ข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย (Fact Sheet) Flipbook PDF


118 downloads 119 Views 15MB Size

Recommend Stories


CARE & MAINTENANCE FACT SHEET NATURAL FINISH TEAK
GLOSTER CARE & MAINTENANCE FACT SHEET NATURAL FINISH TEAK Material Properties Contrary to popular belief, teak furniture does not require any specia

Pamphlets Fact Sheets Posters
A library and resource center for information on substance use and mental health disorders, prevention and health promotion, treatment and recovery, w

Country fact sheet. Noise in Europe overview of policy-related data. Spain
Country fact sheet Noise in Europe 2015 overview of policy-related data Spain April 2016 The Environmental Noise Directive (END) requires EU Memb

Story Transcript

คํานํา สารเคมีเขามามีบทบาทสําคัญตอการดํารงชีวิตประจําวันของมนุษยในดานตาง ๆ เชน ยารักษาโรค เครื่องสําอาง การใชเปนสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืชและสัตวทั้งในการเกษตรและในบานเรือน การใช ในกระบวนการผลิตทางดานอุตสาหกรรม สารเคมีชนิดตาง ๆ โดยเฉพาะสารเคมีอันตรายที่มนุษยนํามาใช ประโยชนเหลานี้ อาจมีความเสี่ยงการรั่วไหลและปนเปอนในสภาพแวดลอมและเขาสูรางกายมนุษย สงผลทําให สภาพแวดลอมเสื่อมโทรมและมีผลกระทบตอสุขภาพ กรมควบคุมมลพิษ ไดตระหนักถึงความจําเปนและความสําคัญของขอมูล จึงไดจัดทําขอมูลความปลอดภัย ของสารเคมีอันตราย (Fact Sheet) โดยรวบรวมขอมูลของสารเคมีในดานตาง ๆ ประกอบดวยเลขทะเบียน คุณสมบัติ ขอมูลทั่วไป แหลงกําแหลงกําเนิด การใชประโยชนในภาคอุตสาหกรรม การรับสัมผัสของประชาชนทั่วไป การรับสัมผัส จากการประกอบอาชีพ ผลกระทบตอสุขภาพ ผลกระทบตอเด็ก การกอมะเร็งในมนุษย แนวทางการรักษาพยาบาล เมื่อไดรับการสัมผัสกับสาร การเปลี่ยนในสิ่งแวดลอม ขีดจํากัดการรับสัมผัสในสภาพแวดลอมการทํางาน (ทางการหายใจ) ขีดจํากัดการรับสัมผัสทางการหายใจแบบเฉียบพลัน มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม และการกําจัด เพื่อใหเจาหนาที่หนวยงานภาครัฐตาง ๆ นักวิชาการ และผูสนใจทั่วไปใชในการปองกันและแกไขปญหาดังกลาว กองจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ


สารบัญ เรื่อง หนา คํานํา ขอมูลความปลอดภัยของสารอันตราย *****1.**Benzene 1 ** *** 2 .**Dichloroethylene 3 ***** 3 .**Ethylbenzene 5 ***** 4 .**Tetrachloroethylene 7 ***** 5 .**Toluene 9 ***** 6 .**Trichloroethylene 11 ***** 7 .**Xylene 13


Benzene การใชประโยชนในภาคอุตสาหกรรม • ใชเปนสวนประกอบในอุตสาหกรรมปโตรเลียม (สําหรับน้ํามันเบนซิน) • ใชเปนสารตั้งตนในการผลิตสารเคมีเพื่อใชใน อุตสาหกรรมพลาสติก เชน สไตรีน คิวมีน ไซโคลเฮกเซน เปนตน • ใชเปนตัวทําละลายในการผลิตกาว ยาง สียอม ผลิตภัณฑเคลือบเงาเฟอรนิเจอร น้ํามันหลอลื่น น้ํายาซักฟอก สารปองกันกําจัดศัตรูพืชและสัตวเปนตน เลขทะเบียน CAS Number : 71 – 43 – 2 UN Number : 1114 UN Class : 3 (ของเหลวไวไฟ) UN Guide : 130 (ไมมีขั้ว/ไมละลายน้ํา/กลิ่นเหม็น) คุณสมบัติ สูตรโมเลกุล : C6H6 มวลโมเลกุล : 78.11 g/mol จุดเดือด : 80.1 O C จุดหลอมเหลว : 130 O C ความหนาแนนไอ : 2.8 ความถวงจําเพาะ : 0.8786 ความหนาแนน : 0.8786 g/cm3 การละลายน้ํา : 0.8 g/L เบนซีน (Benzene) เปนสารเคมีที่ใชกันอยางแพรหลาย เกิดจากกระบวนการธรรมชาติและ กิจกรรมมนุษยเปนสารที่มักพบในพื้นที่ปนเปอนมลพิษ การสูดดมเบนซีนอาจทําใหเกิด อาการงวงนอน วิงเวียนศีรษะ และหมดสติ การไดรับสารเบนซีนในระยะยาว ทําให เกิดผลกระทบตอไขกระดูก อาจทําใหเกิดโรคโลหิตจางและมะเร็งเม็ดเลือดขาวได ขอมูลทั่วไป • เบนซีนเปนสารประกอบอินทรีย ประกอบดวย คารบอน 6 อะตอม ที่เชื่อมตอกันเปนวงแหวน ระนาบแบบเรโซแนนท (resonance) และ คารบอนแตละตัวจับกับไฮโดรเจน 1 อะตอม • เปนของเหลว ไมมีสี มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว • ระเหยและติดไฟไดงาย • ละลายน้ําไดเล็กนอยแตเปนตัวทําละลายที่ดีมาก • พบไดจากกระบวนการทางธรรมชาติและ กิจกรรมของมนุษย ผลกระทบตอสุขภาพ • กลไกความเปนพิษสําหรับการรับสัมผัส แบบเฉียบพลัน ไดแก ระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบประสาท และระบบภูมิคุมกัน • กลไกความเปนพิษสําหรับการรับสัมผัส แบบเรื้อรัง ไดแก ระบบหมุนเวียนโลหิต • กรณีไดรับสัมผัสในปริมาณต่ํา (รับประทานหรือ สูดดม) จะทําใหมีอาการเซื่องซึม วิงเวียนศรีษะ อัตราการเตนหัวใจสูงขึ้น ตัวสั่น มึนงง และหมดสติได • กรณีไดรับสัมผัสในปริมาณสูง (รับประทานหรือ สูดดม) ทําใหเกิดอาการคลื่นไส อาเจียน ทองไส ปนปวน งวงนอน ชักหมดสติ อัตราการเตน ของหัวใจสูงขึ้น และเสียชีวิตได การรับสัมผัสของประชาชนทั่วไป • ในอากาศจะพบเบนซีนในระดับต่ําจากควันบุหรี่ อูรถยนต ทอไอเสียจากยานพาหนะและ การปลอยมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม • ไอระเหย (หรือกาซ) จากผลิตภัณฑที่มีเบนซีน เชน กาว ยาง สียอม ผลิตภัณฑเคลือบเงา เฟอรนิเจอร น้ํามันหลอลื่น น้ํายาซักฟอก สารกําจัดศัตรูพืชและสัตวเปนตน แหลงกําเนิด • ในธรรมชาติ เบนซีนจะปลดปลอยออกสู สิ่งแวดลอมจากการระเบิดของภูเขาไฟ ไฟปา น้ํามันรั่วไหลจากแหลงขุดเจาะ • จากกิจกรรมของมนุษย โรงงานอุตสาหกรรม เปนแหลงกําเนิดหลักของเบนซีนที่จะปนเปอน ในสิ่ งแ วด ลอ ม รว มถึ งปมน้ํ ามั น ไอเสีย จากยานพาหนะ ควันบุหรี่ หลุมฝงกลบ ของเสียอันตราย การรับสัมผัสจากการประกอบอาชีพ • อากาศรอบ ๆ บริเวณหลุมฝงกลบของเสียอันตราย หรือปมน้ํามัน ซึ่งมักพบเบนซินในระดับที่สูงขึ้น • ในโรงงานอุตสาหกรรมที่เบนซีนเปนองคประกอบ ในกระบวนการผลิต เชน โรงกลั่นปโตรเลียม การขนสงน้ํามันดิบ ปโตรเคมิคอล เปนตน 1


ผลกระทบตอเด็ก • ยังไมมีการศึกษาการประเมินผลกระทบของเบนซีน ในเด็ก แตมีแนวโนมวาอาจจะมีผลกระทบ เชนเดียวกับผูใหญ • ส า ม า ร ถ ถ า ย ท อ ด จ า ก เ ลื อ ด ข อ ง ม า ร ด า ไปยังทารกในครรภ ขีดจํากัดการรับสัมผัสในสภาพแวดลอมการทํางาน(ทางการหายใจ)1 • ความเขมขนของเบนซีนเฉลี่ยตลอดระยะเวลา การทํางานปกติ (8 ชั่วโมง) ไมเกิน 1 ppm • ความเขมขนของเบนซีนสําหรับการสัมผัส ในระยะเวลาสั้นๆ (ไมเกิน 15 นาที) ไมเกิน 5 ppm การกําจัด • ในกากอุตสาหกรรมใหใชวิธีการกําจัดดวยการเผาไหม ที่อุณหภูมิ 650 ถึง 1,600 องศาเซลเซียส เปนระยะเวลา 1-2 วินาทีเชน ระบบเตาเผาแบบหมุน (rotary kiln) เตาเผาฟลูอิดไดสเบด (fluidized bed) • ในดินที่ปนเปอน ใหกําจัดโดยวิธีการสกัดสารระเหยงาย ออกจากดิน (Soil Vapor Extraction) โดยอัดอากาศ ลงในชั้นดินบริเวณที่มีทอเจาะรูลงในดิน เพื่อให อากาศไหลผานชั้นดินออกมา เมื่อเบนซีนไดระเหย ออกจากชั้นดินลอยขึ้นสูงตองทําการบําบัดอากาศ ดวยวิธีดูดซับดวยถานกัมมันต (Activated Carbon) หรือการกรองชีวภาพ (Biofilter) • ในน้ําใตดินที่พบการปนเปอน ใหกําจัดโดยวิธีการไล ดวยอากาศ (Air Stripping) ซึ่งวิธีการกําจัดจะคลายกับในดิน ขีดจํากัดการรับสัมผัสทางการหายใจแบบเฉียบพลัน2 • ความเขมขนของเบนซีนในบรรยากาศ ที่ไมกอใหเกิด ผลกระทบตอสุขภาพ (ระดับ1) ไมเกิน 52 ppm • ความเขมขนของเบนซีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิด ผลกระทบตอสุขภาพไมรายแรง(ระดับ2) ไมเกิน 800 ppm • ความเขมขนของเบนซีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิด ผลกระทบตอสุขภาพรายแรง(ระดับ3) ไมเกิน 4,000 ppm การเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดลอม • เบนซีนสามารถรั่วไหลออกสูอากาศ น้ํา และดิน ณ สถานที่ที่ผลิตหรือใชงาน • เบนซีนเมื่อถูกปลดปลอยสูบรรยากาศจะเกิด การสลายตัวในอากาศ ดวยปฏิกิริยา photochemically produced hydroxyl radicals มีคาครึ่งชีวิต(Half-life) ประมาณ 13 วัน • เบนซีนในอากาศสามารถจับกับเม็ดฝนและ ตกกลับลงสูพื้นดินและน้ําผิวดิน • เบนซีนเมื่อถูกปลอยสูแหลงน้ําผิวดิน จะระเหย อยางรวดเร็ว คาครึ่งชีวิต (Half-life) ในการระเหย สําหรับแมน้ําและทะเลสาบ 2.7 ชั่วโมง และ 3.5 วัน ตามลําดับ • เบนซีนเมื่อรั่วซึมสูพื้นดิน มีบางสวนที่ระเหย กลายเปนไอ และบางสวนสามารถซึมลึกลงสูน้ําใตดิน • เบนซีนไมสะสมในพืชหรือสัตว มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม • ความเขมขนของเบนซีนในบรรยากาศโดยทั่วไป ในระยะเวลา 24 ชั่วโมง ไมเกิน 7.6 µg/m3 • ความเขมขนของเบนซีนในบรรยากาศโดยทั่วไป ในระยะเวลา 1 ปไมเกิน 1.7 µg/m3 • ความเขมขนของเบนซีนในดิน เพื่อการอยูอาศัย ไมเกิน 1 mg/Kg • ความเขมขนของเบนซีนในดิน เพื่อการคาขาย เกษตรกรรม และกิจการอื่น ๆ ไมเกิน 5 mg/Kg • ความเขมขนของเบนซีนในดินภายในโรงงาน ไมเกิน 15 mg/Kg • คว า มเ ข ม ขน ข องเ บ นซี น ใน น้ํ า ใต ดิ นทั่ ว ไ ป ไมเกิน 5 µg/L • ความเขมขนของเบนซีนในน้ําใตดินภายในโรงงาน ไมเกิน 0.2 mg/L (200 µg/L) การกอมะเร็งในมนุษย • U.S. Environmental Protection Agency : EPA จัดเบนซีนเปนสารกอใหเกิดมะเร็งในมนุษย (Class A) • International Agency for Research on Cancer : IARC จัดเบนซีนเปนสารกอใหเกิด มะเร็งในมนุษย (Class I) • American Cancer Society (ACS) จัดเบนซีน เปนสารกอใหเกิดมะเร็งในมนุษย แนวทางการรักษาพยาบาลเมื่อไดรับสัมผัสกับสาร • การรักษาระยะเฉีย บพลัน ทําการลางตั ว (decontamination) ทั้งที่จุดเกิดเหตุและที่โรงพยาบาล • ใหออกซิเจน เพื่อชวยพยุงการหายใจ • ถามีภาวะหัวใจเตนผิดจังหวะ โคมา หรือปอดบวมน้ํา ใหรักษาตามอาการที่เกิดขึ้น • ควรสังเกตอาการโดยเฉพาะเรื่องหัวใจเตนผิด จังหวะและปอดบวมน้ําอยางนอย 12 – 24 ชั่วโมง อางอิง : Agency for Toxic Substances and Disease Registry (ATSDR) 2007. , U.S. Environmental Protection Agency (USEPA) 2005. หมายเหตุ : 1 ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง ขีดจํากัดความเขมขนของสารเคมีอันตราย 2 ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง คาขีดจํากัดการรับสัมผัสสารเคมีทางการหายใจแบบเฉียบพลัน 2


1,2 - Dichloroethylene (DCE) 1,2-ไดคลอโรเอทิลีน (1,2-DCE) ถูกสังเคราะหขึ้นโดยใชไตรคลอโรเอทิลีน ดวยกระบวนการ ดีไฮโดรคลอรีน (dehydrochlorination) เนื่องจากอุตสาหกรรมสวนใหญมีความตองการสูง เพื่อใชเปน ตัวกลางในการสังเคราะหตัวทําละลายและสารประกอบจําพวกคลอรีน การไดรับไดคลอโรเอทิลีน ทําใหปวดศีรษะ ออนเพลีย ชัก หมดสติ และอาจเสียชีวิตจากระบบทางเดินหายใจและหัวใจ ลมเหลว เลขทะเบียน CAS Number : 540 – 59 – 0 UN Number : 1150 UN Class : 3 (ของเหลวไวไฟ) UN Guide : 130 (ไมมีขั้ว/ไมรวมกับน้ํา/มีกลิ่น) คุณสมบัติ สูตรโมเลกุล : C2H2Cl2 มวลโมเลกุล : 96.4g/mol จุดเดือด : 55 O C จุดหลอมเหลว : - 57 O C ความหนาแนนไอ : 3.34 ความถวงจําเพาะ : 1.28 ความหนาแนน : 1.28 g/cm3 การละลายน้ํา : 1.0 g/L ขอมูลทั่วไป • 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน ที่ไมอิ่มตัว กลุมอัลคีน (Alkene) โดยมีพันธะคูจับกัน ระหวางคารบอน 2 อะตอม และคารบอนแตละตัว จับกับคลอรีน 1 อะตอมและไฮโดรเจน 1 อะตอม • เปนของเหลวใส ไมมีสี ไวไฟสูง • มีกลิ่นหอมคลายอีเทอรสามารถไดกลิ่นเมื่ออยูในอากาศ ที่ระดับความเขมขน 17 ppm หรือมากกวา • ไมละลายน้ํา แตละลายในตัวทําละลายอินทรีย แหลงกําเนิด • 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนจะไมเกิดขึ้นเองในธรรมชาติ • ถูกสังเคราะหขึ้นเพื่อใชงานในภาคอุตสาหกรรม โดยใชไตรคลอโรเอทิลีน ไปผานกระบวนการ ดีไฮโดรคลอรีน (dehydrochlorination) การใชประโยชนในภาคอุตสาหกรรม • ใชเปนตัวกลางในการสังเคราะหตัวทําละลายและ สารประกอบจําพวกคลอรีน • ใชเปนตัวทําละลายสําหรับแว็กซ เรซิน อะเซทิล เซลลูโลส น้ําหอม สียอม แลคเกอร เทอรโมพลาสติก ไขมัน และฟนอล • ใชเปนตัวทําละลายสกัดที่อุณหภูมิต่ําสําหรับ สารอินทรียเชน กาแฟที่ไมมีคาเฟอีน เปนตน • ใชเปนสารทําความเย็น น้ํายาลางไขมัน สารซักแหง • ใชสําหรับทําความสะอาดชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส • ใชสําหรับการขจัดคราบดวยไอน้ํา และทําความสะอาด ผิวโลหะ • ใชสําหรับการสกัดน้ํามันและไขมันจากปลาและ เนื้อสัตว การรับสัมผัสของประชาชนทั่วไป • ผูที่อาศัยอยูใกลโรงงานอุตสาหกรรม หลุมฝงกลบ ขยะอันตราย รวมถึงผูที่อาศัยอยูในเมืองหรือ ชานเมืองมีแนวโนมที่จะสัมผัสไดมากกวา ผูที่อาศัยอยูในชนบท เนื่องจากอากาศและน้ํา ที่ปนเปอนเปนแหลงที่สําคัญที่สุดในการสัมผัสกับ 1,2-ไดคลอโรเอทิลีน การรับสัมผัสจากการประกอบอาชีพ • การไดรับ1,2-ไดคลอโรเอทิลีนจากการทํางาน สวนใหญเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมที่ใชสารเคมี เชน อุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมผลิตน้ําหอม แว็กซ สียอม กาว เปนตน ผลกระทบตอสุขภาพ • กลไกความเปนพิษของไตรคลอโรเอทิลีน ไดแก ระบบประสาทสวนกลางและระบบทางเดินหายใจ • กรณีไดรับสารในปริมาณสูงในชวงเวลาสั้น ๆ รูสึก คลื่นไส งวงซึม และเหนื่อยลา หากไดรับในปริมาณ ที่สูงขึ้นอาจทําใหเสียชีวิตได • กรณีไดรับสารในระดับต่ําเปนระยะเวลานาน ทําให จํานวนเม็ดเลือดแดงลดลง และตับทํางานผิดปกติ • ไมมีผลกระทบตอระบบสืบพันธุในมนุษย ผลกระทบตอเด็ก • ผลกระทบตอเด็กที่ไดรับ 1,2-ไดคลอโรเอทิลีน ยังไมเปนที่แนชัด • การรับสัมผัสของมารดาระหวางตั้งครรภ พบวา จะสงผลตอการพัฒนาทารกในครรภดวย 3


การเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดลอม • 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนสามารถถูกปลอยออกสู อากาศ น้ํา และดิน ณ สถานที่ที่ผลิตหรือใชงาน • 1,2-ไ ดค ล อ โ ร เอ ทิ ลี น เ มื่ อ ถูก ป ล ด ป ล อ ย สู บรรยากาศจะเกิดการสลายตัวดวยปฏิกิริยา photochemically-produced hydroxyl radicals มีคาครึ่งชีวิต (Half-life) ประมาณ 5-12 วัน • 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนเมื่อถูกปลอยสูแหลงน้ําผิวดิน จะระเหยอยางรวดเร็ว คาครึ่งชีวิต (Half-life) ในการระเหยสําหรับแมน้ําและทะเลสาบคือ 3 ชั่วโมงและ 4 วัน ตามลําดับ • 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนเมื่อรั่วซึมสูพื้นดิน มีบางสวน ที่ระเหยกลายเปนไอ และบางสวนสามารถซึมลึก ลงสูน้ําใตดิน • 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนที่ถูกพบในน้ําใตดิน จะใชเวลา ในการยอยสลาย 13-48 สัปดาห การกอมะเร็งในมนุษย • U.S. Environmental Protection Agency : EPA จัด 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนไมสามารถระบุไดวา กอใหเกิดมะเร็งในมนุษยไดหรือไม (Class C) • International Agency for Research on Cancer : IARC จัด 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนไมสามารถ ระบุไดวากอใหเกิดมะเร็งในมนุษยไดหรือไม (Class III) • American Cancer Society: ACSจัด 1,2-ไดคลอโร เอทิลีนอาจเปนสาเหตุการกอใหเกิดมะเร็งในมนุษย แนวทางการรักษาพยาบาลเมื่อไดรับสัมผัสกับสาร • การรักษาระยะเฉียบพลัน ในกรณีที่สัมผัสกับสาร ใหลางผิวหนังทันทีดวยสบูและน้ําปริมาณมาก • ยายผูปวยออกมาอยูในที่ที่มีอากาศถายเทสะดวก ประเมินการหายใจของผูปวยวาปกติดีหรือไม ถาหมดสติ ไมหายใจ ใหทําการชวยหายใจ • กรณีไดรับสารพิษเขารางกายปริมาณมากใหรักษา แบบประคับประคอง โดยเฉพาะการเฝาระวัง เกี่ยวกับระดับสัญญาณชีพและระดับความรูสึกตัว • ในรายที่มีอาการมาก ๆ ควรใหนอนรักษา ในโรงพยาบาล ขีดจํากัดการรับสัมผัสในสภาพแวดลอมการทํางาน (ทางการหายใจ) 1 • ความเขมขนของ 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนเฉลี่ย ตลอดระยะเวลาการทํางานปกติ (8 ชั่วโมง) ไมเกิน ขีดจํากัดการรับสัมผัสทางการหายใจแบบเฉียบพลัน 200 2 • ความเขมขนของ 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนในบรรยากาศ ที่ไมกอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพ (ระดับ1) ไมเกิน 140 ppm • ความเขมขนของ 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพไมรายแรง (ระดับ2) ไมเกิน 500 ppm • ความเขมขนของ 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพรายแรง (ระดับ3) ไมเกิน 850 ppm มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม • ความเขมขนของ 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนในดิน เพื่อการ อยูอาศัยไมเกิน 146 mg/Kg • ความเขมขนของ1,2-ไดคลอโรเอทิลีนในดิน เพื่อการคาขาย เกษตรกรรม และกิจการอื่น ๆ ไมเกิน 1,750 mg/Kg • ความเขมขนของ 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนในดิน ภายในโรงงาน ไมเกิน 150 mg/Kg • ความเขมขนของ 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนในน้ําใตดิน ทั่วไป ไมเกิน 70 µg/L • ความเขมขนของ 1,2-ไดคลอโรเอทิลีนในน้ําใตดิน ภายในโรงงาน ไมเกิน 2.0 mg/L (2,000 µg/L) การกําจัด • ในกากอุตสาหกรรม ใหใชวิธีการกําจัดดวยการเผาไหม ที่อุณหภูมิ 650 ถึง 1,600 องศาเซลเซียส เปนระยะเวลา 1-2 วินาทีเชนระบบเตาเผาแบบหมุน (rotary kiln) เตาเผาฟลูอิดไดสเบด (fluidized bed) • ในดินที่ปนเปอน ใหกําจัดโดยวิธีการสกัดสารระเหยงาย ออกจากดิน (Soil Vapor Extraction) โดยอัดอากาศ ลงในชั้นดินบริเวณที่มีทอเจาะรูลงในดิน เพื่อใหอากาศ ไหลผานชั้นดินออกมา เมื่อ 1,2-ไดคลอโรเอทิลีน ระเหยออกจากชั้นดินลอยขึ้นสูงตองทําการบําบัดอากาศ ดวยวิธีดูดซับดวยถานกัมมันต (Activated Carbon) หรือการกรองชีวภาพ (Biofilter) • ในน้ําใตดินที่พบการปนเปอน ใหกําจัดดวยวิธีการไล ดวยอากาศ (Air Stripping) ซึ่งวิธีการจะคลายกันกับในดิน เพียงแตเปนการอัดอากาศลงไปในชั้นน้ําใตดิน อางอิง : Agency for Toxic Substances and Disease Registry (ATSDR) 2007. , U.S. Environmental Protection Agency (USEPA) 2005. หมายเหตุ : 1 ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง ขีดจํากัดความเขมขนของสารเคมีอันตราย 2 ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง คาขีดจํากัดการรับสัมผัสสารเคมีทางการหายใจแบบเฉียบพลัน 4


Ethylbenzene เอทิลเบนซีน (Ethylbenzene) พบไดในธรรมชาติแตสวนใหญที่พบมาจากการนําเบนซีน มาทําปฏิกิริยากับเอทิลีน เปนของเหลวไมมีสีถูกนํามาใชงานในภาคอุตสาหกรรม เชน อุตสาหกรรมปโตรเลียม พลาสติก เปนตน การสูดดมในระดับที่สูงมากอาจทําใหเกิดอาการ วิงเวียนศีรษะ ระคายเคืองคอและตาได การสูดดมระดับที่ต่ํากวาสงผลใหเกิดผลตอการไดยิน เลขทะเบียน CAS Number : 100 – 41 – 4 UN Number : 1175 UN Class : 3 (ของเหลวไวไฟ) UN Guide : 130 (ไมมีขั้ว/ไมละลายน้ํา/กลิ่นเหม็น) คุณสมบัติ สูตรโมเลกุล : C8H10 มวลโมเลกุล : 106.16g/mol จุดเดือด : 136 O C จุดหลอมเหลว : - 95 O C ความหนาแนนไอ : 3.66 ความถวงจําเพาะ : 0.867 ความหนาแนน : 0.867 g/cm3 การละลายน้ํา : 0.17 g/L ขอมูลทั่วไป • เ อ ทิ ล เ บ น ซี น เ ป น ส า ร ป ร ะ ก อ บ อิ น ท รี ย ประกอบดวยคารบอน 6 อะตอม ที่เชื่อมตอกัน เปนวงแหวนระนาบแบบเรโซแนนท (resonance) และมีคารบอน 1 อะตอม จับกับหมูเอทิล (C2H5) สวนที่เหลืออีก 5 อะตอม จับกับไฮโดรเจน 1 อะตอม • เปนของเหลวใส ไมมีสี • มีกลิ่นคลายน้ํามันเบนซิน • ระเหยและติดไฟไดงายที่ความดันบรรยากาศและ อุณหภูมิปกติ ( 1 atm และ 20 o C ) • ไมละลายน้ํา แตเปนตัวทําละลายที่ดี แหลงกําเนิด • ในธรรมชาติ เอทิลเบนซีนจะปลดปลอยออกสู สิ่งแวดลอมจากการระเบิดของภูเขาไฟ ไฟปา น้ํามันรั่วไหลจากแหลงขุดเจาะ การทําเหมืองถานหิน • จากกิจกรรมของมนุษย โรงงานอุตสาหกรรมที่ใช เอทิลเบนซีนเปนสวนหนึ่งของกระบวนการผลิต เชน โรงงานแปรรูปปโตรเลียม โรงไฟฟาถานหิน น อ ก จ า ก นี้อาจถู ก พ บ จาก ห ลุ ม ฝ ง ก ล บ ของเสียอันตราย การใชประโยชนในภาคอุตสาหกรรม • ใชเปนสวนประกอบในอุตสาหกรรมปโตรเลียม (สําหรับน้ํามันเบนซิน) • ใชเปนสวนประกอบของแอสฟลตแนฟทา ยางสังเคราะห สี หมึกพิมพ กาวติดพรม สารเคลือบเงา ผลิตภัณฑยาสูบ ยาฆาแมลง • ใชเปนตัวทําละลายในอุตสาหกรรมพลาสติก เชน การผลิตสไตรีน โพลิเมอรสังเคราะหเปนตน การรับสัมผัสของประชาชนทั่วไป • โดยทั่วไปสามารถสัมผัสกับเอทิลเบนซีนจากการ สูดดมไอเสียจากยานพาหนะ สี หมึกพิมพ สารเคลือบเงา ควันบุหรี่ • การใชน้ําใตดินจากแหลงที่อยูใกลกับโรงกลั่นน้ํามัน โรงงานแปรรูปปโตรเลียม รวมถึงบริเวณถังเก็บน้ําใตดิน ที่มีการรั่วไหล การรับสัมผัสจากการประกอบอาชีพ • ผู ที่ ทํ า ง า น ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ป โ ต ร เ ลี ย ม อุตสาหกรรมที่ใชตัวทําละลาย สี สารเคลือบ และ การผลิตเอทิลเบนซีนและสไตรีน • อาชีพอื่น ๆ เชน คนงานเคลือบเงา ชางพนสี บุคคลที่เกี่ยวของในการปฏิบัติงานติดกาว ผลกระทบตอสุขภาพ • กลไกความเปนพิษของเอทิลเบนซีนจะสงผล โดยตรงตอระบบประสาทสวนกลาง • เอทิลเบนซีนสามารถเขาสูรางกายไดทั้งจากการ หายใจ ระบบทางเดินอาหาร และทางผิวหนัง • กรณีไดรับในปริมาณนอยและระยะเวลาสั้น ๆ จะทําใหตา จมูก และคอเกิดการระคายเคือง • กรณีไดรับในปริมาณสูงและระยะเวลาสั้น ๆ ทําใหเวียนศีรษะ หนามืด หรือหมดสติได และใน ระดับที่สูงมากอาจทําใหเปนอัมพาต หายใจ ลําบาก และเสียชีวิตได 5


การเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดลอม • เอทิลเบนซีนสามารถรั่วไหลออกสูอากาศ น้ํา และ ดิน ณ สถานที่ที่ผลิตหรือใชงาน • เอทิลเบนซีนเมื่อถูกปลดปลอยสูบรรยากาศ จะเกิดการสลายตัวอยางรวดเร็วในอากาศ ดวยปฏิกิริยา photochemically-produced hydroxyl radicals มีคาครึ่งชีวิต (Half-life) ประมาณ 1-2 วัน • เอทิลเบนซีนเมื่อถูกปลอยสูแหลงน้ําผิวดิน สวนใหญจะระเหยไป สวนที่เหลืออยูจะถูกยอย ส ล า ย ด วยกระบวนการโ ฟ โ ต อ อ ก ซิ เ ด ชั น (Photooxidation) และการยอยสลายทางชีวภาพ (Biodegradation) • เอทิลเบนซีนเมื่อรั่วซึมสูพื้นดิน สวนใหญจะถูกยอย สลายดวยแบคทีเรียในดิน และบางสวนสามารถ ซึมลงในน้ําใตดิน • เอทิลเบนซีนไมสะสมในหวงโซอาหาร ผลกระทบตอเด็ก • ยังไมมีการศึกษาการประเมินผลกระทบของ เอทิลเบนซีนในเด็ก แตมีแนวโนมวาอาจจะ มีผลกระทบเชนเดียวกับผูใหญ การกอมะเร็งในมนุษย • U.S. Environmental Protection Agency : EPA จัดเอทิลเบนซีนนาจะไมเปนสารกอใหเกิดมะเร็ง ในมนุษย (Class D) • International Agency for Research on Cancer : IARC จัดเอทิลเบนซีนอาจเปนสาร กอใหเกิดมะเร็งในมนุษย (Class IIB) แนวทางการรักษาพยาบาลเมื่อไดรับสัมผัสกับสาร • กรณีไดรับทางการกินไมควรกระตุนใหอาเจียน พิจารณาการลางทอง (Gastric lavage) หากมาภายใน 1 ชั่วโมงหลังกลืนกินสาร และใหผงถานกัมมันต (Activated Charcoal) ได • กรณีไดรับทางการหายใจควรนําผูปวยออกมาในที่ อากาศบริสุทธิ์ ใหออกซิเจนโดยใชเครื่องชวยหายใจ และติดตามระดับออกซิเจนในเลือด • หากสัมผัสทางตา ควรลางดวยน้ําสะอาดมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และพบจักษุแพทย • หากสัมผัสทางผิวหนังควรลางดวยน้ําสะอาดมาก ๆ และนําเสื้อผาที่เปอนสารออก ขีดจํากัดการรับสัมผัสในสภาพแวดลอมการทํางาน (ทางการหายใจ) 1 • ความเขมขนของเอทิลเบนซีนเฉลี่ยตลอดระยะเวลา ขีดจํากัดการรับสัมผัสทางการหายใจแบบเฉียบพลัน 2 • ความเขมขนของเอทิลเบนซีนในบรรยากาศ ที่ไมกอใหเกิด ผลกระทบตอสุขภาพ (ระดับ1) ไมเกิน 33 ppm • ความเขมขนของเอทิลเบนซีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิด ผลกระทบตอสุขภาพไมรายแรง(ระดับ2) ไมเกิน 1,100 ppm • ความเขมขนของเอทิลเบนซีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิด ผลกระทบตอสุขภาพรายแรง (ระดับ3) ไมเกิน 1,800 ppm มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม • ความเขมขนของเอทิลเบนซีนในดิน เพื่อการ อยูอาศัย ไมเกิน 3,265 mg/Kg • ความเขมขนของเอทิลเบนซีนในดิน เพื่อการคาขาย เกษตรกรรม และกิจการอื่น ๆ ไมเกิน 19,350 mg/Kg • ความเขมขนของเอทิลเบนซีนในดินภายในโรงงาน ไมเกิน 230 mg/Kg • ความเขมขนของเอทิลเบนซีนในน้ําใตดินทั่วไป ไมเกิน 700 µg/L • คว า ม เ ข ม ขน ข อ งเ อ ทิล เ บ น ซี น ใน น้ํ า ใ ต ดิ น ภายในโรงงาน ไมเกิน 2.0 mg/L (2,000 µg/L) การกําจัด • ในกากอุตสาหกรรม ใหใชวิธีการกําจัดดวยการเผาไหม ที่อุณหภูมิ 650 ถึง 1,600 องศาเซลเซียส เชน ระบบ เตาเผาแบบหมุน (rotary kiln) เตาเผาฟลูอิดไดสเบด (fluidized bed) โดยระยะเวลา 0.1- 2 วินาที สําหรับกาซและของเหลว และระยะเวลา 1 ชั่วโมง สําหรับของแข็ง เถาที่เหลือนําไปฝงกลบยังหลุมฝงกลบ แบบปลอดภัย (secure landfill) • ในดินที่ปนเปอน ใหกําจัดโดยวิธีการสกัดสารระเหยงาย ออกจากดิน (Soil Vapor Extraction) โดยอัดอากาศ ลงในชั้นดินบริเวณที่มีทอเจาะรูลงในดิน เพื่อให อากาศไหลผานชั้นดินออกมา เมื่อเอทิลเบนซีนได ระเหยออกจากชั้นดินลอยขึ้นสูงตองทําการบําบัด อากาศดวยวิธีดูดซับดวยถานกัมมันต (Activated Carbon) หรือการกรองชีวภาพ (Biofilter) • ในน้ําใตดินที่ปนเปอน ใหกําจัดโดยวิธีการไล ดวยอากาศ (Air Stripping) ซึ่งวิธีการจะคลายกับในดิน เพียงแตเปนการอัดอากาศลงไปในชั้นน้ําใตดิน อางอิง : Agency for Toxic Substances and Disease Registry (ATSDR) 2007. , U.S. Environmental Protection Agency (USEPA) 2005. หมายเหตุ : 1 ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง ขีดจํากัดความเขมขนของสารเคมีอันตราย 2 ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง คาขีดจํากัดการรับสัมผัสสารเคมีทางการหายใจแบบเฉียบพลัน 6


Tetrachloroethylene (PCE) เตตระคลอโรเอทิลีน (PCE) เปนสารเคมีที่ถูกสังเคราะหขึ้นผานกระบวนการสี่ขั้นตอน โดยใช อะเซทิลีนและคลอรีนเปนสารตั้งตน เพื่อใชเปนตัวทําละลายในการซักแหง แปรรูปสิ่งทอ และการขจัดคราบไขมันในการความสะอาดโลหะ การไดรับสารดังกลาวที่มีความเขมขนสูงมาก ทําใหเกิดอาการเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ งวงนอน สับสน คลื่นไสหมดสติ และอาจถึงแกชีวิต เลขทะเบียน CAS Number : 127 –18 – 4 UN Number : 1897 UN Class : 6.1 (สารพิษ) UN Guide : 160 (สารละลายฮาโลเจน) คุณสมบัติ สูตรโมเลกุล : C2Cl4 มวลโมเลกุล : 165.8g/mol จุดเดือด : 121.2 O C จุดหลอมเหลว : - 22.2 O C ความหนาแนนไอ : 5.83 ความถวงจําเพาะ : 1.62 ความหนาแนน : 1.62 g/cm3 การละลายน้ํา : 0.206 g/L ขอมูลทั่วไป • เตตระคลอโรเอทิลีนเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน ที่ไมอิ่มตัว กลุมอัลคีน(Alkene) โดยมีพันธะคูจับกัน ระหวางคารบอน 2 อะตอม และคารบอนแตละตัวจับ กับคลอรีน 2 อะตอม ทําใหโครงสรางสมมาตรและ มีความเสถียรสูง • เปนของเหลวใส ไมมีสี ไมติดไฟ • มีกลิ่นหวานคลายอีเทอรสามารถไดกลิ่นเมื่ออยูใน อากาศที่ระดับความเขมขน 1 ppm หรือมากกวา • ไมละลายน้ํา แตเปนตัวทําละลายที่ดี แหลงกําเนิด • ในธรรมชาติ จะไมพบเตตระคลอโรเอทิลีน • จากกิจกรรมของมนุษย เตตระคลอโรเอทิลีน ถูกสังเคราะหขึ้นเพื่อใชงานในภาคอุตสาหกรรม โดยใชอะเซทิลีนและคลอรีนเปนสารตั้งตน การใชประโยชนในภาคอุตสาหกรรม • ใชเปนตัวทําละลายไขมัน จาระบี ไข และน้ํามัน ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ • ใชในการกําจัดสิ่งสกปรกออกจากเนื้อผาหลังการทอ ผา • ใชในการทําความสะอาดชิ้นสวนโลหะที่ปนเปอนและ วัสดุประดิษฐอื่น ๆ • ขจัดเขมาจากหมอไอน้ําอุตสาหกรรม • อุตสาหกรรมที่ใชเตตระคลอโรเอทิลีนในการผลิต เชน โรงงานซักแหง อุตสาหกรรมเคมีผูผลิตยาง การผลิตอุปกรณหนัก (ลางไขมัน) โรงงานชุบดวยไฟฟา (ลางไขมัน) การผลิตเยื่อและกระดาษ เปนตน การรับสัมผัสของประชาชนทั่วไป • ผูที่อาศัยอยูใกลบริเวณโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช เตตระคลอโรเอทิลีนหรือสถานที่ซักแหงจะมีโอกาส ไดรับสัมผัสมากกวาประชาชนทั่วไป • อาจตรวจพบเตตระคลอโรเอทิลีนในน้ําดื่ม จากแหลงน้ําใตดินที่ปนเปอน การรับสัมผัสจากการประกอบอาชีพ • การไดรับเตตระคลอโรเอทิลีนจากการทํางาน สวนใหญเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมที่ใชสารเคมี เชน โรงงานซักแหง และในอุตสาหกรรมการผลิต สารเคมีเชน ผลิตภัณฑขจัดคราบโลหะ ผลกระทบตอสุขภาพ • กลไกความเปนพิษของเตตระคลอโรเอทิลีน ไดแก ระบบประสาทสวนกลาง ไต ตับ ระบบสืบพันธุ และทารกในครรภที่กําลังพัฒนา • กรณีไดรับในปริมาณสูงในชวงเวลาสั้น ๆ อาจทําให เกิดอาการวิงเวียนศีรษะหรืองวงนอน ปวดศีรษะ และรางกายไมประสานกัน ถาไดรับในปริมาณ ที่สูงขึ้นอีกอาจทําใหหมดสติและเสียชีวิตได • กรณีไดรับสารเตตระคลอโรเอทิลีนในระดับต่ํา เปนระยะเวลานานอาจทําใหอารมณ ความจํา ความสนใจ เวลาตอบสนอง และการมองเห็น เปลี่ยนแปลงไป ผลกระทบตอเด็ก • เด็กที่สัมผัสกับเตตระคลอโรเอทิลีนคาดวา จะไดรับผลกระทบคลายกับที่พบในผูใหญ • เตตระคลอโรเอทิลีนถูกตรวจพบในนมแพะ ซึ่งบงชี้วาสามารถถายทอดไดโดยการใหนมลูก • การรับสัมผัสของมารดาระหวางตั้งครรภ พบวา เมื่อทารกคลอดออกมาจะมีพัฒนาการที่ผิดปกติ 7


การเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดลอม • เตตระคลอโรเอทิลีนสามารถถูกปลอยออกสู อากาศ น้ํา และดิน ณ สถานที่ที่ผลิตหรือใชงาน • เตตระคลอโรเอทิลีนเมื่อถูกปลดปลอยสูบรรยากาศ จะสลายตัวในอากาศไดชามากดวยปฏิกิริยา photochemically-produced hydroxyl radicals มีคาครึ่งชีวิต (Half-Life) ประมาณ 96 วัน ดังนั้น สามารถแพรกระจายไปไดไกล • เตตระคลอโรเอทิลีนเมื่อถูกปลอยสูแหลงน้ําผิวดิน จะระเหยอยางรวดเร็ว เนื่องจากความสามารถ ในการละลายน้ําต่ํามาก • เตตระคลอโรเอทิลีนเมื่อรั่วซึมสูพื้นดิน ถาผิวดิน เปนดินรวนปนทรายและดินชั้นมีสารอินทรีย พบวา คาครึ่งชีวิต (Half-Life) ของการระเหยคือ 1.2-5.4 และ 1.9-5.2 ชั่วโมง ตามลําดับ • เนื่องจากจับตัวกับดินไดไมดี เตตระคลอโรเอทิลีน ที่ไหลลงสูดิน (สวนที่ไมระเหย) จะเคลื่อนที่ผาน พื้นดินและเขาสูน้ําใตดิน การกอมะเร็งในมนุษย • U.S. Environmental Protection Agency : EPA จัดเตตระคลอโรเอทิลีนนาจะเปนสารกอใหเกิด มะเร็งในมนุษย(Class B1) • International Agency for Research on Cancer : IARC จัดเตตระคลอโรเอทิลีนนาจะ เปนสารกอใหเกิดมะเร็งในมนุษย(Class IIA) • US Department of Health and Human Services : DHHS จัดเตตระคลอโรเอทิลีนเปนสาร กอใหเกิดมะเร็งในมนุษย แนวทางการรักษาพยาบาลเมื่อไดรับสัมผัสกับสาร • การรักษาระยะเฉียบพลัน ในกรณีที่สัมผัสกับสาร ใหลางผิวหนังทันที(decontamination) ดวยสบู และน้ําปริมาณมาก • ผูปวยที่รับสัมผัสเตตระคลอโรเอทิลินในโดยการ รับประทาน ตองไดรับการลางทองและใชผงถานกัมมันต (Activated charcoal) ในการดูดซับความเปนพิษ • ในกรณีไดรับสารพิษเขารางกายปริมาณมากให รักษาแบบประคับประคอง โดยเฉพาะการเฝาระวัง เกี่ยวกับระดับสัญญาณชีพและระดับความรูสึกตัว ขีดจํากัดการรับสัมผัสในสภาพแวดลอมการทํางาน (ทางการหายใจ) 1 • ความเขมขนของเตตระคลอโรเอทิลีนเฉลี่ย ตลอดระยะเวลาการทํางานปกติ (8 ชั่วโมง) ไมเกิน 100 ppm • ความเขมขนของเตตระคลอโรเอทิลีนสําหรับ การสัมผัสในระยะเวลาสั้น ๆ (5 นาที ใน 3 ชั่วโมง) ไมเกิน 300 ppm • ความเขมขนของเตตระคลอโรเอทิลีนที่อันตราย ขีดจํากัดการรับสัมผัสทางการหายใจแบบเฉียบพลัน 2 • ความเขมขนของเตตระคลอโรเอทิลีนในบรรยากาศ ที่ไมกอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพ (ระดับ1) ไมเกิน 35 ppm • ความเขมขนของเตตระคลอโรเอทิลีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพไมรายแรง (ระดับ2) ไมเกิน 230 ppm • ความเขมขนของเตตระคลอโรเอทิลีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพรายแรง (ระดับ3) ไมเกิน 1,200 ppm มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม • ความเขมขนเตตระคลอโรเอทิลีนในบรรยากาศ โดยทั่วไปในเวลา 1 ป ไมเกิน 200 µg/m3 • ความเขมขนเตตระคลอโรเอทิลีนในบรรยากาศ โดยทั่วไปในเวลา 24 ชั่วโมง ไมเกิน 400 µg/m3 • ความเขมขนของเตตระคลอโรเอทิลีนในดิน เพื่อการอยูอาศัยไมเกิน 80 mg/Kg • ความเขมขนของเตตระคลอโรเอทิลีนในดิน เพื่อการคาขาย เกษตรกรรม และกิจการอื่น ๆ ไมเกิน 382 mg/Kg • ความเขมขนของเตตระคลอโรเอทิลีนในดิน ภายในโรงงาน ไมเกิน 190 mg/Kg • ความเขมขนของเตตระคลอโรเอทิลีนในน้ําใตดิน ทั่วไป ไมเกิน 5 µg/L • ความเขมขนของเตตระคลอโรเอทิลีนในน้ําใตดิน ภายในโรงงาน ไมเกิน 0.9 mg/L (900 µg/L) การกําจัด • การนํากลับมาใชใหม (Reuse) และการรีไซเคิล (Recycle) เตตระคลอโรเอทิลีน • เมื่อเกิดการรั่วไหลใหใชวัสดุดูดซับแลวไปฝงกลบ ยังหลุมฝงกลบแบบปลอดภัย (secure landfill) อางอิง : Agency for Toxic Substances and Disease Registry (ATSDR) 2007. , U.S. Environmental Protection Agency (USEPA) 2005. หมายเหตุ : 1 ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง ขีดจํากัดความเขมขนของสารเคมีอันตราย 2 ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง คาขีดจํากัดการรับสัมผัสสารเคมีทางการหายใจแบบเฉียบพลัน 8


Toluene โทลูอีน (Toluene) พบไดในธรรมชาติ แตสวนใหญที่พบมาจากผลพลอยไดจากอุตสาหกรรม ปโตรเลียมและถานหิน การนํามาใชงานเปนตัวทําละลายในภาคอุตสาหกรรม การผลิตวัตถุระเบิด สียอม น้ํายาเคลือบเงา ใชผสมในน้ํามันเชื้อเพลิง เปนตน การสูดดมทําใหมีอาการ ออนเพลีย มึนงง ปวดศรีษะ หมดสติ และอาจเสียชีวิตไดเมื่อไดรับเปนเวลานาน เลขทะเบียน CAS Number : 108 – 88 – 3 UN Number : 1294 UN Class : 3 (ของเหลวไวไฟ) UN Guide : 130 (ไมมีขั้ว/ไมละลายน้ํา/กลิ่นเหม็น) คุณสมบัติ สูตรโมเลกุล : C7H8 มวลโมเลกุล : 92.13 g/mol จุดเดือด : 110.6 O C จุดหลอมเหลว : - 9 O C ความหนาแนนไอ : 3.2 ความถวงจําเพาะ : 0.868 ความหนาแนน : 0.868 g/cm3 การละลายน้ํา : 0.8 g/L ขอมูลทั่วไป • โทลูอีนเปนสารประกอบอินทรีย ประกอบดวย คารบอน 6 อะตอม ที่เชื่อมตอกันเปนวงแหวน ระนาบแบบเรโซแนนท (resonance) และ มีคารบอน 1 อะตอม จับกับหมูเมทิล (CH3) สวน ที่เหลืออีก 5 อะตอม จับกับไฮโดรเจน 1 อะตอม • เปนของเหลวใส ไมมีสี • มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว คลายกับเบนซีน • ระเหยและติดไฟไดงายที่ความดันบรรยากาศและ อุณหภูมิปกติ( 1 atm และ 20 o C ) • ละลายน้ําไดเล็กนอยแตเปนตัวทําละลายที่ดีมาก แหลงกําเนิด • ในธรรมชาติโทลูอีนจะปลดปลอยออกสู สิ่งแวดลอมจากการระเบิดของภูเขาไฟ ไฟปา น้ํามันรั่วไหลจากแหลงขุดเจาะ • จากกิจกรรมของมนุษย โทลูอีนเปนผลพลอยได จากการเรงปฏิกิริยารีฟอรมมิง (Reforming reaction) ของโรงกลั่นปโตรเลียม การผลิตถาน โคกจากถานหิน การผลิตสไตรีน การใชประโยชนในภาคอุตสาหกรรม • ใชเปนสวนประกอบในอุตสาหกรรมปโตรเลียม (สําหรับน้ํามันเบนซิน) • ใชเปนสวนผสมในการผลิตวัตถุระเบิด • ใชเปนสารตั้งตนในการผลิตสารเคมีอื่น ๆ • ใชเปนตัวทําละลายในสี สารเคลือบเงา เรซิน ยาง • ใชในกระบวนการพิมพและการฟอกหนังบางชนิด การรับสัมผัสของประชาชนทั่วไป • โดยทั่วไปจะไดรับโทลูอีนในปริมาณเล็กนอย จากการสูดดมไอเสียจากยานพาหนะ • ไอระเหย (หรือกาซ) จากผลิตภัณฑที่มีโทลูอีน เชน สี สารเคลือบเงา น้ํามันเชื้อเพลิง เปนตน การรับสัมผัสจากการประกอบอาชีพ • ในทางอุตสาหกรรมโทลูอีนสวนใหญจะถูกใชใน กระบวนการผลิตที่เปนระบบปด ซึ่งผูปฏิบัติงาน จะไมสามารถสัมผัสได หรือถาหากสัมผัส ก็สามารถควบคุมได • การสัมผัสกับโทลูอีนจะเกิดขึ้นไดจากการเคลื่อนยาย ผลิตภัณฑ การสุมตัวอยางผลิตภัณฑขึ้นมาตรวจสอบ และการปดระบบเพื่อบํารุงรักษา/ซอมแซม • อาชีพที่มีความเสี่ยงรับสัมผัสมากที่สุด ไดแก การพิมพและการฟอกหนัง ผลกระทบตอสุขภาพ • กลไกความเปนพิษของโทลูอีนจะสงผลโดยตรง ตอระบบประสาทสวนกลาง • กรณีไดรับสัมผัสในปริมาณต่ํา (รับประทานหรือ สูดดม) จะทําใหเกิดอาการ ปวดหัว เวียนศีรษะ ออนเพลีย สับสน มีอาการคลายคนเมาเหลา ความจําเสื่อม คลื่นไส และเบื่ออาหาร • กรณีไดรับสัมผัสในปริมาณสูง (รับประทานหรือ สูดดม) และเปนระยะเวลานาน สงผลใหสูญเสีย การไดยินและการมองเห็นสีลดลง การสูดดม โทลูอีนซ้ํา ๆ อาจสงผลกระทบทําใหสมอง เสียหายอยางถาวรได 9


การเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดลอม • โทลูอีนสามารถรั่วไหลออกสูอากาศ น้ํา และดิน ณ สถานที่ที่ผลิตหรือใชงาน • โทลูอีนเมื่อถูกปลดปลอยสูบรรยากาศจะอยูเปนไอ ในบรรยากาศโดยรอบที่ความดันไอปานกลาง และ จะสลายตัวอยางรวดเร็วในอากาศ ดวยปฏิกิริยา photochemically-produced hydroxyl radicals มีคาครึ่งชีวิต (Half-life) ประมาณ 2 วัน • โทลูอีนเมื่อถูกปลอยสูแหลงน้ําผิวดิน จะถูกยอย สลายทางชีวภาพอยางรวดเร็ว โดยมีคาครึ่งชีวิตที่ 4 และ 56 วัน ในน้ําที่มีออกซิเจนและไมมี ออกซิเจน ตามลําดับ • โทลูอีนเมื่อรั่วซึมลงสูพื้นดินจะไมระเหย และ เคลื่อนที่ผานพื้นดินและลงสูน้ําใตดิน • โทลูอีนไมสะสมในพืชหรือสัตว ผลกระทบตอเด็ก • พบความผิดปกติของระบบประสาทสวนกลาง สมาธิสั้น และมีภาวะเลือดเปนกรดในทอไตชั่วคราว • เด็กที่คลอดออกมาจะพิการแตกําเนิด มีความ ผิดปกติของกะโหลกศีรษะและแขนขาเล็กนอย รวมถึ งความบกพร องทางสติ ป ญญาและ การเจริญเติบโต การกอมะเร็งในมนุษย • U.S. Environmental Protection Agency : EPA จัดโทลูอีนวามีขอมูลไมเพียงพอที่จะประเมิน ศักยภาพในการกอใหเกิดมะเร็ง • International Agency for Research on Cancer : IARC จัดโทลูอีนไมไดถูกจําแนกเปนสาร กอใหเกิดมะเร็งในมนุษย(Class IV) • US Department of Health and Human Services (DHHS) ระบุวาไมไดมีประเมินการกอ มะเร็ง (ความสามารถในการกอมะเร็ง) ของโทลูอีน แนวทางการรักษาพยาบาลเมื่อไดรับสัมผัสกับสาร • การรัก ษาระย ะเฉีย บพลัน ทําการ ลางตั ว (decontamination) ทั้งที่จุดเกิดเหตุและที่โรงพยาบาล • ดูสัญญาณชีพ ใหออกซิเจนเสริม ใสทอชวยหายใจ ถาหยุดหายใจ • ตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจอยางรวดเร็ว ใหการรักษา ถามีหัวใจเตนผิดจังหวะ • สังเกตอาการปอดบวมน้ํา รักษาตามอาการ ขีดจํากัดการรับสัมผัสในสภาพแวดลอมการทํางาน (ทางการหายใจ) 1 • ความเขมขนของโทลูอีนเฉลี่ยตลอดระยะเวลา การทํางานปกติ (8 ชั่วโมง) ไมเกิน 200 ppm • ความเขมขนของโทลูอีนสําหรับการสัมผัส ขีดจํากัดการรับสัมผัสทางการหายใจแบบเฉียบพลัน 2 • ความเขมขนของโทลูอีนในบรรยากาศ ที่ไมกอใหเกิด ผลกระทบตอสุขภาพ (ระดับ1) ไมเกิน 67 ppm • ความเขมขนของโทลูอีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิด ผลกระทบตอสุขภาพไมรายแรง(ระดับ2) ไมเกิน 560 ppm • ความเขมขนของโทลูอีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิด ผลกระทบตอสุขภาพรายแรง (ระดับ3) ไมเกิน 3,700 ppm มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม • ความเขมขนของโทลูอีนในดิน เพื่อการอยูอาศัย ไมเกิน 4,630 mg/Kg • ความเขมขนของโทลูอีนในดิน เพื่อการคาขาย เกษตรกรรม และกิจการอื่น ๆ ไมเกิน 40,140 mg/Kg • ความเขมขนของโทลูอีนในดินภายในโรงงาน ไมเกิน 520 mg/Kg • ความเขมขนของโทลูอีนในน้ําใตดินทั่วไป ไมเกิน 1,000 µg/L • ความเขมขนของโทลูอีนในน้ําใตดินภายในโรงงาน ไมเกิน 5 mg/L (5,000 µg/L) การกําจัด • ในกากอุตสาหกรรมใหใชวิธีการกําจัดดวยการเผาไหม ที่อุณหภูมิ 650 ถึง 1,600 องศาเซลเซียส เปนระยะเวลา 1-2 วินาทีเชนระบบ เตาเผาแบบหมุน (rotary kiln) เตาเผาฟลูอิดไดสเบด(fluidized bed) และเถาที่เหลือนําไปฝงกลบยังหลุมฝงกลบ แบบปลอดภัย (secure landfill) • ในดินที่ปนเปอน ใหกําจัดโดยวิธีการสกัดสารระเหยงาย ออกจากดิน (Soil Vapor Extraction) โดยอัดอากาศ ลงในชั้นดินบริเวณที่มีทอเจาะรูลงในดิน เพื่อให อากาศไหลผานชั้นดินออกมา เมื่อโทลูอีนไดระเหย ออกจากชั้นดินลอยขึ้นสูงตองทําการบําบัดอากาศ ดวยวิธีดูดซับดวยถานกัมมันต (Activated Carbon) หรือการกรองชีวภาพ (Biofilter) • ในน้ําใตดินที่ปนเปอน ใหกําจัดโดยวิธีการไลดวย อากาศ (Air Stripping) ซึ่งวิธีการกําจัดจะคลายกับในดิน เพียงแตเปนการอัดอากาศลงไปในชั้นน้ําใตดิน อางอิง : Agency for Toxic Substances and Disease Registry (ATSDR) 2007. , U.S. Environmental Protection Agency (USEPA) 2005. หมายเหตุ : 1 ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง ขีดจํากัดความเขมขนของสารเคมีอันตราย 2 ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง คาขีดจํากัดการรับสัมผัสสารเคมีทางการหายใจแบบเฉียบพลัน 10


Trichloroethylene (TCE) ไตรคลอโรเอทิลีน(TCE) ถูกสังเคราะหขึ้นโดยใชเอธิลีนไดคลอไรดผานกระบวนการออกซีคลอริเนชัน แบบขั้นตอนเดียว ไดเปนไตรคลอโรเอทิลีน มักถูกใชเปนตัวทําละลายสําหรับทําความสะอาด ชิ้นสวนโลหะ การไดรับสารไตรคลอโรเอทิลีนที่มีความเขมขนสูงมากอาจทําใหเกิดอาการเวียน ศีรษะ ปวดศีรษะ งวงนอน การทํางานไมประสานกัน สับสน คลื่นไส หมดสติ และอาจถึงแก เลขทะเบียน CAS Number : 79 – 01 – 6 UN Number : 1710 UN Class : 6.1 (สารพิษ) UN Guide : 160 (สารละลายฮาโลเจน) คุณสมบัติ สูตรโมเลกุล : C2HCl3 มวลโมเลกุล : 131.4g/mol จุดเดือด : 87.2 O C จุดหลอมเหลว : - 84.7 O C ความหนาแนนไอ : 4.53 ความถวงจําเพาะ : 1.46 ความหนาแนน : 1.46 g/cm3 การละลายน้ํา : 1.280 g/L ขอมูลทั่วไป • ไตรคลอโรเอทิลีนเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน ที่ไมอิ่มตัว กลุมอัลคีน (Alkene) โดยมีพันธะคูจับกัน ระหวางคารบอน 2 อะตอม โดยคารบอน 1 ตัวจับกับ คลอรีน 2 อะตอม และคารบอนอีก 1 ตัวจับกับ คลอรีนและไฮโดรเจนอยางละ 1 อะตอม • เปนของเหลวใส ไมมีสี ไมติดไฟ • มีกลิ่นหอมหวานคลายคลอโรฟอรม • ละลายน้ําไดเล็กนอย แตเปนตัวทําละลายที่ดี แหลงกําเนิด • ในธรรมชาติ จะไมพบไตรคลอโรเอทิลีน • จากกิจกรรมของมนุษย ไตรคลอโรเอทิลีน ถูกสังเคราะหขึ้นเพื่อใชงานในภาคอุตสาหกรรม โดยใชเอธิลีนไดคลอไรด ผานกระบวนการ ออกซีคลอริเนชันแบบขั้นตอนเดียว การใชประโยชนในภาคอุตสาหกรรม • ใชเปนตัวทําละลายในการยอมและตกแตงสําเร็จแบบ ไมใชน้ํารวมถึงทําความสะอาดผาฝาย ผาขนสัตว และ ผาอื่น ๆในอุตสาหกรรมสิ่งทอ • ใชเปนตัวทําละลายในการสกัดจาระบี น้ํามัน ไขมัน ไข แ ละน้ํามันดิน ออกจากโลหะ ในอุตสาหกรรมยานยนตและโลหะ • ใชเปนสวนประกอบของตัวทําละลายผสมในการผลิต กาว สารหลอลื่น สี สารเคลือบเงา น้ํายาลอกสี เนื่องจากเปนตัวทําละลายที่ดี • ใชเปนตัวกลางในการผลิตโพลีไวนิลคลอไรด (PVC) • อุตสาหกรรมที่ใชไตรคลอโรเอทิลีนในการผลิต เชน อุตสาหกรรมยานยนต โลหะ แปรรูปสิ่งทอ สถานที่ซักอบแหง เปนตน การรับสัมผัสของประชาชนทั่วไป • ผูที่อาศัยอยูใกลโรงงานอุตสาหกรรม หรือหลุมฝง กลบขยะอันตราย มีโอกาสสัมผัสอากาศและน้ํา ที่ปนเปอน • การใชผลิตภัณฑที่มีไตรคลอโรเอทิลีนเปน สวนประกอบ เชน สารเคลือบเงา กาว น้ํายาลบ คําผิด น้ํายาลอกสี น้ํายาทําความสะอาดเปนตน การรับสัมผัสจากการประกอบอาชีพ • การไดรับไตรคลอโรเอทิลีนจากการทํางาน สวนใหญเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมที่ใชสารเคมี เชน อุตสาหกรรมการผลิตสารเคมีอุตสาหกรรมยานต และโลหะ โรงงานซักแหง เปนตน ผลกระทบตอสุขภาพ • กลไกความเปนพิษของไตรคลอโรเอทิลีน ไดแก ระบบประสาทสวนกลาง ไต ตับ และระบบ ภูมิคุมกัน • กรณีไดรับในปริมาณสูงในชวงเวลาสั้น ๆ จะเกิด ปญหาเกี่ยวกับหัวใจ เสนประสาทและตับถูก ทําลายและเสียชีวิตได • กรณีไดรับสารเตตระคลอโรเอทิลีนในระดับต่ํา เปนระยะเวลานาน จะเกิดการระคายเคืองเล็กนอย ตอตา จมูก และคอ มีอาการคลื่นไส ระคายเคือง ตอระบบทางเดินหายใจ เปนพิษตอไต และกด ผลกระทบตอเด็ก • เด็กที่สัมผัสกับไตรคลอโรเอทิลีนคาดวาจะไดรับ ผลกระทบคลายกับที่พบในผูใหญ • ไตรคลอโรเอทิลีนถูกตรวจพบในน้ํานมแม ซึ่งบงชี้วาสามารถถายโอนไดโดยการใหนมลูก • การรับสัมผัสของมารดาระหวางตั้งครรภในระดับ ที่สงผลกระทบตอรางกาย พบวาจะสงผลตอการ พัฒนาทารกในครรภดวย 11


การเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดลอม • ไตรคลอโรเอทิลีนสามารถถูกปลอยออกสูอากาศ น้ํา และดิน ณ สถานที่ที่ผลิตหรือใชงาน • ไตรคลอโรเอทิลีนเมื่อถูกปลดปลอยสูบรรยากาศ จะสลายตัวโดยปฏิกิริยา photochemically-produced hydroxyl radicals มีคาครึ่งชีวิต (Half-life) ประมาณ 7 วัน และสามารถจับกับฝนแลวตกลงมาสูพื้นผิวดินได • ไตรคลอโรเอทิลีนเมื่อถูกปลอยสูแหลงน้ําผิวดิน จะระเหยอยางรวดเร็ว คาครึ่งชีวิต (Half-life) ในการระเหยโดยประมาณสําหรับแมน้ําและ ทะเลสาบ 3.5 ชั่วโมง และ 4.6 วัน ตามลําดับ • ไตรคลอโรเอทิลีนเมื่อรั่วซึมสูพื้นดิน จะมีบางสวน ที่ระเหยไปในอากาศและบางสวนสามารถซึมลึกลงสู น้ําใตดิน สวนที่ตกคางในดินจะเกิดการยอยสลาย ทางชีวภาพแบบไมใชอากาศ มีคาครึ่งชีวิต(Half-life) อยูที่ 0.14 –3.3 ป การกอมะเร็งในมนุษย • U.S. Environmental Protection Agency : EPA จัดไตรคลอโรเอทิลีนเปนสารกอใหเกิดมะเร็ง ในมนุษย(Class A) • International Agency for Research on Cancer : IARC จัดไตรคลอโรเอทิลีนเปนสาร กอใหเกิดมะเร็งในมนุษย(Class I) • The National Toxicology Program : NTP จัดไตรคลอโรเอทิลีนเปนสารกอใหเกิดมะเร็งในมนุษย แนวทางการรักษาพยาบาลเมื่อไดรับสัมผัสกับสาร • การรักษาระยะเฉียบพลัน ในกรณีที่สัมผัสกับสาร ใหลางผิวหนังทันที (decontamination) ดวยสบู และน้ําปริมาณมาก • ประเมินการหายใจของผูปวยวาปกติดีหรือไม ถาหมดสติ ไมหายใจ ใหใสทอชวยหายใจ และทํา การชวยหายใจ • ในกรณีไดรับสารพิษเขารางกายปริมาณมากให รักษาแบบประคับประคอง โดยเฉพาะการเฝาระวัง เกี่ยวกับระดับสัญญาณชีพและระดับความรูสึกตัว • ในรายที่มีอาการมากๆ ควรใหนอนโรงพยาบาล ขีดจํากัดการรับสัมผัสในสภาพแวดลอมการทํางาน (ทางการหายใจ) 1 • ค ว า ม เ ข ม ข น ข อ ง ไ ต รค ล อ โ ร เ อ ทิ ลี น เ ฉ ลี่ ย ตลอดระยะเวลาการทํางานปกติ (8 ชั่วโมง) ไมเกิน 100 ppm • ความเขมขนของไตรคลอโรเอทิลีนสําหรับการสัมผัส ในระยะเวลาสั้น ๆ (5 นาที ใน 2 ชั่วโมง) ไมเกิน 300 ppm • ความเขมขนของไตรคลอโรเอทิลีนที่อันตรายสงสด ขีดจํากัดการรับสัมผัสทางการหายใจแบบเฉียบพลัน 2 • ความเขมขนของไตรคลอโรเอทิลีนในบรรยากาศ ที่ไมกอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพ (ระดับ1) ไมเกิน 130 ppm • ความเขมขนของไตรคลอโรเอทิลีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพไมรายแรง (ระดับ2) ไมเกิน 450 ppm • ความเขมขนของไตรคลอโรเอทิลีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพรายแรง (ระดับ3) ไมเกิน 3,800 ppm มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม • ความเขมขนไตรคลอโรเอทิลีนในบรรยากาศ โดยทั่วไปในเวลา 1 ป ไมเกิน 23 µg/m3 • ความเขมขนไตรคลอโรเอทิลีนในบรรยากาศ โดยทั่วไปในเวลา 24 ชั่วโมง ไมเกิน 130 µg/m3 • ความเขมขนของไตรคลอโรเอทิลีนในดิน เพื่อการอยูอาศัย ไมเกิน 1.5 mg/Kg • ความเขมขนของไตรคลอโรเอทิลีนในดิน เพื่อการคาขาย เกษตรกรรม และกิจการอื่น ๆ ไมเกิน 6 mg/Kg • ความเขมขนของไตรคลอโรเอทิลีนในดินภายในโรงงาน ไมเกิน 61 mg/Kg • ความเขมขนของไตรคลอโรเอทิลีนในน้ําใตดินทั่วไป ไมเกิน 5 µg/L • ความเขมขนของไตรคลอโรเอทิลีนในน้ําใตดิน ภายในโรงงาน ไมเกิน 4.4 mg/L (4,400 µg/L) การกําจัด • หากเปนไปไดใหใชการรีไซเคิลแทนการบําบัด/กําจัด • ในกากอุตสาหกรรม ใหนําไปผสมกับวัสดุที่ติดไฟได แลวนําไปเผาในเตาเผาขยะอันตราย • ในดินและน้ําใตดิน ใชเทคนิคการไลดวยอากาศ (airstripping) รวมกับกระบวนการโฟโตออกซิเดชัน (Photooxidation) จะไดผลิตภัณฑที่ไมเปนพิษ อางอิง : Agency for Toxic Substances and Disease Registry (ATSDR) 2007. , U.S. Environmental Protection Agency (USEPA) 2005. หมายเหตุ : 1 ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง ขีดจํากัดความเขมขนของสารเคมีอันตราย 2 ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง คาขีดจํากัดการรับสัมผัสสารเคมีทางการหายใจแบบเฉียบพลัน 12


การใชประโยชนในภาคอุตสาหกรรม • ใชในการผลิตเอทิลเบนซีน ไอโซเมอร • ใชเปนตัวทําละลายในอุตสาหกรรมการพิมพ ยางและเครื่องหนัง • ใชเปนตัวทําละลายในผลิตภัณฑตาง ๆ เชน สี สารเคลือบผิว สารปองกันสนิม เปนตน • ใชเปนสวนประกอบในอุตสาหกรรมปโตรเลียม (สําหรับน้ํามันเบนซิน) ผลกระทบตอสุขภาพ • กลไกความเปนพิษของไซลีนจะคลายกับ ตัวทําละลายอื่น ๆ ที่ทําใหเกิดอาการงวงซึมแบบ ไมจําเพาะเจาะจง เนื่องจากการหยุดชะงักของ เยื่อหุมเซลลของระบบประสาทสวนกลาง (CNS) • กรณีไดรับในปริมาณสูงในระยะเวลาสั้นหรือยาว อาจทําใหเกิดอาการปวดหัว กลามเนื้อทํางาน ไมประสานกัน วิงเวียนศีรษะ สับสน และ ความรูสึกสมดุลเปลี่ยนแปลง • กรณีไดรับไซลีนในปริมาณสูงเปนระยะเวลาสั้น ๆ อาจทําใหผิวหนัง ตา จมูก และคอระคายเคืองได หายใจลําบาก ปญหาเกี่ยวกับปอด การตอบสนอง ลาชา ปญหาความจํา และอาจมีการเปลี่ยนแปลง ของตับและไต Xylene ไซลีน (Xylene) แบงออกเปน 3 ชนิด แตกตางกันไปตามวงแหวนเบนซีน ไดแก ออรโทไซลีน เมตาไซลีน และพาราไซลีน ในบทความนี้จะหมายถึง ไซลีนผสม (Mixed Xylene) สามารถพบไดทั่วไปในธรรมชาติ เชน ปโตรเลียม ถานหิน ไฟปา เปนตน หากสูดดมในระดับ ที่มีความเขมขนสูงอาจมีอาการวิงเวียนศีรษะ สับสน และความรูสึกในการทรงตัวเปลี่ยนไป เลขทะเบียน CAS Number : 1330 – 20 – 7 UN Number : 1307 UN Class : 3 (ของเหลวไวไฟ) UN Guide : 130 (ไมมีขั้ว/ไมละลายน้ํา/กลิ่นเหม็น) คุณสมบัติ สูตรโมเลกุล : C8H10 มวลโมเลกุล : 106.16g/mol จุดเดือด : 137 O C จุดหลอมเหลว : - 48 O C ความหนาแนนไอ : 3.7 ความถวงจําเพาะ : 0.87 ความหนาแนน : 0.87 g/cm3 การละลายน้ํา : 0.106 g/L ขอมูลทั่วไป • ไซลีนเปนสารประกอบอินทรีย ประกอบดวย คารบอน 6 อะตอม ที่เชื่อมตอกันเปนวงแหวน ระนาบแบบเรโซแนนท (resonance) และ มีคารบอน 2 อะตอม จับกับหมูเมทิล (CH3) ซึ่งพบได 3 ไอโซเมอร ขึ้นอยูกับตําแหนงที่เมทิลจับอยู สวนที่เหลืออีก 4อะตอม จับกับไฮโดรเจน 1 อะตอม • เปนของเหลวใส ไมมีสี • มีกลิ่นหอม • ระเหยและติดไฟไดงายที่ความดันบรรยากาศและ อุณหภูมิปกติ ( 1 atm และ 20 o C ) • ไมละลายน้ํา แตเปนตัวทําละลายที่ดี แหลงกําเนิด • ในธร ร มชาติ ไซลีนจ ะป ล ดป ลอ ย ออ ก สู สิ่งแวดลอมจากการรั่วไหลของน้ํามันดิบ การทํา เหมืองถานหิน ไฟปา เปนตน • จากกิจกรรมของมนุษย โดยไซลีนถูกสังเคราะห จากปโตรเลียม ถานหิน นอกจากนี้อาจถูกพบ จากหลุมฝงกลบของเสียอันตรายบางแหง การรับสัมผัสของประชาชนทั่วไป • การใชผลิตภัณฑที่มีไซลีนเปนองคประกอบ เชน น้ํามันเบนซิน น้ํายาเคลือบเงา สารปองกันสนิม • การใชน้ําใตดินจากแหลงที่อยูใกลกับโรงกลั่นน้ํามัน โรงงานแปรรูปปโตรเลียม รวมถึงบริเวณถังเก็บน้ําใตดิน ที่มีการรั่วไหล การรับสัมผัสจากการประกอบอาชีพ • ความเสี่ยงในการทํางานคาดวาจะเกิดขึ้นใน อุตสาหกรรมปโตรเลียม อุตสาหกรรมที่ใชตัวทํา ละลาย สี สารเคลือบผิว • อาชีพอื่น ๆ เชน ชางทาสี คนงานในอุตสาหกรรมสี คนงานในหองปฏิบัติการชีวการแพทย คนงาน ในอูซอมรถยนต ชางขัดสีเฟอรนิเจอร 13


การเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดลอม • ไซลีนสามารถรั่วไหลออกสูอากาศ น้ํา และดิน ณ สถานที่ที่ผลิตหรือใชงาน • ไซลีนเมื่อถูกปลดปลอยสูบรรยากาศจะเกิด การสลายตัวอยางรวดเร็วในอากาศ ดวยปฏิกิริยา photochemically-produced hydroxyl radicals มีคาครึ่งชีวิต (Half-life) ประมาณ 2 วันและ ถูกจํากัดอยูในพื้นที่รอบ ๆ แหลงกําเนิด • ไซลีนเมื่อถูกปลอยลงสูแหลงน้ําผิวดิน จะระเหย อยางรวดเร็ว มีคาครึ่งชีวิต (Half-life) ในการ ระเหยในแมน้ําและทะเลสาบ 1 ชั่วโมงและ 4 วัน ตามลําดับ • ไซลีนเมื่อรั่วซึมสูพื้นดิน จะเคลื่อนตัวซึมลงไป ในพื้นผิวดินและอาจซึมลึกลงไปในน้ําใตดิน ทั้งนี้ ไซลีนจะระเหยไดดีในพื้นผิวดินที่ชื้น • ไซลีนสะสมในหวงโซอาหารต่ํามาก ผลกระทบตอเด็ก • ยังไมมีการศึกษาการประเมินผลกระทบ ของไซลีนในเด็ก แตมีแนวโนมวาอาจจะมี ผลกระทบเชนเดียวกับผูใหญ • แมวาจะไมมีหลักฐานโดยตรง แตเด็กอาจไวตอ การรับสัมผัสทางการหายใจแบบเฉียบพลัน มากกวาผูใหญ เนื่องจากทางเดินหายใจที่ตีบแคบ จะไวตอผลของอาการบวมมากขึ้น การกอมะเร็งในมนุษย • U.S. Environmental Protection Agency : EPA จัดไซลีนมีขอมูลไมเพียงพอที่จะระบุเปนสาร กอใหเกิดมะเร็งหรือไม (Class C) • International Agency for Research on Cancer : IARC จัดไซลีนมีขอมูลไมเพียงพอที่จะ ระบุเปนสารกอใหเกิดมะเร็งหรือไม (Class III) แนวทางการรักษาพยาบาลเมื่อไดรับสัมผัสกับสาร • การรักษาระยะเฉียบพลัน ดูการหายใจ หากหยุด หายใจใหใสทอชวยหายใจ ใหออกซิเจนเสริม • ตรวจภาพรังสีทรวงอกเพื่อประเมินภาวะปอดบวม น้ําที่อาจเกิดขึ้นได • หากกินเขาไปอยาทําใหอาเจียน จะสําลักแลวทําให ปอดอักเสบรุนแรงได • ตรวจดูภาวะหัวใจเตนผิดจังหวะ ถาอาการมีใหรีบทํา การรักษา • ตรวจดูภาวะเกลือแรในเลือดผิดปกติ เฝาระวังภาวะตับ อักเสบและไตวายที่อาจเกิดขึ้นได ขีดจํากัดการรับสัมผัสในสภาพแวดลอมการทํางาน (ทางการหายใจ) 1 • ความเขมขนของไซลีนเฉลี่ยตลอดระยะเวลา ขีดจํากัดการรับสัมผัสทางการหายใจแบบเฉียบพลัน 2 • ความเขมขนของไซลีนในบรรยากาศ ที่ไมกอใหเกิด ผลกระทบตอสุขภาพ (ระดับ1) ไมเกิน 130 ppm • ความเขมขนของไซลีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิด ผลกระทบตอสุขภาพไมรายแรง(ระดับ2) ไมเกิน 920 ppm • ความเขมขนของไซลีนในบรรยากาศ ที่กอใหเกิด ผลกระทบตอสุขภาพรายแรง (ระดับ3) ไมเกิน 2,500 ppm มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม • ความเขมขนของไซลีนในดิน เพื่อการอยูอาศัย ไมเกิน 575 mg/Kg • ความเขมขนของไซลีนในดิน เพื่อการคาขาย เกษตรกรรม และกิจการอื่น ๆ ไมเกิน 2,478 mg/Kg • ความเขมขนของไซลีนในดินภายในโรงงาน ไมเกิน 210 mg/Kg • ความเขมขนของไซลีนในน้ําใตดินทั่วไป ไมเกิน 10,000 µg/L • ความเขมขนของไซลีนในน้ําใตดินภายในโรงงาน ไมเกิน 24 mg/L (24,000 µg/L) การกําจัด • ในกากอุตสาหกรรม ใหใชวิธีการกําจัดดวยการเผาไหม ที่อุณหภูมิ 650 ถึง 1,600 องศาเซลเซียส เชน ระบบ เตาเผาแบบหมุน (rotary kiln) เตาเผาฟลูอิดไดสเบด (fluidized bed) ระบบเตาเผาแบบฉีดของเหลว และเถาที่เหลือนําไปฝงกลบยังหลุมฝงกลบ แบบปลอดภัย (secure landfill) • ในดินที่ปนเปอน ใหกําจัดโดยวิธีการสกัดสารระเหยงาย ออกจากดิน (Soil Vapor Extraction) โดยอัดอากาศ ลงในชั้นดินบริเวณที่มีทอเจาะรูลงในดิน เพื่อให อากาศไหลผานชั้นดินออกมา เมื่อไซลีนไดระเหย ออกจากชั้นดินลอยขึ้นสูงตองทําการบําบัดอากาศ ดวยวิธีดูดซับดวยถานกัมมันต (Activated Carbon) หรือการกรองชีวภาพ (Biofilter) • ในน้ําใตดินที่ปนเปอน ใหกําจัดโดยวิธีการไลดวย อากาศ (Air Stripping) ซึ่งวิธีการจะคลายกันกับในดิน เพียงแตเปนการอัดอากาศลงไปในชั้นน้ําใตดิน อางอิง : Agency for Toxic Substances and Disease Registry (ATSDR) 2007. , U.S. Environmental Protection Agency (USEPA) 2005. หมายเหตุ : 1 ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง ขีดจํากัดความเขมขนของสารเคมีอันตราย 2 ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง คาขีดจํากัดการรับสัมผัสสารเคมีทางการหายใจแบบเฉียบพลัน 14


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.