ครูผาณิต มุสิกะ Flipbook PDF


100 downloads 107 Views 36MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

หน่วยที่1 ความร ้ ู เกย ี ่ วกบ ั ทก ั ษะช ี วต ิ เรียบเรียงโดย นายแวอารงค์ สาและ นายกิตติพงษ์พันธุ์มณี นางผาณิต มุสิกะ ร้อยต ารวจเอกสาธร ไหมเกตุ


1 ค าน า เน้ือหาเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิาศึกษาทวั่ ไป วิชา ศท 0202 ศิลปะและทักษะการใช้ชีวิต จดัทา ข้ึน ส าหรับใช้ประกอบการเรียนการสอนส าหรับนักศึกษาและผู้ที่สนใจเกี่ยวกบัการวางจุดมุ่งหมายและการจัดการ ชีวิต ปัญญาทางอารมณ์หลักธรรมที่ใช้ในการด าเนินชีวิต ภาวะผู้น าการรู้จักใช้เงิน การพัฒนาตนและการเห็น คุณค่าแห่งตน สุนทรียภาพของชีวิต การเรียนรู้บุคคลในชุมชนที่เป็นแบบอย่างการดา เนินชีวิต และ ด ารงชีวิต อยา่งมีความสุข ซึงเรียบเรียงจากหนังสื่อของ อาจารย์ปานดีคงสมบัติ(ครูช านาญการพิเศษ) จากวิทยาลัยชุมชน ระนอง สถาบันวิทยาลัยชุมชนกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม ผเู้รียบเรียงหวงัวา่เน้ือหาเล่มจะเป็นประโยชน์ต่อผทู้ี่สนใจเพื่อใช้ในการดา รงชีวิตประจา วนัต่อไปและ ขอขอบคุณ อาจารย์ปานดีคงสมบัติ(ครูช านาญการพิเศษ) จากวิทยาลัยชุมชนระนอง สถาบันวิทยาลัยชุมชน กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม เป็นอย่างสูง ที่อนุเคราะห์ให้ใช้ในการประกอบการ เรียนการสอนในคร้ังน้ี คณะผู้เรียบเรียง ธันวาคม 2565


2 หน่วยที่ 1 ความร ้ ู เกย ี่วกบ ั ทก ั ษะช ี วต ิ การดา รงชีวิตอย่างมีความสุขเป็นความปรารถนาของมนุษยท์ุกคน แต่ความปรารถนา จะเป็ นไปได้ หรือไม่น้นัข้ึนอยกู่บัทกัษะชีวติและปัจจยัหลายประการ ซ่ึงบางประการก็สามารถควบคุมไดด้ว้ยตนเอง บางกรณี ก็เป็นเรื่องของสภาพสังคมและสิ่งแวดลอ้มที่ยากจะบงัคบัควบคุม ได้โดยเฉพาะปัญหาความยุง่ยากดา้นต่าง ๆ ที่ เกิดข้ึนในสังคมปัจจุบนัมีผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่แมพ้ยายามหลีกเลี่ยงแต่ก็ยากที่จะหลีกหนีได้การ ดา เนินชีวิตในสังคมปัจจุบนัจึงตอ้ง ประสบกบั ปัญหาต่าง ๆ มากมายท้งัปัญหาชีวิตส่วนตวั ปัญหาในครอบครัว และปัญหาของสังคม ทวั่ ไป การเรียนรู้และพฒันาทกัษะชีวิตในปัจจุบันจึงมีความส าคญัยิ่ง ซ่ึงน าไปสู่ความสามารถ ในการน า กระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้นการดา เนินชีวติประจา วนัการเรียนรู้ดว้ยตนเองการเรียนรู้อยา่งต่อเนื่องการทา งาน และการอยู่ร่วมกนั ในสังคม ดว้ยการสร้างเสริมความสัมพนัธ์อนัดีระหว่างบุคคลการจดัการปัญหาและความ ขดัแยง้ต่าง ๆ อยา่งเหมาะสม การปรับตวัให้ทนักบัการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ม และการรู้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลต่อตนเองและผอู้ื่น 1. ความหมายและความส าคัญของทักษะชีวิต 1.1 ความหมายของทักษะชีวิต ทักษะชีวิตมีความสัมพันธ์กับค าว่า ทักษะ หรือความสามารถที่มีลักษณะการเป็น สมรรถภาพ (Competency) ประกอบดว้ยความสามารถทางจิตใจในทกัษะการคิด การตดัสินใจการปรับตวัทกัษะชีวิต เกิด ข้ึนกบับุคคลไดโ้ดยการฝึกฝนในทุกช่วงชีวติซ่ึงมีความแตกต่างไปจากคา วา่ภูมิคุม้กนัศิลปะการดา รงชีวติและ ทกัษะการดา รงชีวิต คา ดงักล่าวน้ีเกิดข้ึนกบับุคคลไดโ้ดยการไดร้ับการขดัเกลาทางสังคม (Socialization) และ การเรียนรู้จากประสบการณ์หากพิจารณาศพัท์ในภาษาไทยและภาษาองักฤษประกอบด้วยคา ว่าทกัษะ หรือ Skill หมายถึงความชา นาญ กบัคา วา่ชีวติหรือ Life หมายถึง ความเป็นอยู่ ปรียาพรวงศ์อนุบุตรโรจน์(2543)อ้างใน คลัชมีเออร์ (Klusmier) และริบเพิล (Ripple) ให้ ความหมาย


3 ซ่ึงสัมพันธ์กับการศึกษาในวิชาจิตวิทยาศึกษา ค าว่าทักษะ หรือ Skill มีความสัมพันธ์กับคุณลักษณะ ความสามารถ และศกัยภาพทกัษะ หมายถึงความคล่องแคล่วในการประกอบ กิจกรรมอย่างใดอย่างหน่ึงให้ ดา เนินไปอยา่งต่อเนื่องตามลา ดบั ไดก้ล่าวสรุปคุณลกัษณะดงัน้ี 1)ความสามารถปฏิบตัิงานใหส้า เร็จไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ 2) สามารถแยกและมองเห็นแนวทางที่จะทา งานใหด้ีกวา่เดิม 3) สามารถรู้ผลและตรวจสอบความถูกตอ้งใหเ้ร็วและไม่ผดิพลาด 4) ทา งานอยา่งรวดเร็วและมีการประสานงานกนัเป็นอยา่งดี 5) มีความคงที่สม่ ํ าเสมอแมอ้ยใู่นภาวะแวดลอ้มต่างกนั ยงยุทธวงศ์ภิรมย์ศาสนต์ิและคณะ. (2553)กล่าวถึงความหมายในศาสตร์สาขาจิตวิทยา สังคม องคก์ร ซ่ึงเกี่ยวกบัการดูแลสุขภาพของมนุษยชาติและการศึกษาแก่มวลมนุษย์องคก์ารอนามยัโลก(WHO:1997) ได้ให้ ความหมายค า “ทักษะชีวิต” วา่เป็น ความสามารถในการปรับตวัและมีพฤติกรรมไปในทิศทางที่ถูกตอ้ง ในการ ที่จะเผชิญกบัสิ่งทา้ทายต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนใน ชีวติประจา วนัไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ และยงัเป็นสิ่งที่จรรโลงให้เกิด การด ารงไว้ซึ่ งสภาวะสุขภาพจิตที่ดี สามารถปรับตัวและมีพฤติกรรมไปในทางที่ถูกต้องในขณะที่เผชิญแรง กดดนัหรือกระทบกบัสิ่งแวดลอ้มต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนรอบตวัความสามารถน้ีประกอบดว้ยความรู้ความเขา้ใจเจต คติและทักษะในการจดัการกบั ปัญหาที่อยรู่อบตวัภายใตส้ ังคมปัจจุบนั องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือ UNESCO. (2002) ให้คา นิยามว่า ทกัษะชีวิต คือความสามารถในการปรับตวัและพฤติกรรมที่ถูกตอ้งเหมาะสมกบัการเผชิญกบั ปัญหาต่าง ๆ ในชีวติประจา วนั สถาบันราชานุกูลกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2551) ไดใ้ห้ความหมายทกัษะชีวิต ว่าเป็น ความสามารถของบุคคล ซ่ึงประกอบดว้ยความรู้เจตคติในการจดัการกบั ปัญหาต่าง ๆ รอบตวัในสังคมปัจจุบนั และเตรียมความพร้อมส าหรับการปรับตวัในอนาคต ท้งัในเรื่องบทบาทหญิง ชาย เพศสัมพนัธ์สารเสพติด สุขภาพ จริยธรรม อิทธิพลของสื่อ สิ่งแวดลอ้ม ชีวติครอบครัว ตลอดจนปัญหาสังคม ดว้ยความคิดเชิงเหตุผล ซ่ึง นา ไปสู่การตดัสินใจแกป้ ัญหาไดอ้ยา่งสร้างสรรค์ สุดารัตน์พิมลรัตนกานต์, (2558) ได้กล่าวไวว้่า ทกัษะชีวิต Life Skills คือ ทักษะที่จ าเป็ น ส าหรับ มนุษย์ เพื่อให้สามารถดา รงชีวิตอยู่ในสังคมไดอ้ย่างมีประสิทธิภาพ สงบสุขและสร้างสรรค์ประโยชน์ให้กบั


4 สังคมเจริญกา้วหนา้ต่อไป ทกัษะชีวิตและสังคม มีความส าคญัต่อการพฒันา ทรัพยากรมนุษยห์รือการพฒันาคน ทุกเพศและทุกวยัซ่ึงตอ้งผา่นกระบวนการฝึกฝนและเรียนรู้อยา่งต่อเนื่องและตลอดชีวิต การมีทักษะชีวิตและ สังคมที่ดีจะทา ให้เกิดความสามารถพฒันาตนเองสามารถปรับตวัไดด้ีในสิ่งแวดลอ้มที่มีการเปลี่ยนแปลงอนัจะ นา ไปสู่การมีชีวติที่ดีในอนาคต ในทา นองกลบักนัหากขาดทกัษะชีวติและสังคม จะทา ให้บุคคลน้นัมีปัญหาใน การปรับตวัซ่ึงจะนา ไปสู่ปัญหาสังคมอื่น ๆ ตลอดจนโอกาสที่อาจจะประสบความล้มเหลวในชีวิตได้ กล่าวโดยสรุปความหมายของค าว่า ทักษะชีวิต เป็ นความสามารถเชิ งจิตวิทยาสังคม (Social psychology) ซ่ึงเป็นความสา คญัต่อการส่งเสริมสุขภาพกายและจิตเพื่อการใช้ชีวิตในสังคม ปัจจุบนัไดอ้ยา่งปกติ สุขเมื่อเกิดปัญหาทางดา้นพฤติกรรม ความเครียด และแรงกดดนัที่เกิดข้ึนใน ชีวิต จ าเป็ นต้องได้รับการพัฒนา ความสามารถเชิงจิตสังคม อนัจะนา ไปสู่การส่งเสริมสุขภาพ ความเป็นอยทู่ ี่ดีข้ึน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ สังคม ทักษะชีวิตมีองค์ประกอบเป็ นสมรรถภาพ (Competency) จ าแนกเป็ นทักษะหลัก3 ทักษะประกอบด้วย 1) ทักษะด้านการคิด 2) การปรับตัว 3) การตัดสินใจ คา ซ่ึงมีความใกล้เคียงกับคา ว่า ทักษะชีวิต ซ่ึงได้แก่คา ว่า ภูมิคุม้กนั ศิลปะการ ด ารงชีวิต สามารถสรุปรวมความหมายของทักษะชีวิต คือความสามารถของบุคคลในการ แก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนกับตวัเอง ครอบครัว และสังคม ด้วยความรู้ความเข้าใจและการรู้เท่าทนัต่อการ เปลี่ยนแปลงในสังคม เลือกแนวทางการแกป้ ัญหาดว้ยเหตุผลที่เหมาะสม เพื่อให้บงัเกิดผลใน ด้านสร้างสรรค์ ทา ใหก้ารดา รงชีวติดา เนินต่อไปไดอ้ยา่งมีความสุข 1.2 ความส าคัญของทักษะชีวิต ทักษะชีวิตมีความส าคัญต่อบุคคล ครอบครัว ประเทศ และสังคมโลก เนื่องจากทักษะชีวิต มี ความสัมพนัธ์กบัคุณภาพชีวิต และการแกไ้ขปัญหาในระดบับุคคล ซ่ึงส่งผลต่อคุณภาพของ ประชากรโดยรวม ทกัษะชีวติเริ่มตน้จากฝึกฝนใหบุ้คคลมีพลงัเสริมสร้าง างใหก้บัตนเอง (Empowerment) ใช้ในการพัฒนาสุขภาพ หากบุคคลสามารถรักษาสุขภาพของตนเองได้แล้วจะเป็ น ผลดีในการพัฒนาด้านสติปัญญาอารมณ์และสังคม พร้อมการแกไ้ขปัญหาอย่างประสิทธิภาพ และไดน้า ทกัษะชีวิตมาใช้ในการพฒันาบุคลิกภาพเพื่อการป้องกนั ปัญหาสังคม ซ่ึงเกิดจาก พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของมนุษย์ทักษะชีวิตได้การน าทักษะชีวิตมาใช้ในประเทศ ไทยเริ่มตน้การใชใ้นสถานศึกษาท้งัระดบัการศึกษาข้นัพ้ืนฐาน และระดับอุดมศึกษาโดยใช้โปรแกรมทักษะชีวิต ศึกษา Life Skills Education เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการพฒันาตนเองและการอยรู่ ่วมกนั ในสังคมไดอ้ยา่งมี ความสุข ซ่ึงเป็นผลดีในดา้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมนุษยแ์ละการแกป้ ัญหาสังคม ด้านการปรับเปลยี่นพฤติกรรมมนุษย์


5 ภายหลังจากการปฏิรูปการศึกษา พ.ศ. 2542 สถานศึกษาทุกระดับได้สนองตอบ ในปรัชญาการศึกษา ความรู้คู่คุณธรรม ดว้ยเหตุน้ีการจดัการศึกษาท้งั 2 ระดับได้ท าการบูรณาการ ทักษะชีวิตไว้ในการจัดการเรียน การสอนดา้นการทกัษะชีวิตไวใ้นรายวชิาการศึกษาทวั่ ไป ท้งัน้ีเพื่อใหเ้ด็กและเยาวชนไทยมีการพฒันาตนเองท้งั 3 มิติไดแ้ก่ 1) ทักษะการพัฒนาตน หมายถึง ทกัษะพ้ืนฐานที่จา เป็นต่อการเรียนรู้ในอนาคต ประกอบด้วย พัฒนาบุคคลให้มีทักษะการเรียนรู้–คิด - สื่อสาร 2) ทักษะพัฒนางาน หมายถึง ทกัษะพ้ืนฐานที่จา เป็นต่อการทา งาน ประกอบด้วยการจัดการ มี ความสามารถในการทา งานร่วมกบัผอู้ื่นได้ขยัน อดทน อดออม และประหยัด 3) ทกัษะพฒันาการอยรู่ ่วมกนั ในสังคม ประกอบด้วยการควบคุมตนเองได้มีความ รับผิดชอบ มีวินัยในตนเอง ช่วยเหลือผูอ้ื่น เสียสละ มุ่งมนั่พฒันามนุษยจ์ะตอ้งผ่านกระบวนการหล่อหลอมทางธรรมชาติ และการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) ด้านขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม ครอบครัว เพื่อน สิ่งแวดลอ้ม ด้านการแก้ปัญหาสังคม ทักษะชีวิตมีความส าคัญต่อการแก้ปัญหา ดังนี้ 1) ปัญหาสุขภาพจิต องค์การอนามยัโลกได้ระบุว่า ทักษะชีวิตเป็ นเสมือนเครื่องมือ ในการ สร้างภูมิคุม้กนั ให้สามารถดา รงรักษาสุขภาพจิตได้ไม่เกิดปัญหา เพราะสภาพแวดล้อมที่เกิดข้ึน มากมายใน สังคมย่อมส่งผลต่อบุคคลถ้าบุคคลมีทักษะชีวิต บุคคลยอ่มเขา้ใจปัญหา รู้เท่าทนั ปัญหาและสามารถวิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดข้ึนดว้ยเหตุผลจนสามารถแกไ้ขปัญหาต่าง ๆ ใหลุ้ล่วงไปได้ 2) ปัญหายาเสพติด เป็ นปัญหาที่สืบเนื่องจากปัญหาอาชญากรรมภายในและ ภายนอกประเทศ ที่ผขู้ายมีเครือข่ายอยใู่นทุกชุมชนและหมู่บา้น เนื่องจากหวังรายได้จากการค้ายา เสพติด ท าให้ปัญหายาเสพติด เป็นปัญหาหน่ึงที่ยากจะแกไ้ขให้หมดไป แมว้า่รัฐบาลจะใช้การปราบปรามอยา่งรุนแรงแต่ยาเสพติดก็ยงัแพร่ ระบาดอยู่ดงัน้นัวิธีการป้องกนัภยัจากยาเสพติด ที่มีประสิทธิภาพ คือการใช้ทักษะชีวิต หลีกเลี่ยงและปกป้ อง ตนเองและครอบครัวจากการแพร่ระบาด ของยาเสพติด 3) ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์การมีเพศสัมพนัธ์ที่ไม่ถูกตอ้งและเหมาะสม เช่น มีเพศสัมพันธ์ใน ระหว่างวยัเรียน มีเพศสัมพนัธ์แบบมวั่หรือรักร่วมเพศเป็นตน้ทา ให้เกิดปัญหาอื่น ๆ เป็นปัญหาที่เกิดข้ึนและ ยากจะแกไ้ข ทกัษะชีวิตจะช่วยให้บุคคลมีความเขา้ใจเรื่องเพศสัมพนัธ์และรู้ว่าป้องกนั หลีกเลี่ยงและหาทาง ออกใหก้บัตนเองไดอ้ยา่งไร เมื่อเผชิญกบั ปัญหาการ มีเพศสัมพันธ์


6 4) ปัญหาการทะเลาะวิวาทและใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา เกิดจากการใช้อารมณ์และ ความรู้สึก ตลอดจนอารมณ์กบักลุ่มและพวกพอ้งมากกวา่การใชเ้หตุผล ท าให้ขาด ความย้งัคิดในการกระทา ใด ๆ ที่นา ตนเองไปสู่การก่ออาชญากรรม ทา ให้เกิดสูญเสียอนาคต เสียโอกาส และท าให้บุพการีเสียใจการแกป้ ัญหา การขัดแย้งทุกระดับสามารถท าได้ไม่ว่าจะเป็น ระหว่างบุคคลระหว่างกลุ่มคน หรือแมแ้ต่ต่างประเทศ ท้งัน้ี คู่กรณีความขดัแยง้ตอ้งใชเ้หตุผลและผลประโยชน์ของคนส่วนใหญ่เป็นหลกัการส าคญั ในการแกป้ ัญหา ซึ่งผู้ที่ มีทกัษะชีวติสามารถนา หลกัการแห่งเหตุผลมาตดัสินแกป้ ัญหาต่าง ๆ ได้ 5) ปัญหาครอบครัว ซ่ึงส่วนมากเกิดจากสาเหตุการหยา่ร้างของพอ่แม่ท าให้ครอบครัว มีสภาพ แตกแยก ส่งผลกระทบต่อลูก ๆ ไม่วา่จะอยกู่บัพ่อหรือแม่ก็ตาม ลูกบางคนยังถูกทอดทิ้ง ใหอ้ยกู่บัญาติผใู้หญ่ท า ให้ลูกขาดความอบอุ่น ขาดการขัดเกลาทางสังคม และท าให้รู้สึกวา่ตนเอง มีปมด้อย ปัจจุบันสภาพสังคมไทยมี ปัญหาครอบครัวมาก ดงัน้นัเยาวชนตอ้ง มีภูมิคุม้กนัตนเอง ไม่วา่จะมีปัญหาครอบครัวหรือไม่ก็ตาม ซึ่งทักษะ ชีวติจะช่วยใหเ้ยาวชนมีความเขา้ใจและมีแนวทางที่ดีใหก้บัตนเองได้แมว้า่ครอบครัวจะไม่สมบูรณ์ก็ตาม 6) ปัญหาสังคม ซ่ึงเกิดจากการเปลี่ยนแปลงค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณีระบบการเมืองการ ปกครองและระบบการสื่อสารโทรคมนาคม ซ่ึงส่งผลต่อทศันคติการคิด การตัดสินใจและการแสดงออกหรือ พฤติกรรมของบุคคลโดยมีสื่อต่าง ๆ เป็นผูส้ร้างอิทธิพลต่อเยาวชนคนรุ่นใหม่มากที่สุด ถา้เยาวชนไม่มีทกัษะ ชีวิต ก็ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงตนเองไปในทางที่ เหมาะสม แต่อาจจะแสดงออกหรือมีกระทา ที่เป็นปัญหาสังคม เช่น เที่ยวเตร่ในแหล่งอบายมุขและใช้จ่ายเงินทองอย่างฟุ่มเฟือย เมื่อไม่มีเงินทองจะใช้จ่ายจึงนา ไปสู่การก่อ อาชญากรรมรูปแบบ ต่าง ๆ เช่น การขายตัวลักขโมย หรือการจ้ีปลน้ เป็ นต้น ทกัษะชีวิตจึงมีความส าคญัต่อ เยาวชนใน การคิดเลือกแนวทาง ที่ถูกตอ้งและเหมาะสมกบัตวัเอง 7) ปัญหาการพัฒนาตนเอง เนื่องจากสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เกิดนวตักรรมที่ เยาวชนจะต้องเรียนรู้จ านวนมาก ดงัน้นัเยาวชนจึงตอ้งตดัสินใจเลือกแนวทางการพฒันาตนเองวา่จะไปในทาง ใด เช่น ในด้านการสื่อสาร ด้านศิลปวัฒนธรรม หรืองานอาชีพใด จะศึกษาหาความรู้อย่างไร จะพัฒนาทักษะ ความสามารถให้เป็นที่ยอมรับท้งัตนเองครอบครัว และสังคมอย่างไร ทกัษะชีวิตจะช่วยให้เยาวชนได้รู้จกั ตนเอง รู้ความต้องการและความสามารถที่แท้จริงของตนเอง เพื่อที่จะนา ไปสู่การพฒันาตนเองอยา่งถูกตอ้งและ ส าเร็จตามเป้ าหมายของเยาวชน 8) ปัญหาสุขภาพร่างกายเยาวชน เป็นวยัที่มีการเปลี่ยนแปลงทางดา้นร่างกายและจิตใจเพราะ เป็นวยัที่เปลี่ยนจากเด็กเป็นผูใ้หญ่ทา ให้เยาวชนมีความกงัวลดา้นสุขภาพหลายดา้น รูปร่าง หน้าตาผิวพรรณ


7 และเสียง เป็ นต้น ทกัษะชีวติจะช่วยใหเ้ยาวชนเขา้ใจความเปลี่ยนแปลงของร่างกายและความตอ้งการดา้นจิตใจ ควบคู่กนั ท าให้เยาวชนสามารถปรับตนเองหรือดูแล รักษาตัวเองในทางที่ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย กล่าวโดยสรุป ทกัษะชีวิตจึงมีความส าคญัต่อการดา รงชีวิตในท่ามกลางปัญหาที่เกิดข้ึนมากมายใน สังคมเพราะทกัษะชีวิตช่วยให้รู้จกัเหตุผลและแนวทางในการแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างถูกต้องเหมาะสมทา ให้ สามารถดา รงชีวติไดอ้ยา่งเป็นสุขท้งักายและใจ 2. ความเป็ นมาของทักษะชีวิต ทกัษะชีวิตจึงเป็นสิ่งที่ทุกคนจา เป็นตอ้งมีท้งัน้ีเพราะนบัต้งัแต่มนุษยเ์กิดมาจะตอ้งไดร้ับการหล่อหลอม โดยกระบวนการตามธรรมชาติและกระบวนการทางสังคม เป็นปฏิกิริยาต่อเนื่อง เป็นลูกโซ่ระหว่างที่ผ่าน กระบวนการเหล่าน้นัมนุษยต์อ้งปะทะกบัแรงบีบ แรงกดดัน และแรงกระทบ จากภายนอกที่ส าคญัสี่แหล่งคือ ขนบประเพณีและวัฒนธรรม ครอบครัวเพื่อน และสิ่งแวดลอ้ม คนที่จะยืนหยัด อยใู่นโลกน้ีไดอ้ยา่งปกติสุขและ ไม่กลายเป็นคนเจา้ปัญหาจึงไดแ้ก่คนที่สามารถจดัการกบัแรงปะทะจากแหล่งภายนอกไดอ้ยา่งสมดุลโดยอาศยั ทกัษะชีวติที่ไดร้ับการฝึกฝนมาเป็นอยา่งดี World Health Organization (WHO) (2002) หรือองคก์ารอนามยัโลกไดบ้ญัญตัิศพัทค์า วา่ ทักษะชีวิต (Life Skills) ข้ึน โดยมีวตัถุประสงคเ์พื่อให้คนรู้จกัดูแลตนเองท้งัทางดา้นร่างกายอารมณ์และจิตใจ ซ่ึงจะส่งผล ให้คนมีสภาพการด ารงชีวิตที่มีความสุข และสามารถดา รงตนอยใู่น สังคมโดยไม่เป็นภาระของสังคม โดยเน้น ความส าคัญของบุคคลให้รู้จักการปรับตัว พร้อมที่จะ เผชิญในการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ในเวลาต่อมาไดม้ีการ เผยแพร่การศึกษาเรื่องทักษะชีวิตไปยงัหน่วยงานต่าง ๆ ทั่วโลกโดยเฉพาะองค์การช่วยเหลือเด็กแห่ง สหประชาชาติ(UNICEF) ได้น าทักษะ ชีวิตไปใชใ้นการป้องกนั โรคเอดส์โดยให้ความส าคัญในการพัฒนาคน ไม่ให้ติดเช้ือ HIV เนื่องจาก ทักษะชีวิต เป็นทักษะที่น ามาใช้เพื่อเพิ่มขีดความสามารถเชิงจิตวิทยาสังคม (psychosocial Competency) ที่จะช่วยให้บุคคลสามารถเผชิญหน้ากบัสถานการณ์ต่าง ๆ และความท้าทายใน ชีวติประจา วนัไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ ช่วยส่งเสริมให้บุคคลมีสภาวะสุขภาพจิตที่ดีรวมท้งัสามารถ ปรับตัวและ มีพฤติกรรมในทางที่ถูกต้อง ในขณะที่มีปฏิสัมพนัธ์กบัผูอ้ื่นไม่ว่าจะอยใู่นวฒันธรรมหรือสิ่งแวดลอ้มอย่างไร ในด้านสุขภาพ อาจกล่าวได้ว่า ทักษะชีวิตมีบทบาทส าคัญในการส่งเสริม สุขภาพท้งัทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม กล่าวโดยสรุปว่า “ทักษะชีวิต” ได้น าไปใช้เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในสังคมโลก ท้งัน้ีเพื่อการ พฒันาให้คนเกิดการพฒันาตนเอง โดยการใช้ความคิด การปรับตัว การตัดสินใจ การสื่อสาร การจดัการกับ


8 อารมณ์และความเครียดในการแก้ไขปัญหาให้กับตนเองได้อย่างฉลาด ด้วยเหตุน้ี“ทักษะชีวิต” จึง ประกอบดว้ยทกัษะต่าง ๆ ที่ส่งผลให้คนฉลาด รู้จักเลือกและปฏิบัติรวมท้งัการรู้จกัยบัย้งัชงั่ใจ บุคคลที่มีทักษะ ชีวิตจะเป็ นคนที่มีเหตุผล รู้จักเลือกการค้ารงชีวิต ที่ถูกต้องและเหมาะสม นอกจากน้ีทักษะชีวิตยังเป็ นตัว เชื่อมโยงระหว่างความรู้ทัศนคติและ ค่านิยม เพื่อนา ไปสู่ความสามารถที่แทจ้ริง เช่น จะท าอะไร และจะท า อยา่งไร (What to do and how to do it) ทักษะชีวิต เป็นความสามารถที่จะนา ไปสู่หนทางแห่งการมีสุขภาพที่ดี ดังที่ปรารถนา ตามขอบเขตหรือโอกาสที่จะท าได้ท้งัน้ีการน าทักษะชีวิตไปใช้ยังต้องค านึงถึงปัจจัยแวดล้อม ทางวฒันธรรมและครอบครัวที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรม ด้วยการสามารถน าทักษะชีวิตไปประยุกต์ใช้ไดอ้ยา่ง มีประสิทธิผลจะท าให้บุคคลรู้จักและเข้าใจตนเอง รับรู้และเข้าใจคนอื่น ทักษะชีวิตจะช่วย สนบัสนุนเกี่ยวกบั ความสามารถแห่งตน ซ่ึงส่งเสริมให้เกิดการมีสุขภาพจิตที่ดีสนบัสนุนหรือจูงใจ ที่จะท าให้สามารถดูแลตนเอง และบุคคลอื่น อีกท้งัป้องกนัโรคทางจิต ปัญหาทางพฤติกรรม และปัญหาทางสุขภาพต่าง ๆ อยา่งไดผ้ล การน าทักษะชีวิตมาใช้ในประเทศไทย หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้งกบัการจดัการศึกษาและการสาธารณสุข ได้บูรณาการทักษะชีวิตไวใ้นการจดัการเรียนการสอนท้ัง 8 สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย วิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษา พลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์และภาษาต่างประเทศเพื่อใหเ้กิดทกัษะชีวติ การเรียนรู้ดงัน้ี 1)การรู้จักตนเอง เข้าใจตนเองและเห็นคุณค่าของตนเอง 2)การรู้จกัคิดอยา่งมีวจิารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ 3)การรู้จักตัดสินใจ และแกป้ ัญหา 4)การรู้จักแสวงหา และใช้ข้อมูลความรู้ 5)การสื่อสารและสร้างสัมพนัธ์ภาพกบัผอู้ื่น 6)การจัดการภาวะอารมณ์และความเครียด 7)การปรับตวัท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงและริเริ่มใหม่ 8)การต้งัเป้าหมายการวางแผน และด าเนินการตามแผน 9)ความเห็นใจผู้อื่น ความรับผิดชอบ แลซาบซ้ึงในสิ่งที่ดีงามรอบตวั 3. องค์ประกอบของทักษะชีวิต การจดัแบ่งองคป์ระกอบของทกัษะชีวติน้นัมีการจดัแบ่งไวห้ลายรูปแบบโดยมีจุดเนน้ที่แตกต่างกนัจุด กา เนิดมาจากองคก์ารอนามยัโลก ต่อมาประเทศไทยไดน้า มาประยกุตใ์ชแ้ละมีการจดักลุ่มใหม่ดงัน้ี


9 3.1 องค์ประกอบของทักษะชีวิตจัดโดยองค์การอนามัยโลก องค์การอนามัยโลก(WHO) (อ้างถึงใน สุวรรณา ไชยะธน. (2548) ไดจ้ดัแบ่งองค์ประกอบของทักษะ ชีวิตโดยศึกษาวิเคราะห์ทักษะชีวิตของมนุษย์ในวฒันธรรมต่าง ๆ แม้จะมีๆ ความแตกต่างกันไปตาม ประสบการณ์ที่หลากหลายแต่โดยภาพรวมแลว้ทกัษะชีวติแบ่งไดเ้ป็น10 องค์ประกอบ หรือ5 คู่ตามพฤติกรรม การเรียนรู้3 ด้าน ดงัน้ี 1) ด้านพุทธิพสิัย มี1 คู่ประกอบด้วย ทักษะด้านความคิดวิเคราะห์วิจารณ์(Critical Thinking) เป็ นความสามารถ ที่จะวิเคราะห์ ขอ้มูลข่าวสารและประเมินปัจจยัต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อเจตคติและพฤติกรรม เช่น ค่านิยม แรงกดดนัจากกลุ่ม เพื่อนอิทธิพลจากสื่อต่าง ๆ ที่มีผลต่อการดา เนินชีวติ ทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์(Creative Thinking) ความสามารถใน การคิดออกไปอย่าง กว้างขวาง โดยไม่ยึดติดช่วยให้บุคคลสามารถนา ประสบการณ์ที่ผา่นมาใชใ้น การปรับตวัให้เขา้กบัสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในชีวติประจา วนัไดอ้ยา่งเหมาะสม 2) ด้านจิตพิสัย มี1 คู่ประกอบด้วย ทกัษะด้านความตระหนักรู้ในตน (Self-Awareness) เป็ นความสามารถในการค้นหาและเข้าใจ ในจุดดีจุดด้อยของตนเองอะไรที่ตนเองปรารถนา และไม่พึงปรารถนาและเขา้ใจในความแตกต่างจากบุคคล อื่น ๆ ทักษะด้านความเห็นใจผู้อื่น (Empathy) เป็ นความสามารถในการเข้าใจ ความรู้สึ กและ ความเห็นใจบุคคลที่แตกต่างจากเราถึงแมว้า่เราจะไม่คุน้เคย ซ่ึงจะช่วยให้เราเขา้ใจและยอมรับความแตกต่าง ของบุคคลอื่น ทา ให้เกิดความสัมพนัธ์อนัดีทางสังคม เช่น ความแตกต่าง ทางเช้ือชาติวัฒนธรรม โดยเฉพาะ บุคคลที่ตอ้งการไดร้ับการช่วยเหลือและดูแลเช่น ผู้ป่ วยโรคเอดส์ผมู้ีภาวะบกพร่องทาง จิตใจหรือบุคคลที่ไม่ เป็ นที่ยอมรับจากสังคม 3) ด้านทักษะพิสัย มี3 คู่ได้แก่ ทักษะด้านการสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Relationship and Communication Skill) สามารถช่วยให้บุคคลมีความสัมพนัธ์ซ่ึงกนัและกนั โดยใชค้า พูดท่าทาง เพื่อแสดง ความรู้สึกนึกคิดของตนเองออกมาไดอ้ยา่งเหมาะสมกบัสภาพสังคมวฒันธรรมและสถานการณ์ต่าง ๆ ก่อใหเ้กิด


10 ความเขา้ใจตรงกนั การรู้จักฟัง และรับรู้สามารถที่จะแสดงความคิดเห็นความปรารถนา ความต้องการ การ ขอร้องการเตือนและการขอความช่วยเหลือ สามารถที่จะรักษาและด ารงไว้ซึ่ งความสัมพันธ์อันดีซ่ึงเป็นสิ่ง ส าคัญต่อ การอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างปกติสุข และรวมถึงการรักษาสัมพันธภาพที่ดีของสมาชิกใน ครอบครัวที่เป็นแหล่งสา คญัของแรงสนบัสนุนทางสังคม ทักษะการตัดสินใจและการแก้ไขปัญหา (Decision Making and Problem Solving Skills) เป็ น สิ่งที่นา ไปสู่การตดัสินใจเกี่ยวกบัเรื่องราวต่าง ๆ ในชีวิต ซึ่งถ้าบุคคลมีการตดัสินใจอยา่งมีประสิทธิภาพในการ กระทา ต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้งกบัสุขภาพ โดยมีการประเมิน ทางเลือกและผลจากการตดัสินใจเลือกทางเลือกน้นัๆ เมื่อบุคคลมีปัญหาต่าง ๆ ที่ไม่ไม่สามารถ แก้ไขได้ทา ให้เกิดภาวะความตึงเครียดท้งัด้านร่างกายและจิตใจ ทกัษะการแกป้ ัญหาจะช่วยใหบุ้คคล สามารถแกป้ ัญหาต่าง ๆ ในชีวติของเขาไดอ้ยา่งถูกตอ้งเหมาะสม ทักษะการจัดการกับอารมณ์ และการจัดการกับความเครียด (Coping with Emotions and Coping with Stress skill)การรู้จกัและเขา้ใจอารมณ์ของตนเองและผอู้ื่นวา่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ซึ่งจะท าให้ สามารถตอบสนองและแสดงออกไ ยกไดอ้ยา่งเหมาะสม ในการรู้ถึง สาเหตุของความเครียดและรู้ถึงหนทางใน การควบคุมระดับความเครียดเป็ นการเปลี่ยนแปลง สิ่งแวดลอ้มต่าง ๆ ในวิถีชีวิตการเรียนรู้วิธีผอ่นคลายเมื่ออยู่ ในภาวะความตึงเครียดไดอ้ยา่ง เหมาะสมเพื่อที่จะช่วยลดปัญหาต่าง ๆ เช่น อารมณ์รุนแรงต่าง ๆ หรือความเศร้า โศกที่ส่งผลต่อภาวะดา้นสุขภาพ กล่าวโดยสรุปวา่องคป์ระกอบของทกัษะชีวิตแบ่งไดเ้ป็น 10 องค์ประกอบ หรือ5 คู่ ตามพฤติกรรมการ เรียนรู้3 ด้าน มีด้านพุทธิพิสัย มี1 คู่การคิดอยา่งมีวิจารณญาณ, ด้านจิต พิสัย มี1 คู่การตระหนักในตนเองและ การเห็นคุณค่าในตนเอง, ด้านทักษะพิสัย มี3 คู่ความสามารถสร้างความสัมพันธ์กับผูอ้ื่น ความสามารถ ตดัสินใจและมีกลไกในการควบคุมอารมณ์ส่วนองค์ประกอบการดา เนินชีวิตอย่างอิสระในวยัผูใ้หญ่ในแต่ละ ประเทศแต่ละวฒันธรรมวา่ โดยธรรมชาติมีความแตกต่างกนัไปตามสถานการณ์และประสบการณ์ที่หลากหลาย ของแต่ละบุคคลดว้ยปัจจยัการดา รงชีวติที่เกิดข้ึนในปัจจุบนั 4. ปัจจัยทเี่กยี่วข ้ องกบัปัญหาทเี่กดิขนึ้ในการด ารงชีวติิของบุคคลในปัจจุบัน ปัจจยัที่เกี่ยวขอ้งกบั ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนกบัการดา รงชีวติของคนในสังคมปัจจุบนั ไม่วา่จะเป็นปัญหา ระดับบุคคลหรือครอบครัว มีความเกี่ยวขอ้งกบัเรื่องต่อไปน้ี 4.1 บทบาทหญิงชาย


11 เป็นการปฏิบตัิตนอยา่งเหมาะสมของบุคคลท้งัเพศหญิงและชายความเปลี่ยนแปลง ทางสังคมก่อใหเ้กิด การเปลี่ยนแปลงดา้นค่านิยมของการปฏิบตัิตนอยา่งเหมาะสมของเพศหญิงและชายเช่น ค่านิยมเรื่องอิสรภาพทา ให้บุคคลที่ยึดมั่นในอิสรภาพคิดว่าตนเองจะกระท าสิ่งใด ก็ได้ซึ่ งการกระท าสิ่งหน่ึงสิ่งใดโดยไม่คิดถึง ผลกระทบที่จะเกิดข้ึนย่อมสร้างปัญหาข้ึนต่อไป หรือค่านิยมเรื่องการคบเพื่อนต่างเพศในปัจจุบนัการคบเพื่อน ต่างเพศเป็นไปอยา่งใกลช้ิดสนิทสนมจนขาดการระมดัระวงัปัญหาเรื่องเพศสัมพนัธ์ซ่ึงจะนา ไปสู่ปัญหาทาง สังคมอีกหลาย ๆ ด้าน 4.2 เพศสัมพันธ์ ความสัมพนัธ์ระหว่างหญิงและชายที่เกินกวา่ ปกติจนมีเพศสัมพนัธ์เกิดข้ึน ในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม เช่น อยู่ในวยัเรียน ทา ให้บุคคลที่ควรจะทุ่มเทเวลาและความสนใจไป กบัการเรียน ตอ้งสูญเสียเวลาใส่ใจใน ความสัมพันธ์ทางเพศ นอกจากน้ียงันา ไปสู่ปัญหาการต้งัครรภก์ ่อนวยัและก่อนเวลาที่เหมาะสม ปัญหาการติด เช้ือโรคเอดส์และปัญหาสุขภาพกายและจิต 4.3 สุขภาพกายและจิตใจ ในช่วงของการเปลี่ยนแปลงทางดา้นร่างกายตามวยั โดยเฉพาะวยัรุ่นก่อใหเ้กิดความกงัวลใจในหลาย ๆ ด้าน เช่น รูปร่าง หน้าตาและผิวพรรณ เป็ นต้น นอกจากน้ียงัมีปัญหาดา้น ซ่ึงเกิดจากการรับประทานอาหารที่ไม่ครบหมู่ รับประทานอาหารบางประเภทสุขภาพเกินไป พกัผอ่นไม่เพียงพอ มีการเสพสารเสพติด จึงท าให้มีปัญหาสุขภาพ กายและจิต 4.4 สารเสพติด สารเสพติดมีการแพร่ระบาดอยา่งรุนแรง ท าให้เยาวชนเป็ นทาสสารเสพติดจนเสียอนาคต ซึ่งเป็ นปัญหา ส าคัญระดับชาติและเป็นปัญหาที่ตอ้งแกไ้ขโดยการสร้างความเขม้แข็งให้กบัเยาวชน เพื่อให้เยาวชนมีทักษะ ชีวิต ซ่ึงจะช่วยในการจดัการกบั ปัญหาต่าง ๆ โดยสร้างสรรค์ 4.5อิทธิพลของสื่อ อิทธิพลของสื่อประกอบด้วย สิ่งพิมพ์โทรทัศน์โทรศัพท์และสื่อสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต ซึ่ งมี อิทธิพลสูงมากในปัจจุบัน เพราะการเขา้ถึงสื่อทุกอยา่งเป็นไปอยา่งง่ายดายและรวดเร็ว ประกอบกบัมีธุรกิจเขา้ มาเกี่ยวขอ้ง ทา ให้สื่อทุกประเภทพยายามช่วงชิงช่องทางการแพร่ขยายอิทธิพลของธุรกิจใหถ้ึงตวับุคคลให้มาก ที่สุด ท าให้ผทู้ี่บริโภคสื่อที่ขาดความรู้เท่าทนัตกเป็น เหยอื่ของธุรกิจน้นัๆ โดยง่าย หรือนา เอาค่านิยมมาใชผ้ิด ๆ กบัตนเองและครอบครัวก่อใหเ้กิด ปัญหาต่าง ๆ


12 4.6 สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดลอ้มแบ่งออกเป็นสิ่งแวดลอ้มทางสังคมและสิ่งแวดลอ้มทางกายภาพ ดงัน้ี 1) สิ่งแวดล้อมทางสังคม ประกอบด้วย วัฒนธรรม ค่านิยม กฎหมาย ระเบียบ วินัย จารี ต ประเพณีความคิดความเชื่อการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและที่ส าคัญมากคือระบบความสัมพันธ์ของคนใน สังคม ถา้สิ่งต่าง ๆ ที่กล่าวถึงเกิดปัญหาข้ึนเพียงอยา่งหน่ึงอยา่งใด ยอ่มทา ให้เกิดผลกระทบต่อทุกอยา่งและผล สุดทา้ยก็คือ ปัญหาของคนในสังคม 2) สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัว รวมถึงที่อยู่ห่างไกลออกไป สิ่งแวดลอ้มบางอยา่งก็สร้างปัญหาต่าง ๆ ทา ใหช้ีวิตความเป็นอยขู่องคนมีคุณภาพ ลดลงความเปลี่ยนแปลงของ สิ่งแวดลอ้มทางกายภาพมีผลกระทบต่อการปรับตวัของบุคคล ซ่ึงทา ให้บุคคลที่ปรับตวัไม่ทนัเกิดปัญหาดา้น สุขภาพร่างกายและจิตใจรวมท้งัปัญหาในดา้นสังคมดว้ย 4.7 ชีวิตครอบครัว ชีวิตครอบครัวคือรากฐานที่ส าคัญของสังคม เพราะระบบความสัมพันธ์ในครอบครัว ที่ดีมีความมนั่คง เข้าใจ กนัและเชื่อมนั่วา่ครอบครัวคือศูนยร์วมใจยอ่มทา ใหบุ้คคลในครอบครัว มีจิตใจที่เข้มแข็ง มีความมุ่งมนั่ฝ่ าฟัน อุปสรรคต่าง ๆ เพื่อให้เกิดผลส าเร็จตามที่ครอบครัวมุ่งหวงัดงัน้ันครอบครัวจึงเป็นหัวใจส าคญัของการสร้าง ทักษะชีวิต กล่าวโดยสรุปวา่ ปัจจยัที่เกี่ยวขอ้งกบั ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนกบัการดา รงชีวติของคนในสังคมปัจจุบัน ที่ เป็ นปัญหาระดับบุคคลหรือครอบครัว ก็คือ บทบาทหญิงชายดา้นค่านิยม ของการปฏิบตัิตนอยา่งเหมาะสมของ เพศหญิงและชาย มีเพศสัมพนัธ์เกิดข้ึนในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม สุขภาพกายและจิตใจ สารเสพติดท าให้ เยาวชนเป็นทาสสารเสพติดจนเสียอนาคตอิทธิพลของสื่อทา ให้ผทู้ี่บริโภคสื่อที่ขาดความรู้เท่าทนัตกเป็นเหยื่อ ของธุรกิจน้ัน ๆ โดยง่าย หรื อ น าเอาค่านิยมมาใช้ผิด ๆ กับตนเองและครอบครัวก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ สิ่งแวดลอ้มทางสังคมมีที่ส าคัญมากเพราะเป็ นระบบความสัมพันธ์ของคนในสังคม ถา้สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดปัญหาข้ึน เพียงอยา่ง หน่ึงอยา่งใด ยอ่มทา ให้เกิดผลกระทบต่อทุกอยา่ง ทุกสิ่งทุกอยา่งที่อยรู่อบตวับางอยา่งก็สร้าง ปัญหา ต่าง ๆ ทา ใหช้ีวติความเป็นอยขู่องคนมีคุณภาพลดลง ชีวิตครอบครัวเป็ นรากฐานที่ส าคัญ ของสังคม เพราะระบบ ความสัมพันธ์ในครอบครัว ที่ดีมีความมนั่คง เขา้ใจกนัและเชื่อมนั่วา่ ครอบครัวคือศูนย์รวมใจ ดงัน้นัครอบครัว จึงเป็ นหัวใจส าคัญของการสร้างทักษะชีวิตที่พึงประสงค์


13 บรรณานุกรม นางปานดีคงสมบัติ. (2564). (ศิลปะและทักษะการใช้ชีวิต). วิทยาลัยชุมชนระนอง สถาบัน วิทยาลัยชุมชน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม


หน ่ วยท ี ่ 2 ค ุ ณค ่ าและจ ุ ดม ่ ุ งหมายของช ี วต ิ เรียบเรียงโดย นายแวอารงค์ สาและ นายกิตติพงษ์พันธุ์มณี นางผาณิต มุสิกะ ร้อยต ารวจเอกสาธร ไหมเกตุ


1 ค าน า เน้ือหาเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวิชาศึกษาทั่วไป วิชา ศท 0202 ศิลปะและทักษะการใช้ชีวิต จดัทา ข้ึนสา หรับใชป้ระกอบการเรียนการสอนสา หรับนกัศึกษาและผทู้ี่สนใจเกี่ยวกบัการวางจุดมุ่งหมายและ การจัดการชีวิต ปัญญาทางอารมณ์หลักธรรมที่ใช้ในการด าเนินชีวิต ภาวะผู้น าการรู้จักใช้เงิน การพัฒนาตน และการเห็นคุณค่าแห่งตน สุนทรียภาพของชีวิต การเรียนรู้บุคคลในชุมชนที่เป็นแบบอยา่งการดา เนินชีวิต และ ด ารงชีวิตอยา่งมีความสุข ซึงเรียบเรียงจากหนังสื่อของ อาจารย์ปานดีคงสมบัติ(ครูช านาญการพิเศษ) จากวิทยาลัยชุมชนระนอง สถาบันวิทยาลัยชุมชนกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม ผเู้รียบเรียงหวงัว่าเน้ือหาเล่มจะเป็นประโยชน์ต่อผูท้ี่สนใจเพื่อใช้ในการดา รงชีวิตประจา วนัต่อไป และขอขอบคุณ อาจารย์ปานดีคงสมบัติ(ครูช านาญการพิเศษ)จากวิทยาลัยชุมชนระนอง สถาบันวิทยาลัย ชุมชนกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม เป็นอย่างสูง ที่อนุเคราะห์ให้ใช้ในการ ประกอบการเรียนการสอนในคร้ังน้ี คณะผู้เรียบเรียง ธันวาคม 2565


2 หน ่ วยท ี่2 ค ุ ณค ่ าและจ ุ ดม ่ ุ งหมายของช ี ว ิ ต การศึกษาเกี่ยวกบัชีวิตมนุษยน์อกจากการต้งัคา ถามวา่ชีวติคืออะไร ชีวิตมาจากไหน อะไรเป็นแก่น แท้หรือตวัตนที่แท้จริงของมนุษยซ์ ่ึงมีแนวคิดที่แตกต่างกนัดงัได้อธิบายมาในหน่วยที่1 ในหน่วยน้ีจะ พิจารณาคา ถาม คา พูดว่า “การเห็นคุณค่าในตนเอง” ที่สุดที่มนุษย์ควรแสวงหาอันเป็ น จุดหมายสูงสุดของ ชีวติสิ่งมีค่าที่สุดในชีวติมีสิ่งเดียว หรือหลายสิ่ง ชีวติที่ดีมีคุณค่าและชีวติที่ประเสริฐเป็นอยา่งไร ซ่ึงในการ ตอบคา ถามและอธิบายเหตุผลมีแนวความคิดที่แตกต่างกนับางคร้ังก็มีคนบอกว่า “ระดับความรักตัวเอง” “ความภาคภูมิใจในตนเอง” “ท่าทางที่ปฏิบตัิต่อตนเอง” การแสดงออกถึงคุณค่าในตนเองน้นัมีหลากหลาย เพราะฉะน้นัควรรู้ความหมายแนวคิดที่ชดัเจน ของการเห็นคุณค่าในตนเองเสียก่อน รวมถึงทางปรัชญาและ ศาสนาเกี่ยวกบัคุณค่าและจุดมุ่งหมายของชีวติ 1. แนวคดิเกยี่วกบัคุณค่าจุดม่งหมายและอดุมคติของชีวติ คา วา่คุณค่า เป็นคา ที่มีความหมายหลายนยัดว้ยกนัคา วา่คุณค่ากบัคา วา่สิ่งมีค่ามีความเชื่อมโยงกนั สิ่งมีค่าเป็นการต้งัคา ถามทางจริยศาสตร์ซ่ึงมีประเด็นที่ควรทา ความเขา้ใจดงัน้ี ความหมายของค าว่า คุณค่า พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554ไดใ้ห้ความหมายของคา ว่า คุณค่า ไวว้่า “สิ่งที่มี ประโยชน์หรือมูลค่าสูง” วิทย์วิศทเวทย์(ม.ป.ป.)กล่าววา่ “คุณค่าน้นัคือลกัษณะที่พึงประสงค,์ลักษณะที่ ควรจะเป็นหรือลกัษณะที่น่าพึงปรารถนา” ดงัน้นัคุณค่า หมายถึง สิ่งที่พึงปรารถนามีประโยชน์เป็นสิ่งที่ บุคคลต้องการและคิดว่าควรจะเป็น ส่วนคา ว่า คุณค่าของชีวิต หมายถึง การด าเนินชีวิตอย่างถูกต้อง เหมาะสมเพื่อบรรลุเป้าหมายของชีวิต โดยต้งัมนั่ในคุณงามความดีตามเกณฑ์ของสังคม อนัเป็นไปเพื่อ ประโยชน์แก่ตนเองและสังคม สิ่งมีค่านอกตัวและสิ่งมีค่าในตัว สิ่งมีค่าคือ สิ่งที่มนุษยต์อ้งการอยากได้อยากมีอยากเป็นและแสวงหา สิ่งมีค่า มี2 ประเภท คือ 1) สิ่งมีค่านอกตัว (Extrinsic Value)คือ สิ่งที่มนุษยต์อ้งการเพราะสิ่งน้ันเป็น เครื่องมือหรือเป็น บนั ไดนา ไปสู่สิ่งอื่นที่ตอ้งการไดอ้ีกไม่ไดต้อ้งการสิ่งน้นัเพราะตวัมนัเอง เช่น นกัศึกษาตอ้งการเงินเพื่อไป เรียนหนังสือ เรียนหนังสือเพื่อหาความรู้ มีความรู้เพื่อหางานท า ท างานเพื่อให้ได้เงิน เป็ นต้น เงิน การศึกษา


3 ความรู้หรือการทา งานล้วนเป็นสิ่งที่มีค่านอกตวัและ เป็นเพียงเครื่องมือ หรือทางนา (Means) ไปสู่สิ่งอื่น เท่าน้นั 2) สิ่งมีค่าในตัว (Intrinsic Value)คือ สิ่งที่มนุษยต์อ้งการมนัเพราะตวัมนัเอง ไม่ไดต้อ้งการเพราะ เป็นทางนา ไปสู่สิ่งอื่นที่อยากไดม้ากกวา่เช่น มนุษยท์า งานเพราะตอ้งการเงิน เงินนา ไปเพื่อหาความสุขและ ถา้ถามต่อไปวา่ตอ้งการความสุขเพื่ออะไรถา้ตอบไม่ไดว้า่ตอ้งการความสุขเพื่ออะไร หรือตอบวา่ความสุขก็ เพื่อความสุขความสุขเป็นสิ่งมีค่าในตนเองถา้มนุษย์แสวงหาความรู้เพื่อความรู้ความรู้ก็จะเป็นสิ่งมีค่าใน ตนเอง ท้งัความรู้และความสุขเป็นจุดหมาย สุดทา้ยที่มนุษย์ต้องการ (end) 2. คุณค่าและจุดมุ่งหมายของชีวติตามแนวปรัชญา มนุษยม์ ีความเห็นที่แตกต่างกนั ในเรื่องสิ่งมีค่าที่สุดที่มนุษยค์วรแสวงหาโดยเฉพาะความคิดเห็นใน สิ่งมีค่าในชีวิตของตนเอง และสิ่งมีค่านอกตวั โดยที่บางกลุ่มเห็นว่าความสุขเป็นสิ่งมีค่าในตนเอง สิ่งอื่น เป็นสิ่งมีค่านอกตวับางกลุ่มเห็นวา่ความรู้ความสงบ เสรีภาพต่างก็เป็นค่า ในตวัเอง บางกลุ่มเห็นวา่การมีค่า ในตวัเองมีไดห้ลายสิ่งแนวความคิดที่แตกต่างกนัเหล่าน้ีเป็นแนวคิดก็มีเหตุผลที่แตกต่างกนักล่าวโดยสรุป สิ่งที่ดีที่สุดที่มนุษยค์วรแสวงหาเป็นสิ่งมีค่า ในตวัเอง มี 5 แนวคิด คือ 2.1 แนวคิดสุขนิยม :จงแสวงหาความสุขทางกาย สุขนิยมเป็นแนวคิดที่ใหค้วามสา คญักบัความสุขทางกายและมีรากฐานมาจากแนวคิดสสารนิยม ซ่ึง เชื่อวา่ชีวิตมนุษยค์ือร่างกาย หากต้งัคา ถามว่าชีวิตตอ้งการสิ่งใดมากที่สุด คา ตอบ ต่อคา ถามน้ีเป็นที่มาของ แนวคิดสุขนิยม ซ่ึงมีประเด็นสา คญั ในการศึกษาแนวคิดน้ีดงัน้ี ความหมายของสุขนิยม (Hedonism)คา ว่า สุขนิยม มาจากคา ภาษาองักฤษว่า Hedonism ซึ่ งมีผู้ แปลเป็นภาษาไทยที่แตกต่างกนัเช่น สุขารมณ์นิยม รตินิยม สุขนิยม พจนานุกรมศพัท์ปรัชญาองักฤษ – ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2540) ไดใ้ห้ความหมายของคา วา่สุขารมณ์นิยม รตินิยม ไวว้า่ “ทรรศนะที่ถือ ว่า สุขารมณ์(Pleasure)เป็นสิ่งประเสริฐที่สุด หรือ เป็น ความดีสูงสุดของชีวิต ทรรศนะน้ีสอนให้บุคคล แสวงหาความสุขผสัสะหรือความสุขสบายหรือโลกียส์ุขในชีวิตประจา วนั ” แพททริค. (2518 ) แปลโดย กีรติบุญเจือกล่าววา่ “สุขนิยม (Hedonism) คือลทัธิที่ถือวา่ความสุขเป็นสิ่งที่ดีที่สุดของชีวิต” ผู้ที่มีทรรศนะ แบบสุขนิยมถือว่า ความสุขสบายเป็นสิ่งเดียวที่มีค่าในตวัเอง สิ่งมีค่าอื่น ๆ ที่เราต้องการ เช่น เงินทอง ความสุข เสรีภาพ ฯลฯ ลว้นแต่เป็นสิ่งที่มีค่านอกตวัเราตอ้งการสิ่งเหล่าน้ีเพระมนัเป็นเครื่องมือนา เราไปสู่ ความสุขเท่าน้นั ไม่วา่คนเราจะทา อะไรก็ตาม ถา้สืบสาวไปให้ถึงที่สุดแลว้จะพบวา่เขาทา สิ่งเหล่าน้นัก็เพื่อ


4 หลีกหนีจากความทุกขย์ากไปสู่ความสุขสบาย ดงัน้นัความสุขสบายจึงเป็นจุดหมาย ปลายทางประการเดียว ของชีวิตมนุษย์” ประเภทของสุขนิยม มีผูก้ล่าวขดัแยง้ความคิดสุขนิยมว่าการเห็นแก่ความสุขส่วนตวัน้ันทา ให้ มนุษย์กลายเป็นคนเห็นแก่ตัว จึงมีนักปรัชญาสุขนิยมเสนอว่าความสุขของ มนุษย์น้ันมี2 ประเภท (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2525และสุจิตรา รณรื่น, (2540) คือ 1) สุขนิยมส่วนบุคคล(Egoistic Hedonism)แนวคิดน้ีถือว่าเป็นความสุขส่วน ตนเป็นสิ่งมีค่ามาก ที่สุด มนุษยค์วรหลีกเลี่ยงความทุกขแ์ละแสวงหาความสุขใหแ้ก่ตนเองใหม้าก ที่สุดโดยไม่ตอ้งคา นึงถึงผอู้ื่น การกระทา ใด ๆ ก็ตามต่อบุคคลอื่นที่มนุษย์ควรกระท าเพียงเพราะ มันน าความสุขมาให้ หากน ามาซึ่งความ ทุกขก์ ็ไม่จา เป็นตอ้งไปเกี่ยวขอ้งกบับุคคลอื่น 2) สุขนิยมสากล (Universal Hedonism)แนวคิดน้ีถือว่าความสุขของคน ส่วนใหญ่มีค่ามากที่สุด มนุษยค์วรทา สิ่งที่ก่อใหเ้กิดประโยชน์สุขมากที่สุดแก่คนจา นวนมากที่สุด มนุษยค์วรทา แต่แต่สิ่งที่ก่อให้เกิด ความสุขของทุก ๆ คนในสังคม แนวคิดสสารนิยม (ชีวิตคืออะไร) แนวคิดสุขนิยม (อะไรคือจุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวติ) สสารนิยมเชื่อวา่ชีวิตเป็นเพียง ร่างกาย สุขนิยมเชื่อวา่ความสุขสบายทางกายเป็นจุดหมายสูงสุด ของชีวิต แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งแนวคิดสสารนิยมกบัแนวคิดสุขนิยม 2.2 แนวคิดวมิุตินิยม :จงแสวงหาความสุข วิมุตินิยมเป็นปรัชญาที่ไม่เห็นด้วยกับสุขนิยมโดยเห็นว่า ความสุขไม่ใช่สิ่งที่ดีที่สุด ของชีวิต แนวคิดน้ีมาจากฐานคิดที่เชื่อวา่ชีวติมนุษยค์ือจิตวิญญาณ หากต้งัคา วา่จิตวญิญาณ ตอ้งการสิ่งใดมากที่สุด รุ่ง ธรรม สุจิธรรมรักษ์ (อ้างถึงใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,2525) แนวคิดน้ีตอบวา่ตอ้งการความสงบ ของจิตเป็นสิ่งที่มีค่าควรแสงหาและเป็นเปูาหมายของชีวิต มีประเด็นส าคญั ในการศึกษาความคิดวิมุตินิยม ดงัน้ี ความหมายของค าว่า วิมุตินิยม วิทย์วิศทเวทย์(ม.ป.ป)กล่าววา่วิมุตินิยม “เห็นวา่ความสงบของ จิตและการหลุดพ้นจากความ ต้องการเป็นสิ่งที่ดีที่สุด” รุ่งธรรม สุจิธรรมรักษ์(อ้างถึงใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช) “วิมุตินิยมมีทรรศนะวา่สิ่งที่มนุษยค์วรแสวงหาคือความสงบของจิตใจที่ ปราศจากท้งัความสุขและความทุกข์ความสงบของจิตจะมีไดก้ ็ดว้ยการระงบัความอยากหรือกิเลส เมื่อไม่


5 หวงัอยากได้อะไรก็ไม่มีโอกาสเป็นสุขและความสมหวงัและไม่มีโอกาสเป็นทุกข์เพราะความผิดหวงั” แนวคิดน้ีมีความเห็นว่าสิ่งมีค่าของชีวิตมิไดอ้ยู่ที่ความสุขจากวตัถุภายนอกแต่อยู่ที่ความสงบของจิตและ วิญญาณภายในคุณค่าชีวิตอยู่ที่การมีวิญญาณไดล้ิ้มรสอะไรบางอยา่ง มิใช่การที่ร่างกายไดส้ ัมผสัรูปธรรม ภายนอกชาววิมุตินิยมเนน้เรื่องการดบัความตอ้งการและการเอาชนะตนเองวทิย์วศิทเวทย์(ม.ป.ป.) ดงัน้นั คา ว่า วิมุตินิยม หมายถึง แนวคิดที่เชื่อความสงบของจิตเป็นสิ่งมีค่าที่สุดที่มนุษย์ควรแสวงหาและเป็น จุดหมายสูงสุดของชีวิต แนวคิดวิมุตินิยมที่ส าคัญ 2ลัทธิมีนักปรัชญากรีกโบราณได้น าเสนอ ความคิดแบบวิมุตินิยมไว้ 2 ลัทธิ คือ 1) ลัทธิซีนิค (Cynicism)ลทัธิน้ีเกิดข้ึนจากความไม่พอใจต่อสภาพชีวิตของ ตัวเอง ของสังคมและ โลกที่เขาอาศยัอยู่เช่น ภยัพิบตัิจากสงคราม ความทุกข์ยาก ตลอดจนสภาพ สังคม ที่ฟุ ู งเฟูอ นกั ปรัชญาใน กลุ่มน้ีจึงไดเ้สนอแนวทางในการดา เนินชีวิตที่เรียบง่าย ไม่ตอ้งแสวงหาอะไร ตดัความตอ้งการในทุกข์สิ่ง ออกให้หมด พอใจในสิ่งที่มีอยู่และมีความสุขไปวนัๆ ไม่ตอ้งดิ้นรนแสวงหาในสิ่งที่สังคมตอ้งการ สิ่ง เหล่าน้ันไม่สามารถให้ความสุขได้เนื่องจากจิตใจไม่สงบเมื่อไม่ต้องการอะไรก็จะได้ต้องเสียใจเพราะ สูญเสียอะไรไป และก็ไม่ตอ้งดีใจเพราะไดอ้ะไรมา เมื่อไม่เสียใจไม่ดีใจจิตใจก็สงบ (สุจิตรา รณรื่น) ดงัน้นั ลทัธิน้ีจึงให้ความสา คญักบัความดบัความ ตอ้งการและใชช้ีวิตอยา่งเรียบง่ายพอใจในสิ่งที่ตนมีไม่ตอ้งดิ้นรน แสวงหา 2) ลัทธิสโตอิค (Stoicism)ลทัธิสอนคลา้ยลทัธิซินิคแต่เป็นระบบกว่าและ มีจุดมุ่งหมายค่อนขา้ง แน่นอนกวา่ลทัธิสโตอิคเชื่อวา่ โลกธรรมชาติและเอกภพ ดา รงอยแู่ละ ด าเนินไปตามกฎเกณฑ์ที่ตายตัว กฎ น้ีเป็นกฎเกณฑ์ของธรรมชาติและเขา้ใจไดด้ว้ยเหตุน้ีมนุษยก์ ็เป็นส่วนหน่ึงของธรรมชาติและสามารถใช้ สติปัญญาเขา้ใจของเหตุผลของธรรมชาติได้แต่กระน้นัมนุษยก์ ็ไม่สามารถที่จะควบคุมหรือเปลี่ยนแปลง เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่มนัจะเกิดข้ึนได้อะไรจะเกิดมนัก็ตอ้งเกิด ไม่มีใครห้ามมนัได้ถา้เราไปฝืนธรรมชาติหรือ พยายามที่จะเปลี่ยนแปลงธรรมชาติจะทา ใหเ้ราเป็นทุกข์แต่ถา้เราเขา้ใจธรรมชาติวา่มนัตอ้งเป็นไปอยา่งน้นั ตามกฎเกณฑ์หรือระเบียบของมนัเราก็มีความสุขที่แทจ้ริง แนวคิดจิตนิยม (ชีวิตคืออะไร) แนวคิดวมิุตินิยม (อะไรคือจุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวติ) จิตนิยมเชื่อวา่ตวัตนที่แทจ้ริงของ มนุษย์ คือ จิตวิญญาณ วมิุตินิยมเชื่อวา่ความสงบของจิตเป็นจุดมุ่งหมาย สูงสุด ของมนุษย์


6 แสดงความสัมพนัธ์ของแนวคิดจิตนิยมกบัแนวคิดวมิุตินิยม 2.3 แนวคิดปัญญานิยม :จงแสวงหาปัญญาเพื่อเข้าถึงสัจธรรม ปัญญานิยมจดัอยใู่นกลุ่มแนวคิดที่ถือวา่ความสุขของชีวิตมนุษยม์ีสิ่งอื่นที่มีค่ามากกวา่ความสุขการ แสวงหาแต่ความสุขทา ให้มนุษยไ์ม่ต่างจากสัตว์แนวคิดน้ีเสนอว่าการแสวงหาปัญญา เพื่อเขา้ถึงสัจธรรม เป็นสิ่งมีค่าที่สุดในชีวติ ปัญญาเป็นจุดหมายของชีวติมนุษย์ซ่ึงมีประเด็นสา คญั ในการศึกษา ดงัน้ี ความหมายของปัญญานิยม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ได้ให้ความหมายของ คา วา่ ปัญญา ไวว้า่ “ความรอบรู้ความรู้ทวั่ความฉลาดเกิด แต่เรียนและคิด” ปัญญา หมายถึง ความสามารถ ในการใช้เหตุผลเพื่อแสวงหาความจริง ปัญญานิยม คือลทัธิที่ถือวา่ ปัญญาหรือความรู้เป็นสิ่งที่ดีที่สุดและ เป็นสิ่งมีค่าในตนเองความสุขเป็นเพียงวิถีที่จะน าไปสู่กิจกรรมทางปัญญาเท่าน้ัน สุจิตรา รณรื่น (2540)ปัญญานิยมคือทรรศนะที่ถือวา่การ มีความรู้เพื่อเขา้ถึงสัจธรรมเป็นสิ่งที่มีค่าที่สุดในชีวติ ปัญญาหรือ ความรู้เป็นสิ่งที่ดีที่สุด ของมนุษย์วิทย์วิศทเวทย์(ม.ป.ป.) ดงัน้นั ปัญญานิยมคือแนวคิดที่เชื่อว่าปัญญาเป็น จุดหมายสูงสุดที่มนุษย์ ควรเข้าถึง ประเภทของความรู้ปัญญานิยมและสุขนิยม มีความเห็นที่แตกต่างกนั ในเรื่องค่าของความสุขกบั ความรู้โดยที่ชาวสุขนิยมเชื่อว่าความสุขเป็นสิ่งมีค่าในตวัเอง ความรู้เป็น สิ่งมีค่ารอบตวัและเป็นเพียง เครื่องมือแสวงหาความสุขของมนุษย์ส่วนชาวปัญญานิยมเชื่อว่า ความรู้เป็นสิ่งที่มีค่าในตวัเองความสุข เป็นสิ่งมีค่านอกตวัค่าของความสุขอยู่ที่ทา ให้มนุษย์หาความรู้ได้ดีข้ึนเท่าน้ัน ปัญญาจึงมีค่ามากกว่า ความสุขโดยที่ปัญญานิยมไดแ้บ่งความรู้ออกเป็น 2 แบบ คือ 1) ความรู้ที่ช่วยให้มนุษย์มีความสุขสบายมากขึน้และตอบสนองความ ต้องการทางร่างกายไดด้ีข้ึน ความรู้แบบน้ีหนีไม่พ้นจากร่างกาย ยงัติดอยู่กับร่างกายและถือว่า ร่างกายส าคัญที่สุด เช่นความรู้ทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการแสวงหาความรู้แบบน้ีก็คือหา วิธีการ ที่จะตอบสนองความตอ้งการของ ร่างกาย 2) ความรู้บริสุทธ์ิเป็นสัจธรรมอมตะไม่เกี่ยวขอ้งกบัการสนองความอยากของร่างกายความรู้แบบน้ี รู้แลว้ไม่ไดป้ระโยชน์และไม่ทา ให้มีความสุขมากข้ึน แต่รู้แลว้ทา ให้ค่าของคนสูงข้ึน ปัญญานิยมถือวา่การ เขา้ใจสัจจะของชีวิต โลกและจกัรวาลทา ให้ค่าของมนุษยส์ูงข้ึน และทา ให้มนุษยต์ ่างจากสัตว์ความรู้ที่ ปัญญานิยม ยกยอ่งคือความรู้บริสุทธ์ิซ่ึงทา ให้มนุษยม์ ีค่า มากกวา่สัตวแ์ละเขา้ถึงสัจจะธรรมสูงสุดของชีวิต กลายเป็ นผู้ประเสริฐ


7 แนวคิดจิตนิยม (ชีวิตคืออะไร) แนวคิดปัญญานิยม (อะไรคือจุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวติ) จิตนิยมเชื่อวา่ตวัตนที่แทจ้ริงของ มนุษย์ คือ จิตวิญญาณ ปัญญานิยม นิยมเชื่อวา่ความสงบของจิตเป็น จุดมุ่งหมายสูงสุดของมนุษย์ แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งแนวคิดจิตนิยมกบัแนวคิดปัญญานิยม 2.4 แนวคิดอัตถิภาวนิยม : จงแสวงหาเสรีภาพ แนวคิดอตัถิภาวนิยม แปลมาจากภาษาองักฤษวา่ Existentialism ซ่ึงเป็นแนวคิด ที่มีอิทธิพลอยา่ง กวา้งขวางในโลกปัจจุบนัโดยเฉพาะคนหนุ่มสาวที่กา ลงัตื่นตัวขอเสรีภาพและ ความเป็ นธรรมโดยเรียกร้อง ใหท้บทวนหลกัเกณฑแ์ละมาตรการต่าง ๆ ที่ใชก้นัอยใู่นสังคม แนวคิด น้ีมีรากฐานมาจากแนวคิดจิตนิยม เนน้ ใหม้นุษยส์รรหาเสรีภาพอนัเป็นธาตุแทข้องมนุษย์มีประเด็น สา คญั ในการศึกษา ดงัน้ี ความหมายของค าว่า อัตถิภาวนิยม คา วา่อตัถิภาวนิยม มาจากภาษา บาลีคืออตัถิแปลวา่เป็นอยู่ ภาวะ แปลว่า สภาพ ตรงกบัคา ศพัท์ภาษาองักฤษว่าExistence แปลว่าความเป็นอยู่กีรติบุญเจือ. (2522) พจนานุกรมศัพท์ปรัชญาอังกฤษ-ไทยฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (2540) ไดใ้ห้ความหมายของคา วา่อตัถิภาวะ นิยม ไวว้า่ “ทรรศนะทางปรัชญาที่ให้ความส าคญัแก่ปัจเจกภาพ เสรีภาพมากกวา่ระเบียบกฎเกณฑ์เนน้การ สร้างสรรค์มากกวา่การอนุรักษ์ระเบียบแบบแผน ความรู้สึกมากกวา่เหตุผลและให้ความส าคญัแก่ความรู้ เชิงอตันัย.. เช่น ความรู้ที่ได้จากการประสบด้วยตนเอง มากกว่าความรู้เชิงปรนัย... เช่น ความรู้ที่เกิดจาก เหตุผล” แนวคิดน้ีเกิดข้ึนเนื่องจากตอ้งการกระตุน้ ใหม้นุษยต์ระหนกัในสถานภาพบทบาทหนา้ที่ของมนุษย์ และเนน้ ให้ตระหนกัในความเป็นตวัของตวัเองมากที่สุด โดยย้ ํ าเรื่องความมีอยู่ (Existence) การมีอยใู่นที่น้ี ไม่ใช่การมีชีวิตอยู่พืชและสัตวก์ ็มีชีวติอยู่พวกมนัมีอยแู่ต่ไม่จา เป็นตอ้ง มาขบคิดวา่การมีอยนู่้ีมีความหมาย วา่อยา่งไร มนุษยเ์ป็นสิ่งมีชีวติอยา่งเดียวที่ตระหนกัถึงการมีอยขู่องตน การมีอยขู่องมนุษยม์ ีความส าคญักวา่ การที่เขาเป็ นอะไร “การมีอยขู่องฉนัสา คญักวา่ที่ฉนัเป็น” การมีอยมู่ ีมาก่อนสาระคา วา่สาระหมายถึง สิ่งซ่ึง เป็นองค์ประกอบของสรรพสิ่ง หมายถึง ธรรมชาติหรือตวัตน มนุษยไ์ม่มีธรรมชาติที่ติดตวัมาต้งัแต่เกิด ดงัน้ันมนุษยจ์ึงตอ้งสร้างสรรค์ตวัของเขาเองข้ึนมา เขาตอ้งสร้างธรรมชาติหรือสาระของเขา เพราะสิ่งน้ี ไม่ไดถู้กกา หนดไวล้่วงหน้า มนุษยไ์ม่มีธรรมชาติที่เป็ นนิรันดร์ มนุษย์ถูกสาปให้ต้องปรับเปลี่ยนตัวเองไป เรื่อย ๆ ดงัน้นัมนุษยจ์ึง ตอ้งตดัสินใจเองวา่จะมีชีวติอยา่งไร กอร์เดอร์Gaarder. (2540)


8 ธีระพงษ์ มีไธสง. (2551) กล่าวถึงแนวคิดอตัถิภาวนิยมวา่เป็นกลุ่มแนวคิด ที่เสนอให้มนุษยก์ลบัมา หาตัวเอง และท าตามเสรีภาพอยา่งแทจ้ริงแต่การกระทา ตามเสรีภาพของมนุษย์ ตอ้งมีความรับผิดชอบควบคู่กนัเสมอ หรืออาจกล่าวได้ง่าย ๆ ว่าเสรีภาพจะตอ้งมาคู่กบัความ รับผิดชอบ เสมอ ดงัน้ี แนวคิดอัตถิภาวนิยม แบ่งเป็ น 2 ฝุาย เนื่องจากอตัถิภาวนิยมเริ่มตน้จากความไม่พอใจจากระบบ แนวคิดเก่า ที่พยายามตีกรอบความคิดดว้ยวธิีการและเหตุผลต่าง ๆ ผนวกกบัสูตรส าเร็จเฉพาะตนที่ไม่อาจใช้ กบัคนอื่นได้การแก้ปัญหาชีวิตและสังคมน้ันจะต้องมีพ้ืนฐานอยู่บนความจริงแห่งการมีอยู่ของตนใน สิ่งแวดลอ้มจริงที่กา หนดใหต้้งัแต่เกิดจนถึงปัจจุบนัแนวคิดทวั่ๆ ไปของอตัถิภาวนิยมแบ่งเป็น 2 ฝาย คือ 1) ฝายที่เห็นว่าศาสนามีความส าคัญที่จะกล่อมเกลาควบคุมสัญชาตญาณ มนุษยท์ ี่มกัปกปูองตนให้ ปลอดภยัดว้ยการรุกรานฝุายตรงกนัขา้มเสมอ ดงัน้นัศาสนาจึงช่วยให้มนุษยม์ ีกรอบแห่งความรับผิดชอบ ร่วมกันเพื่อควบคุมกิเลสแห่งความเป็นปุถุชนให้อยู่ในกรอบหรือ ขอบเขตที่ดีงาม พระมหาแสวง ปัญญาวุฑฒิ. (2544) 2) ฝายที่เห็นว่าศาสนาไม่ส าคัญโดยให้เหตุผลว่ามนุษยส์ามารถแก้ปัญหา ได้โดยไม่ต้องอาศัย ศาสนา ยิ่งกว่าน้ันการนับถือศาสนาอาจเปิดโอกาสให้คนฉลาดเอาเปรียบคนโง่โดยเสนออุดมคติให้ หลงใหลจนทา ให้ผนู้บัถือใชเ้ป็นคา แกต้วัเพื่อหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบที่จะตอ้งเผชิญหนา้กบั ปัญหาดว้ย ตนเองและขบคิดหาทางแกป้ ัญหาดว้ยตนเอง กีรติบุญเจือ. (2522) แนวคิดจิตนิยม (ชีวิตคืออะไร) แนวคิดอัตถิภาวนิยม (อะไรคือจุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวติ) อัตถิภาวนิยมเชื่อวา่ตวัตนที่แทจ้ริงของมนุษย์คือ จิต จิต มนุษยว์า่งเปล่าและอิสระแก่นแทข้องมนุษย์คือเสรีภาพ อตัถิภาวนิยมสอนวา่การคน้พบตนเอง คือเสรีภาพ เป็ นจุดหมายของชีวิต แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งแนวคิดจิตนิยมกบัอตัถิภาวนิยม 2.5 แนวคิดมนุษยนิยม :จงมองรอบด้าน แนวคิดมนุษยนิยมเป็นแนวคิดที่เห็นขอ้บกพร่องของแนวคิดท้งัสี่ที่กล่าวมาข้างต้นโดยเห็นว่า จุดหมายของชีวิตมนุษยไ์ม่ได้มีสิ่งเดียว แต่มนุษยส์ามารถมีจุดหมายของชีวิตได้หลายอย่าง แนวคิดน้ีจึง เสนอให้มองรอบด้านด้วยเหตุที่แนวคิดท้งัสี่น้ันมองมนุษยส์ุดไปดา้นเดียวแนวคิดมนุษยนิยมมีรากฐาน ความคิดมาจากแนวคิดธรรมชาตินิยมที่เชื่อว่ามนุษยเ์ป็นท้งัร่างกายและจิตร่างกายและจิตมีความส าคญัเท่า


9 เทียมกนัจุดหมายของชีวิตมนุษยจ์ึงมีหลายด้าน มีประเด็น ส าคญั ในการศึกษาเกี่ยวกบัแนวคิดมนุษยนิยม ดงัน้ี ความหมายของค าว่า มนุษยนิยม พจนานุกรมศัพท์ปรัชญาอังกฤษ ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2540) ได้ให้ความหมายของคา ว่า มนุษยนิยม ไวว้่า ทรรศนะที่ถือว่ามนุษย์เป็นสิ่งหน่ึงในธรรมชาติมี ศกัด์ิศรีมีค่าและมีความสามารถที่จะพฒันาตนเองโดยอาศยัเหตุผล และ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ไม่ตอ้ง อาศัยอ านาจเหนือธรรมชาติแต่อยา่งใด” รุ่งธรรม สุจิธรรมรักษ์อา้งถึงใน มหาวิทยาลยัสุโขทยัธรรมาธิราช กล่าวถึงแนวคิดมนุษยนิยมว่า “มนุษยนิยมมีความเห็น ว่าท้งัความสุขทางกายความสงบของจิตใจการมี ปัญญาความรู้และสิ่งอื่น ๆ ที่มนุษยส์ามารถชื่น ชมได้ท้งัหมดน้ีล้วนเป็นสิ่งมีค่าในตนเอง ไม่มีอะไรมี ค่าสูงสุด จุดหมายชีวิตมนุษยค์ือการได้ลิ้มรส สิ่งมีค่าเหล่าน้ีอย่างทวั่ถึงและประสมกลมกลืนกนั ” ดงัน้ัน แนวคิดมนุษยนิยมจึงหมายถึงชีวิตที่เชื่อวา่จุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิตมนุษยม์ ีหลายดา้นท้งัความสุขความ สงบ ปัญญาและเสรีภาพลว้นเป็น สิ่งมีค่าที่มนุษยค์วรแสวงหา มุมมองมนุษยนิยมต่อทรรศนะ ท้ัง 4 แนวคิด มนุษยนิยมเห็นว่าทรรศนะ ท้งั 4 ที่กล่าวมาคือ สุข นิยม วิมุตินิยม ปัญญานิยม และอตัถิภาวนิยม แต่ละทรรศนะมีส่วนถูกในแง่ของตน แต่มนุษยนิยมมองว่า ทรรศนะเหล่าน้ีมองชีวิตแคบไป อตัถิภาวนิยมน้นัสอนใหม้นุษยท์า ทุกอยา่งใจจริง เนน้เสรีภาพรู้สึกอยา่งไร ก็ทา อยา่งน้นั โดยไม่ตอ้งคา นึงถึงแบบแผนกฎเกณฑ์ใด ดงัน้นัถา้มนุษยร์ู้สึกอยากจะฆ่าใครก็ไปฆ่าอยา่งน้นั หรืออตัถิภาวนิยมตอ้งการใหม้นุษยเ์ป็นตนเอง นบัเป็นสิ่งสมควรแต่ท้งัน้ีตอ้งมีขอบเขต ชีวติที่เกิดมาโดยไม่ เคยเป็ นตัวของตัวเองเลยน้ันเป็นชีวิตที่น่าสงสารแต่ชีวิตที่เอาแต่ความรู้สึกของตนเองเป็นใหญ่น้นัจะอยู่ ร่วมกบัคนอื่นไดอ้ยา่งไรวิทย์วิศทเวทย.์(ม.ป.ป.)แนวคิดสุขนิยมน้นั ให้ความส าคญัต่อร่างกายมากเกินไป ส่วนแนวคิดวิมุตินิยม และปัญญานิยมน้ันให้ความส าคญักับจิตวิญญาณมากเกินไป มนุษยนิยมเห็นว่า ร่างกายและจิตใจ มีความส าคญัเท่าเทียมกนัความสุขสบายเป็นอาหารทางกายฉันใด ความสงบของจิตและ ปัญญาความรู้ก็เป็นอาหารทางใจฉนัน้นัสุจิตรา ร่มรื่น. (2540) แนวคิดธรรมชาตินิยม(ชีวิตคืออะไร) แนวคิดมนุษยนิยม (อะไรคือจุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวติ) ธรรมชาตินิยมเชื่อวา่ตวัตนที่แทจ้ริง ของ มนุษย์คือร่างกายและจิต วิญญาณ มนุษยนิยมเชื่อวา่ความสุขทางกายความสงบของจิต ปัญญา เขา้ถึงสัจธรรมและเสรีภาพเป็นสิ่งมีค่าสูงสุด ของมนุษยเ์ท่า เทียมกนั แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งแนวคิดธรรมชาตินิยมกบัมนุษยนิยม


10 3. คุณค่าและจุดมุ่งหมายตามแนวคดิทางศาสนา สมภาร พรมทา. (2546) “ศาสนาทุกศาสนาจะสอนตรงกนัว่าชีวิตเป็นเรื่องที่เราจะตอ้ง รับผิดชอบ ดว้ยตวัเราเองแมศ้าสนาแบบนบัถือพระเจา้ก็สอนเพียงวา่พระเจา้ทรงเป็นไดเ้พียงกา ลงัใจแก่เราเท่าน้นัส่วน ความส าเร็จหรือความล้มเหลวของชีวิตเป็นเรื่องเราโดยแทไ้ม่เกี่ยวกบัพระเจา้พุทธศาสนายิ่งสอนชดัวา่ตวั เราเองคือผทู้ี่บนัดาลให้ชีวิตเราเป็นอยา่งน้ี” จากคา กล่าวน้ีช้ีให้เห็นวา่ศาสนาทุกศาสนาสอนวา่มนุษยท์ุกคน เกิดมายอ่มมีเป้าหมายของชีวิตและชีวติจะมีค่าก็ต่อเมื่อทา เป้าหมายของชีวิตให้ส าเร็จ พุทธศาสนาสอนเรื่อง ความจริงของชีวิตและสอนให้มนุษย์เข้าใจและเข้าถึงความจริง 4 ประการที่เรียกว่าอริยสัจ โดยที่พุทธ ศาสนามองวา่มนุษยท์ุกคนเกิดมายอ่มประสบกบัความทุกข์อยา่งหนีไม่พน้แมค้นส่วนใหญ่จะบอกวา่ชีวิต เกิดมาเพื่อแสวงหาความสุขแต่ความสุขที่คนทวั่ ไป เขา้ใจวา่เป็นความสุขลว้นแต่เป็นความทุกขห์รือไม่ก็เป็น เหตุแห่งความทุกข์ความสุขที่แทจ้ริงใน มุมมองพุทธศาสนาคือความพน้ทุกข์อย่างสิ้นเชิงที่เรียกว่าภาวะ แห่งนิพพาน ดงัน้นัจุดหมายของ ชีวิตข้นัสูงสุด คือความพน้ทุกข์และช่วยเหลือเพื่อนมนุษยพ์ร้อมท้งัสรรพ ชีวิตให้หลุดพ้นจากความ ทุกข์ คูณ โทขันธ์. (2537) พุทธศาสนาได้แสดงจุดหมายชีวิตของมนุษย์ไว้หลาย ระดบัตามการ พฒันาตนเองของแต่ละบุคคล 3.1 จุดหมายของชีวติ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2555) กล่าววา่พุทธศาสนาถือวา่ความ หลุด พ้นจากความทุกข์ เป็นจุดหมายสูงสุดของชีวิตแต่พุทธศาสนาก็ไดจ้ดั ประเภทของเปูาหมาย ชีวิตไวห้ลาย ระดบัดงัในคา สอน เรื่อง อัตถะ 3 ค า “อัตถะ” หรือ “อรรถ” แปลว่าประโยชน์ผลที่มุ่งหมายหรือจุดหมาย ดงัน้นัจุดหมายของ ชีวิตตามแนวคิดทางพุทธศาสนา คือ การด าเนินชีวิตให้ บรรลุโยชน์ 3 ระดับคือ 1) ทิฎฐธัมมิกัตถะ คือ ประโยชน์ปัจจุบนัซ่ึงเป็นประโยชน์ที่เกี่ยวกบัชีวิตประจา วนัอนัเป็นการ สนองความตอ้งการข้นัพ้ืนฐานของมนุษยท์ ้งัทางด้านร่างกาย และสถานภาพทางสังคมที่เรียกว่า ทรัพย์ ภายนอกอนั ไดแ้ก่การมีสุขภาพดีร่างกายแข็งแรง ไร้โรค อายุยืน มีเงินมีงาน มีอาชีพ สุจริต พึ่งตนเองได้ ทางเศรษฐกิจ มีสถานภาพดีเป็นที่ยอมรับ นบัถือในสังคม มีครอบครัวผาสุก ทา วงศต์ระกูลใหเ้ป็นที่ยอมรับ นบัถือ สิ่งเหล่าน้ีตอ้งไดม้าดว้ยกา ลงัความเพียรและสติปัญญาของตนโดยชอบธรรม และรู้จกัใชส้ิ่งเหล่าน้ี ใหเ้กิดประโยชน์สุขแก่ตนเองและผอู้ื่น


11 2) สัมปรายิกัตถะคือ ประโยชน์เบ้ืองหนา้ซ่ึงเป็นประโยชน์เกี่ยวกบัคุณค่าของชีวิต ทางดา้นจิตใจ หรือจิตวญิญาณ อนัเกิดจากการสั่งสมความดีงามและการพฒันาคุณภาพ ของจิตใจให้งอกงามดว้ยคุณธรรม ดา รงตนอยใู่นศีลธรรมใชท้รัพยภ์ายนอกคือทรัพยส์ินเงินทอง ต่าง ๆ มาสั่งสมเป็น ทรัพยภ์ายในคือคุณงาม ความดีซ่ึงจะตอ้งนา ไปใชใ้นโลกหนา้หลงัจาก สิ้นชีวติลง 3) ปรมัตถะคือ ประโยชน์สูงสุด หรือประโยชน์ที่เป็ นสาระแท้จริงของชีวิต อันเป็ น จุดหมายสูงสุด ที่ชีวิตควรเขา้ถึงคือการรู้แจง้สภาวะท้งัหลายตามความเป็นจริง ไม่ตกเป็น ทาสของโลกและชีวิต มีจิตเป็น อิสระปลอดโปร่งผ่องใส สะอาด สว่าง สงบ หลุดพน้จากกิเลสและกองทุกข์อย่าง สิ้นเชิงคือการบรรลุ นิพพาน นอกจากการดา เนินชีวิตให้บรรลุประโยชน์ท้งั3 ระดบัดงัที่กล่าวมา พุทธศาสนายงัไดก้ล่าวถึงการ ดา เนินชีวติใหบ้รรลุประโยชน์อีก3 ดา้น ดงัน้ี 1) อัตตัตถะ คือ ประโยชน์เพื่อตน หมายถึงการสร้างประโยชน์ให้แก่ตนเองท้ัง 3 ระดับ คือ ประโยชน์ปัจจุบัน อันเกี่ยวข้องกับร่างกายและสถานภาพทางสังคมที่เรียกว่าสั่งสมทรัพย์ภายนอก ประโยชน์เบ้ืองหนา้อนัเกี่ยวขอ้งกบัจิตใจเป็นการสร้างคุณงามความดีสั่งสมไวเ้ป็นทรัพยภ์ายใน ประโยชน์ สูงสุดคือทา ตนใหห้ลุดพน้จากกิเลสและกองทุกขท์ ี่เรียกวา่บรรลุนิพพาน 2) ปรัตถะคือ ประโยชน์เพื่อผอู้ื่น หมายถึงการสร้างประโยชน์สุขให้แก่บุคคลอื่น ท้งัทางดา้นวตัถุ และจิตใจการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ 3)อุภยัตถะคือ ประโยชน์ร่วมกนัท้งัสองฝ่าย หมายถึงการสร้างประโยชน์ให้กบัส่วนรวมและ สังคม การสร้างประโยชน์ให้กบัสังคมส่วนรวมเป็นจุดเน้นที่ส าคญัของจุดหมายชีวิต ใน พุทธศาสนา ดงั ปรากฏในพุทธโอวาทที่พระพุทธเจา้ประทานแก่พระอรหันต์60 รูปในการไปประกาศ พระศาสนาเป็นคร้ัง แรกว่า “ภิกษุท้งัหลาย! เธอท้งัหลายจงเที่ยวจาริกไป เพื่อประโยชน์เพื่อความสุขแก่ชนเป็นอนัมากเพื่อ ความเอน็ดูแก่โลกเพื่อประโยชน์เก้ือกลูเพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษยท์ ้งัหลาย” พุทธทาสภิกขุ. (2544 ) 3.2 คุณค่าของชีวติ ดงัที่กล่าวมาแลว้วา่ชีวติตามแนวคิดทางพุทธศาสนาเป็ นชีวิตที่มีเป้าหมาย คือ การบ าเพ็ญประโยชน์ แก่ตนเองผอู้ื่นและส่วนรวม ชีวิตมนุษยแ์มจ้ะมีคุณค่าแห่งความเป็น มนุษยเ์ท่าเทียมกนัแต่ชีวิตมนุษยแ์ต่ละ คนก็มีคุณค่าแตกต่างกนัเพราะในมุมมองของพุทธศาสนา ชีวิตที่มีคุณค่าสูงสุด คือ ชีวิตที่พัฒนาตนจน สมบูรณ์คือบรรลุประโยชน์3 ดังน้ัน ชีวิตที่มีคุณค่า มากคือ ชีวิตที่บ าเพ็ญประโยชน์ไวม้ากที่สุดท้ัง ประโยชน์ตนเอง ประโยชน์ผอู้ื่น และประโยชน์แก่สังคมส่วนรวมนนั่เอง พุทธศาสนาสอนเรื่องความจริง ของชีวิตและสอนให้มนุษย์เข้าใจและเข้าถึงความ จริง 4 ประการที่เรียกวา่อริยสัจ โดยที่พุทธศาสนามองว่า


12 มนุษยท์ุกคนเกิดมาย่อมประสบกบัความ ทุกข์อย่างหนีไม่พน้แมค้นส่วนใหญ่จะบอกว่าชีวิตเกิดมาเพื่อ แสวงหาความสุขแต่ความสุข ที่คน ทวั่ ไปเขา้ใจวา่จะเป็นความสุขลว้นแต่เป็นความทุกข์หรือไม่ก็เป็นเหตุ แห่งความทุกข์ความสุข ที่แทจ้ริงในมุมมองพระศาสนาคือความพน้ทุกข์อย่างสิ้นเชิงที่เรียกว่าภาวะแห่ง นิพพาน ดงัน้นัจุดหมายของชีวิตข้นัสูงสุด คือความพน้ทุกขแ์ละช่วยเหลือเพื่อนมนุษยพ์ร้อมท้งัสรรพชีวิต ให้หลุด พ้นจากความทุกข์ พุทธศาสนาได้แสดงจุดหมายชีวิตของมนุษย์ไว้หลายระดับตามการพัฒนา ตนเอง ของแต่ละบุคคลคุณค่าและจุดมุ่งหมายของชีวิตตามแนวคิดทางศาสนาท้งัสามศาสนาเห็น ได้ว่ามีความ เหมือนกนัและแตกต่างกนัแต่สิ่งที่มีจุดมุ่งหมายของชีวิตในโลกน้ีของศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามมี ความคล้ายคลึงกับประโยชน์ปัจจุบันของศาสนาพุทธ ส่วนจุดหมายในโลกหน้าของศาสนาคริสต์และ อิสลามน้นัมีความคลา้ยคลึงกบั ประโยชน์เบ้ืองหนา้ของศาสนาพุทธ กล่าวโดยสรุปวา่คุณค่าของชีวิตมนุษยแ์มจ้ะมีคุณค่าแห่งความเป็นมนุษยเ์ท่าเทียมกนัแต่ชีวิตมนุษย์ แต่ละคนก็มีคุณค่าแตกต่างกนัข้ึนอยกู่บัชีวติที่พฒันาตนจนสมบูรณ์คือบรรลุประโยชน์ 3 คือ ชีวิตที่บ าเพ็ญ ประโยชน์ไวม้ากที่สุดท้งัประโยชน์ตนเอง ประโยชน์ผอู้ื่น และประโยชน์แก่สังคมส่วนรวม 3.3 การเปรียบเทยีบคุณค่าและจุดมุ่งหมายตามแนวคิดทางศาสนา ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม จุดหมายของชีวติคือ สงบเย็นและเป็ นประโยชน์ จุดหมาย ของ ชีวิตมี 3 ระดับ คือ ประโยชน์ ปัจจุบนั ประโยชน์เบ้ืองหนา้ ประโยชน์ สูงสุด คือ นิพพานประโยชน์ตน ประโยชน์ผอู้ื่น ประโยชน์ส่วนรวม รอดพ้นจากบาปจุดหมาย ของชีวิต มี 2 ระดับ คือ เปูา หมายในโลกน้ีและ เปูาหมายในโลกหน้า คือ เข้าถึงอาณาจักรพระเจ้า เขา้สู่สวรรคไ์ป อยรู่ ่วมกบัพระ เจ้า จุดหมายของชีวิต มี 2 ระดบัคือเปูาหมายในโลกน้ี และเปูาหมาย ในโลกหน้า วธิีปฏิบัติเพอื่เข้าสู่จุดหมาย คือ ปฏิบัติ ตามหลักโอวาทปาติโมกข์บ าเพ็ญ บุญ ด้วยทาน ศีล และ ภาวนา ด าเนิน ชีวิต ตามหลักไตรสิกขาคือ ศีล สมาธิ ปัญญา ปฏิบัติตามหลักบัญญัติ 10 ประการ ด าเนินชีวิตด้วย ความรักคือรักพระเจา้อยา่ง สุดจิตใจและรักเพื่อน บ้าน เหมือนรักตนเอง คือปฏิบัติตามหลักปฏิบัติ 5 คือ ปฏิญาณตน ละหมาด ศีลถืออด บริจาคชะกาตและประกอบพิธี ฮจัญพ์ร้อมท้งัยึดมนในข้อห้าม ั่ (ฮะรอม) และข้ออนุญาต(ฮา ลาล) ของพระเจ้า


13 ชีวติทมี่ีคุณค่า คือ ชีวิตที่บ าเพ็ญประโยชน์ไว้มากที่สุด คือ ประโยชน์ตน ประโยชน์ผู้อื่น และ ประโยชน์ส่วนรวม ชีวิตที่เต็มเปี่ ยมไปด้วยความ รักอยา่งบริสุทธ์ิรักพระเจา้ และรักเพื่อนมนุษย์ อุทิศตน เพื่อรับใช้พระเจ้าและเพื่อน มนุษย์ ชีวติที่ทา หนา้ที่ของตนอยา่ง สมบูรณ์ท้งัหนา้ที่ต่อพระเจา้ หนา้ที่ต่อตนเองและหนา้ที่ ต่อ เพื่อนมนุษย์ กล่าวโดยสรุปจากตารางในแนวคิดทางศาสนาน้นัพุทธศาสนาถือวา่ความหลุดพน้จากกิเลส และ กองทุกข์อย่างสิ้นเชิงที่เรียกว่า เข้าสู่นิพพานดีที่สุด ศาสนาคริสต์ถือว่าการรอดพน้จาก บาป และเขา้ถึง อาณาจกัรของพระเจา้คือสวรรคด์ีที่สุด ศาสนาอิสลามถือวา่การรอดพน้จาก การถูกพิพากษาโทษและเขา้สู่ สวรรค์ได้อยู่ร่วมกับพระอลัเลาะฮ์ดีที่สุด แนวคิดสิ่งที่ดีสุดอนเป็ น จุดหมายสูงสุดของมนุษย์ที่มีความ ั แตกต่างกนัน้นัเนื่องมาจากฐานคิดเรื่องแก่นแทข้องความเป็น มนุษยแ์ตกต่างกนัท้งัน้ีดว้ยเหตุวา่บางกลุ่ม เชื่อวา่มนุษยค์ือร่างกาย บางกลุ่มเชื่อวา่มนุษยค์ือจิต วิญญาณ บางกลุ่มเชื่อวา่มนุษยไ์ม่ใช่สิ่งที่สร้างของพระ เจา้คุณค่าของชีวิตข้ึนอยู่กับการบรรลุจุดมุ่งหมายของชีวิตมากน้องเพียงใด จึงจา เป็นตอ้งศึกษาในการ จัดการชีวิตของตนเอง 4. หลักการจัดการชีวิต การจัดการชีวิตที่ส าคัญคือ การวางแผนเป้าหมายชีวิต มนุษย์ทุกคนจ าเป็ นต้องให้ ความส าคัญใน การกา หนดเป้าหมายของชีวติตนเองอยา่งมีข้นัตอน และวธิีการดา เนินชีวติที่เหมาะสม สอดคลอ้งกบัสถานะ ของตน แลว้มุ่งมนั่พยายามปฏิบตัิทุกวิถีทางที่จะทา ให้ประสบความส าเร็จใน ชีวิตตามที่ตนไดว้างแผนไว้ แต่หากเมื่อดา เนินชีวติตามกรอบที่มีวางแผนแลว้เกิดปัญหาและอุปสรรคบุคคลน้นัสามารถหาจุดบกพร่องที่ เกิดข้ึนมาพิจารณาและทบทวนข้นัตอน เพื่อแก้ไข พฒันา ปรับปรุงให้ชีวิตของบุคคลมีคุณภาพ และเกิด ประสิทธิภาพในการดา เนินชีวติให้มีความสุขท้งัทางดา้นร่างกายจิตใจและดา้นสังคมโดยรวม หากทุกชีวิต มีการวางแผนเพื่อเป้าหมายของชีวติยอ่มจะส่งผลให้ประสบกบัผลในส าเร็จในชีวติไดอ้ยา่งแน่นอน ในทาง ตรงขา้ม หากบุคคลใดไม่มีการวางแผนเปูาหมายชีวิตในเรื่องใด ๆ เช่น การศึกษาเล่าเรียน การใช้จ่ายเงิน ทอง ในชีวติประจา วนัการเลือกประกอบอาชีพเป็นตน้ยอ่มส่งผลกระทบต่อชีวติทา ให้ไม่ประสบ ผลสา เร็จ ในการศึกษาและปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ


14 4.1 ระดับของการวางแผนเป้าหมายชีวติของบุคคล 1) การวางแผนเป้าหมายชีวิตขั้นต้น เป็นการวางแผนต้งัเป้าหมายของชีวิตโดยมุ่งมนั่ฝึกฝนตนเอง ใหบ้รรลุเป้าหมายของชีวติโดยมุ่งมนั่ ฝึ กฝนตนเอง ให้บรรลุเป้าหมายของชีวิตว่าจะตอ้งเรียนให้จบ มีอาชีพ มีฐานะที่ดีให้ได้ ด้วยองค์ประกอบ ต่าง ๆ เช่น การประพฤติตนเป็นคนดีไม่ทา ตวัเป็นปัญหา ไม่ทา ผิดกฎหมายและต้งัเป้าหมายวา่จะประกอบ อาชีพอะไรเช่น ครูพยาบาล ตา รวจ ทหาร ชาวนา หรืออื่น ๆ ที่เป็นอาชีพที่สุจริต 2) การวางแผนเป้าหมายชีวิตขั้นกลาง เป็นการต้ังเป้าหมายของชีวิตว่า ต้องพยายามต้ังตัวและสร้างฐานะของ ตนเองมีชีวิตคู่มีชีวิต ครอบครัวมีลูกที่ดีในชีวติน้ีจะไม่ยอ่ทอ้รู้จกัการสร้างคุณค่าให้ชีวติดว้ยความ ขยนัต้งัใจทา ความดีเอ้ืออาทร มีเมตตาต่อผอู้ื่น ซึ่งเป็ นเป้าหมายชีวิตสูงสุด 3) การวางแผนเป้าหมายชีวติข้ันสูงสุด เป็นการต้งัเป้าหมายของชีวิตที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งท้งัต่อตนเอง และบุคคล อื่น คือการต้งัใจ ดา เนินชีวติให้ประสบความสา เร็จในการศึกษาเล่าเรียน หนา้ที่การงานชีวิต ครอบครัวและต้งัใจปฏิบตัิธรรม ทุกรูปแบบ โดยการต้งัใจทา ความดีหมนั่ให้ทาน รักษาศีล ฝึ กสมาธิเพื่อให้จิตใจผ่องใส เกิดปัญหา เพื่อ รักษาเป้าหมายของชีวติใหม้นั่คงในทุก ๆ ดา้น 4.2 เทคนิคการวางแผนเป้าหมายสู่ความส าเร็จในชีวิต มีคนจ านวนมากในสังคมที่ไม่เขา้ใจและละเลยการวางแผนเป้าหมายชีวิตในอนาคต วา่อีก5 ปี10 ปี ข้างหน้าอยากจะได้อะไร อยากจะเป็ นอะไร หรืออยากจะมีอะไรบ้าง บางคนมีการ กา หนดเป้าหมายไว้ ชดัเจน แต่ก็ไม่ประสบความส าเร็จ เพราะว่ากา หนดเป้าหมายให้ตวัเองอยากเกินไป ทา อย่างไรก็ไม่ส าเร็จ เช่น บางคนต้งัเป้าหมายวา่จะเก็บออมเงินให้ไดป้ีละหน่ึงแสนบาท แต่ในความเป็นจริงมีรายไดเ้พียงปีละ สองแสนบาท ถา้คิดเป็นเปอร์เซ็นตเ์งินเก็บออมต่อรายไดแ้ลว้ตอ้งออม ประมาณ 50% ซ่ึงไม่น่าจะเป็นไปได้ ถา้เขาไม่มีรายได้จากแหล่งอื่น ด้วยเหตุน้ีจึงทา ให้เป้าหมายของหลายคนไม่ประสบความส าเร็จ มีคนอีก จา นวนไม่นอ้ยที่กา หนดเปูาหมายชีวติแต่มีการเปลี่ยนเปูาหมายบ่อยเกินไป จึงกลายเป็ นเปูาบิน ท าให้พลาด เป้า เพราะมีเป้าหมายมากเกินไป เช่น วนัน้ีมีคนเล่าใหฟ้ ังเรื่องธุรกิจส่วนตวัก็ต้งัเป้าเรื่องธุรกิจส่วนตวัพรุ่งน้ี มีคนพูดเรื่องงานใหม่เงินเดือนดีกวา่เดิม เป้าหมายในการเปลี่ยนงานเพื่อกา้วสู่การเป็นผูบ้ริหารระดบัสูงก็ เกิดข้ึนมาอีก จึงมีเปูาหมายไม่แน่นอน เพื่อให้ท่านที่ต้องการก าหนดเป้าหมายในชีวิตได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึนและสามารถกา้วไปสู่ความส าเร็จในชีวิตไดด้ีกว่าและเร็วกว่าที่คาดหวงัไว้ พอจะ สรุปแนวทาง ในการวางแผนเป้าหมายชีวติไว้ดงัน้ี


15 1) หาความฝันของตัวเองให้พบ จุดเริ่มตน้ของการกา หนดเป้าหมายในชีวิต คือการถามตวัเองว่า ในอนาคต เราอยากจะเป็นอะไร อยากจะมีอะไรอยากจะได้อะไรอยากจะเป็นเหมือนใครแค่ไหน เมื่อไหร่เพราะถา้เราไม่สามารถตอบ คา ถามน้ีได้เราจะก าหนดเป้าหมายที่ดีไม่ได้เช่นกัน เหมือนกับการที่เราออกไปตลาดเพื่อซ้ือของมา ทา อาหารถา้เราไม่มีรายการอาหารอยใู่นใจคิดเพียงว่าไปดูก่อน แลว้กนัค่อยคิดวา่จะทา อะไรรับประทาน ซ่ึงตอ้งใชเ้วลาเดินตลาดนานมากและอาจไม่มีอะไรถูกใจเลยสักอยา่งเดียวผดิกบัคนที่คิดรายการอาหารไป จากบา้น พอไปถึงตลาดก็สามารถเดินไปเฉพาะ จุด ที่ตอ้งการจะซ้ือไดท้นัทีไม่ตอ้งเสียเวลาเดินวนไปวน มาถึงแมร้ายการอาหารที่เราตอ้งการไม่มีแต่ถา้เรามีรายการอาหารส ารองอยู่เราก็สามารถเปลี่ยนรายการซ้ือ ของไดท้นัท่วงทีดงัน้นั ใครที่ยงัคน้หาตวัเองให้พบก็ไม่ต่างอะไรไปจากคนที่ไปตลาด แลว้ค่อยคิดวา่จะซ้ือ อะไรมาท าอาหาร 2) วิเคราะห์หาความชอบของตัวเอง บุคคลที่กา ลงัทา งานเป็นลูกจา้งอยแู่ละคิดจะออกมาทา ธุรกิจส่วนตวัก็ควร เลือกทา ในสิ่งที่ตวัเอง ถนัด ตวัเองชอบเป็นอนัดบัแรกเพราะธุรกิจที่เราทา เราจะตอ้งอยู่กบัมนันาน และถ้าใครเลือกทา ธุรกิจที่ ตวัเองไม่มีความรักความชอบเป็นพ้ืนฐานแลว้จะทา ไดไ้ม่ดีเช่น ไม่ชอบ เล่นเกม แต่อยากทา ธุรกิจร้านวดีีโอ เกม เป็ นต้น 3) ตีกรอบให้แคบลง การเลือกเป้าหมายที่เราตอ้งการถ้าเรารู้ว่าเราชอบอะไร เมื่อมองออกไป ภายนอกจะค่อนขา้งง่าย เช่น ตอ้งการทา ธุรกิจเกี่ยวกบัเส้ือผา้สตรีนา สมยักลุ่มเป้าหมายคือคนทา งาน และธุรกิจเส้ือผา้ที่ลงทุนไม่เกิน 2ลา้นบาท อยใู่นเขตกรุงเทพฯ ถา้เราสามารถกา หนดกรอบของเป้าหมายไดช้ดัเจนและค่อย ๆ ตีกรอบน้นั ใหแ้คบลง ๆ เราจะคน้พบวา่เป้าหมาย น้นัเหมาะสมกบัเราหรือไม่ 4) ศึกษาข้อมูลเพอื่ให้ไปสู่เป้าหมาย เมื่อเราได้เป้าหมายที่ชัดเจนและอยู่ในกรอบที่เราสามารถทา ได้ข้ันต่อมาคือ การศึกษาข้อมูล เกี่ยวกบัเป้าหมายที่เรากา หนดไวว้่า แนวทางในการไปสู่เป้าหมายน้ันเป็นอยา่งไรบา้งถา้ตอ้งการทา ธุรกิจ ส่วนตวัเรื่องเส้ือผา้ก็ควรจะไปศึกษาจากผูท้ี่เคยประสบความลม้เหลวและผูท้ี่กา ลงัประสบความส าเร็จใน ปัจจุบนัเพื่อวิเคราะห์ดูวา่เราจดัอยใู่นกลุ่มไหน หรือควรหาทาง ปูองกนั ไม่ให้เราผิดพลาดเหมือนกลุ่มที่เคย ล้มเหลวมาแล้ว


16 5) ตั้งเป้าหมายให้ท้าทาย การต้งัเป้าหมายในชีวิตควรจะเป็ นเป้าหมายที่ท้าทายซึ่งหมายถึงเป้าหมาย ที่ไม่ง่ายจนเกินไป เช่น ก่อนเกษียณอายุจากลูกจา้งควรจะดา รงตา แหน่งเจา้หน้าที่อาวุโส (ไม่ใช่ไม่ทา อะไรอยไู่ ปนาน ๆ อายุงาน มากกวา่คนอื่น)และไม่ควรต้งัเป้าหมายที่อยากเกินไป เช่น ตอ้งการ เก็บเงินเดือนละห้าพนับาทท้งัๆ ที่ได้ เดือน ๆ ละหมื่นบาท 6) ควรจะมีเป้าหมายหลักและเป้าหมายรอง การต้งัเป้าหมายในชีวิตที่ดี ควรจะมีเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองที่สอดคล้องกัน เพราะถ้า เป้าหมายหลกัมีปัญหาอุปสรรคหรือเป็นไปไม่ไดจ้ะไดน้า สิ่งที่ลงทุนไปกบั เปูาหมายหลักมาใช้ประโยชน์ กบัเป้าหมายรองได้การกา หนดเป้าหมายในชีวติไม่จา เป็นวา่จะกา หนดคร้ังเดียวแลว้ใชไ้ดต้ลอดไป เราควร จะทบทวนความส าเร็จของเป้าหมายที่กา หนดไวเ้ป็น ระยะ ๆ วา่ควรจะมีการปรับเปลี่ยนเป้าหมายหรือไม่ อยา่งไร 7) การบริหารธุรกจิชีวติสู่ความส าเร็จ คือ การบริหารธุรกิจประเภทหน่ึงที่เป้าหมายสุดทา้ยคือกา ไรกา ไรในที่น้ีมิไดห้มายถึงสิ่งที่เป็นตวั เงิน แต่หมายถึง “ความส าเร็จ” ดงัน้ันถา้เปูาหมายของธุรกิจชีวิตเราคือความส าเร็จ เราคงตอ้งเริ่มบริหาร ชีวิตอยา่งมีกลยุทธ์มากข้ึนหลายคนสูญเสียเวลาแห่งชีวิตไปกบัเรื่องที่ไร้สาระ ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยไปกบั เข็มนาฬิกา ปล่อยให้โอกาสล่องลอยไปกบัสายลมและ แสงแดด คนหลายคนมีคา ว่า “เสียดาย” อยู่เต็มหัว เพราะมารู้สึกตวัในเรื่องต่าง ๆ หรือคิดได้ก็สายไปเสียแล้วกว่าจะรู้การออกกา ลงักายเป็นสิ่งจา เป็นและ สา คญัก็เจ็บปุวยไปเรียบร้อยแลว้กวา่จะรู้วา่ครอบครัวส าคญัก็เกิดปัญหาครอบครัวแตกแยกไปแลว้กวา่จะ รู้วา่ความสามารถยงัไม่ถึงก็ต่อเมื่อโอกาสดีผา่นไปแลว้เพื่อให้ชีวิตมุ่งไปสู่วตัถุประสงค์ที่แทจ้ริงของชีวิต คือความส าเร็จเรา จึงต้องมีการบริหารชีวิตตามแนวทางการบริหารธุรกิจชีวิตอยา่งจริงจงัเพื่อให้มนั่ใจไดว้า่ เราไม่ได้ละเลย หลงลืมหรือแกล้งลืมทา บางสิ่งบางอย่างในชีวิตในเวลาที่ควรจะทา นั่นคือ ปูองกันว่า “เสียดาย” อยา่ ใหเ้กิดข้ึนกบัชีวติของเรา 8) ก าหนดทางเลือก (Strategic Option) ในแต่ละเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ยอ่ย ๆ ในดา้นต่าง ๆ ไม่วา่จะเป็นเป้าหมาย ด้านเงินทุน เป้าหมายด้าน ความรู้และประสบการณ์เราจะตอ้งกา หนดทางเลือกข้ึนมาเพื่อให้มีความ เหมาะสมกบัตวัเองมากที่สุด เช่น เป้าหมายยอ่ยทางดา้นเงินทุน เราอาจจะกา หนดทางเลือกในการหา เงินทุน ดงัน้ี (1)กเู้งินจากสถาบนัการเงิน เงื่อนไขคือเราตอ้งมีหลกัทรัพยห์รือการค้า ประกนั (2)กยู้มืเงินจากญาติพี่นอ้ง เงื่อนไขคือ ญาติพี่นอ้งเรามีเงินหรือไม่เขาไวใ้จเรา หรือไม่


17 (3) เก็บสะสมเงินดว้ยตนเอง เงื่อนไขคือ ตอ้งใชเ้วลานาน (4)ระดุมทุนจากหุน้ ส่วน เงื่อนไขคือกิจการน้นัตอ้งมีผถู้ือหุนหลายคน ้ คนหลายคนที่มกัจะตายน้า ต้ืน เช่น มีวิสัยทศัน์ที่ชดัเจน วิเคราะห์ตวัเองดีมีการกา หนดเป้าหมาย เชิงกลยุทธ์ไวอ้ย่างดีแต่พอมาถึงการหาทางเลือกกลบัคิดไม่ออกไม่สามารถหาทางเลือกให้กบัตวัเองได้ เพราะคนส่วนมากมกัจะคิดในเชิงลบ เช่น คงเป็นไปไม่ได้หรอกเพราะต้องลงทุนเป็ นล้าน คงจะยากที่จะไป ขอกู้เงินเพราะเราไม่มีหลกัทรัพย์คนประเภทน้ีมกัจะตดัสินความคิดของตวัเองด้วยตวัเอง ท้งัๆ ที่บาง ความคิดอาจจะเป็นจริงข้ึนมาได้ถา้เราลองลงมือทา จริง ๆ เราตอ้งทดลองทา ก่อนแลว้ค่อยตดัสินวา่ ใช่หรือ ไม่ใช่ 9) ก าหนดแผนกลยุทธ์ เมื่อเราไดเ้ลือกทางเลือกเชิงกลยุทธ์ในด้านต่าง ๆ ไปแลว้เช่น เราจะหาเงิน โดยการเก็บออมดว้ย ตวัเอง เราจะแสดงหาความรู้เพิ่มเติมโดยการศึกษาต่อปริญญาโทการ บริหารธุรกิจ เราจะหาประสบการณ์ โดยเขา้ไปทา งานกบัธุรกิจครอบครัวที่เป็นมืออาชีพ เราจะอ่านหนังสือดา้นการทา ธุรกิจแบบมืออาชีพให้ มากข้ึน เราตอ้งนา เอากลยุทธ์ในแต่ละดา้นมาจดัทา เป็นแผนเชิงกลยุทธ์วา่ ในแต่ละช่วงเวลาของชีวิต เราจะ ทา อะไรก่อนหลงัอะไรที่ทา ควบคู่กนั ไปได้พูดง่าย ๆ ก็คือเอาสิ่งต่าง ๆ มาจดัทา ตารางการดา เนินชีวิตให้ ชดัเจนมากข้ึนว่าเราจะทา อะไร เมื่อไหร่อยา่งไรนนั่เอง สิ่งส าคญัอย่างหน่ึงที่ไม่ควรมองขา้มในเรื่องของ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ ของชีวิตคือต้องมีแผนส ารอง (Contingency Plan)กรณีแผนที่วางไวไ้ม่เป็นตามที่เรา ต้องการ 10) น าไปปฏิบัติตามวงจร PDCA เมื่อเรากา หนดแผนงานชีวิตไว้เรียบร้อยแล้ว (Plan) จึงจะลงมือน าไปปฏิบัติ จริง (Do) จะต้องมีการ ตรวจสอบเป็นระยะ ๆ วา่สิ่งที่ไดล้งมือทา ไปน้นัเป็นไปตามแผนและเป้าหมายหรือไม่(Check) หลงัจากน้นั ถา้ไม่เป็นไปตามเปูาหมาย จะตอ้งมีการแก้ไขปรับปรุงให้สอดคล้องกบัเป้าหมาย (Action) ซึ่ งเราจะต้อง คา นึงถึงวงจรน้ีอยตู่ลอดเวลาวงจรPDCA น้ีใชไ้ด้ท้งัวงจรของแผนใหญ่ของชีวติและแผนสนบัสนุนยอ่ย ๆ เช่น แผนด้านการเงินก็ตอ้งใช้PDCA แผน ด้านการหาความรู้เพิ่มเติมก็ตอ้งใช้วงจร PDCA เช่นเดียวกัน


18 บรรณานุกรม นางปานดีคงสมบัติ. (2564). (ศิลปะและทักษะการใช้ชีวิต). วิทยาลัยชุมชนระนอง สถาบัน วิทยาลัยชุมชน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม


0 หน่วยที่ 3 การจัดการกับอารมณ์ด้วยปัญญา เรียบเรียงโดย นายแวอารงค์ สาและ นายกิตติพงษ์พันธุ์มณี นางผาณิต มุสิกะ ร้อยต ารวจเอกสาธร ไหมเกตุ


1 ค าน า เน้ือหาเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวิชาศึกษาทั่วไป วิชา ศท 0202 ศิลปะและทักษะการใช้ชีวิต จดัทา ข้ึนสา หรับใชป้ระกอบการเรียนการสอนสา หรับนกัศึกษาและผทู้ี่สนใจเกี่ยวกบัการวางจุดมุ่งหมายและ การจัดการชีวิต ปัญญาทางอารมณ์ หลักธรรมที่ใช้ในการด าเนินชีวิต ภาวะผู้น า การรู้จักใช้เงิน การพัฒนาตน และการเห็นคุณค่าแห่งตน สุนทรียภาพของชีวิต การเรียนรู้บุคคลในชุมชนที่เป็นแบบอยา่งการดา เนินชีวิต และ ดา รงชีวิตอยา่งมีความสุข ซึงเรียบเรียงจากหนงัสื่อของอาจารยป์านดีคงสมบตัิ(ครูชา นาญการพิเศษ) จากวิทยาลัยชุมชนระนอง สถาบันวิทยาลัยชุมชนกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ผเู้รียบเรียงหวงัว่าเน้ือหาเล่มจะเป็นประโยชน์ต่อผูท้ี่สนใจเพื่อใช้ในการดา รงชีวิตประจา วนัต่อไป และขอขอบคุณ อาจารย์ปานดี คงสมบัติ (ครูช านาญการพิเศษ) จากวิทยาลัยชุมชนระนอง สถาบันวิทยาลัย ชุมชนกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจยัและนวตักรรม เป็นอย่างสูง ที่อนุเคราะห์ให้ใช้ในการ ประกอบการเรียนการสอนในคร้ังน้ี คณะผู้เรียบเรียง ธันวาคม 2565


2 หน่วยท ี่3 การจดัการกบัอารมณด ์ ว ้ ยปัญญา อารมณ์เป็นรูปแบบของปฏิกิริยาตอบสนองของคนเราต่อสิ่งเร้ารอบตวัการตอบสนองน้ีมีท้งัการ เปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา พฤติกรรมการแสดงออกและภาวะความรู้สึกการเกิด อารมณ์ตอบสนองต่อสิ่ง เร้าจึงจ าเป็ นที่ต้องเรียนรู้ ท าความเขา้ใจยอมรับลกัษณะพ้ืนฐานทางอารมณ์ของตนเองและปรับเปลี่ยนทาง อารมณ์ของตนเองใหด้ีอยเู่สมอ 1. การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของอารมณ์ อารมณ์ (Emotion) เป็นสิ่งที่แสดงออกของใจ อารมณ์เป็นเรื่องนามธรรม เป็นเรื่องที่มีความ ละเอียดอ่อน แมไ้ม่อาจมองเห็นไดด้ว้ยตาแต่สัมผสัไดด้ว้ยใจอีกท้งัเรายงัสามารถสังเกต อารมณ์ไดผ้ ่าน สี หน้าแววตา น้า เสียง ค าพูด ภาษากาย หรือพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกอารมณ์มีท้งัดา้นบวกและดา้นลบ เช่น บางคร้ังเราเห็นผูค้นอารมณ์ดี(ดา้นบวก) บางคร้ังผูค้น เหล่าน้ันอารมณ์ไม่ดี(ดา้นลบ) หรือบางคร้ัง ผู้คนเหล่าน้นัอยใู่นโหมดสงบนิ่งจากภายใน แมอ้ารมณ์ดา้นบวกน้นัมีคุณ หากส่งเสริมอารมณ์ดา้นบวกมาก เกินไปหรือใช้อยา่งผิดทางย่อมเกิด โทษและนา ไปสู่ความกดดนัหรือความเครียดได้เช่น ลูกที่พ่อแม่เอาอก เอาใจถา้ลูกอยากไดอ้ะไรก็ตามใจทุกอยา่งเพื่อให้เขาไดร้ับความสุขความพึงพอใจสูงสุดมาตลอดต้งัแต่วยั เด็กเมื่อเขาโตข้ึน ห่างพ่อห่างแม่อยู่ท่ามกลางบุคคลอื่นในสังคม เขาย่อมเกิดความทุกข์และต้องปรับตัว อยา่งมากจึงควรทา ความเขา้ใจในการจดัการอารมณ์ท้งัสองดา้นดงัน้ี 1.1 อารมณ์ด้านบวก positive emotion คนที่มีอารมณ์ด้านบวก มกัจะเป็นที่รักของคนอื่น มีความยืดหยุ่น resilience เรียนรู้ได้ รวดเร็วมี ประสิทธิภาพ และลดผลของ negative emotion จึงช่วยปูองกนั ปัญหาอารมณ์ลดความ กงัวล หรืออารมณ์ ซึมเศร้า ช่วยให้สุขภาพจิตดีข้ึน อีคิวดีข้ึน เป็นอารมณ์ที่เกิดข้ึนแลว้ทา ให้เกิด ความสุขความพอใจเกิดความ สนุกสนาน ความรัก ความยินดี การเรียนรู้ทักษะทางอารมณ์ ทางบวก positive education จึงเป็ นทักษะ พ้ืนฐานที่ส าคญั ในการพฒันาตนเองที่จะต่อไปสู่ทกัษะ ทางอารมณ์ที่สัมพนัธ์กบับุคคลอื่น จึงควรมีการ ฝึกฝนใหเ้ป็นคนอารมณ์บวก ดงัน้ี 1) การรู้เท่าทันอารมณ์ตนเอง เป็นการรู้เท่าทนัว่าภาวะอารมณ์ของตนเองใน แต่ละขณะน้ันเป็น อยา่งไร ตนเองรู้สึกอยา่งไร รู้เท่าทนัที่เปลี่ยนแปลงไป มองอารมณ์ตนเองออกวา่เป็นอยา่งไร


3 2) ยอมรับอารมณ์ของตนเอง เป็นการมองอารมณ์ที่เกิดข้ึนอยา่งยอมรับ ตามที่เป็นจริงยอมรับวา่เรา มีความรู้สึกน้นัอยู่เช่น เรามีความกลวัความโกรธความคบขอ้งใจหรือความดีใจ สุขใจเป็นการมองอยา่งไม่ ตดัสินถูกผิด จะเห็นว่ายอมรับอารมณ์ทางบวกเป็น เรื่องยากแต่การยอมรับว่าตนเองมีอารมณ์ทางลบเป็น เรื่องไม่ง่าย เช่น เรามีความอิจฉาเพื่อน เมื่อเห็นเพื่อนมีความส าเร็จเราไม่สามารถทา จิตใจให้ยินดีไปกับ เพื่อนได้ถา้เราไม่ยอมรับอารมณ์ตนเองอาจเบี่ยงเบนไปวา่ ไม่เห็นจะเป็นความส าเร็จอะไรแต่ในใจจริง ๆ ของเราเป็นทุกขก์บัความอิจฉาที่เกิดข้ึน หากเป็นเช่นน้ีจะทา ให้ไม่เขา้ตนเองวา่ทา ไมเรามีความกดดนัอยลู่ ึก ๆ ในใจ ที่จริงเป็นเพราะกดอารมณ์ทางลบไว้ไม่กล้ายอมรับวา่เราอิจฉาการยอมรับอารมณ์จะนา ไปสู่การ หาวธิีจดัการกบัอารมณ์ใหเ้หมาะสมข้ึน 3) การควบคุมอารมณ์เป็นความสามารถที่จะจดัการกบัอารมณ์ที่เกิดข้ึนไดอ้ยา่ง เหมาะสม อารมณ์ ทุกอยา่งที่เกิดข้ึนกบัเราได้แต่มิใช่จะแสดงออกไปทุกอารมณ์ที่เกิดข้ึนกบัเรา ผทู้ี่มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ยอ่ม สามารถควบคุมอารมณ์ที่เกิดข้ึนใหอ้ยใู่นขอบเขตที่เหมาะสม ตามแต่สถานการณ์รู้จกัระบายอารมณ์ออกไป ในรูปแบบที่เหมาะสม 4) เติมพลังให้ตนเอง เป็นการเติมพลงัให้จิตใจตนเองอนัเป็นการส่งเสริมพ้ืนของ อารมณ์ให้อยในู่ ระดับบวก หากในสถานการณ์ที่ท าให้ตนเองตึงเครียดน้นั ไม่สามารถแกไ้ขได้ก็จะตอ้งรู้จกัเสริมอารมณ์ใน ทางบวกจากกิจกรรมหรือสถานการณ์อื่น ๆ เช่น หากเครียด เนื่องจากที่ทา งานมีการเปลี่ยนหวัหนา้งานใหม่ ซ่ึงไม่ค่อยรับฟังหรือเห็นความส าคญัของตนเอง เหมือนแต่ก่อน แนวทางในการแก้ไขคือการท างานใน หน้าที่ที่รับผดิชอบใหด้ีมีผลงานใหห้วัหนา้งานรู้สึกวา่เราไวว้างใจได้ในขณะเดียวกนัแทนที่จะใหจ้ิตใจตก อยู่กบัอารมณ์หงุดหงิด ขุ่นมวัอยู่ตลอดเวลา เราควรหากิจกรรมที่ผ่อนคลาย เช่น หางานอดิเรกทา หรือไป เที่ยวในเสาร์และอาทิตย์หรือพบปะสังสรรค์กบัเพื่อนที่ไม่เจอกนัมานาน เหล่าน้ีจะทา ให้จิตใจผอ่นคลาย ความตึงเครียดลง พึงตระหนกัวา่การเติมพลงัใจให้ตนเองน้ีเป็นการจดัเวลาให้พอสมควร มีอยู่2กิจกรรมที่ การท า สม ่าเสมอจะให้ผลดี ไดแ้ก่การออกกาลงักายและการทา ใจให้สงบเย็น 5) มีเจตคติและความคิดในเชิงบวก เจตคติและความคิดมีส่วนสัมพนัธ์กับสภาวะ อารมณ์อย่าง แยกกนัไม่ออกในทางพระพุทธศาสนามีความเห็นวา่เป็นปัจจยัที่ส าคัญที่สุดใน การด าเนินชีวิตที่ดีงาม หรือ ดังค ากล่าวที่วา่ “ คิดดียอ่ม พูดดีทา ดี ”ในที่น้ีคือการมองสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในทางบวกรู้จกัมองบุคคล หรือ เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในแง่มุมอื่นที่ต่างไปจากเดิม ฝึกตนเอง ใหม้ีอารมณ์ขนัการฝึกคิด หรือมองสิ่ง ๆ ในหลาย ๆ แง่มุมจะท าใหเ้ราไม่ติดกรอบ หรือติดมายาคติที่สร้างข้ึน 6) การรู้สึกดีต่อตนเองผทู้ี่รู้สึกดีต่อตนเองจะมีความรู้สึกพึงพอใจกบัสภาพความ เป็นอยใู่นปัจจุบัน ของเขาไม่จา เป็นตอ้งมีเงินทอง หรือมีความสะดวกสบายมากมาย เขาอาจไม่เป็น ฉลาดหรือเก่งมากแต่เขา


4 ยอมรับตนเองอยา่งที่ตนเองเป็น เมื่อมีสิ่งผิดพลาดเกิดข้ึนและผตู้กัเตือน เขาสามารถที่จะยอมรับและน ามา ปรับปรุงตนเองโดยมีรู้สึกเสียหน้า หรือตีโพยตีพายว่าคนไม่เขา้ใจตนเอง หรือโทษโน่นโทษนี่เขาไม่วิตก กงัวลที่ตนเองไม่สมบูรณ์แบบ เพราะเขา้ใจดีวา่ 7) คนเราย่อมมีจุดเด่นจุดด้อยในแต่ละด้านแตกต่างกันไป ผู้ที่มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง เปรียบเสมือน บา้นที่มีรากฐาน ตึกที่มีเสาเขม็ที่มนั่คงแมจ้ะมีลมพายพุดัแรงก็ไม่มีผลกระทบ แม้จะมีผู้ต าหนิ หรือคอยกล่าววา่เขาในดา้นลบก็จะไม่ทา ให้เขาหวนั่ ไหวเพราะเขาไม่ไดม้องขยายความ หากแต่มองวา่สิ่งที่ ผอู้ื่นกล่าวน้นัหากพิจารณาเห็นวา่เรามีส่วนบกพร่องจริงก็สมควรแกไ้ข หากเราไม่เป็น อยา่งที่เขาวา่ก็ไม่ควร ไปเสียเวลาเดือดเน้ือร้อนใจผทู้ี่รู้สึกดีต่อตนเองจะเป็นผูท้ี่เปิดใจยอมรับผอู้ื่น ไม่หมกมุ่นอยกู่บัตนเอง ไม่ จ าเป็นตอ้งปิดก้นัตนเองจากสิ่งเลวร้ายภายนอก ซ่ึงเป็นรากฐานที่ ส าคญัต่อการ มีความสามารถที่จะเห็นอก เห็นใจผู้อื่น สนใจผู้อื่น กล่าวโดยสรุปวา่อารมณ์ของคนเราดา้นอารมณ์คิดบวกเป็นการคิด การรู้สึก หรือการ มองอยา่งมี ความหวงัว่าตอ้งมีสิ่งดีๆ เกิดข้ึนในอนาคต ท้งัต่อตนเองและผอู้ื่น ซ่ึงนบัวา่เป็นพลงัทางความคิดที่จะช่วย ให้ผา่นพน้ สถานการณ์อนัเลวร้ายไปได้โดยการคิดบวกสามารถเริ่มตน้ ได้ง่าย ๆ ดว้ยการคิดหรือพูดคุยกบั ตนเองก่อน 1.2 อารมณ์ด้านลบ negative emotion อารมณ์ในดา้นลบ เป็นความรู้สึกที่ไม่มีใครอยากจะมีไวต้ิดตวักนัท้งัน้นัเพราะนอกจากจะทา ให้ รู้สึกเศร้า เสียใจและข่นุมวัอยใู่นใจแลว้ยงัทา ให้ร่างกายมีผลต่อสุขภาพ ตกอยใู่นสภาพ ที่หดหู่ดงัน้นัการ รับมือกบัอารมณ์ในดา้นลบที่มาจากความเครียด จากความกดดัน จากคนรอบข้าง หรือจากความรู้สึกกลัวใน สิ่งที่จะเกิดข้ึน ลว้นแลว้เป็นการรับมือที่ยากยิ่ง หลายคนเมื่อตอ้งเจอกบัอารมณ์ทางดานลบ พวกเขามักจะหา ้ วิธีกา จัดอารมณ์ดงักล่าวออกไปจากความคิดคา นึงอย่าง รวดเร็วด้วยวิธีที่แตกต่างกนัดูซีรีส์บา้ง ช้อปปิ้ง ออนไลน์บ้าง หรือแม้แต่หันไปหาขนมหวานเพื่อท าให้อารมณ์ดีข้ึนแต่วิธีการดังกล่าวก็เป็นแค่ความ พยายามหลีกเลี่ยงอารมณ์ทางดา้นลบ ไม่ไดเ้ป็น การแกป้ ัญหาอยา่งแทจ้ริงจริงอยทู่ ี่ความพยายามหลีกเลี่ยง อารมณ์ทางด้านลบอาจจะท าให้เรา รู้สึกดีไดเ้ร็วข้ึน แต่ก็ทา ให้ความรู้สึกน้นัยงัคงตกคา้งอยใู่นใจเรา เมื่อมี อะไรมากระตุน้เราก็จะกลบัไปรู้สึกเช่นน้นัอีกอนัที่จริงแลว้อารมณ์ดา้นลบน้นั ไม่สามารถกา จัดให้หายไป ได้หากแต่เรา ตอ้งอยู่กบัอารมณ์น้ีด้วยความเขา้ใจ พร้อมท้งัหาวิธีรับมือกบัอารมณ์ดงักล่าวเพื่อไม่ให้มนั เกิดข้ึน บ่อยจนเกินไป ซ่ึงวธิีการมีดว้ยกนั 3 วิธีการ 1) คอยสังเกตตัวเองเมื่อเกิดอารมณ์ทางด้านลบ และไม่ตดัสินว่าที่เราตอ้งรู้สึกอย่างน้ีเป็นเพราะ ใครเป็นเพราะเรื่องอะไรขอใหรู้้ไวว้า่ชีวติคนเราก็เหมือนบททดสอบ นนั่แหละ


5 2) เปิ ดใจและยอมรับว่าตัวเองก าลงัรู้สึกทางด้านลบ ขณะเดียวกนัขอให้ใช้ร่างกายของตวัเองในการ นึกถึงความรู้สึกทางบวกที่คุณตอ้งการเอามาเยียวยา ตวัอยา่งเช่น ถา้เรากา ลังรู้สึกเครียดและสับสน ต้องการ ความรู้สึกมนั่ใจและสงบ เพื่อมาเยียวยาความรู้สึก ทางด้านลบ ก็ให้ใช้ร่างกายของตวัเองเป็นที่พกัใจได้ ด้วยการยกมือซ้ายทาบไปที่หนา้อก บริเวณ หวัใจแลว้บอกกบัตวัเองวา่ฉนั ไม่เป็นอะไรไปเรื่อย ๆ จะช่วยให้ อารมณ์ดา้นลบค่อย ๆ จางหายไป 3) เมื่อต้องเจอกับอารมณ์ทางด้านลบ ทางแกป้ ัญหาที่ดีที่สุดคือการคิดบวก หรือนึกถึงอนาคตที่ดี เอาไว้อาทิถา้เรากา ลงัหงุดหงิดกบัสิ่งแวดลอ้มรอบขา้งและใกล้จะระเบิด อารมณ์ของตัวเองออกมาแล้ว เรา ตอ้งจดัการดว้ยการนึกถึงอนาคตต่อจากน้ีเอาไว้อนาคตที่เราจะไดร้ับหลงัจากงานที่ลุล่วง ซ่ึงท้งัหมดน้ีจะ ช่วยได้ สรุปไดว้า่อารมณ์ดา้นบวกและดา้นลบเป็นเรื่องของความรู้สึกความคิด ซ่ึงจะ เกิดข้ึนไดใ้นแต่ละ คน แต่บางคนก็มีอารมณ์ทางดา้นบวกมาก บางคนก็มีอารมณ์ทางดา้นลบมาก คนมีอารมณ์ทางดา้นบวกมาก ส่วนใหญ่ก็จะไม่ค่อยคิดวา่ทา ไมเราถึงมีอารมณ์ทางบวกมาก หรืออยา่งมากก็พูดกบัตวัเองวา่เราเป็นคนโชค ดีแต่คนที่มีอารมณ์ลบมากส่วนมากก็จะโทษวา่เป็น เพราะผอู้ื่นกระทา ต่อเรา หรือเป็นคนจนไม่มีใครสนใจ หรือมีคนคอยจะแกลง้เราอยตู่ลอด อารมณ์ลบก็เกิดจากคนที่ชอบคิดลบ ทุกๆสิ่งในโลกน้นัมีท้งัดีและไม่ดีอยู่ ในเวลาเดียวกนัตลอดจน เกิดเป็นอารมณ์ที่นา ไปสู่ความความเครียดในชีวติ 2.การศึกษากบัเร ื่องของอารมณ ์ ทนี่ าไปสู่ความเครียด การจดัการกบัอารมณ์และความเครียด เป็นอีกวิธีที่ช่วยสร้างศกัยภาพให้เกิดข้ึนกบัตนเองเนื่องจาก การรู้จกัจดัการกบัอารมณ์และความเครียด จะช่วยให้เรารู้จกัระงบัหรือหลีกเลียงอารมณ์ที่ไม่พึงประสงค์ และเกิดความเครียด ซ่ึงจะส่งผลให้ปฏิบตัิกิจกรรมต่าง ๆ ไดอ้ยา่ง มีประสิทธิภาพ อารมณ์ดา้นลบเป็นสิ่งที่ ไม่พึงปรารถนาก็จริงถา้เรารับรู้ยอมรับและเขา้ใจอารมณ์ความกดดนัความเครียดที่เกิดข้ึน ก็จะไม่เป็นการ เพิ่มความทุกข์หากเราปฏิเสธหรือ พยายามกดเก็บอารมณ์หรือความรู้สึกน้ันก็จะเป็นการเพิ่มความทุกข์ ให้กบัตนเอง (การยอมรับ และเขา้ใจว่าตราบใดที่เราเป็นปุถุชน ย่อมเป็นธรรมดาที่จะมีอารมณ์ด้านลบ เกิดข้ึน)ขอให้รับรู้ด้วย ใจที่มนั่คง มองมนัอย่างเขา้ใจ แล้ววิเคราะห์หาเหตุและผล ย่อมทา ให้เราเกิดการ เรียนรู้จากสิ่งที่เกิดข้ึน อนันา ไปสู่อารมณ์ดา้นบวกและพฒันาไปสู่ความสุขสงบภายในไดใ้นที่สุด ปัญญา ใช้บางยาง. (2548)กล่าววา่สิ่งที่ทา ให้เป็ นเหตุยงัให้เกิดผลคือความคิด คา พูด การกระท า ชวั่ร้ายต่าง ๆ ใหบุ้คคลจิตเป็นอกุศลน้นัมาจากโลภ โกรธ หลง ดงัน้ี


6 โลภ เป็นเหตุให้คนอยากได้มีการยดึอารมณ์เป็นลกัษณะเหมือนลิงติดต้งัมีความติดในอารมณ์เป็น หน้าที่ เหมือนเน้ือที่ใส่ในกระเบ้ือง มีความไม่ยอมสละไป เป็นผล เหมือนเป้ือนสีน้ ามัน มีความเห็น ความชอบใจที่ท าใหเ้กิดกิเลส เป็นเหตุใกลใ้หเ้กิด ความโกรธ เป็ นเหตุให้คนประทุษร้าย หรือประทุษร้ายเอง มีความดุร้าย เป็ นลักษณะ เหมือน อสรพิษถูกตีแลว้ไม่ตามมีความกระสับกระส่าย เป็ นหน้าที่ เหมือนคนถูกวางยาพิษ มีการประทุษร้าย เป็ นผล เหมือนศตัรูมีโอกาสลา้งแคน้มีอาฆาตวตัถุ10 เป็นเหตุใหเ้กิด โมหะ(หลง) ปิดบงัสภาวะตามความจริงของอารมณ์มีความมืดมนแห่งจิต เป็นลกัษณะ มีการปกปิด สภาวะแห่งอารมณ์เป็นหน้าที่มีการไม่ปฏิบตัิโดยชอบ เป็นผล มีการท าไวใ้นใจโดยอุบายไม่แยบคาย เป็น เหตุใกลใ้หเ้กิด กล่าวโดยสรุปว่า ใน 3 ตระกูลน้ีที่น่ากลวัคือ“โกรธ” เพราะความโกรธ คือ สภาวะทางอารมณ์ที่ รุนแรงมกัเกิดข้ึนจากความไม่พอใจในสิ่งที่มากระทบใจความโกรธแมไ้ม่มีตวัตน แต่เมื่อเกิดข้ึนกบัผใู้ดแลว้ จะมีอานุภาพไม่มีประมาณ สามารถทา ลายลา้งทุกสิ่งทุกอยา่งแมแ้ต่คนที่เขารักเกิดผลเสียหายร้ายแรงอยา่ง ไม่อาจประเมินได้ผทู้ี่ปล่อยให้ความโกรธครอบงา บ่อย ๆ เป็นประจา ในไม่ชา้ก็จะกลายเป็นคนนิสัยไม่ดีแก้ ยากจนท าลายภาพลักษณ์ของตนในสังคมไป 3. ความเครียดและการบริหารความเครียด ในสาขาจิตวิทยาความเครียด เป็ นความรู้สึกตึงล้าทางใจ หรือการเสียศูนย์ความสมดุล ทางใจที่มีมา ก่อน เนื่องจากการไดร้ับสิ่งเร้าปัจจยัไม่วา่ทางกายหรือใจไม่วา่จะภายนอกหรือ ภายใน ไม่วา่จะเป็นอนัตราย จริง ๆ หรือไม่เช่น อากาศร้อน ถูกติเตียนต่อหนา้สาธารณชน หรือไดร้ับสิ่งเร้าประสบการณ์อื่น ๆ ที่ไม่น่า ชอบใจเหล่าน้ีเป็นอารมณ์เชิงลบซ่ึงบุคคลปกติพยายามจะหลีกเลี่ยงเป็นอารมณ์ที่เกิดพร้อมกบัการปรับตวั ทางเสรีภาพ ทางประชาน และทาง พฤติกรรมเป็นความทุกขท์างใจอย่างหน่ึงความเครียดเล็กนอ้ยอาจเป็น เรื่องที่น่าตอ้งการ มีประโยชน์และแมแ้ต่ดีต่อสุขภาพ เช่น ความเครียด "เชิงบวก" ที่ช่วยให้นกักีฬาเล่นกีฬา ได้ดีข้ึน มนัยงัเป็นปัจจยัสร้างแรงจูงใจการปรับตวัและการตอบสนองต่อสิ่งแวดลอ้ม แต่การเครียดมาก อาจท าอนัตรายต่อร่างกายเพราะสามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อเส้นเลือดอุดตนั ในสมองกลา้มเน้ือ หัวใจตายเหตุ ขาดเลือด แผลเปื่อยและโรคทางใจเช่น โรคซึมเศร้า 3.1 ความเครียด


7 ความเครียดอาจมาจากปัจจยัภายนอกและเกี่ยวกบัสิ่งแวดลอ้ม แต่ก็อาจมีเหตุจาก การรับรู้ภายในที่ ท าให้บุคคลรู้สึกวิตกกงัวลหรือเกิดอารมณ์เชิงลบอื่น ๆ เกี่ยวกบัสถานการณ์เช่น รู้สึกถูกกดดนั ไม่สบายใจ เป็ นต้น แล้วท าให้เครียด นกัวิชาการจึงไดน้ ิยามความเครียดไวอ้ีกอย่าง หน่ึงวา่เป็นความสัมพนัธ์ระหวา่ง บุคคลกับสิ่งแวดล้อมที่บุคคลจดัว่าส าคัญต่อตน และรู้สึกหนักเกินกว่าที่ตนจะรับมือได้สัญญาณของ ความเครียดอาจเกี่ยวเนื่องกับการรู้ทางอารมณ์ทางกาย หรือทางพฤติกรรม สัญญาณอื่น มีต้ังแต่การ ตดัสินใจที่เลว ทศันคติแง่ลบทวั่ ไป การวติกกงัวลเกินไป อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดฉุนเฉียวง่าย ภาวะกาย ใจไม่สงบ การไม่สามารถพกัผอ่นได้ความรู้สึกโดดเดี่ยวการปลีกตวัหรือภาวะซึมเศร้าการปวดและความ เจ็บปวด ทอ้งร่วงหรือ ทอ้งผกูอาการคลื่นไส้เวียนศีรษะเจ็บที่หนา้อก หวัใจเตน้เร็วกินมากเกินหรือไม่พอ นอนมากเกิน หรือไม่พอการหลีกหนีสังคม การผดัวนั ประกนัพรุ่ง หรือปฏิเสธความรับผิดชอบการเพิ่ม ปริมาณ บริโภคแอลกอฮอล์นิโคตินหรือยาเสพติด และพฤติกรรมทางประสาทอย่างการกดัเล็บและ การ เจ็บที่คอ ความเครียดตามหลักวิทยาศาสตร์หมายถึง สภาพทางร่างกายที่ส่งฮอร์โมนอะเดรนาลีน (Adrenalin) สู่เลือด กล้ามเน้ือและร่างกายส่วนต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว ปฏิกิริยาต่อความเครียด คือ การ ตอบสนองต่อความเครียดทางจิตใจและร่างกาย ทางร่างกายก็จะเกิดความดนั โลหิตสูง และจิตใจก็จะหดหู่ ความเครียดในการท างานจะแสดงออกโดยการไม่พอใจในงานการขาดงาน บ่อย การลาออกสูงและ พฤติกรรมอื่น ๆ ที่ไม่ดีแต่ความเครียดก็ไม่ใช่จะมีแต่ส่วนไม่ดีถ้ามีความเครียดในระดับต ่า ก็สามารถช่วย ใหร้่างกายของมนุษยส์ู้และจดัการกบั ปัญหาอนัตรายและช่วงวกิฤติได้แต่ถา้หากมีในระดบัสูงมากเกินไป ก็ จะท าใหร้่างกายและจิตใจท างานไม่ปกติซ่ึงความเครียดอยา่งหลงัจะก่อให้เกิดผลเสียต่อองคก์ารและทา ลาย บุคคลผนู้้นัเอง 3.2 ปัจจัย สาเหตุและผลกระทบทที่า ให้เกิดความเครียด การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในสังคมยุคปัจจุบัน รวมท้งัการแข่งขนัเป็นไปอย่างสูงข้ึน ก่อให้เกิด ภาวะที่ประชาชนส่วนใหญ่ไม่สามารถปรับตัวได้ตามสถานการณ์ท าให้เกิดปัญหา สุขภาพจิตสูงข้ึน โดยเฉพาะโรคที่มีความส าคญั ไดแ้ก่โรคจิต ภาวะปัญญาอ่อน โรคลมชกั โรควิตกกงัวลและโรคซึมเศร้า การดื่มสุรา การใช้สารเสพติดและการฆ่าตวัและมีนักวิชาการ หรือองค์กรต่างๆ ไดก้ล่าวถึงปัจจยัสาเหตุ และผลกระทบไวด้งัน้ี กองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (2561)กล่าววา่ความเครียด เป็นสภาวะจิตใจและร่างกาย ที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นผลจากการที่บุคคลต้องปรับตวัต่อสิ่งกระตุ้นหรือสิ่งเร้าต่าง ๆ ในแวดล้อมหรือ คุกคามใหเ้กิดความทุกข์ความไม่สบายใจ


8 สาเหตุความเครียดเกดิจากดังนี้ 1) ตนเอง (1) เกี่ยวกบัสุขภาพและการเจ็บป่วยท้งัรุนแรงและไม่รุนแรงทา ใหเ้กิดความเครียดได้ (2) บุคลิกภาพ ผูท้ ี่มีบุคลิกภาพที่ชอบแข่งขนัเร่งรีบ ต้องการเอาชนะ ไม่อดทน จะมี ความเครียดมาก 2) หมู่คณะความขดัแยง้ในหมู่คณะ 3) การงาน ข้ึนอยกู่บัลกัษณะงาน ภาระของงาน ความสัมพนัธ์กบัผรู้่วมงานระดบัต่าง ๆ ผลของงาน ที่เกิดข้ึน 4) สิ่งแวดล้อม อากาศ แสง เสียง ฝุ่น ความร้อน ฯลฯ ผลกระทบของความเครียด มีดงัน้ี ผลกระทบต่อตนเอง (1) ทางกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดศีรษะขา้งเดียว หัวใจเตน้แรงและเร็ว มือเทา้เยน็ทอ้งอืด คลื่นไส้หรือปั่นปุวนในทอ้งความดนัโลหิตสูง หอบหืด โรคหวัใจ (2) ทางอารมณ์เช่น หงุดหงิด โกรธง่ายวติกกงัวล ซึมเศร้า ฯลฯ (3) ทางด้านความคิด เช่น หดหู่ไม่มีสมาธิตดัสินใจล าบาก หลงลืมง่าย มีความคิดดา้นลบ มากกวา่ดา้นบวกเห็นตวัเองไม่มีคุณค่า สิ้นหวงัฯลฯ (4) ทางพฤติกรรม เช่น สูบบุหรี่จดั ไม่เจริญอาหารกา้วร้าว นอนไม่เตม็ที่ฯลฯ ผลกระทบของความเครียดต่อหมู่คณะ ขาดการสื่อสารที่ดีซ่ึงกนัและกนั ไม่ยอมรับและไม่มีความ เขา้ใจกนัเกิดความขดัแยง้ ผลกระทบของความเครียดต่อการประกอบศาสนกิจ ไม่มีสมาธิในการทา งาน ท างานบกพร่องและ ผิดพลาดไม่รับผิดชอบงานที่ไดร้ับมอบหมาย เหนื่อยหน่ายต่อการปฏิบตัิงาน ประสิทธิภาพในการท างาน ลดลง ปัจจัยของความเครียด เชอร์เมอร์ฮอร์น และคณะ Schermerhon, et al. (2546)กล่าวว่า สิ่งที่เป็นสาเหตุของความเครียด (Stressors) เกิดจากประสบการณ์ในที่ทา งานโดยตรงแต่ก็มีสาเหตุอื่นที่ไม่ไดเ้กิด จากงานรวมท้งัเกิดปัจจยั เกี่ยวกับตวับุคคลด้วย กล่าวคือ สาเหตุของความเครียดที่เกี่ยวกับงาน (Work-Related Stressors) เกิดจาก หลาย ปัจจยัดงัน้ี 1) ปริมาณงาน (Task Demands)อาจเป็นผลเนื่องมาจากถูกกา หนดให้ท างาน มากหรือนอ้ยเกินไป


9 2) บทบาทไม่ชัดเจน (Role Ambiguities) ไม่ทราบว่าอะไรคือสิ่งที่ตอ้งทา หรือ จะถูกประเมินผล การปฏิบตัิงานอยา่งไร 3) ความขัดแย้งในบทบาท (Role Conflicts) มีความรู้สึกไม่สามารถทา หลายสิ่ง หลายอย่างให้พึง พอใจไดแ้ละขดัแยง้เกิดกบัความคาดหวงัในผลงาน 4) ปัญหาทางจริยธรรม (Ethical Dilemmas)ได้รับการร้องขอให้ท าในสิ่งที่ผิด กฎหมาย หรือขดั กบัค่านิยมส่วนบุคคล 5) ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล(Interpersonal Problems) มีประสบการณ์ ความสัมพันธ์ที่ ไม่ดีหรือทา งานกบัคนอื่นซ่ึงเป็นคนที่เขา้กบั ใครไม่ได้ 6) การพัฒนาอาชีพ (Career Developments)กา้วหนา้เร็วมากและรู้สึกตอ้งใช้ความพยายามสุดขีด หรือกา้วหนา้ชา้และรู้สึกวา่ ไม่เจริญเติบโต 7) สภาพทางกายภาพ (Physical Setting) สภาพความเป็นอยขู่องที่ทา งานไม่ดีเช่น มีเสียง รบกวน ไม่เป็นส่วนตวัมีมลพิษ หรือไม่พอใจเงื่อนไขการทา งานดา้นอื่น ปัจจยัสาเหตุที่ไม่เกี่ยวกบังานและดา้นตวั บุคคล (Non-work And Stresses) อาจมี สาเหตุที่ไม่เกี่ยวกบังานหลายประการที่ท าให้เกิดความเครียดได้เช่น จากเหตุการณ์ในครอบครัว อาทิการเพิ่งมีเด็กเกิดใหม่ปัญหาทางเศรษฐกิจอาทิประสบสภาวะการขาดทุน ในกิจการใหญ่และเรื่องรักใคร่ส่วนตวัอาทิการแยกกนัอยู่หรือหยา่ร้าง เป็นการยากที่จะแยกงานกบัเรื่อง ที่ไม่เกี่ยวกบังานออกจากกนั ได้อย่างสมบูรณ์ดงัน้ันความเครียดในเรื่องที่ไม่ใช่งาน จึงมีผลกระทบ ต่อ ความรู้สึกและพฤติกรรมในการท างานด้วย 3.3 การบริหารความเครียด ตามปกติแลว้เมื่อเกิดความเครียดภายในจิตใจ มกัส่งผลทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตไดอ้ยา่ง ชดัเจน เช่น ทางกาย ปวดศีรษะอ่อนเพลีย นอนไม่หลบัเบื่ออาหาร หายใจไม่อิ่ม ทางจิตใจ หงุดหงิด สับสน คิดอะไรไม่ออกเบื่อหน่าย โมโหง่าย ซึมเศร้า ทางสังคม บางคร้ังทะเลาะวิวาทกบัคนใกลช้ิด หรือไม่พูดจา กบั ใครแต่ในบางคนไม่สามารถสังเกตเห็น ความเปลี่ยนแปลงของอาการไดช้ดัเจนและไม่ทราบวา่ตนเอง มีความเครียดหรือไม่อาจใช้แบบ ประเมินและวิเคราะห์ ส ารวจความเครียดด้วยตนเองก็ได้ซ่ึงกรม สุขภาพจิตได้สร้างเครื่องมือ ประเมินและวิเคราะห์ความเครียดด้วยตนเองส าหรับคนไทย การส ารวจความเครียดของตนเอง การคน้หาความเครียดของตนเองเราจะรู้วา่มีความเครียดมากนอ้ยเพียงใด มีสาเหตุของความเครียด เรื่องใดเพื่อแกไ้ขให้ตรงจุด และเมื่อใดที่แกไ้ขส าเร็จอาการทางกายต่าง ๆ จะทุเลาลงเองและในระหวา่งน้นั


10 ควรใชเ้ทคนิคการผอ่นคลายความเครียดดว้ยตนเองควบคู่ไปดว้ย แต่ถา้พยายามคลายเครียดแลว้อาการไม่ดี ข้ึนก็ควรไปพบแพทยเ์พื่อขอรับคา ปรึกษาต่อไป เทคนิคในคน้หาความเครียด มีดงัน้ี 1) ตอ้งตระหนกัถึงอาการที่แสดงวา่เริ่มมีความเครียดเกิดข้ึน เช่น รู้สึก หงุดหงิด ไม่มีความสุข ปวด ศีรษะเหนื่อยง่าย ทอ้แท้ความจา หรือสมาธิเลวลงแน่นทอ้งอึดอดั หายใจขัด เป็ นต้น 2) พิจารณาว่าสิ่งใด เหตุปัจจยัใดทา ให้เกิดความเครียด และความคิดของ บุคคลในการรับรู้สิ่ง กระตุน้ที่ก่อให้เกิดความเครียดเป็นอยา่งไรเช่น นกัเรียนเครียดเนื่องจากเกรด ลดลงจาก4.0 เหลือ3.5แสดง ว่านักเรียนคนน้ีมีการรับรู้ว่าคะแนนมีความส าคญัต่อการตดัสิน ความสามารถของตนเอง มากจึงรู้สึกไม่ พอใจแมว้า่ผลการเรียนของเขายงัอยใู่นระดบัดีก็ตาม 3) ใช้เทคนิคการผ่อนคลายความเครียดรูปแบบต่าง ๆ เช่น การหายใจ การจดัการกบัความเครียด ต่อไป ไดแ้ก่ (1) ใชว้ธิีการผอ่นคลายความเครียดรูปแบบต่าง ๆ เช่น การหายใจการฝึก สมาธิการนวด การออกก าลังกาย ฟังเพลง ปลูกต้นไม้ ฯลฯ (2) การปรับเปลี่ยนความคิด เป็ นการปรับเปลี่ยนวิธีคิดทางลบให้เป็ นไปใน ทางบวก เพื่อให้เกิดความรู้สึกต่อสถานการณ์น้ัน ๆ ดีข้ึน ช่วยให้บุคคลสามารถจัดการกับอารมณ์และแสดง พฤติกรรมไดอ้ยา่งเหมาะสม โดยการหมนั่ฝึกจบัความคิดลบและปรับเปลี่ยนให้เป็ น ความคิดทางบวกเป็ น ประจ า เพื่อใหเ้กิดความคิดทางบวกโดยอตัโนมตัิ (3) ชื่นชมตนเองที่สามารถจดัเก็บกบัความคิดและอารมณ์ทางลบของ ตนเองในทาง สร้างสรรค์ได้ 4) เมื่อมีอารมณ์สงบแลว้ใชเ้ทคนิคการแกป้ ัญหา ดงัน้ี (1) หาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา (2) รวบรวมข้อมูลที่จ าเป็นเกี่ยวกบัการแกป้ ัญหา (3) วิเคราะห์ข้อดีและข้อเสียและจัดล าดับความส าคัญของปัญหา (4) ตัดสินใจเลือกวิธีการแกป้ ัญหาที่เหมาะสมและสามารถทา ได้ (5) หาวธิีแกไ้ขผลเสียที่อาจเกิดข้ึนจากทางเลือกน้นัๆ (6) ด าเนินการแกไ้ขปัญหา (7) ประเมินผลการแกไ้ขปัญหา กล่าวโดยสรุป หากมีความเครียดอยู่ในระดบัสูงมากก็ควรจะรีบหาทางจดัการกบัความเครียดให้ ออกไปจากชีวิตคุณ ซึ่งสามารถท าไดห้ลายวิธีเช่น พูดคุยกบัเพื่อนหรือคนที่คุ้นเคยออกกา ลงักาย เล่นกีฬา


11 ท าสมาธิในปัจจุบนัมีผใู้ชบ้ริการปรึกษาปัญหาสุขภาพจิตตามหน่วยงาน ต่าง ๆ ไดแ้ก่บริการคลินิกคลาย เครียด 4. การจัดการกับอารมณ์และความเครียดด้วยวิธีการแก้ปัญหา กิจกรรมที่จะช่วยจดัการอารมณ์และความเครียดไดอ้ยา่งสร้างสรรคน์ ้นั อภิชาแดงจารูญ. (2563)ไดก้ล่าวถึงวธิีการแกป้ ัญหา 5ข้นัตอน ดงัน้ี 1) ตระหนักรู้ปัญหาที่แท้จริง :อารมณ์ความรู้สึกที่เกิดข้ึนน้นั ไม่ใช่ปัญหาความรู้สึก ที่เกิดข้ึนเป็น เพียงผล ฉะน้นัจึงตอ้งตระหนกัรู้ปัญหาที่แทจ้ริงและสาเหตุที่ก่อให้เกิดความรู้สึกน้นั 2)อุปสรรค : สิ่งใดที่เป็นอุปสรรคขวางก้นั ในการแกไ้ขปัญหาน้นั 3)แนวทางแก้ปัญหาที่หลากหลาย : หาวิธีการหลาย ๆ วิธีเพื่อแกไ้ขปัญหา (ขา้มพน้อุปสรรคและ เอาชนะปัญหาได้) 4) ประเมินแต่ละสถานการณ์ : ประเมินวิธีการแกไ้ขปัญหาแต่ละแนวทางวา่จะเกิด ผลกระทบเชิง บวกและเชิงลบอยา่งไร? 5) เลือกวิธีการแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด : หากแนวทางที่เลือกน้ันไม่บรรลุผลก็เลือกแนว อื่นมาใช้ แกป้ ัญหาต่อไป จากประสบการณ์ที่ผู้สอนได้น ากิจกรรมการแกป้ ัญหา 5ข้นัตอนไปใชใ้นช้นัเรียน พบวา่สิ่งที่เป็น ปัญหาของผู้เรียนส าหรับการใช้วิธีแกไ้ขปัญหาคือขอ้1การตระหนกัรู้ปัญหา ในขอ้น้ีหากมองหรือรับรู้ ปัญหาไม่ตรงกบัสิ่งที่เกิดข้ึนตามที่เป็นจริงยอ่มทา ให้การแกป้ ัญหาผดิเพ้ียนหรือบิดเบ้ียวไปจากสิ่งที่ควรจะ เป็ น (ผล คือผเู้รียนไม่สามารถจดัการอารมณ์และความเครียดไดอ้ยา่งแทจ้ริง)ผเู้รียนโดยส่วนใหญ่วเิคราะห์ ขอ้แรกคือการตระหนกัรู้ปัญหาได้ไม่ตรงกบั ปัญหาที่แทจ้ริง กล่าวโดยสรุป การแก้ปัญหา (Problem Solving) น้ัน จุดประสงค์เพื่อเพิ่มความใฝ่เรียนรู้ ในการ แกป้ ัญหาการน าหลักการมาสังเคราะห์หรือสร้างสรรคก์ารแกไ้ขปัญหา นา พาใหบุ้คคลกา้วผา่นปัญหาขจดั ความกลวัหรือความกงัวลใจผใู้หญ่ควรปลูกฝังเด็กให้ใชว้ธิีการแกป้ ัญหา 5ข้นัตอน คือ1. ตระหนกัรู้ปัญหา ที่แท้จริง การตระหนักรู้ปัญหาที่แท้จริงเสมือนแผนที่น าทาง หรือจีพีเอส ที่มีความเที่ยงตรง หากเขา้ใจว่า อารมณ์ความรู้สึกที่เกิดข้ึนน้ันคือปัญหา นนั่แสดงว่าแผนที่หรือจีพีเอส น้นัพาเราหลงทิศหลงทาง เพราะ ความรู้สึกที่เกิดข้ึนเป็นเพียงผล ฉะน้นัจึงตอ้ง ตระหนกัรู้ปัญหาที่แทจ้ริงและสาเหตุที่ก่อให้เกิดความรู้สึกน้นั 2.อุปสรรคหรือสิ่งที่ขวางก้นัการแกไ้ขปัญหาน้นัเช่น อาจเป็นความรู้สึกไม่กลา้กงัวลกลวัเขินอาย ฯลฯ


12 ที่เกิดข้ึนกบัการเผชิญหนา้แบบตรงไปตรงมาโดยไม่กา้วร้าว3.แนวทางแกป้ ัญหาที่หลากหลาย เป็นการหา วิธีการ หลาย ๆ วิธีเพื่อแกไ้ขปัญหา (ขา้มพน้อุปสรรคและเอาชนะปัญหาได)้4. ประเมินแต่ละสถานการณ์ เมื่อได้แนวทางในการแก้ไขปัญหาที่หลากหลายแลว้ก็ลองประเมินวิธีการแก้ไขปัญหาว่าแนวทาง ใดที่มี ความเป็ นไปได้ หรือแนวทางใดน่าจะดีที่สุด อาจลา ดับความส าคัญด้วยตวัเลขไวใ้นแต่ละขอ้และนา ไปสู่ ผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบอยา่งไร5. เลือกวธิีการแกไ้ขปัญหาที่ดีที่สุด ลองน าแนวทางที่ดีที่สุดไปแกไ้ข ปัญหา หากแนวทางที่เลือกน้นัไม่บรรลุผลก็เลือกแนวทางอื่นมาใช้แกป้ ัญหาต่อไป


13 บรรณานุกรม นางปานดีคงสมบัติ. (2564). (ศิลปะและทักษะการใช้ชีวิต). วิทยาลัยชุมชนระนอง สถาบัน วิทยาลัยชุมชน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม


1 หน่วยที่ 4 หลก ั ค ุ ณธรรมและจร ิ ยธรรมเพอ ื่การดา เน ิ นช ี วต ิ ทด ี่ี งาม เรียบเรียงโดย นายแวอารงค์ สาและ นายกิตติพงษ์พันธุ์มณี นางผาณิต มุสิกะ ร้อยต ารวจเอกสาธร ไหมเกตุ


1 ค าน า เน้ือหาเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวิชาศึกษาทั่วไป วิชา ศท 0202 ศิลปะและทักษะการใช้ชีวิต จดัทา ข้ึนสา หรับใชป้ระกอบการเรียนการสอนสา หรับนกัศึกษาและผทู้ี่สนใจเกี่ยวกบัการวางจุดมุ่งหมายและ การจัดการชีวิต ปัญญาทางอารมณ์ หลักธรรมที่ใช้ในการด าเนินชีวิต ภาวะผู้น า การรู้จักใช้เงิน การพัฒนาตน และการเห็นคุณค่าแห่งตน สุนทรียภาพของชีวิต การเรียนรู้บุคคลในชุมชนที่เป็นแบบอยา่งการดา เนินชีวิต และ ดา รงชีวิตอยา่งมีความสุข ซึงเรียบเรียงจากหนงัสื่อของอาจารยป์านดีคงสมบตัิ(ครูชา นาญการพิเศษ) จากวิทยาลัยชุมชนระนอง สถาบันวิทยาลัยชุมชนกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ผเู้รียบเรียงหวงัว่าเน้ือหาเล่มจะเป็นประโยชน์ต่อผูท้ี่สนใจเพื่อใช้ในการดา รงชีวิตประจา วนัต่อไป และขอขอบคุณ อาจารย์ปานดี คงสมบัติ (ครูช านาญการพิเศษ) จากวิทยาลัยชุมชนระนอง สถาบันวิทยาลัย ชุมชนกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจยัและนวตักรรม เป็นอย่างสูง ที่อนุเคราะห์ให้ใช้ในการ ประกอบการเรียนการสอนในคร้ังน้ี คณะผู้เรียบเรียง ธันวาคม 2565


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.