E-book เบาหวานในหญิงตั้งครรภ์ Flipbook PDF


13 downloads 110 Views 8MB Size

Recommend Stories


Get Instant Access to ebook Magia Con Velas PDF at Our Huge Library MAGIA CON VELAS PDF. ==> Download: MAGIA CON VELAS PDF
Get Instant Access to eBook Magia Con Velas PDF at Our Huge Library MAGIA CON VELAS PDF ==> Download: MAGIA CON VELAS PDF MAGIA CON VELAS PDF - Are y

Get Como Superar Conflictos De Pareja pdf ebook download free site
Get Como Superar Conflictos De Pareja pdf ebook download free site >-- Click Here to Download Como Superar Conflictos De Pareja Now --< >-- Click H

Story Transcript

กรมการแพทย์ DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES


ค ำน ำ ภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทางด้านร่างกายและความผิดปกติของระบบเผาผลาญท าให้ น้ าตาลในเลือดสูง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และทารก ในครรภ์ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง การติดเชื้อ คลอดยาก การตกเลือดหลังคลอด แท้ง ทารกเสียชีวิตใน ครรภ์ และทารกพิการแต่ก าเนิด อย่างไรก็ตามเราสามารถป้องกันภาวะเบาหวานขณะ ตั้งครรภ์ได้ โดยการควบคุมระดับน้ าตาลในเลือดให้อยู่ใน เกณฑ์ปกติ ด้วยวิธีการควบคุมอาหารและการออกก าลังกาย อย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นวิธีที่ส าคัญที่จะช่วยให้หญิงตั้งครรภ์ สามารถตั้งครรภ์ได้อย่างปลอดภัย นางสาววิริยา ไทยประเสริฐ ผู้จัดท า 2


สำรบัญ 01 02 03 เรื่องน่ำรู้เกี่ยวกับ โรคเบำหวำน ปัจจัยเสี่ยงในกำรเป็นโรคเบำหวำน ขณะตั้งครรภ์ อำกำรเบื้องต้น 04 05 กำรดูแลเบำหวำนด้วยตัวเอง ผลของโรคเบำหวำนขณะตั้งครรภ์ 3


เรื่องน่ำรู้เกี่ยวกับ โรคเบำหวำน โรคเบำหวำนขณะตั้งครรภ์คืออะไร? โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational Diabetes) เป็นโรคเบาหวานชนิดหนึ่งที่สามารถ เกิดขึ้นได้ทุกระยะของการตั้งครรภ์ ส่วนใหญ่ วินิ จฉัย ใน ช่ ว งสัปด าห์ที่ 24-28 ขอ งการ ตั้งครรภ์ เกิดจากภาว ะน้ าตาล ในเลือดสูง เนื่องจากร่างกาย ไม่สามารถผลิตฮอร์ โมน อินซูลิน (Insulin) ได้เพียงพอ สามารถส่งผลเสีย ต่อมารดาและทารกได้ 4 เบำหวำนในหญิงตั้งครรภ์ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม 1. เป็นเบำหวำนก่อนกำรตั้งครรภ์ 2. เป็นเบำหวำนหลังจำกตั้งครรภ์


อำกำรเบื้องต้น รู้สึกกระหำยน้ ำมำกกว่ำปกติ ปัสสำวะบ่อย กลำงคืนมำกกว่ำ 2 ครั้ง อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ำย ไม่มีแรง น้ ำหนักลด เบื่ออำหำร หิวบ่อย ชำปลำยมือปลำยเท้ำ 5


ปัจจัยเสี่ยงในกำรเป็นโรคเบำหวำน ขณะตั้งครรภ์ อายุมากกว่า 35 ปี มีน้ าหนักเกิน ดัชนีมวลกายสูงกว่า 29 กิโลกรัม/เมตร2 มีประวัติโรคเบาหวานในครอบครัว ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง ตรวจพบน้ าตาลในปัสสาวะ ประวัติการตั้งครรภ์ก่อนหน้าผิดปกติ เช่น แท้งหลายครั้ง เคยเป็นโรคเบาหวาน เคยคลอดทารกน้ าหนักเกิน 4,000 กรัม เป็นโรคถุงน้ าในรังไข่ 6


ผลของโรคเบำหวำน ขณะตั้งครรภ์ ต่อทำรก ทำรกคลอด ก่อนก ำหนด น้ ำหนักทำรกแรกคลอด มำกกว่ำปกติ เช่น ทำรกตัวใหญ่ ท ำให้คลอดยำก หรืออำจเกิดอันตรำยขณะคลอด ทำรกมีระดับน้ ำตำล ในเลือดต่ ำทันที หลังคลอด ทำรกอำจเสียชีวิต ในครรภ์ได้ ทำรกมีปัญหำเกี่ยวกับ ระบบหำยใจ มีภำวะหำยใจล ำบำก 7


ผลของโรคเบำหวำน ขณะตั้งครรภ์ ต่อมำรดำ กำรแท้ง บุตร มีโอกำสเกิด ภำวะครรภ์ เป็นพิษ กำรตกเลือดหลัง คลอด กำรคลอดยำก กำรคลอด ก่อนก ำหนด ระดับน้ ำตำลและ ควำมดันโลหิตสูง จำกกำรตั้งครรภ์ 8


กำรดูแลเบำหวำนด้วยตัวเอง แนวทำงกำรดูแลรักษำหญิงตั้งครรภ์ที่เป็น เบำหวำน สัดส่วนสำรอำหำร อำหำรที่ไม่ควรรับประทำน อาหารที่หวานจัด เช่น ขนมไทย สังขยา แยม ผลไม้กระป๋อง ทุเรียน น้ าผลไม้ น้ าอัดลมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ อำหำรที่แนะน ำให้รับประทำน ผักใบเขียว ไข่ นมสด ข้าวแป้งที่ไม่ขัดสี 9 ข้าวไม่ขัดสี, แป้ง 50% ไขมัน ดี 20% ไข่ เนื้อสัตว์ ธัญพืช ต่างๆ 30% พลังงำนในแต่ละวันเฉลี่ย 1,200-2,000 กิโลแคลอรี วิตำมินและแร่ธำตุ ที่แนะน ำส ำหรับ หญิงตั้งครรภ์ ธำตุเหล็ก พบได้ในเนื้อสัตว์ ตับ ไข่ แดง ผักใบเขียว ข้าวโอ๊ต กรดโฟลิก พบได้ในข้าวกล้อง หน่อไม้ฝรั่ง ผักโขม คะน้า บร็อคโคลี่ แคลเซียม พบได้ใน นมสด นมถั่วเหลือง ผักคะน้า ปลาเล็กปลาน้อย กุ้งแห้ง งาด า


กำรดูแลเบำหวำนด้วยตัวเอง ข้อแนะน ำกำรปฏิบัติตน หลีกเลี่ยงอำหำรที่มี พลังงำนสูง เช่น ขนมหวำน อำหำรที่มีกะทิ 1 100 รับประทำนอำหำรให้ครบ 5 หมู่ ในปริมำณที่เพียงพอ ควรเลือกรับประทำนข้ำว กล้อง หรือข้ำวซ้อมมือ แทนข้ำวขำว หลีกเลี่ยงอำหำรที่มีรส จัด เช่น เผ็ดจัด เปรี้ยว จัด อำหำรหมักดอง ดื่มน้ ำสะอำด อย่ำงน้อย วันละ 10-12 แก้ว


กำรดูแลเบำหวำนด้วยตัวเอง ข้อแนะน ำกำรปฏิบัติตน พักผ่อนให้เพียงพอ อย่ำงน้อย วันละ 8 ชั่วโมง 11 ดื่มนมอย่ำงน้อย วันละ 2–3 แก้ว หลีกเลี่ยงกำร ดื่มชำ กำแฟ และน้ ำอัดลม งดสูบบุหรี่และ งดเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ทุกชนิด ออกก ำลังกำย ที่ไม่หนัก วันละ 15-20 นำที เช่น เดิน ท ำงำนบ้ำน


ปริมำณอำหำรที่ แนะน ำใน 1 วัน น้ ำมันพืชชนิด ไขมัน ไม่อิ่มตัว 2-3 ช้อนโต๊ะ ข้ำว เช่น ข้ำวกล้อง ข้ำวซ้อมมือ 6-8 ทัพพี ผลไม้ต่ำงๆ เช่น ชมพู่ 3 ผล มะละกอ 8 ชิ้น แอปเปิ้ล 1 ผล กล้วยน้ ำว้ำ 1 ผล สตรอเบอร์รี่ 7 ผล ผักหลำกหลำยสี เช่น ต ำลึง คะน้ำ ดอกกะหล่ ำ กวำงตุ้ง หัวปลี 2-3 ถ้วย ธัญพืชต่ำงๆ เช่น ถั่วแดง ถั่วเขียว อัลมอนด์ ครึ่งถ้วย นมสด นมพร่องมันเนย โยเกิร์ต น้ ำเต้ำหู้ 2-3 แก้ว ไข่ไก่/ไข่เป็ด 1-2 ฟอง เนื้อสัตว์ต่ำงๆ เช่น ปลำทู แซลม่อน อกไก่ 180-210 กรัม 12-16 ช้อนโต๊ะ 12


ตัวอย่ำงเมนูอำหำร ส ำหรับหญิงตั้งครรภ์ • มื้อเช้ำ ข้ำวต้มหมู 1 ถ้วย ไข่ลวก 1 ฟอง • ระหว่ำงมื้อ กล้วยน้ ำว้ำ 1 ผล • มื้อเย็น ข้ำวสวย 1 ทัพพี มะระต้มซี่โครงหมู 1 ถ้วย สลัดผักถ้วยเล็ก 1 ถ้วย • ก่อนนอน นมสด 1 แก้ว • มื้อกลำงวัน ข้ำวกล้อง 2 ทัพพี แกงเลียงผักกุ้งสด 1 ถ้วย ปลำทูขนำดกลำง 1 ตัว แอปเปิ้ล 1 ผลเล็ก • ระหว่ำงมื้อ นมสดพร่องมันเนย 1 กล่อง 13


กำรออกก ำลังกำย ส ำหรับหญิงตั้งครรภ์ ประโยชน์ • ช่วยป้องกันภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ • ช่วยลดความเสี่ยงต่อภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ • ช่วยลดอาการปวดหลัง • ช่วยลดความเสี่ยงต่อการผ่าตัดคลอด ระยะเวลำ 15-20 นาที/วัน น้อยกว่า 3 วัน/สัปดาห์ ประเภท การออกก าลังกายรูปแบบแอโรบิค แรงกระแทกต่ า เช่น เดิน ว่ายน้ า ออกก าลังกายในน้ า ปั่นจักรยานแบบขี่อยู่กับที่ โยคะยืดกล้ามเนื้อท่าง่ายๆ 14


ประเมินแบบไม่เจำะเลือด ค่ำดัชนีมวลกำย เป็นโรคอ้วน 25-30 กิโลกรัม/ เมตร2 = น้ ำหนักตัว (กิโลกรัม) ส่วนสูง x ส่วนสูง (เมตร) ตัวเลขที่ผู้ป่วยควรรู้ น้อยกว่ำ 18.5 18.5-22.9 น้ ำหนักน้อย น้ ำหนักปกติ น้ ำหนักเกิน โรคอ้วน 23-24.9 24.9 ขึ้นไป 15 https://www.lovefitt.com/เครื่อง ค านวณหาค่าดัชนีมวลกาย-bmi/ สแกนที่นี่ เพื่อค ำนวณหำค่ำดัชนีมวลกำย(BMI)


ประเมินแบบไม่เจำะเลือด เส้นรอบเอว = ส่วนสูง (เซนติเมตร)/2 ไม่ควรเกิน 90 เซนติเมตร 16 ตัวเลขที่ผู้ป่วยควรรู้ วิธีวัดรอบเอว คือ วัดรอบพุงผ่ำนสะดือ ในจังหวะหำยใจออก สำยวัดแนบล ำตัว รอบ เอวไม่ เกิน ส่วนสูง หำร 2


Infographic Style ต่ ำกว่ำ เกณฑ์ ควำมดันโลหิต ควำมดันโลหิต ไม่ควรเกิน 140/90 มิลลิเมตรปรอท 120 80 70 ตัวเลขที่ผู้ป่วยควรรู้ อยู่ในช่วง 120/80 มิลลิเมตรปรอท เหม ำ ะสม สูงกว่ำ เกณฑ์ 17 mmHg mmHg /min. ค่ำควำมดัน ขณะหัวใจบีบตัว (ค่ำปกติอยู่ที่ 120-129 mmHg) ค่ำควำมดัน ขณะหัวใจคลำยตัว (ค่ำปกติอยู่ที่ 80-84 mmHg) อัตรำกำรเต้นของหัวใจ (ค่ำปกติอยู่ที่ 60-100 ครั้ง/นำที)


ประเมินแบบเจำะเลือด ไขมันในเลือด ตัวเลขที่ผู้ป่วยควรรู้ 18 ไขมันดี (HDL) ควรมำกกว่ำ 60 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ไขมันไม่ดี (LDL) ไม่ควรเกิน 100 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ไตรกลีเซอไรด์ ไม่ควรเกิน 150 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ไขมันรวม ไม่ควรเกิน 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร อันตรำยของไขมันในเลือดสูง หลอดเลือด หัวใจตีบ ควำมดัน โลหิตสูง โรคหลอดเลือด สมอง อัมพฤกษ์ อัมพำต


ประเมินแบบเจำะเลือด กำรท ำงำนของไต ตัวเลขที่ผู้ป่วยควรรู้ • ค่ำ eGFR อัตรำกำรกรองของเสีย ของไต ควรกรองได้มำกกว่ำ 60 cc/min/1.73m2 • ตรวจปัสสำวะ หำระดับโปรตีนอัลบูมินในปัสสำวะ ที่มา : ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 19 “ กำรมีน้ ำตำลในเลือดสูงเป็นระยะเวลำนำน ท ำให้เกิดภำวะไตถูกท ำลำย ส่งผลเสียต่อหลอด เลือดเล็กๆ ที่ไปเลี้ยงไต ควำมสำมำรถในกำร ท ำงำนลดลง ท ำให้ไตกรองของเสียไม่ได้ ” เบำหวำน ควำมดัน สำเหตุหลักให้เกิดภำวะไตวำยถึง 70 % eGFR มำกกว่ำ 90 ไตปกติหรือ เริ่มเสื่อม eGFR ระหว่ำง 45-59 ไตเสื่อมปำนกลำง eGFR น้อยกว่ำ 15 ไตวำยระยะสุดท้ำย


HbA1c ระดับน้ ำตำลในเลือด กำรตรวจวัด คือ การวัดปริมาณน้ าตาลในเลือด ที่ควบคุมโดยการท างานของ ฮอร์โมนอินซูลินจากตับอ่อน ปกติ เป็น โรคเบำหวำน เสี่ยงเป็น โรคเบำหวำน น้อย กว่ำ 100 มก./ดล. 100-125 มก./ดล. ตั้งแต่ 126 มก./ดล. น้อย กว่ำ 5.7% 5.7- 6.4% 6.5% FBS/FPG HbA1c FBS/FPG คือ กำรตรวจค่ำน้ ำตำลสะสม ในเลือด (2-3 เดือนที่ผ่ำนมำ) คือ กำรตรวจค่ำน้ ำตำลใน เลือดขณะอดอำหำรอย่ำงน้อย 8 ชั่วโมง 20


ไม่เกิน


HbA1c จึงเป็นการตรวจระดับน้ าตาลสะสม ในเลือดตลอดระยะเวลา 2-3 เดือนที่ผ่านมา HbA1c คืออะไร ? 22 ฮีโมโกลบิน เอวันซี (HbA1c) คือ ระดับน้ าตาลเฉลี่ยสะสม ในเลือด เกิดจากการที่น้ าตาลในเลือดไปจับกับฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นโปรตีนในเม็ดเลือดแดง ที่ท าหน้าที่พาออกซิเจนไป เลี้ยงเซลล์ต่าง ๆ โดยปกติเม็ดเลือดแดงจะมีอายุประมาณ 3 เดือน


ค่ำระดับน้ ำตำลสะสมในเลือด ดูอย่ำงไร ปกติ เสี่ยงเป็น โรคเบำหวำน เป็น โรคเบำหวำน ต่ ำกว่ำ 6.0% 6.0 – 6.4% 6.5% ขึ้นไป ต่ ำกว่ำ 42 mmol/mol 42-47 mmol/mol 48 mmol/mol ขึ้นไป 5% 6% 7% 8% 9% 10% 11% 5.4 12% 7.0 8.6 10.2 11.8 13.4 14.9 mmol/mol 16.5 HbA1c % ที่มา: https://www.diabetes.co.uk/what-is-hba1c.html 23


หญิงตั้งครรภ์ที่เป็น เบาหวานควรตรวจน้ ำตำล ปลำยนิ้วด้วยตนเองโดยตรวจ ก่อนอาหารทุกมื้อ และก่อนนอน น้ าตาลก่อนอาหาร < 95 มก./ดล. น้ าตาลหลังอาหาร 1 ชั่วโมง < 140 มก./ดล. น้ าตาลหลังอาหาร 2 ชั่วโมง < 120 มก./ดล. ระดับน้ ำตำลที่แนะน ำ 24


ดูแลตนเองอย่ำงไร เพื่อหลีกเลี่ยงเบำหวำนขณะตั้งครรภ์ ทำนอำหำรที่มีประโยชน์ รับประทำนผักให้หลำกหลำย เลือกดื่มนมชนิดจืดและพร่องมันเนย พบแพทย์สม่ ำเสมอตำมนัดหมำย พักผ่อนอย่ำงเพียงพอ ออกก ำลังกำยที่ไม่หนัก เช่น กำรเดิน ลดควำมเครียด มีสุขภำพจิตที่ดี หลีกเลี่ยงอำหำรที่มีไขมันสูง หลีกเลี่ยงอำหำรที่มีรส หวำน มัน เค็ม 25


กำรรักษำ เบำหวำนขณะตั้งครรภ์ 26 การควบคุมระดับน้ าตาลในเลือดให้ อยู่ในเกณฑ์ที่ก าหนด โดยการคุมอาหาร และ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เมื่ออำยุครรภ์ได้ 24 – 28 สัปดำห์ แพทย์จะท ำกำรตรวจคัดกรอง เบำหวำนขณะตั้งครรภ์ กำรควบคุมอำหำร กำรควบคุมกำรเพิ่มของน้ ำหนัก ค่าดัชนีมวลกาย อยู่ในช่วง 18.5 – 24.9 kg/m2 ช่วงน้ าหนักที่เพิ่มขึ้นจากน้ าหนักปกติ ไม่เกิน 11.3 – 15.8 กิโลกรัม หรือ 500กรัม/สัปดาห์ ยาฉีดอินซูลินเป็นยาที่แนะน าให้ใช้เป็นทางเลือกจากการวินิจฉัย จากแพทย์ในรายที่ระดับน้ าตาลในเลือดขณะอดอาหาร มากกว่า 105 มก./ดล. กำรให้กำรรักษำด้วยยำ เพื่อควบคุมระดับน้ ำตำลในเลือด


กรมกำรแพทย์ DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES ชื่อหนังสือ : ชุดควำมรู้โรคเบำหวำน เรื่อง ตั้งครรภ์ปลอดภัยห่ำงไกลเบำหวำน ที่ปรึกษำ : แพทย์หญิงปิยะธิดำ หำญสมบูรณ์ ที่ปรึกษำกรมกำรแพทย์ ผู้เรียบเรียง : นำงสำววิริยำ ไทยประเสริฐ นักวิชำกำรสำธำรณสุขปฏิบัติกำร ส ำนักที่ปรึกษำ กรมกำรแพทย์ กระทรวงสำธำรณสุข


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.