบคุมระบบโครงสร้างพื้นฐานเหล่านี้เป็นไปด้วยความยากลำ�บาก เห็นได้ชัดว่าเครื่องมือ ระบบ และ วิธีการจัดการเครือข่ายในปัจจุบันไม่ได้ถูกออกแบบมาให้ตอบโจทย์ระบบเครือข่ายในอนาคต เพื่อผลักดันให้เกิดการ เชื่อมต่อระบบ 5G ทั่วโลก ผู้ให้บริการด้านการสื่อสาร (CSP) จะหันมาใช้ระบบออโตเมชันที่ขับเคลื่อนด้วย AI และ network orchestration เพือ่ ช่วยเสริมการควบคุมและบริหารจัดการเครือข่าย อันจะนำ�สูก่ ารมอบประสบการณ์ทดี่ ี ให้กบั ลูกค้าได้รวดเร็วยิง่ ขึน้ นวัตกรรมอย่างการแบ่งส่วนเครือข่าย จะช่วยให้องค์กรสามารถกำ�หนดระดับการให้บริการ สำ�หรับอุปกรณ์แต่ละอย่างได้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายของตน ตัวอย่างเช่น รถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๔๙

สามารถใช้เครือข่ายที่มีเวลาแฝงต่ำ�มากได้ ในขณะที่กล้องวิดีโอ HD ต้องการแบนด์วิดธ์ที่สูง AI จะสร้างอนาคตที่เชื่อถือได้และยั่งยืน ในทางหนึง่ ผูบ้ ริโภค หน่วยงานทีม่ หี น้าทีก่ �ำ กับดูแล และผูถ้ อื หุน้ ต่างกำ�ลังกดดันให้บริษทั ต่างๆ ทำ�ผลกำ�ไร ภายใต้ความยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรม และในอีกทาง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสภาพอากาศอันเลวร้าย ก็ก�ำ ลังสร้างแรงกดดันให้กบั ระบบซัพพลายเชนและการดำ�เนินธุรกิจ ความตึงเครียดเหล่านีจ้ ะเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งในปี ๒๕๖๕ และ AI จะมีบทบาทสำ�คัญในการช่วยให้ธรุ กิจผ่านเกณฑ์ชวี้ ดั ด้านความยัง่ ยืน ทัง้ ในแง่การวัดผล การรวบรวม ข้อมูล และการทำ�บัญชีคาร์บอน รวมถึงการทำ�ให้การคาดการณ์และความยืดหยุ่นฟื้นตัวไวของระบบซัพพลายเชน เป็นไปในทิศทางทีด่ ขี นึ้ 42% ของ CIO ทีส่ �ำ รวจในการศึกษา CIO Study ล่าสุด มองว่า AI และเทคโนโลยีขนั้ สูงอืน่ ๆ จะส่งผลต่อความยั่งยืนมากที่สุดในอีก ๓ ปีข้างหน้า ซึ่งสูงที่สุดเมื่อเทียบกับปัจจัยกระทบอื่นๆ ที่สำ�รวจ ทั้งระบบ บำ�รุงรักษาเชิงคาดการณ์ทชี่ ว่ ยลดความจำ�เป็นในการเปลีย่ นชิน้ ส่วนและอุปกรณ์ ระบบ AI ทีว่ เิ คราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม ของพายุและไฟป่า และอืน่ ๆ อีกมากมาย จะเข้ามามีบทบาทสำ�คัญในการช่วยองค์กรรับมือกับเหตุสภาพอากาศเลวร้าย ที่จะเพิ่มขึ้น บริษัทต่างๆ จะหันมาให้ความสนใจกับการลดปัญหาการหยุดชะงักของซัพพลายเชนมากขึ้น โดยจะลงทุน ในระบบอัตโนมัติที่ขับเคลื่อนด้วย AI เพื่อทำ�ให้ระบบพื้นฐานที่รองรับระบบคอมเมิร์ซต่างๆ สามารถทำ�งานได้อย่าง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึน้ ข้อมูลจากเซ็นเซอร์, แท็ก RFID, มิเตอร์, แอคทูเอเตอร์, GPS ฯลฯ จะช่วยให้ระบบ inventory สามารถตรวจสอบสินค้าคงคลังได้เอง ขณะที่ตู้คอนเทนเนอร์จะสามารถตรวจดูของที่อยู่ด้านในได้ และพาเลทต่างๆ ก็จะรายงานแจ้งได้เองหากว่าถูกวางผิดที่ ธุรกิจจะลดต้นทุน โดยใช้ AI ช่วยคาดการณ์ปัญหาระบบไอทีก่อนที่ปัญหาเหล่านั้นจะเกิด

ในปี ๒๕๖๔ ผู้บริหารด้านไอที ในฐานะผู้ดูแลระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจทิ ัลขององค์กร มีภารกิจสำ�คัญ ในการบริหารจัดการการทำ�งานระยะไกลของพนักงานและรับมือกับปัญหาด้านซิเคียวริตรี้ ปู แบบใหม่ๆ ไปพร้อมๆ กับ การทำ�ความเข้าใจข้อมูลมหาศาลทีเ่ กิดขึน้ จากแอพพลิเคชันยุคใหม่ รวมถึงการมอนิเตอร์โซลูชนั และการใช้ชอ่ งทางดิจทิ ลั ที่เพิ่มขึ้นของพนักงานและผู้บริโภค ปัจจัยเหล่านี้ทำ�ให้องค์กรเริ่มมองถึงการนำ�ออโตเมชันมาใช้มากขึ้น อีกทั้ง ยังเพิม่ ความสนใจในการนำ� AI เข้ามาช่วยคาดการณ์ปญ ั หาของระบบไอทีมากขึน้ อันนำ�มาสูเ่ ทคโนโลยีทเี่ รียกว่า AIOps

นาวิกโยธิน / ๕๐

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

AIOps ช่วยให้ฝ่ายไอทีขององค์กรสามารถบริหารจัดการสภาพแวดล้อมการทำ�งานที่มีความซับซ้อนได้ใน เชิงรุก และอาจช่วยให้องค์กรรักษาเงินหลักล้านทีต่ อ้ งสูญเสียหากเกิดปัญหาขึน้ ในปี ๒๕๖๕ AIOps จะช่วยให้ทมี ไอที สามารถวินิจฉัยปัญหาได้อย่างรวดเร็วและมั่นใจ มากกว่าการทำ�แบบ Manual แบบเดิมที่ทีมต้องเสียเวลามากมาย ซึง่ จะทำ�ให้ทมี ไอทีสามารถหันมามุง่ เน้นทีง่ านทีส่ ร้างคุณค่ามากขึน้ ได้ นอกจากนี้ AIOps ยังจะช่วยให้ทมี ไอทีสามารถ ระบุแพทเทิรน์ ของข้อมูลเพือ่ บ่งชีแ้ ละคาดการณ์ปญ ั หาทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ ทำ�ให้สามารถทราบปัญหาระบบไอทีลว่ งหน้า ก่อนที่ปัญหาเหล่านั้นจะเกิดขึ้น งาน Customer Care จะใช้ AI เพื่อให้ตอบโจทย์เฉพาะบุคคลยิ่งขึ้น ในช่วงการแพร่ระบาดของ COVID-19 ในปีที่ผ่านมา ผู้ช่วยเวอร์ชวลได้กลายเป็นเครื่องมือสำ�คัญของ องค์กรขนาดใหญ่และหน่วยงานภาครัฐ ไม่เพียงเฉพาะในแง่การเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารเท่านัน้ แต่เรายังเริม่ เห็นการ ผสานรวมออโตเมชันเข้าด้วยกัน ซึง่ ทำ�ให้ผชู้ ว่ ยเวอร์ชวลเหล่านีส้ ามารถจัดการเวิรค์ โฟลว์และงานต่าง ๆ ได้จนเสร็จ สมบูรณ์ ดังตัวอย่างของการจองนัดหมายเพื่อรับวัคซีน เป็นต้น ในปี ๒๕๖๕ ผู้บริโภคจะเริ่มมีปฏิสัมพันธ์กับร้านค้า และผู้ให้บริการที่พวกเขาชื่นชอบมากขึ้น ในลักษณะที่มีความเฉพาะบุคคลมากขึ้น อีกสาเหตุสำ�คัญที่จะทำ�ให้ AI เข้ามามีบทบาทในงานดูแลลูกค้ามากขึ้น คือการที่ AI สามารถเข้าถึงข้อมูล ที่มีความครอบคลุมได้ดียิ่งขึ้น เนื่องจากบริษัทและหน่วยงานภาครัฐเริ่มหันมาใช้สถาปัตยกรรม data fabric เพื่อ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่มีมากขึ้น การโฟกัสเรื่องซิเคียวริตี้อย่างต่อเนื่อง

ก่อนทีจ่ ะสามารถนำ� AI เข้ามาช่วยขับเคลือ่ นธุรกิจได้ บริษทั และองค์กรต่างๆ จำ�เป็นต้องได้รบั ความไว้วางใจ จากผูบ้ ริโภค การต่อสูเ้ พือ่ แย่งชิงความไว้วางใจของผูบ้ ริโภคจะเกิดขึน้ ในหลายมิติ ตัง้ แต่ความสามารถในการอธิบาย ทีม่ าของการตัดสินใจของ AI ได้ ไปจนถึงการสร้างความมัน่ ใจให้แก่ผบู้ ริโภค ว่าข้อมูลส่วนบุคคลของพวกเขาจะได้รบั การปกป้องจากภัยไซเบอร์ต่างๆ ในขณะที่บริษัทและหน่วยงานภาครัฐยังคงเดินหน้าลงทุนในด้านไซเบอร์ซิเคียวริตี้ อย่างต่อเนื่อง AI เองก็จะเข้ามามีบทบาทสำ�คัญในการเพิ่มประสิทธิภาพการวิเคราะห์และตอบสนองต่อภัยคุกคาม ภายใต้ก้าวย่างสู่แนวทาง “zero trust” ที่จะเข้ามาช่วยลดความเสี่ยงต่างๆ ได้มากยิ่งขึ้น แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า กับสาระในโลก IT

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๕๑

สาระจากพระเทศน์

โดย นาวาโท สมปอง วัฒนกูล

เรื่อง สุขได้เมื่อใจพอ เหตุการณ์ในชีวิตประจำ�วันของคนเรา ล้วน มีปัญหาเกิดขึ้นมากมายส่วนหนึ่งก็คือปัญหาเรื่องการ แสวงหาปัจจัย ๔ ในการดำ�รงชีพ ทัง้ ๆ ทีไ่ ม่นา่ จะมีปญ ั หา ในการแสวงหาปัจจัยทีจ่ �ำ เป็นพืน้ ฐานของชีวติ คนจำ�นวน ไม่น้อย แม้จะทราบถึงความสำ�คัญของปัจจัยเครื่อง ดำ�เนินชีวิตว่า ถ้าได้เพียงปัจจัย ๔ คือ มีอาหารอย่าง เพียงพอ มีเสื้อผ้าสวมใส่ตามวัฒนธรรม ประเพณี มียา รักษาโรคตามระบบประกันสุขภาพ และมีบ้านอยู่อาศัย ก็น่าจะเพียงพอแล้ว หากพิจารณาตามความเป็นจริง ปัจจัยทีเ่ ป็นพืน้ ฐานในการดำ�เนินชีวติ ของคนเรา ก็ไม่เกิน ไปจากปัจจัย ๔ มากนัก เพราะปัจจัย ๔ โดยเนือ้ แท้ในตัว ของมันเอง ก็พอที่จะทำ�ให้การใช้ชีวิตเป็นไปได้อย่าง ราบรื่น บรรลุถึงเป้าหมายของการดำ�รงชีพได้เช่นกัน สังคมปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าด้านวัตถุ เป็นไปอย่างก้าวกระโดด ทำ�ให้เป้าหมายการใช้ชีวิตของ คนส่วนมาก ไปผูกโยงอยู่กับวัตถุมากเกินไป โดยมีความ เข้าใจว่ายิ่งได้วัตถุมาบำ�รุงบำ�เรอตนมากไปเท่าไร ก็จะมี ความสุขมากเท่านัน้ จึงมีปญ ั หาใหญ่ทตี่ ามมาคือ เกิดการ แสวงหาเพื่อให้ได้วัตถุมาให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ โดย ลืมคิดไปว่า แท้จริงแล้ว ความอยากได้ของส่วนเกินต่างหาก ที่เป็นปัญหา จึงเกิดการแสวงหาทางลัด แบบไม่ถูกต้อง

ทุจริต คดโกง มนุษย์แม้จะได้วตั ถุมามากเพียงใด ก็ไม่อาจสนอง ความอยากความต้องการของตนได้หมดสิ้นพุทธศาสนา จึงสอนว่า “หากว่ามนุษย์ได้ทกุ สิง่ ทุกอย่างตามทีป่ รารถนาแล้ว ห้ อ งจั ก รวาลนี้ ก็ ยั ง คั บ แคบ เมื่ อ อยากได้ อ ะไรก็ อ ย่ า ไปอยากมากเกินไป เพราะเมือ่ ไม่ได้จะเป็นทุกข์เมือ่ พยายาม แล้วไม่สมหวังก็หัดปล่อยวางอารมณ์นั้นบ้าง ฝึกหัดใจ ให้รู้จักปล่อยวาง สร้างภูมิคุ้มกันจิต ยึดหลักสันโดษ ที่ว่า พอใจตามมี ยินดีตามได้ สุขใจตามกำ�ลังของตน” เป็นต้น เพียงเท่านี้ชีวิตก็จะมีความสุขเข้าลักษณะที่ว่า สุขได้เมื่อใจพอ สมดังคติธรรมคำ�กลอนที่นักปราชญ์ ประพันธ์ไว้ว่า สันโดษนี้ดีนักรู้หักห้าม ย่อมได้ความสุขามาเสวย ใช้ตามได้ตามมีที่เราเคย สุขเสบยจริงหนอรู้พอดี ไม่จำ�กัดปัจจัยเที่ยวไขว่คว้า แสวงหาอื่นหมายได้สุขี มิพอใจใช้กินมิยินดี ที่ตัวมีทุกข์มากลำ�บากครันฯ

❉❉❉❉❉❉❉❉❉❉❉❉❉❉❉

นาวิกโยธิน / ๕๒

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

ธรรมานุศาสน์

โดย นาวาโท สมปอง วัฒนกูล

เรื่อง ลุงโง่ย้ายภูเขา มีเรื่องเล่าว่า หน้าบ้านลุงคนหนึ่ง มีภูเขาใหญ่ ตั้งตระหง่านอยู่หน้าบ้านพอดี บ้านของลุงมีคนอยู่อาศัย ๓๐ กว่าคน ทุกครัง้ ทีอ่ อกจากบ้านก็จะต้องเดินอ้อมภูเขา ลูกนั้นไป ทำ�ให้ไม่สะดวกและเสียเวลามาก วันหนึ่ง ลุง ตั ด สิ นใจว่ า ในบั้ น ปลายชี วิ ต นี้ จ ะขอทำ � สิ่ ง ที่ ยิ่ งใหญ่ สักเรือ่ งหนึง่ คือ การย้ายภูเขาทีต่ งั้ อยูห่ น้าบ้านไปไว้ทอ่ี นื่ และแล้วลุงก็นำ�ทุกคนในบ้านเริ่มทำ�การย้ายภูเขา โดย ค่อย ๆ ขุดย้ายหินบนภูเขา ขนไปไว้ในที่ห่างไกลออกไป แต่ ว่ า ภู เ ขาลู ก นั้ น สู ง ใหญ่ ม าก กำ � ลั ง ของพวกเขา มีขอบเขตจำ�กัด ภารกิจจึงคืบหน้าไปอย่างเชือ่ งช้า ข้างบ้านลุง มีผเู้ ฒ่าคนหนึง่ เห็นว่าการกระทำ�ของลุงช่างเป็นความโง่ เหลวไหล ไร้ ส าระโดยสิ้ น เชิ ง จึ ง พู ด จาถากถางว่ า “พวกท่านจงเลิกล้มความตัง้ ใจนีจ้ ะดีกว่า ลองคิดดูหน่อย เป็นไร ปีน้ีท่านอายุเท่าไรแล้ว ต่อให้แม้ว่าปีนี้ท่านมี อายุเพียง ๒๐ ปี แล้วใช้เวลาชัว่ ชีวติ ทีเ่ หลือก็ไม่สามารถ ย้ายภูเขาลูกนี้ไปได้หรอก” เมื่อลุงได้ฟังดังนั้น จึงตอบ ว่า “ถ้าหากชั่วชีวิตของฉันไม่สามารถย้ายภูเขาลูกนี้ ได้ สำ � เร็ จ หลั ง จากฉั น ตายไปก็ ยั ง มี ลู ก หลานของฉั น ทำ�การย้ายต่อ เมื่อลูกหลานของฉันตาย ก็ยังมีเหลน ของฉันทำ�การย้ายต่อ พวกเขาสามารถทำ�งานนี้อย่าง ต่ อ เนื่ อ งไปโดยไม่ ล้ ม เลิ ก ความตั้ งใจ ภู เ ขาลู ก นี้ เ ป็ น ของตาย ยังไงก็ไม่งอกโตขึ้นอย่างแน่นอน ขอเพียง เรามีความพากเพียรพยายามไม่หยุดเท่านัน้ จะเร็วหรือช้า

ก็ตอ้ งสามารถย้ายภูเขาลูกนีไ้ ด้อย่างแน่นอน” เมือ่ เทวดา ประจำ�ภูเขาลูกนั้นได้ยินคำ�พูดของลุงที่แสดงถึงความ ตั้งใจแน่วแน่มั่นคงอย่างไม่มีอะไรที่จะมาเปลี่ยนใจได้ จึงทำ�ให้รู้สึกวิตกกังวลอย่างมากว่าความตั้งใจของลุง จะทำ�ให้ตนเองไม่มีที่อยู่อาศัยเพื่อเป็นการรักษารูปทรง ของภูเขาไม่ให้เสียหาย เทวดาตนนั้นจึงต้องตัดสินใจรีบ ลงมือย้ายภูเขาลูกนั้นเสียเอง จากเรือ่ งเล่าข้างต้น อาจดูเป็นสิง่ ทีเ่ หลือเชือ่ ใน ความรู้สึกของทุกคน แต่หากมองในแง่แนวคิดทางธรรม ย่อมมีประโยชน์อย่างแน่นอน เพราะชีวติ ของทุกคนในโลก ล้วนต้องเจออุปสรรค มากบ้างน้อยบ้าง อุปสรรคที่เรา พบบางครั้งอาจรู้สึกว่าเป็นเรื่องหนักหนาสาหัส มอง ไม่เห็นทางแก้ไข รู้สึกเหมือนเกินกำ�ลัง แต่ในความ เป็นจริงแล้ว ขอเพียงให้เราตั้งสติให้มั่นคง ไม่ท้อถอย ค่ อ ย ๆ ทำ � ไปที ล ะขั้ น สุ ด ท้ า ยเราก็ จ ะแก้ ปั ญ หา ได้สำ�เร็จ ใครเลยจะคิดว่าเหล็กที่หนักเป็นตันๆ จะ ไปบินอยู่บนฟ้าได้ ใครเลยจะคิดว่ามนุษย์เราจะไปเดิน อยู่บนดวงจันทร์ได้ แต่เพราะพลังแห่งความมุ่งมั่นของ มนุษย์นั่นเองที่ทำ�ให้เกิดผลงานอันน่าอัศจรรย์ปรากฏ ให้เห็นมากมาย สมดังคำ�กล่าวทีว่ า่ “บุคคลใดไม่ค�ำ นึงถึง หนาวร้อน อดทนได้เหมือนหญ้าที่ถูกเหยียบย่ำ� กระทำ� กิจที่ควรทำ�ด้วยเรี่ยวแรงของลูกผู้ชาย บุคคลนั้นย่อมไม่ เสื่อมจากความสุข”

❉❉❉❉❉❉❉❉❉❉❉❉❉❉❉

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๕๓

สหกรณ์ออมทรัพย์นาวิกโยธิน จำ�กัด โดย น.อ.ทิวากร นุกิจ จุดกำ�เนิดของการสหกรณ์ เริ่มต้นที่ประเทศ อังกฤษ โดยโรเบอร์ต โอเวน ถือได้ว่าเป็นบิดาแห่งการ สหกรณ์ โดยสอนให้รู้จักการช่วยตนเอง และช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน เพื่อขจัดปัญหา ความเดือดร้อนซึ่งเป็นวิธี การของระบบสหกรณ์ เสนอให้จัดตั้ง “ชมรมสหกรณ์” (Co-operative Community) ซึ่งผลิตสิ่งของเครื่องใช้ เอง แต่เนื่องจากต้องใช้เงินทุนและที่ดินเป็นจำ�นวนมาก ประกอบกับปัญหาเกี่ยวกับสภาพสังคมในสมัยนั้น จึง ยังไม่สามารถจัดตั้งชมรมสหกรณ์ในประเทศอังกฤษได้ โรเบอร์ต โอเวนจึงได้เดินทางไปประเทศอเมริกา และ ทดลองจัดตั้ง ชมรมสหกรณ์ ขึ้นเป็นครั้งแรกที่ นิวฮาโมนี รัฐอินเดียนา สหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ.๒๓๖๘ ให้ชื่อว่า นิวฮาโมนี (New armony) แต่ได้ล้มเลิกไปในระยะเวลา ต่อมา เนื่องจากไม่ได้คัดเลือกสมาชิกและไม่มีกิจกรรม เพียงพอต่อความคุม้ ค่ากับค่าใช้จา่ ย นอกจากนีย้ งั มีปญ ั หา เกี่ยวกับการปกครองและศาสนา สำ�หรับประเทศไทย ผูท้ น่ี �ำ วิธกี ารสหกรณ์เข้ามา ช่วยพัฒนาประเทศเพื่อให้ประชาชนหลุดพ้นจากความ ยากจน ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๕๘ คือ พระราชวรวงค์เธอ กรมหมืน่ พิทยาลงกรณ พระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย ทรง ส่งเสริมให้กอ่ ตัง้ สหกรณ์แห่งแรก คอื สหกรณ์วดั จันทร์ ไม่จำ�กัดสินใช้ ตั้งอยู่ ณ ตำ�บลวัดจันทร์ อำ�เภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก และทรงเป็นนายทะเบียนสหกรณ์รับ จดทะเบียน เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๕๙ และในวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๒๗ ได้มีการประกาศให้วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็นวันสหกรณ์แห่งชาติ สหกรณ์ (Cooperatives) คือ องค์การของ บรรดาบุคคล ซึ่งรวมกลุ่มกันโดยสมัครใจในการดำ�เนิน วิสาหกิจที่พวกเขาเป็นเจ้าของร่วมกันและควบคุมตาม หลักประชาธิปไตยเพื่อสนองความต้องการ (อันจำ�เป็น)

และความหวังร่วมกันทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม คุณค่าของสหกรณ์ (Cooperative Values) คือ สหกรณ์อยู่บนพื้นฐานแห่งคุณค่าของการช่วยตนเอง ความรับผิดชอบต่อตนเอง ความเป็นประชาธิปไตย ความ เสมอภาค ความเทีย่ งธรรม และความเป็นเอกภาพ สมาชิก สหกรณ์เชื่อมั่นในคุณค่าทางจริยธรรมแห่งความสุจริต ความเปิดเผย ความรับผิดชอบต่อสังคม และความเอือ้ อาทร ต่อผูอ้ น่ื โดยสืบทอดประเพณีปฏิบตั ขิ องผูร้ เิ ริม่ การสหกรณ์ อุดมการณ์สหกรณ์ (Cooperative Ideology) คือ ความเชื่อร่วมกันที่ว่าการช่วยตนเองและการช่วย เหลือซึง่ กันและกันตามหลักการสหกรณ์ ซึง่ จะนำ�ไปสูก่ าร กินดีอยู่ดี มีความเป็นธรรมและสันติสุขในสังคม หลักการสหกรณ์ คือ แนวทางที่สหกรณ์ยึดถือ ปฏิบัติเพื่อให้คุณค่าของสหกรณ์เกิดผลเป็นรูปธรรม มี ทั้งหมด ๗ ประการ ประกอบด้วย ๑. การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง คือ การเข้าและออกจากการเป็นสมาชิกเกิดจากความ สมัครใจ ไม่ได้เกิดจากการถูกชักจูง โน้มน้าว ล่อลวง บังคับ ข่มขู่ จากผู้อื่น โดยสามารถกำ�หนดคุณสมบัติ สมาชิกเพื่อให้ได้บุคคลที่เข้ามาเป็นสมาชิกแล้วสามารถ ดำ�เนินกิจการร่วมกันได้ ไม่กอ่ ให้เกิดปัญหาหรือสร้างความ เดือดร้อนให้แก่เพื่อนสมาชิก ๒. การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย คือ พึงตระหนักว่าเป็นหน้าทีข่ องสมาชิกทีต่ อ้ งร่วมแรง ร่วมใจ และสติปัญญาในการดำ�เนินการและควบคุมดูแล การดำ�เนินงานของสหกรณ์ตามวิถีทางประชาธิปไตย เพื่ อให้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผล ๓ การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก คือ การมุง่ เน้นให้สมาชิกทุนคนพึงตระหนักว่าบทบาทหน้าที่

นาวิกโยธิน / ๕๔ ของตน คือการเป็นทัง้ เจ้าของและลูกค้าในคนเดียวกัน มิใช่ เข้ามาเป็นสมาชิกเพื่อมุ่งหวังผลประโยชน์จากสหกรณ์ เท่านัน้ ส่วนการจัดสรรกำ�ไรสุทธิสว่ นหนึง่ ต้องกันไว้เป็นทุน สำ�รอง ซึง่ เป็นทุนเพือ่ พัฒนาสหกรณ์ถอื ว่าเป็นทุนทางสังคม นอกนัน้ อาจแบ่งเป็นเงินปันผลในอัตราทีจ่ �ำ กัด และเป็น เงินเฉลี่ยคืนตามส่วนของธุรกิจ ๔. การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ คือ สมาชิก กรรมการและพนักงานสหกรณ์รวมทั้งหน่วย งานส่งเสริมสหกรณ์ต้องสำ�นึกอยู่เสมอว่าสหกรณ์เป็น องค์การที่ช่วยตนเอง และปกครองตนเอง เพราะฉะนั้น สหกรณ์ต้องเป็นอิสระในการตัดสินใจหรือทำ�สัญญาใด ๆ ตามเงื่อนไขที่สหกรณ์ยอมรับได้กับบุคคลภายนอกหรือ รัฐบาล ๕. การศึกษาฝึกอบรมและสารสนเทศ คือ การมุ่งเน้นให้สมาชิกและบุคคลทั่วไปซึ่งถือว่าจะเป็น สมาชิ กในอนาคตมี ค วามรู้ แ ละความเข้ าใจเกี่ ย วกั บ การสหกรณ์ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ วัฒนธรรม รวมทั้งให้มีความสำ�นึก ตระหนักในสิทธิและ หน้ า ที่ ข องสมาชิ ก หรื อให้ เ ป็ น ผู้ มี จิ ต วิ ญ ญาณสหกรณ์ การฝึ ก อบรมให้ ก รรมการผู้ จั ด การและเจ้ า หน้ า ที่ มี

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑ ความรู้ ความสามารถ และทักษะ รับผิดชอบในบทบาท หน้าที่ของตน ๖. การร่วมมือระหว่างสหกรณ์ คือ การร่วม กันระหว่างสหกรณ์ทั้งในประเภทเดียวกันหรือในท้องถิ่น เดียวกัน เพือ่ ให้สหกรณ์สามารถอำ�นวยผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจและสังคมแก่สมาชิกอย่างมีประสิทธิผลสูงสุด และทำ�ให้ขบวนการสหกรณ์เข้มแข็ง ๗. การเอื้ออาทรต่อชุมชม คือ สหกรณ์เป็น ส่วนหนึ่งของชุมชนที่ตั้งอยู่ ดังนั้น การดำ�เนินงานของ สหกรณ์ตอ้ งเป็นไปเพือ่ การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืนของชุมชนนัน้ ๆ และควรมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนนั้นอย่างยั่งยืน สามารถศึ ก ษารายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้ จ ากเว็ บ ไซต์ สำ�นักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์ และเว็บไซต์สำ�นักงาน สหกรณ์จังหวัดระยอง ปัจจุบันสหกรณ์ในประเทศไทยมี ทั้งหมด ๗ ประเภท ได้แก่ สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ ออมทรัพย์ สหกรณ์ประมง สหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์ นิคม สหกรณ์บริการ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ซึ่งแต่ละ สหกรณ์จะมีวัตถุประสงค์ในการประกอบกิจการที่แตก ต่างกัน แต่เป้าหมายที่เหมือนกัน คือ ต้องการให้สมาชิก มีความอยู่ดี กินดี และสามารถพึ่งพาตนเองได้

กระดานข่าว สอ.นย. ๑. สอ.นย. เปิดโครงการเงินกูส้ ามัญเพือ่ เสริมสภาพคล่อง ครัง้ ที่ ๒ ตัง้ แต่วนั ที่ ๔ ม.ค.๖๕ – ๓๐ มิ.ย.๖๕ กู้ได้ไม่เกินร้อยละ ๙๐ ของจำ�นวนเงินฝาก วงเงินกู้สูงสุด ๙ ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยเงินกู้สูงสุด ร้อยละ ๓.๗๕ ต่อปี ๒. สอ.นย. เปิดโครงการเงินฝากออมทรัพย์เพิ่มทรัพย์ วงเงินโครงการไม่เกิน ๒๐๐ ล้านบาท ระยะเวลาการฝาก ๑ ปี ฝากสูงสุดไม่เกิน ๑๐ ล้านบาทต่อบัญชี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๑ ต่อปี ๓. สอ.นย. ให้บริการกู้เงินไม่เกินร้อยละ ๙๐ ของทุนเรือนหุ้นและหรือเงินฝาก (รับเงินเร็ว) ๔. โครงการเงินกู้สามัญเพื่อการดำ�รงชีพ วงเงินกู้สูงสุด ๖๐๐,๐๐๐ บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๕.๖๕ ต่อปี วงเงินโครงการ ๒๐๐ ล้านบาท สามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

นาวิกโยธิน / ๕๕

สมาชิกสามารถติดตามกิจกรรมต่าง ๆ ของ สอ.นย. และติดตามข้อมูลข่าวสารจาก สอ.นย. เพิ่มเติมได้ที่.... เว็บไซต์ : http://www.thaimarinecoop.com Line ID : @chh4689l หรือ

เฟสบุ๊ค : https://www.facebook.com/marinecoop/ อีเมล : [email protected] โทรศัพท์ : ๐ – ๓๘๓๐ – ๘๓๐๙ ภายใน ทร. ๖๑๐๔๗ – ๘ โทรสาร กดหมายเลขภายใน ๒๑ หรือ ๒๒ มือถือ : สินเชื่อ ๐๖ – ๒๘๕๑ – ๒๗๐๔ ทะเบียนหุ้น ๐๖ – ๒๘๕๑ – ๒๗๐๕ ธุรการ ๐๘ – ๖๓๖๗ – ๑๑๙๑ การเงิน ๐๖ – ๑๖๑๗ – ๖๙๘๗ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๐๖ – ๓๓๓๙ – ๑๑๐๐ ที่อยู่สำ�นักงาน : ค่ายกรมหลวงชุมพร ๒๕๐๙ ม.๑ ต.สัตหีบ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ๒๐๑๘๐

นาวิกโยธิน / ๕๖

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑

การฌาปนกิจสงเคราะห์แห่งราชนาวี

สมาชิกการฌาปนกิจสงเคราะห์แห่งราชนาวี ณ วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๕ จำ�นวน ๘๙,๓๘๙ ราย

รายชื่อสมาชิกการฌาปนกิจสงเคราะห์แห่งราชนาวี ที่ถึงแก่อนิจกรรมและถึงแก่กรรม จำ�นวน ๗๔ ศพ ลำ�ดับที่ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓. ๒๔.

ยศ-ชื่อ-สกุล ร.ต.วิรัตน์ แก้วอยู่ น.ส.ณัฎฐณิชา จำ�นวน ร.ท.โรจน์ ฤทธิ์เดช พล.ร.ท.กิตติชัย เสนาณรงค์ น.ต.ชุมสาย ไพรรุณ นางอารีย์ ตันติเวชกุล น.ท.หญิง สุรัตน์ ประมวล ร.ต.พิพัฒ สำ�เภาพ่อค้า นางวัลลภา ขำ�เพ็ชร์ ร.อ.พิษณุ ต่ายธานี ร.ต.สมบุญ พิมพ์แปร นายเกษมถิรไชย อาทิตย์ฉาย ร.ต.เกียรติชัย ช่างทอง น.อ.นิวัฒน์ ดุลจำ�นงค์ ร.ต.ชลินทร์ แซ่ซี่ นางคมแก้ว สพฤกษ์ นางสุรินทร์ แก้วมงคล น.ท.ธนู สวัสดิ์ล้น นางคำ�แปง เผือกวัฒนะ จ.อ.สายัณห์ เนาว์นิเวศ นางหอม เปรมมณี นางโชติมณี ผลประมูล นางสุรินทร์ ผาสุข น.อ.ทวีป รัตนวิจิตร์

สถานภาพ

สังกัด

อายุ

ข้าราชการบำ�นาญ ครอบครัว ข้าราชการบำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ ครอบครัว ข้าราชการบำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ ลูกจ้างเกษียณ ข้าราชการบำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ ครอบครัว ข้าราชการบำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ ข้าราชการประจำ�การ ครอบครัว ครอบครัว ข้าราชการบำ�นาญ ครอบครัว ข้าราชการบำ�นาญ ครอบครัว ลูกจ้างเกษียณ ลูกจ้างเกษียณ ข้าราชการบำ�นาญ

ทร. ทร. สป. ทร. ทร. ทร. ทร. ทร. ทร. ทร. ทร. ขส.ทร. ทร. ทร. ทร. ทร. ทร.

๖๔ ๓๙ ๗๔ ๘๘ ๖๙ ๘๕ ๗๐ ๖๑ ๘๐ ๖๑ ๘๓ ๘๒ ๖๐ ๖๖ ๕๙ ๕๙ ๘๙ ๖๕ ๘๓ ๖๐ ๙๗ ๗๒ ๘๘ ๗๐

วันที่ถึงแก่ อนิจกรรม/ ถึงแก่กรรม ๒๓ พ.ย.๖๔ ๒๗ พ.ย.๖๔ ๙ พ.ย.๖๔ ๒๕ ก.ย.๖๔ ๒๙ พ.ย.๖๔ ๒๖ พ.ย.๖๔ ๒๙ พ.ย.๖๔ ๑ ธ.ค.๖๔ ๒ ธ.ค.๖๔ ๑ ธ.ค.๖๔ ๑๓ พ.ย.๖๔ ๕ ธ.ค.๖๔ ๑๗ พ.ย.๖๔ ๖ ธ.ค.๖๔ ๖ ธ.ค.๖๔ ๔ ธ.ค.๖๔ ๖ ธ.ค.๖๔ ๕ ธ.ค.๖๔ ๒๖ พ.ย.๖๔ ๒ ธ.ค.๖๔ ๑๗ พ.ย.๖๔ ๒ ธ.ค.๖๔ ๔ ธ.ค.๖๔ ๘ ธ.ค.๖๔

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑ ลำ�ดับที่ ๒๕. ๒๖. ๒๗. ๒๘. ๒๙. ๓๐. ๓๑. ๓๒. ๓๓. ๓๔. ๓๕. ๓๖. ๓๗. ๓๘. ๓๙. ๔๐. ๔๑. ๔๒. ๔๓. ๔๔. ๔๕. ๔๖. ๔๗. ๔๘. ๔๙. ๕๐. ๕๑. ๕๒. ๕๓. ๕๔. ๕๕. ๕๖.

นาวิกโยธิน / ๕๗ ยศ-ชื่อ-สกุล

ร.ต.มนัส แสงเนตร ร.ต.บวรฉัตร จรรยากูล พ.จ.อ.พงศ์พล พึ่งน้อย น.ท.อาภรณ์ อินทนนท์ น.ต.อภิชาติ พงษ์นะเรศ น.ต.หญิง จินตนา คูชัมภู น.ท.โอฬาร อยู่วัฒนะ น.อ.หญิง อุไรโฉม ณ ถลาง พล.ร.ท.ไพโรจน์ สันติเวชชกุล พ.จ.ต.ภาวิช โชคเหมาะ นางธารา ทะนานทอง นางสงเคราะห์ ชมชิด จ.อ.สมพจน์ ขยันตรวจ น.อ.บุญเที่ยง ทรัพย์สงวนบุญ นายสุรพล เจริญป๊อก ร.ต.แฉล้ม ดนตรี นางเครือวัลย์ รื่นเริง ร.อ.ประเสริฐ เกษทอง นายสมเกียรติ ผลสีส้ม นายมะลิ ผลเพิ่ม นางกฤษณา พุทธเษม นางสำ�เภา ชีวะเสรี นางนิรมล สุขเกษม นายประเสริฐ บำ�เพ็ญบุญ นายมานพ นาคเรือง น.อ.สรรพสิทธิ์ สงกุมาร น.ต.เขต ทองปั้น นายสะอาด มากดวงเทียน นางนวลจันทร์ ขันเสนาะ น.อ.สมพงษ์ นิ่มมณี พ.จ.อ.นิมิตร ลี้พล นางบุญเรือน บุษยากุล

สถานภาพ

สังกัด

อายุ

ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ข้าราชการบำ�นาญ สป. ข้าราชการประจำ�การ บก.อศ. ลูกจ้างเกษียณ ทร. ครอบครัว ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ครอบครัว ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ครอบครัว ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ครอบครัว ครอบครัว ครอบครัว ครอบครัว ลูกจ้างเกษียณ ทร. ครอบครัว ลูกจ้างประจำ� ทร. ข้าราชการประจำ�การ พร. ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ลูกจ้างเกษียณ ทร. ครอบครัว ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ข้าราชการบำ�นาญ ทร. ครอบครัว -

๗๙ ๖๕ ๖๓ ๘๖ ๖๓ ๘๔ ๘๑ ๘๙ ๘๙ ๔๙ ๘๔ ๖๕ ๗๘ ๘๕ ๖๑ ๘๔ ๗๔ ๙๓ ๖๓ ๘๕ ๕๑ ๘๗ ๙๑ ๘๖ ๕๘ ๔๙ ๖๘ ๘๓ ๖๐ ๗๙ ๗๗ ๘๗

วันที่ถึงแก่ อนิจกรรม/ ถึงแก่กรรม ๓ ธ.ค.๖๔ ๒ ธ.ค.๖๔ ๑๒ ธ.ค.๖๔ ๑๓ ธ.ค.๖๔ ๒๙ พ.ย.๖๔ ๑๓ ธ.ค.๖๔ ๔ ธ.ค.๖๔ ๕ ธ.ค.๖๔ ๑๕ ธ.ค.๖๔ ๑๑ ธ.ค.๖๔ ๑๔ ธ.ค.๖๔ ๑๐ ธ.ค.๖๔ ๓๐ ก.ย.๖๔ ๑๕ ธ.ค.๖๔ ๑๕ ธ.ค.๖๔ ๑๐ ธ.ค.๖๔ ๑๘ ธ.ค.๖๔ ๑๗ ธ.ค.๖๔ ๑๙ ธ.ค.๖๔ ๑๐ ก.ย.๖๔ ๙ ธ.ค.๖๔ ๘ ธ.ค.๖๔ ๒๐ ธ.ค.๖๔ ๒๐ ธ.ค.๖๔ ๑๕ ธ.ค.๖๔ ๒๙ พ.ย.๖๔ ๒๑ ธ.ค.๖๔ ๘ ก.ย.๖๔ ๑๗ ธ.ค.๖๔ ๒๐ ธ.ค.๖๔ ๑๑ ธ.ค.๖๔ ๒๒ ธ.ค.๖๔

นาวิกโยธิน / ๕๘ ลำ�ดับที่ ๕๗. ๕๘. ๕๙. ๖๐. ๖๑. ๖๒. ๖๓. ๖๔. ๖๕. ๖๖. ๖๗. ๖๘. ๖๙. ๗๐. ๗๑. ๗๒. ๗๓. ๗๔.

ปีที่ ๖๗ ฉบับที่ ๑ ยศ-ชื่อ-สกุล

น.อ.ธีระศักดิ์ ปาลวัฒน์ น.ท.บุญตา เจริญสุข น.อ.สุมน อามระดิษฐ์ ร.ท.เสนอ ปานประทีป พ.จ.อ.อานนท์ ดวงจันทร์กาล นางบึ้ง บุญคุณ ร.ต.ทองอยู่ ศรีพล น.อ.ศรีโพธิ์ สุขเจริญ นางกรพินธุ์ วีระประจักษ์ น.ต.สุริยา ศิริสุนทร น.อ.สายัณห์ เดชพันพัว นางวันนา ทวีจิตต์ นายหิรัญ เอกนาค นางวิไล อยู่สมุทร พล.ร.ท.ผวน นาคพัฒน์ นางประเสริฐ ปิ่นเกษ จ.อ.วิรัตน์ สุขเข พล.ร.ต.เสรี ผู้นำ�พล

สถานภาพ

สังกัด

อายุ

ข้าราชการบำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ ครอบครัว ข้าราชการบำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ ครอบครัว ข้าราชการบำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ ครอบครัว ลูกจ้างเกษียณ ครอบครัว ข้าราชการบำ�นาญ ครอบครัว ข้าราชการบำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ

ทร. ทร. ทร. ทร. ทร. ทร. ทร. ทร. ทร. ทร. สป. ทร. สป.

๖๑ ๘๓ ๘๙ ๘๒ ๖๑ ๖๖ ๗๗ ๘๖ ๘๙ ๖๑ ๘๓ ๖๑ ๖๖ ๔๙ ๑๐๓ ๘๗ ๖๒ ๘๙

วันที่ถึงแก่ อนิจกรรม/ ถึงแก่กรรม ๑๙ ธ.ค.๖๔ ๒๔ ธ.ค.๖๔ ๒๔ ธ.ค.๖๔ ๑๙ ธ.ค.๖๔ ๖ ธ.ค.๖๔ ๑๘ ธ.ค.๖๔ ๒๕ ธ.ค.๖๔ ๑๕ ธ.ค.๖๔ ๒๕ ธ.ค.๖๔ ๒๓ ธ.ค.๖๔ ๒๓ ธ.ค.๖๔ ๑๘ ธ.ค.๖๔ ๒๖ ธ.ค.๖๔ ๒๖ ธ.ค.๖๔ ๒๘ ธ.ค.๖๔ ๒๗ ธ.ค.๖๔ ๒๓ ธ.ค.๖๔ ๒๗ ธ.ค.๖๔

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.