แผนม.ต้น Flipbook PDF

แผนม.ต้น

37 downloads 109 Views 768KB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

แผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

จัดทำโดย

ว่าที่ร้อยตรีหญิง ณัฐญาดา ขวัญยืน ครู กศน.ตำบล

กศน.ตำบลห้วยราช ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอห้วยราช สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดบุรีรัมย์

บันทึกข้อความ ส่วนราชการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอห้วยราช ที่ ศธ.0210.4222 / วันที่ เดือน ตุลาคม พ.ศ. 25๖4 เรื่อง ขออนุมัติแผนการจัดการเรียนรู้ เรียน ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอห้วยราช ด้วยข้าพเจ้า ว่าที่ร้อยตรีหญิง ณัฐญาดา ขวัญยืน ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล ได้จัดทำแผนการ จัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อใช้เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 25๖4 เรียบร้อยแล้วเพื่อให้กระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นไปตามเป้าหมายการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จึงขอเสนอแผนการจัดการเรียนรู้มาเพื่อจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน รายละเอียดดังแนบพร้อมนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณาอนุมัติ ลงชื่อ ว่าที่ร้อยตรีหญิง.............................. (ณัฐญาดา ขวัญยืน) ครู กศน.ตำบล ลงชื่อ.............................................. (นางสาวสุรีวัลย์ ปักกังเวสัง) หน้าหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการศึกษาฯ  อนุมัติให้ดำเนินการได้

 ไม่อนุมัติ

ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.............................................. (นางสาวณัฏฐณิชา อินทรโสภา) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอห้วยราช

คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับครูที่จะทำให้การจัดการเรียนรู้บรรลุเป้าหมาย ที่ต้องการ เป็นการวางแผนไว้ล่วงหน้าโดยศึกษาในเรื่อง สาระพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๕) หมวด ๓ ระบบการศึกษา และ หมวด ๔ แนวการจัดการศึก ษาทุกมาตรากรอบ ของการจั ดการศึ กษาตามหลัก สูต รการศึก ษานอกระบบระดับ การศึ กษาขั้ น พื้ นฐาน พุ ท ธศั กราช ๒๕๕๑ เอกสารเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานเอกสาร เกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชาที่จัดการเรียนรู้ และศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ ต่าง ๆ ซึ่ง เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และรูปแบบการเรียนรู้ โดยกำหนดให้ใช้รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. (ONIE MODEL) ซึ่งมี ๔ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ ๑ การกำหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการ เรียนรู้ (O : Orientation) ขัน้ ตอนที่ ๒ การแสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) ขั้น ตอนที่ ๓ การปฏิ บัติ และนำไปประยุก ต์ ใช้ (I : Implementation) ขั้น ตอนที่ ๔ การประเมิน ผล (E : Evaluation) แผนการเรียนรู้จะทำให้ครูได้คู่มือการจัดการเรียนรู้ ทำให้ดำเนินการจัดการเรียนรู้ได้ครบถ้วนตรง ตามหลักสูตรและจัดการเรียนรู้ได้ตรงเวลา ในการจัดทำแผนการเรียนรู้ดังกล่าว สำเร็จลงได้ด้วยความร่วมมือจากผู้บริหาร ข้าราชการครู และ ครู กศน.ตำบล ที่ ได้ เสนอแนะความคิด เห็ น อัน เป็ นประโยชน์ยิ่ ง ต่อ การพั ฒ นาเป็ น แผนการจัด การเรีย นรู้ ขอขอบคุณในความร่วมมือมาในโอกาสนี้

ผู้จัดทำ

สารบัญ หน้า คำอธิบายรายวิชาและรายละเอียดคำอธิบายรายวิชา ผลการวิเคราะห์รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา แผนการจัดการเรียนรู้แบบพบกลุ่ม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง หลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความหมาย ความสำคัญและประโยชน์ของข้อมูล แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เทคนิคการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน คณะผู้จัดทำ

1 22 36

รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา สค21003 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม จํานวน 1 หนวยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานที่การเรียนรูระดับ มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการพัฒนาชุมชน สงั คม สามารถวิเคราะห์ ข้อมูล และกำหนดแนวทางการ พัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ปัจจุบัน จำนวน ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา (ชั่วโมง) 1 พัฒนาชุมชน สังคม 1.มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการ 1.หลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม (1) พัฒนา ชุมชน/สังคม 2.มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็น 2.ความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ (4) ความสำคัญของข้อมูลตนเอง ของข้อมูลด้าน ครอบครัว ชุมชน/สังคม - ภูมิศาสตร์ - ประวัติศาสตร์ - เศรษฐศาสตร์ - การเมือง การปกครอง - ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี - หน้าที่พลเมือง - ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม - สาธารณสุข - การศึกษา 3.วิเคราะห์และอธิบายข้อมูล 3.วิธีการจัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย (10) วิธีการที่หลากหลาย และเผยแพร่ ข้อมูล 4.เกิดความตระหนัก และมีส่วนร่วม 4.การมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนา (5) ในการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน/สังคม ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม 5. สามารถกำหนดแนวทางการพัฒนา 5.1 เทคนิคการมีส่วนร่วมในการ (9) ตนเองครอบครัว ชุมชน/สังคม จัดทำแผน เช่น - การจัดทำเวทีประชาคม - การประชุมกลุ่มย่อย - การสัมมนา - การสำรวจประชามติ - การประชาพิจารณ์ ฯลฯ (3) 5.2 การจัดทำแผน - ทิศทาง นโยบาย

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา - โครงการ - ผูรับผิดชอบ - จัดลําดับความสําคัญ ฯลฯ 5.3 การเผยแพร่สู่การปฏิบัติ - การเขียนรายงาน - การเขียนโครงงาน ฯลฯ

6. นำศักยภาพ ของประเทศไทยใน 5 6. การพัฒนาอาชีพในชุมชนและ สังคม ด้านมาเชื่อมโยงสู่งานอาชีพ - อาเซียนกับการพัฒนาอาเซียน - จุดเด่นของประเทศไทยในการ ผลักดันเศรษฐกิจสร้างสรรค์ -ศักยภาพประเทศกับการพัฒนา อาชีพ

จำนวน (ชั่วโมง)

(3)

(5)

การวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ รายวิชา สค21003 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 1 หน่วยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวิเคราะห์ ข้อมูลและกำหนดแนวทางการ พัฒนา ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ให้สอดคล้องกับสภาพการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ปัจจุบัน หัวเรื่อง 1.พัฒนาชุมชน/ สังคม

จำนวน ชั่วโมง 40 (1) 4

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

1.มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการพัฒนา ชุมชน/สังคม 2.มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็น ความสำคัญของข้อมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม

1.หลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม 2.ความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ ของข้อมูล ด้าน - ภูมิศาสตร์ - ประวัติศาสตร์ - เศรษฐศาสตร์ - การเมือง - การปกครอง - ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี - หน้าที่พลเมือง - ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม

การวิเคราะห์เนื้อหา ง่าย ปานกลาง ยาก (กรต.) (บูรณาการ) (สอนเสริม) / /

หมายเหตุ

หัวเรื่อง

จำนวน ชั่วโมง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

การวิเคราะห์เนื้อหา ง่าย ปานกลาง ยาก (กรต.) (บูรณาการ) (สอนเสริม)

- สาธารณสุข - การศึกษา 3.วิธีการจัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ หลากหลาย และเผยแพร่ข้อมูล

10

3.วิเคราะห์และอธิบายข้อมูล

5

4.เกิดความตระหนัก และมีส่วนร่วมใน 4.การมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเอง การจัดทำแผนพัฒนาชุมชน/สังคม ครอบครัว ชุมชน/สังคม

9

5. สามารถกำหนดแนวทางการพัฒนา 5.1 เทคนิคการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน เช่น ตนเองครอบครัว ชุมชน/สังคม - การจัดทำเวทีประชาคม - การประชุมกลุ่มย่อย - การสัมมนา - การสำรวจประชามติ - การประชาพิจารณ์ ฯลฯ

3

5.2 การจัดทำแผน -ทิศทาง นโยบาย - โครงการ - ผู้รับผิดชอบ - จัดลำดับความสำคัญ ฯลฯ

/ / /

/

หมายเหตุ

หัวเรื่อง

จำนวน ชั่วโมง 3

5

ตัวชี้วัด

เนื้อหา 5.3 การเผยแพร่สู่การปฏิบัติ - การเขียนรายงาน - การเขียนโครงงาน ฯลฯ

6. นำศักยภาพ ของประเทศไทยใน 5 6. การพัฒนาอาชีพในชุมชนและสังคม ด้านมาเชื่อมโยงสู่งานอาชีพ - อาเซียนกับการพัฒนาอาเซียน - จุดเด่นของประเทศไทยในการผลักดัน เศรษฐกิจสร้างสรรค์ -ศักยภาพประเทศกับการพัฒนาอาชีพ

การวิเคราะห์เนื้อหา ง่าย ปานกลาง ยาก (กรต.) (บูรณาการ) (สอนเสริม) /

/

หมายเหตุ

ผลการวิเคราะห์รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา สค21003 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรื่อง

พัฒนา ชุมชน สังคม

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

จำนวน ชั่วโมง

1.มีความรู้ ความ เข้าใจ หลักการ พัฒนา ชุมชน/สังคม 2.มีความรู้ ความ เข้าใจ และเห็น ความสำคัญของ ข้อมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน/ สังคม

1.หลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม

1

2.ความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ ของ ข้อมูลด้าน - ภูมิศาสตร์ - ประวัติศาสตร์ - เศรษฐศาสตร์ - การเมืองการปกครอง - ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี - หน้าที่พลเมือง - ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม - สาธารณสุข - การศึกษา

4

3.วิเคราะห์และ อธิบายข้อมูล

3.วิธีการจัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย วิธีการที่หลากหลาย และเผยแพร่ข้อมูล

10

4.เกิดความตระหนัก 4.การมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนา และมีส่วนร่วมในการ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม จัดทำแผนพัฒนา ชุมชน/สังคม

ออกแบบแผนการ จัดการเรียนรู้ เรียนรู้ด้วย พบกลุ่ม ตนเอง √



5





เรื่อง

ตัวชี้วัด 5. สามารถกำหนดแนว ทางการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม

6. นำศักยภาพ ของ ประเทศไทยใน 5 ด้านมา เชื่อมโยงสู่งานอาชีพ

ออกแบบแผนการ จัดการเรียนรู้ จำนวน เนื้อหา ชั่วโมง เรียนรู้ด้วย พบกลุ่ม ตนเอง 5.1 เทคนิคการมีส่วนร่วมในการจัดทำ 9 √ แผน เช่น - การจัดทำเวทีประชาคม - การประชุมกลุ่มย่อย - การสัมมนา - การสำรวจประชามติ - การประชาพิจารณ์ ฯลฯ 5.2 การจัดทำแผน 3 √ -ทิศทาง นโยบาย - โครงการ - ผู้รับผิดชอบ - จัดลำดับความสำคัญ ฯลฯ 5.3 การเผยแพร่สู่การปฏิบัติ 3 √ - การเขียนรายงาน - การเขียนโครงงาน ฯลฯ 6. การพัฒนาอาชีพในชุมชนและ สังคม - อาเซียนกับการพัฒนาอาเซียน - จุดเด่นของประเทศไทยในการ ผลักดันเศรษฐกิจสร้างสรรค์ -ศักยภาพประเทศกับการพัฒนาอาชีพ

5



แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ONIE MODEL สาระการพัฒนาสังคม รายวิชาพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค21003 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จำนวน 1 หน่วยกิต หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาชุมชน สังคม เรื่อง ความหมาย ความสำคัญและประโยชน์ของข้อมูล จำนวน 5 ชั่วโมง ตัวชี้วัด 1. มีความรู้ความเข้าใจหลักการพัฒนาชุมชน สังคม 2. มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของข้อมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม เนื้อหา 1. หลักการพัฒนาตนเองชุมชนสังคม 2. ความหมายความสำคัญประโยชน์ของข้อมูลด้านภูมิศาสตร์, ประวัติศาสตร์, เศรษฐศาสตร์, การเมืองการปกครอง, ศาสนาวัฒนธรรมประเพณี, หน้าที่พลเมือง, ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม, สาธารณสุข, การศึกษา รูปแบบวิธีการเรียน

พบกลุ่ม 4 ชั่วโมง

การจัดกระบวนการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพ ปัญหา (O : Orientation) 1. ครูและผู้เรียนร่วมกันพูดคุยและซักถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของชุมชนด้านต่างๆเช่นทรัพยากรสิ่งแวดล้อม, ภูมิศาสตร์, การปกครอง, การศึกษา, วัฒนธรรมในชุมชน, สภาพเศรษฐกิจในชุมชนของตนเองทั้งข้อดีและ ข้อเสียลักษณะสภาพที่เป็นอยู่จริง https://www.youtube.com/watch?v=lwQVmFUJVn4

สภาพภูมิศาสตร์ในชุมชน 2. ครูให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าการจัดทำแผนเช่นทิศทางนโยบาย, โครงการ, การจัดลำดับความสำคัญเป็นต้น และการเผยแพร่สู่การปฏิบัติในการนำไปเขียนโครงงานรวมทั้งศึกษาแนวทางการพัฒนาอาชีพในชุมชนของ ตนเอง

ขั้นที่ 2 การแสวงหาข้อมูล และจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) 1. ครูให้ผู้เรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนข้อมูลทั่วไปของชุมชนตนเองด้านต่างๆเช่นทรัพยากรสิ่งแวดล้อม, ภูมิศาสตร์, การปกครอง, การศึกษา, วัฒนธรรมในชุมชน, สภาพเศรษฐกิจในชุมชนของตนเองทั้งข้อดีและข้อเสียลักษณะ สภาพที่เป็นอยู่จริงพร้อมทั้งศึกษาข้อมูลจากใบความรู้ที่ 2 เรื่องความหมายความสำคัญและประโยชน์ของ ข้อมูลและให้ผู้เรียนจัดกลุ่มสภาพปัญหาที่สอดคล้องกันเขียนสรุปข้อมูลที่ได้จากทุกคนให้ตัวแทนมานำเสนอผล การสรุปข้อมูลนั้นตามหัวข้อใบงานที่ 3 เรื่องความหมายความสำคัญและประโยชน์ของข้อมูลในการพบกลุ่ม ครั้งต่อไป ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้ (I : Implementation) 1. ครูและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญนำความรู้ที่ได้ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองชุมชนของตนเอง 2. ให้ผู้เรียนนำเสนอโครงการพัฒนาชุมชนของตนเองและผลจากการแสวงหาความรู้เป็นรายกลุ่ม ขั้นที่ 4 การประเมินผล (E : Evaluation) 1. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญตามมาตรฐานการเรียนรู้ 2. ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การเรียนรู้ด้วยตนเอง 1 ชั่วโมง ครูมอบหมาย ให้นักศึกษาค้นคว้าเรียนรู้ด้วยตนเองในเนื้อหาดังนี้ - หลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม สื่อการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ที่ 1 เรื่องหลักการพัฒนาตนเองชุมชนสังคม 2. ใบงานที่ 1 เรื่องหลักการพัฒนาตนเองชุมชนสังคม 3. ใบความรู้ที่ 2 เรื่องความหมายความสำคัญและประโยชน์ของข้อมูล 4. ใบงานที่ 2 เรื่องความหมายความสำคัญและประโยชน์ของข้อมูล 5. หนังสือหนังสือแบบเรียนวิชาการพัฒนาตนเองชุมชนสังคมสค21003 ,สื่อสิ่งพิมพ์, อินเตอร์เน็ต การวัดและประเมินผล 1. แบบทดสอบ ก่อน-หลังเรียน 2. ใบงาน 3. แบบประเมิน

บันทึกผลหลังการเรียนรู้ ผลที่เกิดกับผู้เรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปัญหา/อุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

................................................. (.......................................) ครู กศน.ตำบล กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………..…….…………………………… .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................... (……………………………………………..) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอห้วยราช

ใบความรู้ที่ 1 เรื่องหลักการพัฒนาตนเองชุมชนสังคม ความหมายของคำว่าการพัฒนาได้มีผู้ให้ความหมายไว้หลายคนดังนี้ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ กล่าวว่าการพัฒนาหมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่มีการกระทำให้เกิดขึ้นหรือมีการวางแผน กำหนดทิศทางไว้ล่วงหน้าโดยการเปลี่ยนแปลงนี้ต้องเป็นไปในทิศทางทิศทางที่ดีขึ้นขณะเดียวกันการพัฒนามิได้ หมายถึงการเพิ่มขึ้นของปริมาณสินค้าหรือรายได้ของประชาชนเท่านั้นแต่หมายรวมถึงการเพิ่มความพึงพอใจ และการเพิ่มความสุขของประชาชนด้วย วิทยากรเชียงกูลกล่าวว่าการพัฒนาหมายถึงชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนมีความสุขมีความสะดวกสบายความ อยู่ดีกินดีความเจริญทางศิลปวัฒนธรรมและจิตใจและความสงบสันติซึ่งนอกจากจะขึ้นอยู่กับการได้รับปัจจัยทาง วัตถุเพื่อสนองความต้องการของร่างกายแล้วประชาชนยังต้องการพัฒนาทางด้านการศึกษาสิ่งแวดล้อมที่ดีการ พักผ่อนหย่อนใจการพัฒนาทางวัฒนธรรมและจิตใจด้านต่างๆด้วยความต้องการทั้งหมดนี้บางครั้งเราเรียกว่าเป็น การพัฒนา “คุณภาพ” เพื่อที่ให้เห็นว่าการพัฒนาไม่ได้ขึ้นอยู่กับการเพิ่มปริมาณสินค้าหรือการเพิ่มรายได้เท่านั้น หากอยู่ที่การเพิ่มความพอใจความสุขของประชาชนมากกว่า สัญญา สัญญาวิวัฒน์ ได้ให้ความหมายของการพัฒนาหมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่มีการกําหนดทิศทางหรือ การเปลี่ยนแปลงที่ได้วางแผนไว้ล่วงหน้าแล้ว ยุวัฒน์ วุฒิเมธี ให้ความหมายว่าการพัฒนาหมายถึงการทำให้เกิดขึ้นคือการเปลี่ยนจากสภาพหนึ่งไปสู่อีก สภาพหนึ่งที่ดีกว่า ทิตยา สุวรรณชฎ ได้กล่าวถึงการพัฒนาไว้ว่าคือการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการและได้กําหนดทิศทางและมุ่งที่จะ ควบคุมอัตราการเปลี่ยนแปลงด้วย ที. อาร์. แบ็ทเท็น (T.R. Batten) ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาชุมชนของอังกฤษให้ความหมายของการพัฒนาไว้ ว่าหมายถึงการเปลี่ยนแปลงในทางทีดีขึ้น จากความหมายของการพัฒนาดังที่กล่าวมานั้นสรุปได้ว่าการพัฒนาหมายถึงการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นโดย ได้มีการกำหนดแนวทางในการพัฒนาไว้แล้วซึ่งการพัฒนานัน้ มิได้หมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นด้านปริมาณที่ สามารถจับต้องได้วัดได้เท่านั้นแต่หมายถึงการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพด้วยนั่นคือประชาชนได้รับประโยชน์ จากการพัฒนาและประชาชนมีความพึงพอใจตลอดจนมีความสุขด้วย แนวคิดการพัฒนาการพัฒนาที่ยั่งยืน แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (sustainable development) สืบเนื่องจากกระแสโลกาภิวัตน์ความ เจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและกลไกการตลาดได้ก่อให้เกิดการเจริญเติบโตการผลิตการบริโภคและการใช้ ประโยชน์ที่เป็นผลเสียต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรวมถึงผลกระทบต่อชีวิตมนุษย์สัตว์พืชพรรณ อย่างฉับพลันและต่อเนื่องประกอบกับการพัฒนาแบบเดิมที่เน้นการบริโภคอย่างฟุ่มเฟือยไม่คุ้มค่าไม่คำนึงถึง สภาพแวดล้อมโดยทำลายสภาพแวดล้อมซึ่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่อย่างจำกัดทำให้ ทรัพยากรธรรมชาติบางอย่างสูญหายไปเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและส่งผลกับมนุษย์สร้างปัญหาให้กับมนุษย์อย่าง มหาศาล

หากมนุษย์เร่งพัฒนาและเน้นการบริโภคอย่างฟุ่มเฟือยทรัพยากรทางธรรมชาติที่มนุษย์จะนำนำมาใช้และ บริโภคจะร่อยหรอเสื่อมสภาพและหมดลงในที่สุดสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในโลกก็คงจะดำรงชีวิตอยู่ด้วยความ ยากลำบากหรือหมดสิ้นในที่สุด เพื่อไม่ให้ทุกสรรพสิ่งในโลกนี้ต้องพบจุดจบจึงเกิดแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนขึ้นนานาชาติจึงแสวงหาแนวทาง พัฒนาที่เป็นกลางมากที่สุดโดยเน้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาในทุกขั้นตอนการพัฒนาที่ยั่งยืน ต้อง “ระเบิดจากข้างใน” จากชุมชนเองไม่ใช่จากบุคลภายนอกไปกําหนดกรอบและทิศทางการพัฒนา บุคคลภายนอกเป็นเพียงผู้สนับสนุนและช่วยเหลือเท่านั้น ดังนั้นจึงเป็นรูปแบบการพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของคนรุ่นปัจจุบันโดยไม่ส่งผลลบกับคนรุ่นต่อๆไป ต้องไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต้องทำให้มนุษย์กับธรรมชาติได้เกื้อกูลซึ่งกันและกันทุกสิ่งทุก อย่างสมดุลเป็นไปตามวิถีธรรมชาติการพัฒนาที่ยั่งยืนไม่ได้ปฏิเสธเทคโนโลยีแต่เทคโนโลยีจะต้องไม่ทำลาย ธรรมชาติจึงจะเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยงั่ ยืนในประเทศไทยเป็นการพัฒนาที่มลี ักษณะผสมผสานคือมีกจิ กรรมพัฒนารวมทั้งมีการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในลักษณะที่เป็นส่วนรวมเมื่อใดที่การพัฒนาทรัพยากรทางธรรมชาติหายไป ต้องเสริมสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมในที่อนื่ ชดเชยเพือ่ ให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมในภาพรวมคงอยู่อันจะทำให้มนุษย์ และสิ่งแวดล้อมควบคู่กนั ไปโดยสงบสุขและยั่งยืนจากแนวคิดดังกล่าวประเทศไทยได้บรรจุการพัฒนาทีย่ ั่งยืนไว้ใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) โดยเน้นแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเน้นชุมชน เข้มแข็งเน้นการพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง (sufficiency economy) เป็นแนวทางการพัฒนาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระ ราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่ชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 28 ปีซึ่งมีมาก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทาง เศรษฐกิจและภายหลังได้ทรงเน้นยํ้าแนวทางแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆเศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นฐานในการประยุกต์ใช้กับ การพัฒนาด้านต่างๆรวมทั้งใช้ในแง่ของการดำรงชีวิตและการปฏิบัติงานทั้งตนเองครอบครัวชุมชนสังคมด้วย ความพอเพียงประกอบด้วย 3 ด้านด้วยกัน 1. ความพอประมาณหมายถึงความพอดีไม่มากไม่น้อยจนเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นได้แก่การ บริโภคที่อยู่ในระดับที่พอประมาณ 2. ความมีเหตุมีผลหมายถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดย พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดจากการกระทำนั้นๆอย่างรอบคอบ 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวหมายถึงการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่คาดว่า จะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล ทั้งนี้ต้องมีวิชาความรู้ควบคู่กับคุณธรรม

เป้าหมายของการพัฒนา การพัฒนาชุมชนสังคมนั้นมีหลายคนสงสัยว่าพัฒนาไปเพื่ออะไรในที่นี้จะให้คำตอบว่าเป้าหมายของการพัฒนา คืออะไรซึ่งมีผู้ให้ความหมายของเป้าหมายการพัฒนาชุมชนไว้ดังนี้ สัญญาสัญญาวิวัฒน์กล่าวว่าเป้าหมายของการพัฒนาชุมชนแบ่งออกเป็น2 ส่วนใหญ่ๆคือคนและสิ่งแวดล้อมคน จะรวมอยู่ในการพัฒนาด้านต่างๆ คือ การเมืองเศรษฐกิจการศึกษาสังคมวัฒนธรรมครอบครัวและประชากรอนามัยและสาธารณสุขนันทนาการฯลฯ ไพฑูรย์ เครือแก้ว กล่าวถึงเป้าหมายของการพัฒนาชุมชนว่ามุ่งหวังพัฒนาตัวบุคคลกลุ่มคนปรากฏการณ์และ สิ่งแวดล้อมทางวัตถุและสังคมของหมู่บ้าน ที. อาร์. แบ็ทเท็น (T.R.Batten) กล่าวว่าเป้าหมายของการพัฒนาชุมชนหมายถึงงานที่จะพัฒนาคนวัตถุหรือ สิ่งของ แต่อย่างไรก็ตามมีผู้รู้เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนส่วนใหญ่มิได้กําหนดไว้แน่นอนว่าจะต้องพัฒนาสิ่งใดก่อนแต่ อย่างไรก็ตามการดำเนินการทั้งหลายทั้งปวงนั้นเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาชุมชนคือการส่งเสริมสนับสนุนให้ ประชาชนในชุมชนพึ่งตนเอง หลักการพัฒนาตนเอง หลักของการพัฒนาตนเองมีดังนี้ 1. การพัฒนาตนเองต้องเกิดจากความเต็มใจและสมัครใจผู้ที่พัฒนาตนเองต้องมีความต้องการที่จะเปลี่ยนแปลง ตนเองด้วยตัวบุคคลนั้นเองโดยปราศจากความรู้สึกว่าถูกบังคับซึ่งความเต็มใจนี้เกิดขึ้นจากปัจจัยสำคัญประการ หนึ่งคือการตระหนักรู้ถงึ ปัญหาและความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลงตนเองนั่นคือผู้ที่จะพัฒนาตนเองต้องมี ความใส่ใจมีการติดตามสังเกตตนเองในแง่พฤติกรรมการแสดงออกความคิดอารมณ์ความรู้สึกในสถานการณ์ ต่างๆอย่างเป็นปัจจุบันซึ่งการรู้ตนเองเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสดงออกความคิดอารมณ์ความรู้สึก เหล่านี้จะทำให้บุคคลตระหนักรู้ถึงความรู้สึกของปัญหาและความจำเป็นของการเปลี่ยนแปลงตนเองพร้อมทั้งมี ความมุ่งมั่นที่จะฟันฝ่าอุปสรรคและการผลักดันตนเองเพื่อให้ไปถึงเป้าหมายได้ 2. ผู้ที่ต้องการพัฒนาตนเองต้องเป็นผู้ที่มีบทบาทหลักในการลงมือพัฒนาตนด้วยตนเองหมายถึงผู้ที่พัฒนาตน ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อชีวิตของตนเองว่าไม่มีใครลงมือแทนตนเองได้ถึงแม้ว่าในการเปลี่ยนแปลงตนเอง อาจจะได้รับความช่วยเหลือจากเพื่อนพ่อแม่หรือครูอาจารย์ร่วมด้วยอย่างไรก็ตามผู้ที่มีบทบาทหลักคือผู้ที่ ต้องการพัฒนาตนเองนั่นเอง 3. มนุษย์ทุกคนมีความสามารถที่จะควบคุมและจัดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและปัจจัยภายในตนเองเพื่อ การพัฒนาตนเองแม้ว่าสภาพแวดล้อมภายนอกและความคิดความรู้สึกซึ่งเป็นสภาพภายในตัวบุคคลจะส่งผล รวมกันต่อพฤติกรรมมนุษย์แต่ผู้ที่ควบคุมดูแลจัดการให้ตัวเรามีการพัฒนาคนหรือพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป จากเดิมคือตัวเราเอง 4. การพัฒนาตนเองเป็นการเปลี่ยนแปลงตนเองที่มีขอบเขตของจุดมุ่งหมายครอบคลุมทั้ง 3 ด้านคือเพื่อการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเพื่อการป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและเพื่อการสร้างเสริมศักยภาพ ของคนให้สูงขึ้น 5. การพัฒนาตนเองเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องตลอดชีวิตเพื่อความสุขและความงอกงามของตนเองซึง่ จะส่งผลให้เกิดความสุขและความงอกงามของสังคมส่วนรวมด้วยเช่นกัน

วิธีการพัฒนาตนเอง องค์กรหน่วยงานต่างๆมีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาบุคลากรของตนให้มีประสิทธิภาพสูงสุดเป็นผู้ทรงคุณค่าการที่ บุคคลได้รับการพัฒนานั้นจะเป็นหลักประกันได้ว่าหน่วยงานนัน้ จะสามารถรักษาบุคลากรนั้นได้ยาวนานและ เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าขององค์กรนั้นต่อไปวิธีการพัฒนาตนเองโดยการฝึกอบรมมีดังนี้ 1. การลงมือปฏิบัติจริง 2. การบรรยายในห้องเรียน 3. การลงมือปฏิบัติงานจริง 4. การอบรมเพิ่มเติม 5. การฝึกจำลองเหตุการณ์และใช้วิธีการอื่นๆ การพัฒนาตนเองด้วยการลงมือปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างตนเองให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กําหนดไว้ควร ดำเนินการดังนี้ 1. การหาความรู้เพิ่มเติมกระทำได้โดย 1.1 การอ่านหนังสือเป็นประจำและอย่างต่อเนื่อง 1.2 การเข้าร่วมประชุมหรือเข้ารับการอบรม 1.3 การสอนหนังสือหรือบรรยายต่างๆ 1.4 การร่วมกิจกรรมต่างๆของชุมชนหรือองค์กรต่างๆ 1.5 การร่วมเป็นที่ปรึกษาแก่บุคคลหรือหน่วยงาน 1.6 การศึกษาต่อหรือศึกษาเพิ่มเติมจากสถาบันการศึกษาหรือมหาวิทยาลัยเปิด 1.7 การพบปะเยี่ยมเยียนบุคคลหรือหน่วยงานต่างๆ 1.8 การเป็นผู้แทนในการประชุมต่างๆ 1.9 การจัดทำโครงการพิเศษ 1.10 การปฏิบัติงานแทนหัวหน้างาน 1.11 การค้นคว้าหรือวิจัย 1.12 การศึกษาดูงาน 2. การเพิ่มความสามารถและประสบการณ์อาจกระทำโดย 2.1 การลงมือปฏิบัติจริง 2.2 การฝึกฝนโดยผู้ทรงคุณวุฒิหรือหัวหน้างาน 2.3 การอ่านการฟังการถามจากเอกสารหรือผู้ทรงคุณวุฒิหรือหัวหน้างาน 2.4 การทำงานร่วมกับบุคคลอื่น 2.5 การค้นคว้าวิจัย 2.6 การหมุนเวียนเปลี่ยนงาน

ความหมายของชุมชนสังคม ราชบัณฑิตยสถาน (2546) ได้ให้ความหมายของชุมชนไว้ว่าชุมชนคือหมู่ชนกลุ่มคนที่อยู่รวมกันเป็นสังคมขนาด เล็กอาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกันและมีผลประโยชน์ร่วมกัน ปาริชาติ วลัยเสถียร ได้กล่าวถึงชุมชนว่าชุมชนหมายถึงการที่คนจำนวนหนึ่งอาศัยอยู่พื้นที่แห่งหนึง่ มีความเชื่อ ผลประโยชน์กิจกรรมและมีคุณสมบัติอื่นๆที่คล้ายคลึงกันคุณลักษณะเหล่านี้มีลักษณะเด่นเพียงพอที่จะทำให้ สมาชิกนั้นตระหนักและเกื้อกูลกัน อนุชาติ พวงสำลีและอรทัย อาจอํ่า อธิบายว่าชุมชน (community) หมายถึงการรวมตัวของกลุ่มคนที่มี วัตถุประสงค์ร่วมกันซึ่งการรวมตัวดังกล่าวอาจรวมตัวตามพื้นที่หรือไม่ก็ได้สิ่งสำคัญอยู่ที่สมาชิกของชุมชนมีการ ติดต่อสื่อสารกันมีความเอื้ออาทรต่อกันมีการทำกิจกรรมร่วมกันมีการเรียนรู้ร่วมกันมีการบริหารจัดการสิ่งต่างๆ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ อย่างไรก็ตามในปัจจุบันนีไ้ ด้เกิดชุมชนรูปแบบใหม่พร้อมกับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีและความรุนแรงของปัญหา สังคมทำให้ไม่สามารถที่จะจำกัดความเป็นชุมชนเฉพาะแต่ในพื้นที่หนึ่งพื้นที่ใดเท่านั้นแต่เป็นการรวมพลังความ ร่วมมือและเป็นการผนึกกำลังด้านทรัพยากรจากภายนอกชุมชนด้วยเช่นกันซึ่งสมาชิกในชุมชนรูปแบบใหม่สคูเลอร์ (Schuler) กล่าวว่ามีสมาชิกในชุมชนหลายเพศวัยศาสนาและฐานะทางเศรษฐกิจตัวอย่างชุมชนรูปแบบที่สำคัญ ได้แก่ชุมชนเครือข่ายทางอินเทอร์เน็ตสมาชิกรายการวิทยุกระจายเสียงสมาชิกในชุมชนไม่จำเป็นต้องพบหน้ากัน โดยตรงแต่มีการสื่อสารถึงกันทางเทคโนโลยีประสานความสัมพันธ์และจิตสำนึกร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีในการ สื่อสารเช่นคอมพิวเตอร์โทรศัพท์มือถือเป็นต้น ธีระ ภัทรา เอกผา ชัยสวัสดิ์กล่าวถึงความหมายของชุมชนมีลักษณะร่วมกันดังนี้ 1. การรวมกลุ่มของคนซึ่งอาจมีปฏิกิริยาต่อกันทางสังคมหรืออาจไม่มี ก็ได้แต่เป็นความสัมพันธ์กันทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. มีอาณาเขตบริเวณสำหรับอยู่อาศัยหรือประกอบกิจกรรมหรืออาจ ไม่ยึดติดพื้นที่ตายตัวเช่นเป็นชุมชนทางอากาศเป็นต้น 3. การจัดระเบียบทางสังคมเพื่อควบคุมความสัมพันธ์สมาชิกในชุมชน เช่นบรรทัดฐานหรืออาจเป็นการจัดระเบียบชุมชนในการที่จะเข้ากลุ่มอาจจะไม่เข้มข้น หรือแน่นแฟ้นถึงระดับการจัดระเบียบทางสังคมแต่ถ้าไม่ปฏิบัติตามก็ไม่ได้การยอมรับ จากกลุ่มเป็นต้น 4. มีความสัมพันธ์ทางสังคมมีการติดต่อสัมพันธ์กันมีกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบต่างๆ 5. มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันและรับผลกระทบที่มีผู้เป็นส่วนได้ส่วนเสียร่วมกัน 6. มีระบบการติดต่อสื่อสารและการเรียนรู้ร่วมกัน 7. อื่นๆ ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาตนเอง 1. การประสบความสำเร็จในการดำรงชีวิต 2. การประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพการงาน 3. การมีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์

4. การมีความเชื่อมั่นในตนเอง 5. การมีความสงบสุขทางจิตใจ ความหมายของการพัฒนาชุมชนสังคม วิรัช วิรัชนิภาวรรณ กล่าวว่าการพัฒนาชุมชน (community development) ตามปรัชญาของการ พัฒนาชุมชนนั้นประกอบด้วย 1. มุ่งพัฒนาและให้ความสำคัญกับคนมากที่สุดแต่การพัฒนา โดยทั่วไปมุ่งพัฒนาทางวัตถุเศรษฐกิจหรือพื้นที่เป็นหลัก 2. การพัฒนาชุมชนเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนอย่าง มาก 3. การพัฒนาชุมชนมีแนวคิดที่ต้องการให้ประชาชนช่วยเหลือตัวเอง และปกครองตนเองโดยรัฐคอยช่วยเหลือด้านวิชาการ 4. ในทุกขั้นตอนการดำเนินงานเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการคิดตัดสินใจวางแผนลงมือปฏิบัติและประเมินผลแต่การพัฒนาโดยทั่วไปมุ่งที่ ผลสำเร็จของงานเป็นหลักอนุรักษ์ปัญญานุวัฒน์กล่าวถึงการพัฒนาชุมชนไว้ว่าเป็น กระบวนการที่มีขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นและมีความ สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนซึ่งมีองค์ประกอบอย่างน้อย 4 ประการคือ 4.1 ความยั่งยืนของสรรพสิ่ง 4.2 การมีส่วนร่วมของประชาชน 4.3 การปรับแนวคิดทางการศึกษาเรียนรู้ 4.4 การพัฒนาชุมชนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง หลักการพัฒนาชุมชนสังคม การปฏิบัติงานพัฒนาเพื่อสร้างความเจริญให้แก่ประชาชนในด้านเศรษฐกิจสังคมการเมืองเพื่อนำไปสู่จุดหมาย ปลายทางของการพัฒนาคือการพัฒนาคนและการพัฒนาวัตถุสิ่งแวดล้อมแนวทางในการพัฒนามีดังนี้ 1. ยึดถือผลประโยชน์ของประชาชนและให้คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา 2. ทำการพัฒนาให้สอดคล้องกับสภาพของชุมชน 3. ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม 4. การทำงานต้องค่อยเป็นค่อยไป 5. ให้ความสำคัญกับความสนใจและความต้องการของประชาชน 6. ใช้วิธีดำเนินงานที่สอดคล้องกับหลักประชาธิปไตย 7. การดำเนินงานต้องยืดหยุ่นได้ 8. ทำการพัฒนาให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม 9. ทำงานพัฒนากับผู้นำท้องถิ่น 10. ทำงานพัฒนากับองค์กรหรือสถาบันที่มีอยู่ในชุมชน 11. ใช้เจ้าหน้าที่วิชาการเฉพาะสาขา 12. ทำงานกับคนทุกคนในครอบครัว

13. การดำเนินงานควรกว้างขวาง 14. ทำงานพัฒนากับชนทุกชั้นของสังคม 15. การพัฒนาต้องสอดคล้องกับนโยบายของชาติ 16. ทำงานพัฒนาโดยเข้าถึงตัวประชาชน 17. ทำงานพัฒนาตามความต้องการที่แท้จริงของประชาชน 18. กิจกรรมพัฒนาควรเริ่มจากกิจกรรมพัฒนาที่ง่ายไปหายาก 19. ทำงานพัฒนาด้วยความประหยัด 20. ประสานกับหน่วยงานหรือองค์กรทั้งในและนอกชุมชน 21. ทำงานพัฒนาโดยผ่านกลุ่ม 22. มีการประเมินผลตลอดเวลา 23. การพัฒนาเป็นกระบวนการต่อเนื่อง 24. ทำงานพัฒนาอย่างเป็นระบบเครือข่าย

ใบความรู้ที่ 2 เรื่องความหมายความสำคัญและประโยชน์ของข้อมูล ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชนความหมายและประเภทข้อมูล ข้อมูลหมายถึงข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลขข้อความรูปภาพเสียงที่เกี่ยวกับคนสัตว์สิ่งของหรือเหตุการณ์ต่างๆหรือสิ่ง ที่ยอมรับว่าเป็นความจริงสำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือการคำนวณ ประเภทของข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ประเภทดังนี้ 1. ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระคือข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลขที่ไม่ใช้ในการคำนวณเช่นทะเบียนรถยนต์ หมายเลขโทรศัพท์บ้านเลขที่ชื่อนามสกุล 2. ข้อมูลที่เป็นตัวเลขคือข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวเลข 0 - 9 ที่ใช้ในการคำนวณได้เช่นผลคะแนนการสอบ จำนวนเงินราคาของสินค้า 3. ข้อมูลที่เป็นรูปภาพคือข้อมูลที่เป็นภาพอาจเป็นภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหวภาพลายเส้นภาพถ่ายภาพจา กวีดิทัศน์ 4. ข้อมูลที่เป็นเสียงคือข้อมูลที่ประสาทสัมผัสทางหูรับรู้ได้เช่นเสียงเพลงเสียงนกร้องบทสัมภาษณ์หรือเสียงจาก สิ่งต่างๆเป็นต้น ประโยชน์ของข้อมูล 1. ช่วยให้เราทราบข้อมูลที่แท้จริง 2. ช่วยให้เราสามารถตัดสินใจบนฐานข้อมูลที่ถูกต้อง ความสำคัญของข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญเพราะหากขาดข้อมูลจะกระทำการบางสิ่งอาจทำไม่ได้หรือเกิดการผิดพลาด เสียหายได้เช่น ผู้รับเหมาสร้างบ้านแต่ไม่มีข้อมูลความต้องการของผู้ว่าจ้างในการสร้างบ้านก็ไม่สามารถ สร้างบ้านได้หรือการส่ง เนื้อสัตว์ไปขายในบริเวณที่ประชาชนเป็นคนมังสวิรัติไม่กินเนื้อสัตว์อาจเขียน แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูลกับการตัดสินใจกระทำการสิ่งต่างๆดังนี้ การแบ่งประเภทของข้อมูลแบ่งได้หลายแบบขึ้นอยู่กับ เกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งซึ่งอาจแตกต่างกันไป ขึ้นกับจุดประสงค์หรือความต้องการในการใช้ข้อมูลในที่นี้จะแสดง การแบ่งประเภทของข้อมูลเพื่อเป็น ตัวอย่างดังเช่น 1. ประเภทของข้อมูลเมื่อจำแนกตามรูปลักษณะของข้อมูล 2. ประเภทของข้อมูลเมื่อจำแนกตามลักษณะแหล่งเกิดข้อมูล 3. ประเภทของข้อมูลเมื่อจำแนกตามแหล่งที่มาของข้อมูล ประเภทของข้อมูลเมื่อจำแนกตามรูปลักษณะของข้อมูล 1. ข้อมูลตัวเลข 2. ข้อมูลอักขระ 3. ข้อมูลภาพ 4. ข้อมูลเสียง ข้อมูลตัวเลขคือข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนเช่นราคานํ้ามันปริมาณนํา้ ในเขื่อนอุณหภูมิข้อมูลอักขระคือข้อมูลที่เป็น ตัวอักษรตัวเลขและสัญลักษณ์ต่างๆเช่นที่อยู่ประกอบด้วยตัวเลขคือเลขที่บา้ นและอาจมีเครื่องหมายประกอบเช่น / และตัวอักษรคือชื่อถนนตำบลฯลฯข้อมูลภาพคือข้อมูลภาพถ่ายหรือภาพวาดภาพลายเส้นเช่นภาพคนแบบ 2

3

0

00

00

00

0

00

00

ก่อสร้างอาคารลายนิ้วมือภาพวาดทิวทัศน์ฯลฯข้อมูลเสียงได้แก่เสียงต่างๆที่บันทึกไว้เช่นเสียงคนเสียงดนตรีฯลฯ ประเภทของข้อมูลเมื่อจำแนกตามลักษณะแหล่งเกิดข้อมูล 1. ข้อมูลสิ่งแวดล้อม 2. ข้อมูลหน่วยงาน 3. ข้อมูลส่วนตัว 4. ข้อมูลวิทยาศาสตร์ 5. ข้อมูลข่าวและเอกสาร ข้อมูลสิ่งแวดล้อมได้แก่ข้อมูลของสิ่งที่เกิดขึ้นในสังคมและในโลกทำให้ทราบว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้างเช่นราคานํ้ามัน สภาพภูมิอากาศการประท้วงของประชาชนในประเทศต่างๆฯลฯข้อมูลหน่วยงานคือข้อมูลที่แสดงความเป็นไปหรือ สภาพในหน่วยงานเช่นประวัติพนักงานรายงานต่างๆเกี่ยวกับหน่วยงานฯลฯข้อมูลส่วนตัวคือข้อมูลส่วนตัวของ บุคคลต่างๆเช่นนํ้าหนักตัวส่วนสูงวันเดือนปีเกิดกลุม่ เลือดข้อมูลวิทยาศาสตร์คือข้อมูลเกี่ยวกับทางวิทยาศาสตร์ อาจเป็นข้อมูลทีพ่ ิสจู น์แล้วหรือกฎเกณฑ์และทฤษฎีต่างๆเช่นความเร็วของแสงหรือข้อมูลทีไ่ ด้จากการวัดหรือการ สังเกตต่างๆเช่นปริมาณธาตุต่างๆในดินณที่ดินแห่งหนึ่งลักษณะทางพันธุกรรมของพืชที่ได้จากการผสมขึ้นมาใหม่ ฯลฯข้อมูลเกี่ยวกับเอกสารได้แก่ข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับเอกสารที่มีผจู้ ัดพิมพ์ขึ้นข้อมูลประเภทนี้มีมากในห้องสมุด ต่างๆเช่นชื่อผู้แต่งชื่อหนังสือเนื้อหาสาระในหนังสือ ประเภทของข้อมูลเมื่อจำแนกตามแหล่งที่มาของข้อมูล อาจแบ่งประเภทของข้อมูลเป็น 2 ประเภทคือข้อมูลปฐมภูมิ กับ ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลปฐมภูมิคือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรงอาจได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์การสำรวจการจดบันทึกตลอดจนได้มาจากเครื่องมือวัดต่างๆข้อมูลปฐมภูมิจึงเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ ได้มาจากจุดกำเนิดของข้อมูล ข้อมูลทุติยภูมิหมายถึงข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้แล้วบางครั้งอาจมีการประมวลผลเป็นสารสนเทศไป แล้วผู้ใช้ข้อมูลไม่ได้ไปสำรวจเองตัวอย่างเช่นข้อมูลสถิติต่างๆที่มีผู้ทำไว้อาจเป็นหน่วยราชการหรือหน่วยงานอืน่ 3

3

4

3

3

3

3

4

3

ใบงานที่ 1 เรื่องหลักการพัฒนาตนเองชุมชนสังคม คำชี้แจงให้ผู้เรียนทุกคนสรุปสาระสำคัญของเรื่องที่ศึกษามาโดยสังเขปตามประเด็นต่อไปนี้ วิธีการพัฒนาตนเองมีอะไรบ้าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. วิธีการพัฒนาตนเองมีอะไรบ้าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความหมายของการพัฒนาคือ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

การพัฒนาที่ยั่งยืนคือ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ประโยชน์ที่ได้จากการพัฒนาตนเอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

หลักการพัฒนาชุมชนมีอะไรบ้าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เป้าหมายของการพัฒนาคือ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. การพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงคือ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ใบงานที่ 2 เรื่องความหมายความสำคัญและประโยชน์ของข้อมูล คำชี้แจงให้ผู้เรียนตอบคำถามในประเด็นต่างๆดังต่อไปนี้ 1. ให้อธิบายความหมายของข้อมูลพร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบพอสังเขป .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ให้อธิบายความสำคัญและประโยชน์ของข้อมูลพร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

แบบทดสอบย่อย วิชา การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม รหัสวิชา สค 21003 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรื่อง หลักการพัฒนาตนเองชุมชนสังคม 1. “การพัฒนาชุมชน” หมายถึง * ก. การกระทำที่ส่งเสริมให้กลุ่มคนมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที ข. การกระทำที่มุ่งปรับปรุง ให้กลุ่มคนที่อยู่ รวมกันมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดี ค. การกระทำที่มุ่งปรับปรุง ส่งเสริม ให้กลุ่มคนที่อยู่ รวมกันมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้นในทุกๆด้าน ง. ถูกทุกข้อ 2. ข้อใดให้ความหมายของการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ได้ถูกต้องที่สุด * ก. การพัฒนาในทุก ๆ ด้านของตนเอง ข. การพัฒนาในด้านคุณค่าของตนเอง ในทุกเรื่อง ค. การพัฒนาด้านความคิด ความรู้สึก และการกระทำ ง. การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้สิ่งที่เป็นอยู่ มีอยู่ ดีขึ้น และก้าวหน้าไปจากที่เคยเป็น 3. แนวทางในการพัฒนาตนเองอันดับแรกคืออะไร * ก. สำรวจตัวเอง ข. ปลุกใจตัวเอง ค. ลงมือพัฒนาตนเอง ง. ปลูกคุณสมบัติที่ดีงาม 4. ข้อใด ไม่ใช่ หลักของการพัฒนาชุมชน * ก. ประชาชนมีส่วนร่วม ข. ยึดประชาชนเป็นหลักในการพัฒนา ค. ทำเป็นกระบวนการและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ง. พัฒนาทุกด้านไปพร้อมๆกันอย่างรวบรัดและเร่งรีบ 5. “การพัฒนาตนเอง” หมายถึง * ก. การปรับปรุงด้วยตนเองให้ดีขึ้นกว่าเดิม ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ข. การพัฒนาตนเองให้ดีขึ้นกว่าเดิม ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ค. การส่งเสริมตนเองให้ดีทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ให้สามารถทำกิจกรรมที่พึงประสงค์ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ง. การปรับปรุงด้วยตนเองให้ดีขึ้นกว่าเดิม ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม เพื่อให้สามารถทำกิจกรรม ที่พึงประสงค์ตามเป้าหมายที่ตนตั้งไว้

6. ข้อใดเป็นบทบาทที่สำคัญที่สุดของประชาชนในการดูแลชุมชน ก. เข้าร่วมประชุมทุกครั้ง ข. เห็นคล้อยตามผู้นำทุกเรื่อง ค. แสดงความเห็นในการประชุม ง. ทำกิจกรรมพัฒนาชุมชนร่วมกันทุกครั้ง 7. สถาบันใดที่มีส่วนสำคัญเป็นลำดับแรกป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาสังคม ก. สถาบันศาสนา ข. สถาบันการเงิน ค. สถาบันครอบครัว ง. สถาบันการศึกษา 8. คนที่พัฒนาได้ดีมีลักษณะอย่างไร ก. คิดในแง่ลบอยู่ตลอดเวลา ข. มีความคิด สติปัญญาที่เฉียบแหลม ค. คิดดีเฉพาะคนที่มีผลประโยชน์ด้วย ง. คิดบวกที่จะช่วยพัฒนาตนเองและผู้อื่น 9. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ แนวทางในการพัฒนาตนเอง * ก. การส่งเสริมผู้อื่น ข. การสำรวจตังเอง ค. การปลุกใจตัวเอง ง. การปลูกฝั่งคุณสมบัติที่ดีงาม 10. ข้อใดคือประโยชน์ของการทำข้อมูลการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ก. เพื่อให้ชุมชนยกย่อง ข. เพื่อใช้ในการตัดสินใจ ค. เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาด้านต่างๆ ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ข้อ ค.

เฉลย 1. ค. การกระทำที่มุ่งปรับปรุง ส่งเสริม ให้กลุ่มคนที่อยู่ รวมกันมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้นในทุกๆ ด้าน 2. ง.การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้สิ่งที่เป็นอยู่ มีอยู่ ดีขึ้น และก้าวหน้าไปจากที่เคยเป็น 3. ก.สำรวจตัวเอง 4. ง. พัฒนาทุกด้านไปพร้อมๆกันอย่างรวบรัดและเร่งรีบ 5. ง. การปรับปรุงด้วยตนเองให้ดีขึ้นกว่าเดิม ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม เพื่อให้สามารถทำ กิจกรรมที่พึงประสงค์ตามเป้าหมายที่ตนตั้งไว้ 6. ง. ทำกิจกรรมพัฒนาชุมชนร่วมกันทุกครั้ง 7. ค. สถาบันครอบครัว 8. ง. คิดบวกที่จะช่วยพัฒนาตนเองและผู้อื่น 9. ก. การส่งเสริมผู้อื่น 10. ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ข้อ ค.

แบบสรุปผลการทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน วิชา................................................... รหัสวิชา........................................เรือ่ ง........................................... ระดับ............................................................................ กศน.ตำบล........................................................... ที่

รหัสประจำตัว ผู้เรียน

ชื่อ -สกุล

คะแนน Pre-Test

คะแนน Post-Test

สรุปผล ผ. มผ.

หมาย เหตุ

รวม ** หมายเหตุ ผ.=ผ่าน

มผ.=ไม่ผ่าน **

แบบประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ วิชา.................................................................................. เรื่อง............................................................................ วันที่.... .............................................................................ถึงวันที่........................................................................ ภาคเรียนที่.......................................... กศน.ตำบล................................................ ระดับ................................... คำชี้แจงครูผู้สอนสังเกตพฤติกรรมการทำงานร่วมกันของผู้เรียนแล้วทำเครื่องหมาย ∕ลงในช่องที่ตรงกับความ เป็นจริง

ที่

ชื่อ-สกุล

เกณฑ์การประเมิน 1. ได้คะแนน 2. ได้คะแนน 3. ได้คะแนน 4. ได้คะแนน

11 -20 10 -15 5-9 1-4

แสวงหาข้อมูลจาก แหล่งเรียนรู้ที่ กำหนด

ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์

การช่วยเหลือ เกื้อกูล

การแก้ปัญหา ความขัดแย้ง

5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1

มีพฤติกรรมการอยูร่ ่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับ มีพฤติกรรมการอยูร่ ่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับ มีพฤติกรรมการอยูร่ ่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับ มีพฤติกรรมการอยูร่ ่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับ

ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง

ลงชื่อ.....................................................ผู้ประเมิน (......................................................)

รวม

แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ONIE MODEL สาระพัฒนาสังคม รายวิชา พัฒนาตนเองชุมชนสังคม สค21003 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จำนวน 1 หน่วยกิต หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง พัฒนาชุมชน สังคม เรื่อง วิธีการจัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูล จำนวน 15 ชั่วโมง ตัวชี้วัด 1. วิเคราะห์และอธิบายข้อมูล 2. เกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนสังคม เนื้อหา 1. วิธีการจัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่หลากหลาย และเผยแพร่ข้อมูล 2. การมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม รูปแบบวิธีการเรียน พบกลุ่ม จำนวน 10 ชั่วโมง การจัดกระบวนการเรียนรู้ ขั้นที่ 1. กำหนดสภาพปัญหา (O : Orientation) 1. ครูและผู้เรียนร่วมกันพูดคุยและซักถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของชุมชนด้านต่างๆเช่นทรัพยากรสิ่งแวดล้อม, ภูมิศาสตร์, การปกครอง, การศึกษา, วัฒนธรรมในชุมชน, สภาพเศรษฐกิจในชุมชนของตนเองทั้งข้อดีและ ข้อเสียลักษณะสภาพที่เป็นอยู่จริง https://www.youtube.com/watch?v=lwQVmFUJVn4

สภาพภูมิศาสตร์ในชุมชน 2. ครูให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าการจัดทำแผนเช่นทิศทางนโยบาย, โครงการ, การจัดลำดับความสำคัญเป็นต้น และการเผยแพร่สู่การปฏิบัติในการนำไปเขียนโครงงานรวมทั้งศึกษาแนวทางการพัฒนาอาชีพในชุมชนของ ตนเอง ขั้นที่ 2 แสวงหาข้อมูลและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (N : New ways of learning)

1. ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้สื่อสิ่งพิมพ์อินเตอร์เน็ตใบความรู้ที่ 1 เรื่องหลักการพัฒนาตนเอง ชุมชนสังคมพร้อมทั้งสรุปเนื้อหาสาระสำคัญและทำใบงานที่ 1 เรื่องหลักการพัฒนาตนเองชุมชนสังคม 2. ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ใบความรู้ที่ 2 เรื่องวิธีการจัดเก็บวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ หลากหลายและการเผยแพร่ข้อมูลโดยให้ผู้เรียนกรอกแบบสำรวจข้อมูลตนเองตามใบงานที่ 2 เรื่องการสำรวจ ข้อมูลตนเองวิเคราะห์และอธิบายข้อมูลและให้ผู้เรียนร่วมกันสรุปข้อมูลของทุกคนที่ได้พร้อมทั้งวิเคราะห์ข้อมูล ร่วมกันนำมาสรุปผลการสำรวจข้อมูลในใบงานสรุปผลตามแบบฟอร์มใบงานที่ 2 เรื่องแบบสำรวจข้อมูลตนเอง ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้ (I : Implementation) 1. ครูและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญนำความรู้ที่ได้ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองชุมชนของตนเอง 2. ให้ผู้เรียนนำเสนอโครงการพัฒนาชุมชนของตนเองและผลจากการแสวงหาความรู้เป็นรายกลุ่ม ขั้นที่ 4 การประเมินผลการเรียนรู้ (E : Evaluation) 1. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญตามมาตรฐานการเรียนรู้ 2. ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การเรียนรู้ด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง ครูมอบหมาย ให้นักศึกษาค้นคว้าเรียนรู้ด้วยตนเองในเนื้อหาดังนี้ - การมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม สื่อประกอบการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเองครอบครัวชุมชนสังคม 2. ใบงานที่ 4 เรื่องการเก็บข้อมูลชุมชน 3. ใบงานที่ 5 เรื่องสำรวจความต้องการพัฒนาชุมชน 4. ใบงานที่ 6 เรื่องโครงการพัฒนาชุมชน 5. หนังสือแบบเรียนวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค21003, สื่อสิ่งพิมพ์, อินเตอร์เน็ตฯลฯ การวัดและประเมินผล 1. ใบงาน 2. ส่งงานตรงตามกําหนด

บันทึกผลหลังการเรียนรู้ ผลที่เกิดกับผู้เรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปัญหา/อุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

................................................. (.......................................) ครู กศน.ตำบล ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................... (....................................................) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอห้วยราช

ใบความรู้ที่ 3 เรื่องวิธีการจัดเก็บข้อมูลในชุมชน “ข้อคิดและการปฏิบัติตนเมื่อเข้าไปสำรวจข้อมูลในชุมชน” เทคนิคการเข้าสู่ชุมชนเป็นสิ่งที่นักศึกษาจะต้องเรียนรู้ซึ่งจะแบ่งออกได้เป็น 3 ขั้นตอนหลักๆคือการเตรียมตัว ก่อนที่จะเข้าไปสู่ชุมชนการปฏิบัติตัวเมื่ออยู่ในชุมชนและการออกจากชุมชน การลงชุมชนเราจะต้อง “พร้อม” เตรียมตัวเตรียมใจเตรียมความรู้เตรียมความสามารถเตรียมงานของตัวเองให้ เรียบร้อยพร้อมที่จะลงชุมชนอย่างสมํ่าเสมอลงไปอย่างมั่นใจไปใช้เวลาของชุมชนเป็นที่ตั้งเวลาทำงานไปตาม นัดไม่ควรผิดสัญญากับชาวบ้าน การทำงานอะไรทำที่ไหนโดยเฉพาะทำกับใครเป็นสิ่งที่นักศึกษาจะต้องเรียนรู้และเตรียมพร้อมอย่างเต็มที่ สิ่งแรกที่สำคัญที่สุดในขั้นตอนแรกก็คือการเตรียมตัวและเตรียมใจของตนเองอันดับแรกคือทำความเข้าใจถึง เป้าหมายและวัตถุประสงค์หลักในการทำงานครั้งนี้ “การสำรวจข้อมูลครั้งนี้วัตถุประสงค์คืออะไร” “ข้อมูลที่ได้จะใช้ประโยชน์อะไรอย่างไร” “จัดกระบวนการเรียนรู้ให้เขาได้รู้จักตัวของเขาเองให้เขาแก้ปัญหาด้วยตนเองจนนำไปสู่การเสริมสร้าง เศรษฐกิจชุมชนของเขาเอง” เป็นคำถามและคำตอบที่จะต้องพูดซํ้าแล้วซํ้าอีกในทุกครั้งที่ทำงานพัฒนาชุมชนสังคมเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจ บทบาทของตัวเองว่า“เราเข้าสู่ชุมชนครั้งนี้เพื่ออะไร” ……………………………… เราเข้าไปเพื่อทำงานกับชุมชนทำงานร่วมกันกับเขาไม่ได้เข้าไปช่วยเขาไม่ได้เข้าไปสอนเขาเราเข้าไปเพือ่ ร่วมกันเรียนรู้ประโยชน์ที่ได้เกิดจากการเรียนรู้ตามกระบวนการที่ถูกต้องและสมบูรณ์จะต้องไม่นำสิ่ง แปลกปลอมจากภายนอกเข้าไปสู่ชุมชนแต่สามารถนำ“ความรู้” ของเราเข้าไปได้ซึ่งเป็นความรู้จากภายนอก จากหนังสือตำราแต่เราเข้าไปเพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้โดยฐานความรู้และทุนของชุมชนดังนั้นความรู้ที่เราจะ เอาเข้าไปคือความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้เท่านั้นไม่มีการอบรมสอนบรรยายสั่งการชี้แนะและชี้นำแต่ อย่างใด เทคนิคการสนทนาในชุมชน การพบชุมชนนักศึกษาจะต้องเรียนรู้เรื่องมนุษยสัมพันธ์โดยเฉพาะความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนทักษะ เรื่องมนุษยสัมพันธ์นั้นคงจะไม่สามารถยึดเอาตามทฤษฎีได้ร้อยทั้งร้อยสิ่งสำคัญทีส่ ุดก็คือการรู้จักปรับตัวและความ ยืดหยุ่นนักศึกษาจะต้องทำในสิ่งที่ถูกต้องมากกว่าสิง่ ที่ถูกใจเรียนรูจ้ ักการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าประยุกต์ใช้สิ่งที่ ได้รํ่าเรียนมาตั้งแต่จำความได้บุคลิกลักษณะนิสัยเขาทำอย่างไรเราทำอย่างนั้นเขาไม่ชอบอะไรเราอย่าทำแบบนั้น

“คนในเมืองกับคนในชุมชนชนบทใครที่เมื่อมีคนมาอยู่ใกล้ๆแล้วจะรู้สึกอึดอัดมากกว่ากัน”

นักศึกษาจะต้องเรียนรู้เรื่องของ “ความรู้สึกเป็นเจ้าของพื้นที่ (Space) ว่าคนที่เราจะต้องเข้าคุยด้วยกันเขามี ความรู้สึกรักในพื้นที่หรือช่องห่างระหว่างคนสองคนที่กําลังคุยกันหรือทำงานด้วยกันและโดยเฉพาะคนแปลก หน้าเขาชอบที่จะให้อยู่ใกล้ๆหรือรู้สึกอึดอัดเมื่อมีคนมาอยู่ใกล้มากๆนักศึกษาจะต้องเข้าใจผู้อื่น คนในชุมชนชนบทส่วนใหญ่คุ้นชินกับการได้อยู่ในที่โล่งในที่กว้างดังนั้นเขาจะชินกับการที่อยู่แบบห่างๆกับผู้คน มากกว่าคนในชุมชนเมืองเช่นการนั่งทานข้าวในร้านอาหารโต๊ะเดียวกับคนที่เราไม่รู้จักในขณะที่โต๊ะอาหารอื่น เต็มหมด “เราจะนั่งดีไหม” คงจะเรื่องที่ตัดสินใจไม่ยากและเป็นภาพปกติเมื่อคนไปนั่งทานข้าวโต๊ะเดียวกันแต่ ไม่รู้จักกันถ้าร้านนัน้ ตั้งอยู่ในกรุงเทพฯแต่น้อยนักที่จะเห็นภาพแบบนั้นในร้านอาหารต่างจังหวัดโดยเฉพาะใน ชุมชนชนบท

ดังนั้นเวลาที่นักศึกษาเข้าไปสำรวจข้อมูลหรือจัดการสนทนาจะต้องรู้ว่าเราควรจะนั่งอยู่ห่างจากคนที่ เราคุยด้วยมากน้อยขนาดไหนนอกจากที่จะต้องดูเรื่องของสภาพพื้นที่โดยรวมรอบๆแล้วนักศึกษาจะต้องดูเพศดู วัยดูลักษณะนิสัยใจคอซึ่งจะต้องอาศัยทักษะประสบการณ์และการสังเกตอย่างละเอียดถี่ถ้วนเพื่อให้การสนทนา นั้นราบรื่นและเกิดความสบายใจทั้งผู้สัมภาษณ์และผู้ถูกสัมภาษณ์

เรื่องปัญหาและแนวทางแก้ไขในการเก็บข้อมูลชุมชน ปัญหาด้านสภาพแวดล้อม

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. แนวทางแก้ไข 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

เส้นทางในการเก็บข้อมูลบางบ้านเข้าไปลำบากระยะทางในหมู่บ้านค่อนข้างไกล ระยะทางของบ้านแต่ละหลังห่างกัน ความไม่รจู้ ักและคุ้นเคยกับพืน้ ที่ทจี่ ะไปเก็บข้อมูล มีการหลงทางเพราะไม่ศึกษาเส้นทางมาก่อน ผู้ไปเก็บข้อมูลไม่มีความชำนาญในพื้นที่นนั้ บางบ้านเลี้ยงสัตว์เช่นสุนัขดุมาก บางบ้านนํ้าท่วมเข้าไปในบ้านไม่ได้ สภาพอากาศที่ร้อนทำให้เป็นอุปสรรค์ต่อการสำรวจข้อมูลและดำเนินงาน ปริมาณนักศึกษาชายมีไม่เพียงพอ ควรหาข้อมูลเกี่ยวกับชุมชนในหมู่บ้าน เขียนแผนที่ให้ชัดเจนหรือไปสำรวจเส้นทางก่อนหรือเดินทางกันเป็นคาราวานจะได้ไม่หลง ทางกัน ศึกษาดูแผนที่แผนผังของบ้านที่จะไปก่อนลงมือปฏิบัติ สอบถามเส้นทางจากเพื่อนนักศึกษาที่รู้จักเส้นทาง ควรศึกษาเส้นทางให้ดีก่อนออกเดินทาง ควรศึกษาเส้นทางก่อนไปหรือให้ผู้ที่เคยไปนำเส้นทาง ต้องหาไม้ติดตัวไปด้วยหรือให้เจ้าของบ้านมาไล่หรือจับสุนัขไว้ควรเตรียมความพร้อมที่จะ ออกไปเก็บข้อมูล ต้องอดทนกับความหิวและอากาศที่ร้อนเพื่อฝึกความอดทน แบ่งกลุ่มคละๆกันไปมีผู้ชายอย่างน้อยกลุ่มละ 1-2 คน

ใบงานที่ 3 เรื่องการสำรวจข้อมูลตนเองวิเคราะห์และอธิบายข้อมูล คำชี้แจงให้ครูดำเนินการดังนี้ 1. ครูและผู้เรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนถึงความสำคัญของข้อมูลการสำรวจข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล 2. ครูแจกแบบสำรวจข้อมูลให้ผู้เรียนเก็บข้อมูลตนเองผ่านแบบสำรวจข้อมูลตนเอง 3. ครูและผู้เรียนร่วมกันนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจมาสรุปผลรวมกันวิเคราะห์ข้อมูลตนเองโดยใช้ค่าสถิติอย่าง ง่ายและนำเสนอในรูปของตาราง

แบบสำรวจข้อมูลตนเอง คำชี้แจง 1) แบบสำรวจฉบับนี้ใช้เป็นแบบฝึกหัดในการฝึกการเก็บข้อมูลเบื้องต้นเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการนำมาฝึกการ วิเคราะห์ข้อมูล ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัว 1. เพศ 1. ชาย 2. หญิง 2. อายุ ............ปี 3. อาชีพของบิดา 1. ข้าราชการ 2. พนักงาน/ลูกจ้างของรัฐ 3. พนักงาน/ลูกจ้างของ รัฐวิสาหกิจ 4. พนักงาน/ลูกจ้างของเอกชน 5. เกษตรกร 6. ค้าขาย/อาชีพอิสระ 7. รับจ้างทั่วไป/งานช่าง 8. อื่นๆโปรดระบุ................................................. 4. อาชีพของมารดา 1. ข้าราชการ 2. พนักงาน/ลูกจ้างของรัฐ 3. พนักงาน/ลูกจ้างของ รัฐวิสาหกิจ 4. พนักงาน/ลูกจ้างของเอกชน 5. เกษตรกร 6. ค้าขาย/อาชีพอิสระ 7. รับจ้างทั่วไป/งานช่าง 8. อื่นๆโปรดระบุ................................................. 5. รายได้ของผู้ปกครอง (บิดาและมารดารวมกัน) โดยเฉลี่ยต่อเดือน 1. ไม่เกิน 5,000 บาท 2. 5,001 – 10,000 บาท 4. 15,001 – 20,000 บาท 5. 20,001 – 25,000 บาท 6. ระดับการศึกษาสูงสุดของบิดา 1. ประถมศึกษาหรือตํ่ากว่า ปวช. 4. อนุปริญญา / ปวส.

3. 10,001 – 15,000 บาท 6. ตั้งแต่ 25,001 บาทขึ้นไป

2. มัธยมศึกษาตอนต้น

3. มัธยมศึกษาตอนปลาย /

5. ปริญญาตรี

6. สูงกว่าปริญญาตรี

7. ระดับการศึกษาสูงสุดของมารดา 1. ประถมศึกษาหรือตํ่ากว่า 2. มัธยมศึกษาตอนต้น 4. อนุปริญญา / ปวส. 5. ปริญญาตรี

3. มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช. 6. สูงกว่าปริญญาตรี

8. ครอบครัวมีพี่น้องทั้งหมด (รวมนักเรียน/นักศึกษา) ..................คนนักเรียน/นักศึกษาเป็นบุตรคนที่..............

ใบงานที่ 4 (กรต.) เรื่องการเก็บข้อมูลชุมชน คำชี้แจง: ให้ผู้เรียนนำแบบเก็บข้อมูลต่อไปนี้ไปใช้ในการเก็บข้อมูลชุมชนแล้วนำมาสรุปวิเคราะห์ร่วมกันในการ พบกลุ่มครั้งต่อไป ข้อมูลชุมชน ชื่อชุมชน...................................ตำบล...................................อำเภอ.............................จังหวัด.................................... 1.จำนวนหลังคาเรือน .................หลัง 2.จำนวนประชากรชาย ...........คนหญิง ............. คน 3.อาชีพในชุมชน เกษตรกรจำนวน .............. คน รับจ้างจำนวน .............. คน ค้าขายจำนวน .............. คน รับราชการจำนวน .............. คน ไม่มีอาชีพจำนวน .............. คน อื่นๆ (ระบุ) ................................. จำนวน .............. คน 4.รายได้เฉลี่ยของคนในชุมชนประมาณ ........................... บาท 5. ช่วงอายุ แรกเกิด – 15 ปีชาย ............ คนหญิง ............คน 16 – 35 ปีชาย ............ คนหญิง ............คน 36 – 60 ปีชาย ............ คนหญิง ............คน 60 ปีขึ้นไปชาย ............ คนหญิง ............คน 6.การคมนาคม ......................................................................................................................... 7.ทรัพยากรหลัก ...................................................................................................................... 8.ความต้องการของประชาชนในการพัฒนาชุมชน 8.1…………………………………………………………………………………………………… 8.2…………………………………………………………………………………………………… 8.3…………………………………………………………………………………………………… 8.4……………………………………………………………………………………………………

แบบทดสอบย่อย วิชา การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม รหัสวิชา สค 21003 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรื่องความหมายความสำคัญและประโยชน์ของข้อมูล 1. ข้อใดเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน ก. ข้อมูลด้านสังคม ข. ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ ค. ข้อมูลด้านครอบครัว ง. ถูกทุกข้อ 2.ข้อใด ไม่ใช่ เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูลในชุมชน ก. สังเกต ข. อธิบาย ค. สัมภาษณ์ ง. สนทนากลุ่ม 3.ข้อใดคือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน ก. ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ ข. ข้อมูลด้านประเพณีและวัฒนธรรม ค. ข้อมูลด้านระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม ง. ทุกข้อที่กล่าวมาถือว่าเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน 4.“สังเกตไปเรื่อยๆ ตามสิ่งที่พบเห็น” เป็นการสังเกตแบบใด ก. การสังเกตรอบด้าน ข. การสังเกตแบบมีโครงสร้าง ค. การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง ง. การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้างและแบบมีโครงสร้าง 5.“สังเกตตามหัวข้อ ขอบข่าย ประเด็นที่ต้องการ” เป็นการสังเกตแบบใด * ก. การสังเกตรอบด้าน ข. การสังเกตแบบมีโครงสร้าง ค. การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง ง. การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้างและแบบมีโครงสร้าง

6. ข้อใดต่อไปนี้เป็นวิธีการเก็บข้อมูลที่ประกอบด้วยคำชี้แจง วัตถุประสงค์ รายการข้อมูลที่ต้องการถาม จำแนกเป็น รายข้อ * ก. การสำรวจ ข. การสัมภาณ์ ค. การใช้แบบสอบถาม ง. การจัดเวทีประชาคม 7. ข้อใดต่อไปนี่ให้ความหมายของการวิเคราะห์ข้อมูล ได้ถูกต้องที่สุด * ก. การนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ มานำเสนอและเผยแพร่ให้กับสารณชนได้ทราบ ข. การนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาจัดกลุ่ม คำนวณค่าตัวเลข (เชิงปริมาณ) ตีความ สรุป และนำเสนอใน รูปแบบต่างๆ ค. สามารถสื่อความหมายได้การนำข้อมูลที่ได้มาจัดหมวดหมู่ สรุป และนำเสนอในรูปแบบต่างๆ ให้สามารถ สื่อความหมายได้ ง. การนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ มาจำแนก จัดกลุ่ม จัดระบบ หมวดหมู่ เรียงลำดับ คำนวณค่าตัวเลข (เชิงปริมาณ) ตีความ สรุป และนำเสนอในรูปแบบต่างๆ ให้สามารถสื่อความหมายได้ 8. ข้อใดให้ความหมายของ “ข้อมูล” ได้ถูกต้องที่สุด ก. ข่าวสาร ข้อมูลของสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเอง ข. สัญลักษณ์ ตัวเลข ข้อความ ภาพหรือเสียงที่ได้มาจากวิธีการต่างๆ ค. ข่าวสารที่เกิดขึ้นที่เป็น ข้อความ ภาพหรือเสียงที่ไ ด้มาจากวิธีการต่างๆ ง. ข่าวสารหรือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นกับสิ่งต่างๆ ที่เป็น สัญลักษณ์ ตัวเลข ข้อความ ภาพหรือเสียงที่ได้มาจาก วิธีการต่างๆ 9. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อมูล ก. นายบำเพ็ญประกอบอาชีพทำนา ข. อำเภอเมืองมี 6 ตำบล 82 หมู่บ้าน ค. ตำบลจานแสนไชยมีจำนวนครัว เรือน 300 ครัวเรือน ง. ถูกทุกข้อ 10. ข้อมูลแบ่งออกเป็นกี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท

เฉลย 1. ง. ถูกทุกข้อ 2.ก. สังเกต 3.ง. ทุกข้อที่กล่าวมาถือว่าเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน 4.ค. การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง 5.ข. การสังเกตแบบมีโครงสร้าง 6. ค. การใช้แบบสอบถาม 7. ง. การนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ มาจำแนก จัดกลุ่ม จัดระบบ หมวดหมู่ เรียงลำดับ คำนวณค่าตัวเลข (เชิงปริมาณ) ตีความ สรุป และนำเสนอในรูปแบบต่างๆ ให้สามารถสื่อความหมายได้ 8. ง. ข่าวสารหรือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นกับสิ่งต่างๆ ที่เป็น สัญลักษณ์ ตัวเลข ข้อความ ภาพหรือเสียงที่ได้มา จากวิธีการต่างๆ 9. ง. ถูกทุกข้อ 10. ข. 2 ประเภท

แบบสรุปผลการทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน วิชา..................................................... รหัสวิชา...............................เรื่อง.................................................. ระดับ............................................................ กศน.ตำบล............................................................................ ที่

รหัสประจำตัว ผู้เรียน

ชื่อ -สกุล

คะแนน Pre-Test

คะแนน Post-Test

สรุปผล ผ. มผ.

หมาย เหตุ

รวม ** หมายเหตุ ผ.=ผ่าน

มผ.=ไม่ผ่าน **

แบบประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ วิชา..................................................................................... เรื่อง......................................................................... วันที่.....................................................................................ถึงวันที่..................................................................... ภาคเรียนที่............................................ กศน.ตำบล........................................ ระดับ........................................ คำชี้แจงครูผู้สอนสังเกตพฤติกรรมการทำงานร่วมกันของผู้เรียนแล้วทำเครื่องหมาย ∕ลงในช่องที่ตรงกับ ความเป็นจริง

ที่

ชื่อ-สกุล

แสวงหาข้อมูลจาก แหล่งเรียนรู้ที่

ความคิดริเริ่ม

การช่วยเหลือ

การแก้ปัญหา

กำหนด

สร้างสรรค์

เกื้อกูล

ความขัดแย้ง

5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1

เกณฑ์การประเมิน 1. 2. 3. 4.

ได้คะแนน ได้คะแนน ได้คะแนน ได้คะแนน

11 -20 10 -15 5-9 1-4

มีพฤติกรรมการอยูร่ ่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับ มีพฤติกรรมการอยูร่ ่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับ มีพฤติกรรมการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับ มีพฤติกรรมการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับ

ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง

ลงชื่อ.....................................................ผู้ประเมิน (......................................................)

รวม

แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ONIE MODEL สาระพัฒนาสังคม รายวิชาการพัฒนาตนเองชุมชนสังคม สค 21003 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จำนวน 1 หน่วยกิต หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาชุมชนสังคม เรื่อง เทคนิคการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน

จำนวน 20 ชั่วโมง

ตัวชี้วัด 1. สามารถกําหนดแนวทางการพัฒนาตนเองครอบครัวชุมชนสังคม 2. นำศักยภาพของประเทศไทยใน 5 ด้านมาเชื่อมโยงสู่งานอาชีพ เนื้อหา 1. เทคนิคการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนเช่นการจัดทำเวทีประชาคม, การประชุมกลุ่มย่อย, การสัมมนา, การ สำรวจประชามติ, การประชาพิจารณ์ฯลฯ 2. การพัฒนาอาชีพในชุมชนและสังคมได้แก่อาเซียนกับการพัฒนาอาชีพ, จุดเด่นของประเทศไทยในการ ผลักดันเศรษฐกิจสร้างสรรค์และศักยภาพประเทศไทยกับการพัฒนาอาชีพ รูปแบบวิธีการเรียน

พบกลุ่ม 9 ชั่วโมง

การจัดกระบวนการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 การกำหนดสภาพ ปัญหา (O : Orientation) 1. ทบทวน / ติดตามผลการเรียนรู้ด้วยตนเองในการมีส่วนร่วมของการจัดทำเวทีชาวบ้าน / ประชาคมหมู่บ้าน ของกลุ่มในประเด็นตามใบงานพร้อมทั้งศึกษาใบความรู้ เรื่องการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน ขั้นที่ 2 การแสวงหาข้อมูล และจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) 1. ให้ผู้เรียนนำเสนอโครงการพัฒนาชุมชนของตนเองแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มผู้เรียนและครูและร่วมกัน วิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาความต้องการและแนวทางการแก้ไขปัญหาของชุมชนของตนเองรวบรวมโครงการของ ตนเองในแฟ้มสะสมงาน 2. ครูเชิญวิทยากรผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนาชุมชนเช่นผู้นำชุมชน/ผู้นำท้องถิ่น, พัฒนากร ชุมชนที่มีความรู้และประสบการณ์ในการบริหารและพัฒนาชุมชน/ท้องถิ่นมาบรรยายในหัวข้อเทคนิคการมี ส่วนร่วมในการจัดทำแผนและการพัฒนาอาชีพในชุมชนและสังคมในประเด็นดังต่อไปนี้ 1. การจัดทำเวทีประชาคม/การประชาพิจารณ์/การสัมมนา/การประชุมกลุ่มย่อย/การทำเวทีชาวบ้าน 2. อาเซียนกับการพัฒนาอาชีพ 3. จุดเด่นของประเทศไทยในการผลักดันเศรษฐกิจสร้างสรรค์และ

4.ศักยภาพประเทศไทยกับการพัฒนาอาชีพและให้ผู้เรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนา ชุมชนสังคมพร้อมทั้งให้ผู้เรียนสรุปเนื้อหาสาระที่ได้จากการบรรยายของวิทยากรลงในสมุดบันทึกของตนเองให้ ผู้เรียนทำใบงาน เรื่องการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและใบงาน เรื่องการพัฒนาอาชีพในชุมชนและสังคม ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้ (I : Implementation) 1. ครูและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญนำความรู้ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตไปเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต 2. ให้ผู้เรียนจัดทำโครงการพัฒนาชุมชนของตนเองจัดทำรูปเล่มรายงานและรวบรวมไว้ในแฟ้มสะสมงาน ขั้นที่ 4 การประเมินผล (E : Evaluation) 1. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญตามมาตรฐานการเรียนรู้ 2. ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การเรียนรู้ด้วยตนเอง 12 ชั่วโมง ครูมอบหมาย ให้นักศึกษาค้นคว้าเรียนรู้ด้วยตนเองในเนื้อหาดังนี้ 1. การพัฒนาอาชีพในชุมชนและสังคม - อาเซียนกับการพัฒนาอาเซียน - จุดเด่นของประเทศไทยในการผลักดันเศรษฐกิจสร้างสรรค์ - ศักยภาพประเทศกับการพัฒนาอาชีพ สื่อการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรื่องการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน 2. ใบงาน เรื่องการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน 3. ใบงาน เรื่องการพัฒนาอาชีพในชุมชนและสังคม 4. หนังสือแบบเรียนวิชาการพัฒนาตนเองชุมชนสังคม สค21003, สื่อสิ่งพิมพ์, อินเตอร์เน็ต 5. วิทยากร (ผู้นำชุมชน / ผู้นำท้องถิ่น) การวัดและประเมินผล 1. แบบประเมินหน่วยการเรียนรู้ 2. ส่งงานตรงตามกําหนด

บันทึกผลหลังการเรียนรู้ ผลที่เกิดกับผู้เรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปัญหา/อุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

................................................. (.......................................) ครู กศน.ตำบล ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................... (....................................................) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอห้วยราช

ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน ส่วนร่วมคือกระบวนการที่ประชาชนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในทุกขั้นตอนของการพัฒนาไม่ว่าจะเป็น การการมีส่วนร่วมคือกระบวนการที่ประชาชนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในทุกขั้นตอนของการพัฒนาไม่ว่าจะเป็น การวางแผนการดำเนินการการจัดทำตามแผนการกำกับติดตามการประเมินผลและการรับประโยชน์จากการ พัฒนาโดยถือว่าการพัฒนานั้นเป็นของประชาชนซึ่งสามารถแบ่งระดับของการมีส่วนร่วมได้ 3 ระดับคือ 1. ระดับเป็นผู้ใช้ประโยชน์เป็นการเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องด้วยการรับประโยชน์อย่างเดียวโดยไม่ได้มีส่วน เกี่ยวข้องอย่างอื่นซึง่ ถือเป็นระดับตํ่าสุดของการมีส่วนร่วมระดับเป็นผู้ให้ความร่วมมือเป็นระดับการมี 2. ระดับเป็นผู้ให้ความร่วมมือเป็นระดับการมีส่วนร่วมที่สูงขึ้นมาระดับนี้ประชาชนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องโดย การคอยให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่รัฐโดยเจ้าหน้าที่รัฐจะเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะขอความร่วมมือจากประชาชน ในเรื่องใดและเมื่อใดการรู้จักกาลเทศะมีความอดทนควบคุมอารมณ์ได้ดีต้องตัดสินใจได้รวดเร็วรู้จักใช้คำพูดได้ อย่างเหมาะสมและเป็นนักฟังที่ดีม 3. ระดับเป็นผู้ตัดสินใจระดับนี้ประชาชนจะเป็นผู้ศึกษาสถานการณ์และตัดสินใจที่จะดำเนินการใน เรื่องต่างๆนับตั้งแต่การวางแผนการดำเนินการการประเมินผลและการแบ่งปันผลประโยชน์เจ้าหน้าที่ของรัฐจะ เป็นเพียงผู้คอยให้คำแนะนำปรึกษาซึ่งถือเป็นระดับสูงสุดของการมีส่วนร่วมโด อย่างไรก็ตามการที่ให้มีตัวแทนของประชาชนเพียงบางคนเข้ามาร่วมประชุมกับเจ้าหน้าที่เพื่อตัดสินใจทำ กิจกรรมสำหรับหมู่บ้านนั้นไม่ใช่ “การมีส่วนร่วมของประชาชน” การมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงจะต้องเปิดโอกาสให้ทุกคนทุกกลุ่มในหมู่บ้านมีส่วนเกี่ยวข้องในการตัดสินใจ ที่จะดำเนินการใดๆเพื่อตัวเขาและเพื่อหมู่บ้านของเขาโดยตัวของเขาเองซึ่งลักษณะการทำงานดังกล่าวจะมี ลักษณะของ “หุ้นส่วน” ระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับประชาชนซึ่งจะเป็นผู้ได้รับผลที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาการ ทำงานลักษณะนี้จะต้องเริ่มโดยการรวมกลุ่มประชาชนตามกิจกรรมพัฒนาที่จัดขึ้นและค่อยๆเพิ่มความสามารถ และความรับผิดชอบในการดำเนินการตามกระบวนการพัฒนาให้แก่ประชาชนจนในที่สุดให้ประชาชนสามารถ ดำเนินงานด้วยตนเองตามลำพังได้โดยที่เจ้าหน้าที่รัฐจะต้องมีความตั้งใจและจริงใจที่จะสนับสนุนการ ปฏิบัติงานของประชาชนให้เป็นดังนี้อย่างต่อเนื่องและอดทน ขั้นตอนของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาสังคมมีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. การมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหา ขั้นตอนแรกมีความสำคัญที่สุดเพราะถ้าประชาชนยังไม่สามารถเข้าใจปัญหาและสาเหตุของปัญหาด้วย ตัวของเขาเองกิจกรรมต่างๆที่ตามมาก็ไร้ประโยชน์เพราะประชาชนจะขาดความเข้าใจและมองไม่เป็น ความสำคัญของกิจกรรมนั้นสิ่งหนึง่ ที่แน่นอนที่สุดคือประชาชนเป็นผู้อยู่กับปัญหาและรู้จักปัญหาของตนดีที่ สุดแต่อาจจะมองปัญหาของตนไม่ชัดเจนจนกว่าจะมีเพื่อนมาช่วยตนวิเคราะห์ถึงปัญหาและสาเหตุของปัญหา 2. การมีส่วนร่วมในการวางแผนการดำเนินงาน การวางแผนดำเนินกิจกรรมเป็นขั้นตอนต่อไปที่ขาดไม่ได้เพราะถ้าหากเจ้าหน้าที่ต้องการแต่ผลงานการ พัฒนาวัตถุให้เสร็จสิ้นโดยฉับไวก็จะดำเนินการวางแผนงานด้วยตนเองผลที่ตามมาก็คือต่อไปเมื่อขาดเจ้าหน้าที่

ประชาชนก็ไม่สามารถจะดำเนินการวางแผนงานได้ด้วยตนเองอาจจะมีความยากลำบากที่จะผลักดันให้ เจ้าหน้าที่ทำหน้าที่เป็นเพียงเพื่อนของประชาชนในการวางแผนเพราะประชาชนอาจจะมีการศึกษาน้อยแต่ถ้า ไม่ให้เขาเข้าร่วมในขั้นตอนนี้โอกาสที่ประชาชนจะได้รับการศึกษาและพัฒนาตนเองในการวางแผนดำเนินงานก็ จะหมดไปเพราะฉะนั้นเจ้าหน้าที่จะต้องทำใจให้ได้ว่าการศึกษาใดก็ตามต้องเริ่มจากความยากง่ายเร็วช้าจาก ระดับของผู้ที่จะรับการศึกษาไม่ใช่จากระดับความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าที่ 3. การมีส่วนร่วมในการลงทุนและปฏิบัติงาน ประชาชนมีแรงงานและมีประสบการณ์ที่สามารถเข้าร่วมในกิจกรรมขั้นนี้ได้เพราะในกิจกรรมพัฒนา บางประเภทถ้าหากให้ประชาชนร่วมลงทุนในกิจกรรมจะทำให้เขามีความรู้สึกเป็นเจ้าของเกิดการบำรุงรักษารัก และหวงแหนในทางตรงข้ามถ้าเขาไม่มีส่วนร่วมในขั้นตอนนี้ถ้าการลงทุนและการปฏิบัติงานทั้งหมดมาจาก ภายนอกถ้าเกิดอะไรเสียหายเขาก็ไม่เดือดร้อนมากนักเพราะเมื่อไม่ใช่ของเขาเขาก็จะไม่บำรุงรักษาไม่รักไม่หวง แหนนอกจากนั้นการเข้าร่วมปฏิบัติงานด้วยตนเองจะทำให้เขาเรียนรู้การดำเนินกิจกรรมอย่างใกล้ชิดและ สามารถดำเนินกิจกรรมชนิดนั้นด้วยตนเองต่อไปได้ 4. การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลงานประชาชนควรมีส่วนร่วมในการติดตามและ ประเมินผลงานเพื่อที่จะสามารถบอกได้ว่างานที่ทำไปนั้นได้รับผลดีได้รับประโยชน์หรือไม่อย่างไรดังนั้นในการ ประเมินผลควรที่จะต้องมีทั้งประชาชนในชุมชนนั้นเองและคนนอกชุมชนช่วยกันพิจารณาว่ากิจกรรมที่กระทำ ลงไปนั้นเกิดผลดีหรือไม่ดีอย่างไรซึ่งจะทำให้ประชาชนเห็นคุณค่าของการทำกิจกรรมนั้นร่วมกัน

ใบงานที่ 7 เรื่องการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน คำชี้แจง : ให้นักศึกษาตอบคำถามดังต่อไปนี้ 1.การมีส่วนร่วมคือ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.ระดับของการมีส่วนร่วมมี 3 ระดับประกอบด้วยอะไรบ้างจงอธิบาย 1............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 2............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 3............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 3. นักศึกษาสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและชุมชนได้ในขั้นตอนใดจงอธิบาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ใบงานที่ 8 เรื่องการพัฒนาอาชีพในชุมชนและสังคม ตอนที่ 1 คำชี้แจง : ให้นักศึกษาตอบคำถามดังต่อไปนี้ 1. ท่านจะนำความรู้ที่ได้รับในเรื่องการพัฒนาอาชีพในชุมชนและสังคมไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ อย่างไร ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 2. จงบอกอาชีพที่เหมาะสมกับชุมชนของท่านในสถานการณ์ปัจจุบันที่จะเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่าง น้อย2 อาชีพอธิบายพร้อมให้เหตุผลประกอบ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................

เรื่องเทคนิคการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน ตอนที่ 2 คำชี้แจงให้นักศึกษาตอบคำถามดังต่อไปนี้ 1. การจัดทำเวทีประชาคมคืออะไรมีขั้นตอนการดำเนินการอย่างไรจงอธิบาย 2. การประชุมกลุ่มย่อยคืออะไรมีขั้นตอนการดำเนินการอย่างไรการประชุมกลุ่มย่อยมีข้อดีข้อเสียอย่างไร 3. การสัมมนามีประโยชน์อย่างไรองค์ประกอบของการสัมมนามีอะไรบ้าง 4. การสำรวจประชามติหมายถึงอะไรกระบวนการสำรวจประชามติมีอะไรบ้างจงยกตัวอย่างการสำรวจ ประชามติที่นักศึกษารู้จักมา 2 เรื่อง 5. ประชาพิจารณ์คืออะไรขั้นตอนในการทำประชาพิจารณ์มีอะไรบ้าง 6. ในการเขียนโครงการนั้นหัวข้อหลักที่สำคัญประกอบด้วยหัวข้อใดบ้าง 7. ลักษณะของรายงานที่ดีมีกี่ข้ออะไรบ้าง

แบบทดสอบย่อย วิชา การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม รหัสวิชา สค 21003 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรื่องเทคนิคการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน 1. สิ่งแรกที่ต้องดำเนินการในการทำประชาพิจารณ์แผนชุมชนคือข้อใด ก. ประชาพิจารณ์ วิพากษ์วิจารณ์ แลกเปลี่ยนเรียน ข. จัดเวที สร้างความเข้าใจกับสมาชิกของชุมชนทั้งหมด ค. ปรับปรุง แก้ไขแผนให้มีความถูกต้องเหมาะสมตามมติของที่ประชุม ง. เตรียมการประชาสัมพันธ์สื่อสารให้ประชาชนได้เข้าร่วมเวทีประชาพิจารณ 2. สิ่งสุดท้ายในการดำเนินการทำประชาพิจารณ์แผนชุมชนคือข้อใด ก ประชาพิจารณ์ วิพากษ์วิ จารณ์ แลกเปลี่ยนเรียนร ข. จัดเวที สร้างความเข้าใจกับสมาชิกของชุมชนทั้งหมด ค. ปรับปรุง แก้ไขแผนให้มีความถูกต้องเหมาะสมตามมติของที่ประชุม ง. เตรียมการประชาสัมพันธ์สื่อสารให้ประชาชนได้เข้าร่วมเวทีประชาพิจารณ 3. ขั้นตอนการทำประชาคม มีกี่ขั้นตอน ก. 2 ขั้นตอน ข. 3 ขั้นตอน ค. 4 ขั้นตอน ง. 5 ขั้นตอน 4. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ ขั้นตอนการทำประชาคม ก. ขั้นวางแผน ข. ขั้นเตรียมการ ค. ขั้นดำเนินการ ง. ขั้นติดตามและประเมินผลการดำเนินการ 5. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ วัตถุประสงค์ของการทำประชาคม ก. เพื่อให้เกิดการโต้แย้งในชุมชน ข. เพื่อสร้างจิตสำนึกสาธารณะให้เกิดขึ้น ค. เพื่อค้นหาผู้นำการเปลี่ยนแปลง (แกนนำ) ในชุมชน ง. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ซึ่งกันและกันอย่างต่อเนื่อง 6. ระดับของการมีส่วนร่วมแบ่งเป็นกี่ระดับ ก. 3 ระดับ ข. 4 ระดับ ค. 5 ระดับ ง. 6 ระดับ

7. ระดับต่ำสุดของการมีส่วนร่วม จำเป็นที่จะต้องพัฒนา เป็นระดับการมีส่วนร่วมในข้อใด ก. ระดับเป็นผู้ตัดสินใจ ข. ระดับเป็นผู้รับประโยชน์ ค. ระดับเป็นผู้ให้ความร่วมมือ ง. ระดับการเป็นผู้เสียผลประโยชน์ 8. ประชาชนให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่รัฐตามโอกาสและเวลาเป็นระดับการมีส่วนร่วมในข้อใด ก. ระดับเป็นผู้ตัดสินใจ ข. ระดับเป็นผู้รับประโยชน์ ค. ระดับเป็นผู้ให้ความร่วมมือ ง. ระดับการเป็นผู้เสียผลประโยชน์ 9. ประชาชนจะเป็นผู้ศึกษาสถานการณ์ และตัดสินใจที่จะดำเนินการพัฒนาเรื่องต่างๆ เป็นระดับการมีส่วน ร่วมในข้อใด ก. ระดับเป็นผู้ตัดสินใจ ข. ระดับเป็นผู้รับผลประโยชน์ ค. ระดับเป็นผู้ให้ความร่วมมือ ง. ระดับการเป็นผู้เสียผลประโยชน์ 10.ข้อใดต่อไปนี้ถือว่า เป็นระดับสูงสุดของการมีส่วนร่วม ก ระดับเป็นผู้ตัดสินใจ ข. ระดับเป็นผู้รับประโยชน์ ค. ระดับเป็นผู้ให้ความร่วมมือ ง. ระดับการเป็นผู้เสียผลประโยชน์

เฉลย ข้อสอบมัธยมศึกษาตอนต้น ชุดที่ 5 1. ง. เตรียมการประชาสัมพันธ์สื่อสารให้ประชาชนได้เข้าร่วมเวทีประชาพิจารณ 2. ค. ปรับปรุง แก้ไขแผนให้มีความถูกต้องเหมาะสมตามมติของที่ประชุม 3. ข. 3 ขั้นตอน 4. ก. ขั้นวางแผน 5. ก. เพื่อให้เกิดการโต้แย้งในชุมชน 6. ค. 5 ระดับ 7. ข. ระดับเป็นผู้รับประโยชน์ 8. ค. ระดับเป็นผู้ให้ความร่วมมือ 9. ก. ระดับเป็นผู้ตัดสินใจ 10.ค. ระดับเป็นผู้ให้ความร่วมมือ

แบบสรุปผลการทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน วิชา.................................................. รหัสวิชา...........................................เรื่อง......................................... ระดับ................................................................... กศน.ตำบล.................................................................... ที่

รหัสประจำตัว ผู้เรียน

ชื่อ -สกุล

คะแนน Pre-Test

คะแนน Post-Test

สรุปผล ผ. มผ.

หมาย เหตุ

รวม ** หมายเหตุ ผ.=ผ่าน

มผ.=ไม่ผ่าน **

แบบประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ วิชา......................................................................... เรื่อง...................................................................................... วันที่.... ....................................................................ถึงวันที่.................................................................................. ภาคเรียนที่.............................................กศน.ตำบล.............................................ระดับ....................................... คำชี้แจงครูผู้สอนสังเกตพฤติกรรมการทำงานร่วมกันของผู้เรียนแล้วทำเครื่องหมาย ∕ลงในช่องที่ตรงกับความ เป็นจริง

ที่

ชื่อ-สกุล

แสวงหาข้อมูลจาก แหล่งเรียนรู้ที่

ความคิดริเริ่ม

การช่วยเหลือ

การแก้ปัญหา

กำหนด

สร้างสรรค์

เกื้อกูล

ความขัดแย้ง

5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1

เกณฑ์การประเมิน 1. 2. 3. 4.

ได้คะแนน ได้คะแนน ได้คะแนน ได้คะแนน

11 -20 10 -15 5-9 1-4

มีพฤติกรรมการอยูร่ ่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับ มีพฤติกรรมการอยูร่ ่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับ มีพฤติกรรมการอยูร่ ่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับ มีพฤติกรรมการอยูร่ ่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับ

ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง

ลงชื่อ.....................................................ผู้ประเมิน (..................................................)

รวม

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.