การศึกษาสำนวนไทยที่สะท้อนถึงความเชื่อ (สมบูรณ์) Flipbook PDF


72 downloads 116 Views 37MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

โครงร่างโครงงาน 1. ชื่อโครงงาน การศึกษาส านวนไทยที่สะท้อนถึงความเชื่อ 2. ชื่อผู้ท าโครงงาน 2.1 นายธรรมรัตน์ มลอาร์ รหัสนักศึกษา 624101001 ค.บ.4 ภาษาไทย 2.2 นายอภิรักษ์ แสงทอง รหัสนักศึกษา 624101005 ค.บ.4 ภาษาไทย 2.3 นางสาวชุติมา มนตา รหัสนักศึกษา 624101016 ค.บ.4 ภาษาไทย 2.4 นางสาวญดาวิล เต๊ะเอียดย่อ รหัสนักศึกษา 624101017 ค.บ.4 ภาษาไทย 2.5 นางสาวญาณิน นกเล็ก รหัสนักศึกษา 624101018 ค.บ.4 ภาษาไทย 2.6 นางสาวพรทิวา ไทรสังขด ารงพร รหัสนักศึกษา 624101028 ค.บ.4 ภาษาไทย 2.7 นางสาวอภิรดา ประยงค์ทรัพย์ รหัสนักศึกษา 624101032 ค.บ.4 ภาษาไทย 3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรรณนิสา ปานพรม อาจารย์ประจ าสาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง 4. ระยะเวลาด าเนินการ ระยะเวลา กิจกรรมที่ท า สิ่งที่ได้/การพัฒนา ชิ้นงาน รูปภาพ 8/12/65 -เสนอโครงงานที่สนใจกับ อาจารย์ประจ ารายวิชา โดยสนใจในหัวข้อ ส านวนไทยที่เกี่ยวกับ ความเชื่อ - หาข้อมูลเพิ่มเติมใน ส่วนของส านวนไทยที่ เกี่ยวกับความเชื่อ - หาข้อมูลเรื่อง ความหมายของเชื่อ 14/12/65 - หาส านวนไทยที่ เกี่ยวข้องกับบุญบาป เวร กรรม นรกสวรรค์และ ที่มาของส านวนนั้น ๆ แล้วจัดท าตาราง - ได้ส านวนที่ เกี่ยวข้องกับความเชื่อ บุญบาป เวรกรรม นรกสวรรค์ - ได้ความหมายของ ส านวน


15/12/65 - พบอาจารย์ประจ าวิชา ครั้งที่ 2 เพื่อขอค าแนะน า ในการจัดท าโครงงาน - จัดท าตาราง วิเคราะห์ข้อมูล ส านวนไทย และ ประเภทของความเชื่อ 16/12/65 - หาที่มา ที่เกี่ยวข้องกับ ส านวนที่ต้องการจะศึกษา จากหนังสือ บทความและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - ได้ข้อมูลที่มาของ ส านวน และได้ท า ตารางวิเคราะห์ข้อมูล ส านวนไทย และ ประเภทของความเชื่อ ได้ส าเร็จลุล่วง 5. หลักการและเหตุผล มนุษย์เป็นสัตว์สังคม (social animal) ชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกับสัตว์ชนิดอื่นๆ สัตว์สังคมอยู่รวมกันเป็น ฝูงและมีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งการจะท าเช่นนั้นได้สัตว์เหล่านี้ย่อมต้องมีการสื่อสารกันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม จาก ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบและความหมายในภาษาไม่มีเหตุผลที่อธิบายได้เนื่องจากคุณสมบัติภาษาที่กล่าว มาข้างต้นท าให้ภาษาของมนุษย์เป็นระบบที่สมมุติกันขึ้นเฉพาะกลุ่มภาษาก็ต้องใช้การเรียนรู้การขัดเกลาทาง สังคม (จรัลวิไล จรูญโรจน์, 2557, หน้า 1-3) โดยธรรมชาติของมนุษย์จะสื่อสารโดยการพูด การุณันทน์ รัตน


แสนวงษ์ (2548, หน้า 11-14) กล่าวว่า การพูด หมายถึง การถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึก อารมณ์ ทัศนคติประสบการณ์ จากผู้พูดไปยังผู้ฟังโดยผ่านถ้อยค า สีหน้า แววตา รวมทั้งน้ าเสียงและอากัปกิริยาที่แสดง ประกอบ เพื่อให้ผู้ฟังรับรู้การตอบสนองผ่านทัศนคติของแหล่งสารหรือผู้ส่งสารมีอิทธิพลต่อการสื่อสาร ทัศนคตินี้จ าแนกได้เป็นทัศนคติต่อตัวเอง ทัศนคติต่อสาร และทัศนคติต่อผู้รับสาร ทัศนคตินี้สามารถมี ผลกระทบในการสื่อสาร และ ฉัตรา บุนนาค และคณะ (2529, หน้า 1) กล่าวว่า เรามักจะเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ไม่ เหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับภูมิหลังหรือประสบการณ์พื้นฐานที่แต่ละคนมีต่อสิ่งนั้น ความเข้าใจและทัศนคติที่ แตกต่างกันนี้กระตุ้นให้มนุษย์เกิดความต้องการที่จะสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้ ความรู้สึกนึกคิดของกันและกัน การพูดเป็น เขียนเป็น มิใช่เป็นเพียงการพูดและการเขียนที่บุคคลจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนนึกคิดหรือเข้าใจ ออกมาเท่านั้น แต่จะต้องมีศิลปะในการถ่ายทอดโดยใช้ภาษาที่ถูกต้องสละสลวยเหมาะแก่กาลเทศะ ภาษายังมี ความส าคัญในการบันทึกและถ่ายทอดวัฒนธรรมคือสภาพความเป็นอยู่ของแต่ละสังคมไว้เป็นหลักฐาน การใช้ ภาษาย่อมเกิดขึ้นกับวัฒนธรรมของแต่ละสังคมที่แตกต่างคนไทยจึงมีสิทธิที่จะภูมิใจในความเป็นไทย (กรม วิชาการ, 2545, หน้า ก) ความไพเราะลึกซึ่งอันเป็นเอกลักษณ์ของภาษาไทย ถ้อยส านวนที่กินใจที่พวกเราทุก คนควรหวงแหน ร่วมใจอนุรักษ์และส่งเสริมให้ภาษาไทยเจริญคู่ชาติไทย ความงดงามอีกประการของภาษาไทยที่เรามีคือส านวน ค าพังเพย สุภาษิต ที่จะช่วยท าให้ค าพูดค า เขียนมีความหมายคมคาย ให้แง่คิด (ล้อม เพ็งแก้ว, 2553, หน้า 1) ถ้อยค าภาษานั้น มีลักษณะเป็นสามัญ เช่นเดียวกับชีวิตมนุษย์และสรรพสิ่งทั่วไป คือต่างอยู่ใต้กฎแห่งความเป็นอนิจจัง อันหมายถึง ย่อมมีสภาพ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปอย่างเป็นปรกติส านวนภาษาใดที่ยังใช้งาน ยังสื่อความหมายได้แจ่มชัด ถ้อยค าเหล่านั้นก็ ยังคงอยู่สืบเนื่องมา แต่บางถ้อยส านวนเมื่อหมดหน้าที่ไม่สอดคล้องกับยุคสมัยย่อม “ตาย” หรือสาบสูญไปใน ขณะเดียวกันเมื่อมีการสาบสูญก็ย่อมต้องมีการเกิดขึ้นมาใหม่เนื่องจากเหตุการณ์ใหม่ ๆ ของสังคมที่เกิดขึ้นมา อยู่เนื่อง ๆ หากแต่สิ่งที่เกิดขึ้นมาก็ยังมีส่วนที่เกี่ยวกับคติความเชื่อด้านต่าง ๆ ที่คนสมัยก่อนได้กล่าวไว้ที่เกี่ยวกับ ด้านความเชื่อเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ที่เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ความเชื่อเกี่ยวกับเวรกรรม บาปบุญ นรก สวรรค์ความเชื่อเกี่ยวกับวิญญาณ ภูตผี ปีศาจ ความเชื่อเกี่ยวกับอ านาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ความเชื่อเกี่ยวกับ เครื่องรางของขลัง เวทมนตร์ และไสยศาสตร์ความเชื่อเกี่ยวกับชาติภพ ความเชื่อเกี่ยวกับดวงชะตา โหราศาสตร์ ความเชื่อเกี่ยวกับสัตว์คติความเชื่อในด้านต่าง ๆ เหล่านี้มักจะปรากฏในส านวนไทยอยู่มาก คน ไทยมีคติความเชื่อเหล่านี้ที่สั่งสมกันมาหลายชั่วอายุคนและน าส านวนเหล่านี้มาไว้ใช้สั่งสอนลูกหลาน อีกทั้งยัง เป็นมรดกของแผ่นดินที่ภาษาสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรม ศาสนา ของสังคมไทยด้วยเหตุผลดังกล่าผู้จัดท าจึงมี ความสนใจที่จะศึกษาและจ าแนกส านวนไทยที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อในด้านต่าง ๆ 6. จุดหมาย/วัตถุประสงค์ 6.1 เพื่อศึกษาที่มาและความหมายของส านวนไทยที่เกิดมาจากความเชื่อ 6.2 เพื่อจ าแนกประเภทของส านวนไทยที่เกี่ยวกับความเชื่อ 7. สมมติฐานของการศึกษาโครงงาน 7.1 ทราบถึงที่มาของส านวนไทยที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อ 7.2 ทราบถึงวิถีชีวิตของสังคมที่อยู่ในส านวนไทย 7.3 ทราบถึงส านวนไทยว่ามีความเชื่อด้านใดบ้าง


8. ขั้นตอนการด าเนินงาน 8.1 รวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องส านวนไทย ความหมายและขนบการใช้ ส านวนไทย และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยการสืบค้นสารสนเทศผ่านระบบออนไลน์ 8.2 รวบรวมข้อมูลและศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการจ าแนกส านวนไทยที่เกี่ยวกับความเชื่อ โดยการสืบค้นข้อมูลที่เป็นเอกสาร งานวิจัย ข้อมูลในระบบสารสนเทศ 8.3 น าผลการรวบรวมและศึกษาเอกสาร ต ารา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับส านวนไทยที่เกี่ยวกับความเชื่อ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับองค์ประกอบของการจ าแนกส านวนไทยที่เกี่ยวกับความเชื่อแล้วน ามาศึกษา วิเคราะห์เนื้อหาและกลวิธีการใช้ 9. ปฏิบัติโครงงาน 9.1 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ความหมายของส านวนไทย จากการศึกษาเอกสารและต าราต่าง ๆ ได้มีผู้ทรงคุณวุฒิให้ความหมายของส านวนไว้ ดังนี้ กาญจนาคพันธุ์ (2522, บทน า) ได้ให้ความหมายของส านวนไว้ว่า ค าพูดของมนุษย์เราไม่ว่าชาติ ใดภาษาใดแยกออกได้กว้าง ๆ เป็นสองอย่าง อย่างหนึ่งพูดตรงไปตรงมาตามภาษาธรรมดาพอพูดออกมาก็ เข้าใจกันได้ทันที อีกอย่างหนึ่งพูดเป็นชั้นเชิงไม่ตรงไปตรงมาแต่ให้มีความหมายในค าพูดนั้น ๆ คนฟังอาจเข้าใจ ความหมายทันทีถ้าค าพูดนั้นใช้กันแพร่หลายทั่วไปจนอยู่ตัวแล้ว แต่ถ้าไม่แพร่หลายคนฟังก็ไม่อาจเข้าใจได้ ทันทีต้องคิดจึงเข้าใจหรือบางทีคิดแล้วเข้าไจไปอย่างอื่นก็ได้หรือไม่เข้าใจเอาเลยก็ได้ค าพูดเป็นชั้นเชิงนี้เราเรียก กันว่า ส านวน ประเทือง คล้ายสุบรรณ์ (2529, หน้า 1-5) ได้กล่าวถึงความหมายของส านวนไว้ว่า ส านวน หมายถึง ถ้อยค าในภาษาไทยที่ใช้พูดจาสื่อสารกัน โดยมีความหมายเป็นนัยกินความ กว้างหรือลึกซึ้ง มิใช่แปลความหมาย ของ ค าตรงตัว เป็นความหมายในเชิงอุปมาเปรียบเทียบหมายรวมไปถึง ค าคม สุภาษิต ค าทั้งเพย ค าขวัญ โวหาร หรือค ากล่าวต่าง ๆ ด้วย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542, หน้า 1187) ได้ให้ความหมายของส านวนไว้หลาย ความหมายด้วยกัน สรุป ได้ดังนี้ ส านวน หมายถึง ถ้อยค าที่เรียบเรียง โวหาร บางทีก็ใช้ว่าส านวนโวหาร ถ้อยค าหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้วมีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความ หมายอื่นแฝงอยู่ สุภาษิต ค าพังเพย ค าคม ค าขวัญ โวหารหรือด ากล่าวต่าง ๆ ก็ตามล้วนเป็นข้อความที่มีความหมายโดยนัยเป็น การเปรียบเปรยความหมายกินใจกว้างหรือสึกซึ้งท านองเดียวกันจึงกล่าวเรียกรวม ๆ กันไปว่า ส านวนไทย ขนิษฐา จิตชินะกุล (2545, หน้า 62) ได้กล่าวถึงส านวน สุภาษิตและค าพังเพยไว้ดังนี้ ส านวน สุภาษิตและค าพังเพยเป็นค ากล่าวที่ไพเราะคมคาย มีการใช้ถ้อยค าที่สั้น กะทัดรัด แต่ให้ ความหมายที่ลึกซึ้ง ทั้งนี้เพื่อเป็นคติสอนใจ รวมทั้งอาจเป็นถ้อยค าที่กล่าวประชดประชันเปรียบเทียบ วรวรรณ คงมานุสรณ์ (2545, หน้า 7) ได้ให้ความหมายว่า ส านวนไทย หมายถึง ค ากล่าวหรือ ถ้อยค าคมคายสั้น ๆ ที่ผูกเข้าเป็นประโยคหรือวลี (กลุ่มค า) มีความหมายกระชับรัดกุม แต่มีความหมายเป็นนัย มีความหมายลึกซึ้งและมีความหมายเชิงอุปมาเปรียบเทียบ โดยแบ่งออกเป็นส านวน สุภาษิตและค าฟังเพย จากความหมายที่กล่าวมาข้างต้นนี้ พอสรุปได้ว่า ส านวน หมายถึง ถ้อยค าที่คมคาย ซึ่งเป็น ถ้อยค าที่ใช้พูดสื่อสารกันโดยมีความหมายที่กว้างและลึกซึ้ง เป็นความหมายโดยนัยมิได้แปล ค าตรงตัวเพื่อใช้ เป็นค าพูดในเชิงสั่งสอน เตือนสติ มุ่งสอนใจหรือชี้แนะให้ประพฤติปฏิบัติตาม ซึ่งส านวนหมายรวมถึง ค าคม สุภาษิต ค าพังเพยและโวหารต่าง ๆ


ลักษณะของส านวนไทย วาสนา เกตุภาค (2521, หน้า 12) ได้กล่าวถึงลักษณะของส านวน สุภาษิตและค าพังเพยไว้ว่า ส านวน สุภาษิตและค าพังเพย มักเป็นข้อความสั้น ๆ ที่ใช้ถ้อยค าเพื่อให้เกิดความเข้าใจได้ง่าย มีทั้งที่เป็นร้อย แก้วและร้อยกรอง ถ้าเป็นร้อยแก้วก็มักจะเป็นข้อความสั้น ๆ เพื่อสะดวกแก่การจดจ าและท าความเข้าใจ เช่น เข้าเถื่อนอย่าลืมพร้า ทาสในเรือนเบี้ย แต่ถ้าเป็นร้อยกรองมักเป็น ข้อความที่ยาวตั้งแต่ 2 วรรคขึ้นไป มีสัมผัส คล้องจองกัน เช่น ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง เป็นต้น ซึ่งลักษณะของส านวน สุภาษิตและค าพังเพย จะมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. อาจเป็นประโยคหรือวลี ที่มีถ้อยค าไพเราะ มีสัมผัสคล้องจอง มีการเล่นสัมผัสสระ หรือสัมผัส อักษร เช่น ขิงก็รา ข่าก็แรง ก่อกรรมท าเข็ญ เป็นต้น 2. ใช้ถ้อยค าสั้น กะทัดรัด โดยมีความหมายที่ลึกซึ้งกินความมาก เช่น กิ้งก่าได้ทอง หัวล้านได้หวี เป็นต้น 3. เนื้อหาต้องการสั่งสอนให้คติ โดยถ้าเป็นค าสอนมักจะใช้ค าว่า “จง” เมื่อต้องการให้ กระท า และใช้ค าว่า “อย่า” เมื่อต้องการไม่ให้กระท า เช่น อย่าง้างภูเขา จงนบนอบต่อผู้ใหญ่ เป็นต้น ประเทือง คล้ายสุบรรณ์ (2529, หน้า 12-14) ได้กล่าวถึงลักษณะของส านวนไทยไว้ 4 ลักษณะ 1. มีลักษณะเป็นความหมายโดยนัย คือ ความหมายไม่ตรงตัวตามความหมาย โดยอรรถพูดอย่าง หนึ่งมีความหมายไปอีกอย่างหนึ่ง เช่น กินปูนร้อนท้อง หมายถึง รู้สึกเดือดร้อนเพราะมีความผิดอยู่ 2. ใช้ถ้อยค ากินความมาก การใช้ถ้อยค าในส านวนส่วนใหญ่เข้าลักษณะใช้ค าน้อยกินความมาก เนื้อความมีความหมายเด่น เช่น ก่อหวอด ขึ้นคาน คว่ าบาตร ขมิ้นกับปูน คมในฝัก กิ้งก่าได้ทอง ใกล้เกลือ กินด่าง เด็ดบัวไม่ไว้ใย ซึ่งล้วนมีความหมายอธิบายได้ยืดยาว 3. ถ้อยค ามีความไพเราะ การใช้ถ้อยค าในส านวนไทยมักใช้ถ้อยค าสละสลวยมีสัมผัส คล้องจอง เน้นการเล่นเสียงสัมผัสสระ สัมผัสอักษร ให้เสียงกระทบกระทั่งกันเกิดความไพเราะน่า ฟังทั้งสัมผัสภายใน วรรคและสัมผัสระหว่างวรรค มีการจัดจังหวะค าหลายรูปแบบ เช่น เป็น กลุ่มค าซ้อน 4 ค า อย่าง คู่ผัวตัวเมีย ก่อร่างสร้างตัว ค าซ้อน 6 ค า เช่น ขิงก็ราข่าก็แรง ขี้ก้อนใหญ่ ให้เด็กเห็น ยุให้ร าต าให้รั่ว ค าซ้อน 8 ค าหรือ มากกว่าบ้าง เช่น ไก่งามเพราะขนคนงามเพราะแต่ง กินอยู่กับปากอยากอยู่กับท้อง เป็นต้น 4. ส านวนไทยมักเป็นการเปรียบเปรยหรือมีประวัติที่มา ส่วนใหญ่มาจากการ เปรียบเทียบกับ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ประเพณี ศาสนา นิยายนิทานต่าง ๆ กิริยาอาการและส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ตัวอย่างเช่น กลับหน้ามือเป็นหลังมือ นอนตาไม่หลับ ใจดีสู้เสือ ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง เป็นต้น ยิ่งลักษณ์ งามดี (2536, หน้า 2-3) ได้กล่าวถึงลักษณะของส านวนไทยไว้ คือ 1. มีความหมายโดยนัย คือ ความหมายไม่ตรงตัว พูดอย่างหนึ่งมีความหมายอีกอย่าง 2. ถ้อยค ามีความไพเราะ สละสลวย มีสัมผัสคล้องจอง ชวนให้น่าฟัง จดจ าได้ง่าย คล่องปากเช่น มากหมอมากความ 3. ใช้ถ้อยค าน้อยแต่กินความมาก เช่น กล้านักมักบิน 4. เป็นการเปรียบเทียบ ส่วนใหญ่เปรียบเทียบกับธรรมชาติ ประเพณี ศาสนา นิยาย ต านาน ต่าง ๆ 5. ลักษณะส านวนอาจมี 1 พยางค์ 2 พยางค์ 3 พยางค์ หรือมากกว่า 3 พยางค์ 1 พยางค์ เช่น เสี้ยน 2 พยางค์ เช่น ตบตา 3 พยางค์ เช่น ตัวเป็นเกลียว มากกว่า3 พยางค์ เช่น รู้ตื้นลึกหนาบาง


จากข้อมูลข้างต้น พอจะสรุปลักษณะของส านวนได้ว่า ส านวนไทยนั้นจะมีลักษณะเป็นถ้อยค า หรือวลีสั้น ๆ อาจมีสัมผัสคล้องจอง มีความไพเราะ มีความหมายไม่ตรงตัว มีการใช้ค าใน เชิงเปรียบเทียบ เพื่อ มุ่งสั่งสอนอบรมหรือให้ข้อคิด คติเตือนใจ ตลอดจนเป็นแนวทางในการ ประพฤติปฏิบัติตนให้ดีงาม ความหมายของความเชื่อ กิ่งแก้ว อัตถากร (2519, หน้า 91) ได้ให้ความหมายของความเชื่อ ไว้ว่า เชื่อ หมายความว่า เห็นจริงด้วย เห็นจริงตาม จะเห็นเช่นนั้นด้วยความรู้สึกหรือด้วยความไตร่ตรองโดยเหตุผลก็ตาม ทัศนีย์ ทานตวณิช (2523, หน้า 224) กล่าวถึงความเชื่อว่า ความเชื่อ คือการยอมรับนับถือ หรือ ยึดมั่นในสิ่งใดสิ่งหนึ่งทั้งที่มีตัวตนหรือไม่ก็ตามว่าเป็นความจริงหรือมีอยู่จริง การยอมรับหรือ การยึดมั่น อาจมี หลักฐานเพียงพอที่จะพิสูจน์สิ่งเหล่านั้นให้เห็นจริงได้หรืออาจไม่มีหลักฐาน พิสูจน์สิ่งเหล่านั้นให้เห็นจริงก็ได้ ชัยวุฒิ พิยะกูล (2539, หน้า 12) ได้ให้ความหมายของความเชื่อว่า หมายถึง การยอมรับที่ แสดงออกถึงความศรัทธา การเคารพนับถือและยอมรับอ านาจเหนือธรรมชาติ โดยไม่ต้องการ เหตุผลว่าสิ่งที่ เชื่อนั้นมีหลักฐานหรือไม่มีหลักฐาน สุภาวดี เจริญเศรษฐมหา (2548, หน้า 75) ได้ให้ความหมายของความเชื่อว่า ความเชื่อ หมายถึง การยอมรับ หรือเชื่อในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือในเรื่องราวต่าง ๆ ทั้งที่มีตัวตนและไม่มีตัวตน ซึ่งบุคคลนั้นได้ประสบ หรือได้รับรู้มา และการยอมรับหรือเชื่อถือนั้นอาจมีเหตุผลมาพิสูจน์อธิบาย หรือไม่ก็ได้ จากความหมายที่ผู้มีคุณวุฒิได้ให้ไว้ดังกล่าวข้างต้น พอสรุปถึงความหมายของความเชื่อได้ว่า ความเชื่อ หมายถึง การยอมรับนับถือเชื่อมั่นและศรัทธาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง หรือมีอยู่จริง โดยสิ่งที่ยอมรับนั้นอาจมีหลักฐานที่พิสูจน์ให้เห็นได้จริงหรือไม่ก็ตาม ที่มาของความเชื่อ บุปผา ทวีสุข (2526, หน้า 156 -158) ได้กล่าวถึงสาเหตุที่มนุษย์สร้างความเชื่อว่า มาจากเหตุ ผลได้2 ประการใหญ่ๆ คือ 1. ความเชื่อ อันเกิดจากความกลัวของมนุษย์หรือความไม่รู้ของมนุษย์หรือบางสิ่งที่ มนุษย์หา เหตุผล ๆ ไม่ได้ แต่มนุษย์ก็เชื่อว่าผลทั้งหลายต้องมาจากการกระท าของผู้ใดผู้หนึ่ง แต่ก็ ไม่ทราบว่ามาจากใคร จึงอาจสมมติว่าเป็นการกระท าของเทพภูตผีปิศาจ เป็นต้น 2. ความเชื่ออันเกิดจากมนุษย์ที่มีความฉลาด มีประสบการณ์มากกว่า มีเจตนาที่จะให้ คนอื่น ๆ ในกลุ่มชนหรือสังคมนั้นเชื่อฟังปฏิบัติตาม จึงตั้งความเชื่อโดยมีจุดมุ่งหมายต่าง ๆ กันไป เช่น 2.1 เพื่อความเป็นระเบียบของสังคม เช่น ไม่ให้ปัสสาวะรดที่ต่าง ๆ อย่างมักง่าย 2.2 เพื่อความเป็นผู้มีมรรยาท มีความรอบคอบ และประณีต เช่น ไม่ให้กินข้าวในหม้อ ปาก จะกว้างเท่ากับหม้อ 2.3 เพื่อสุขภาพอนามัย การป้องกันโรค และการรักษาความปลอดภัย เช่น ไม่ให้พูดขณะกิน ข้าว หรือเล่าความฝันขณะกินข้าวขวัญข้าวจะหนี 2.4 เพื่อผลทางด้านจิตใจ เช่น เกิดก าลังใจ เกิดความหวัง เกิดความอุตสาหะหรือเพื่อความ มุ่งมั่นที่จะท าความดี เช่น ให้ตักบาตรร่วมขันจะพบกันชาติหน้า 2.5 อื่น ๆ เช่น ต้องการให้เป็นผู้มีความเมตตา มีความหักห้ามใจอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กล่าว แล้ว เช่น ไม่ให้เคาะหัวแมว เพราะเมื่อแก่หัวจะสั่นเหมือนแมว จิราภรณ์ ภัทราภานุภัทร (2528, หน้า 4-5) ได้ศึกษาสถานภาพการศึกษาเรื่องคติความเชื่อ ของ ไทยซึ่งกล่าวถึงความเชื่อของมนุษย์ว่าเกิดจากความไม่รู้ และความไม่รู้ท าให้เกิดความกลัว ต้องพยายาม แสวงหาค าตอบของความไม่รู้นี้ เกิดเป็นลัทธิความเชื่อขึ้น จึงอาจจะกล่าวได้ว่า ความเชื่อก็คือ การตัดสินใจของ


คนในสังคมเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งว่าเป็น อย่างไร การตัดสินใจหรือการเชื่อนั้น อาจจะไม่มี เหตุผลเลย เช่น เชื่อว่าผีมีจริงหรืออาจจะมีเหตุผลที่คิดขึ้นเอง และสามารถหาค าตอบได้เท่าที่ความรู้และ ประสบการณ์ของคนในสังคมนั้นมี อยู่ ก็ตัดสินเอาว่าสิ่งนั้นสิ่งนี้เป็นเหตุเป็นผลกัน เช่น สมัยหนึ่งเชื่อว่า โรคห่า (อหิวาตกโรค เกิด จากผีห่าซึ่งอาศัยอยู่ในน้ า เพราะมักจะระบาดไปตามล าน้ า เป็นต้น นินทา ขุนภักดี (2530, หน้า 44-75) ได้วิเคราะห์ความเชื่อของชายไทยในสวัสดิรักษาซึ่งถือ เป็น สุภาษิตเรื่องแรกที่มีไว้ส าหรับสอนผู้ชายไทย ได้กล่าวเกี่ยวกับต้นเค้าเกี่ยวกับความเชื่อใน สวัสดิรักษาไว้หลาย ประการด้วยกัน ได้แก่ มาจากความเชื่อในเรื่องทิศ คนไทยในสมัยก่อนนั้นจะ มีความเชื่อเรื่องทิศในการปฏิบัติ ตนหรือท ากิจต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการกิน การนอน การขับถ่าย ล้วนแต่มีความเชื่อเรื่องทิศเข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ เช่นเมื่อตื่นเช้ามาเวลาล้างหน้าให้หันหน้าออกไป ทางทิศตะวันออกซึ่งถือเป็นทิศที่มีความเป็นสิริมงคล เป็นต้น มาจากค าสอนของศาสนาต่าง ๆ ใน สังคมไทยสมัยอยุธยามีชนกลุ่มน้อยเข้ามาอาศัยในประเทศไทยมากมาย และชาวต่างชาติเหล่านี้ ต่างมีเสรีภาพในการนับถือศาสนา จึงเป็นเหตุให้คนไทยสมัยก่อนนับถือศาสนาต่าง ๆ เหล่านั้น ด้วย เริ่มตั้งแต่นับถือผีสางเทวดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ต่อมานับถือไสยศาสตร์ซึ่งมีอยู่ในศาสนา พราหมณ์และศาสนาฮินดู ดังนั้นจึงท าให้เกิดความเชื่อในเรื่องต่าง ๆ มากมาย เช่นความเชื่อ เกี่ยวกับอ านาจสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ เช่น พระแม่ธรณี พระแม่คงคา รุกขเทวดา จึงมีการขอพรเพื่อให้ ช่วยปกปักรักษาหรือ คุ้มครอง ความเชื่อเกี่ยวกับเครื่องรางของขลัง เช่น ห้ามลอดใต้ร้านฟักแฟง เพราะจะท าให้เครื่องรางของขลัง เสื่อม ให้ถอดเครื่องรางของขลังออกเมื่อจะเข้านอน หรือ เวลา รับประทานอาหาร ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ อาบน้ า เป็นต้น นอกจากนี้ ความเชื่อต่าง ๆ ในสวัสดิ รักษาก็ยังมีที่มาจากเหตุต่าง ๆ อีกหลายประการ เช่น ประเพณี ค่านิยมต่าง ๆ จารุวรรณ ธรรมวัตร (2539, หน้า 101) ได้กล่าวถึงความเชื่อว่า ความเชื่อของคนแต่ละ ท้องถิ่น เกิดจากปัญหาในการด ารงชีวิตประจ าวัน เช่น เมื่อชีวิตถึงคราววิบัติ เกิดโรคภัยไข้เจ็บ เกิดภัยธรรมชาติ ปัญหา เหล่านั้นเกินขีดความสามารถที่คนธรรมดาจะแก้ไขได้ คนจึงสร้างความ เชื่อว่าน่าจะมีอ านาจลึกลับเหนือ ธรรมชาติบันดาลให้เป็นไปเช่นนั้น อ านาจนั้นอาจจะเป็นเทพเจ้า ภูตผีปีศาจ วิญญาณ สัตว์ป่า พระอาทิตย์ พระจันทร์ ดวงดาว ตลอดจน ดิน น้ า ลม ไฟ ฉะนั้น เพื่อป้องกันภัยพิบัติที่เกิดกับตน มนุษย์จึงวิงวอนขอความ ช่วยเหลือจากอ านาจลึกลับโดยเชื่อว่า ถ้าบอกกล่าวหรือท าให้อ านาจนั้นพอใจอาจจะช่วยให้ปลอดภัย เมื่อพ้นภัยก็ยินดีแสดงความรู้คุณ ด้วยการเซ่นสรวงบูชาหรือประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ แต่ละสังคม ต่าง ๆ มีความเชื่อเป็นมรดกสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน ขนิษฐา จิตชินะกุล (2545, หน้า 33) ได้กล่าวถึงสาเหตุที่เกิดความเชื่อว่า ความเชื่อของ มนุษย์ เกิดจากการยอมรับนับถือสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อต้องการแสวงหาค าตอบในสิ่งที่ตนไม่รู้และเมื่อไม่สามารถค้นหา ค าตอบได้ก็จะคาดเดาหรือเปรียบเทียบกับสิ่งที่ตนเคยรู้มาก่อนหรืออาจจะคาด เดาตามที่เคยมีผู้เล่าไว้ก่อนแล้ว จึงอาจกล่าวได้ว่า สาเหตุของการเกิดความเชื่อมาจากการค้นหา ค าตอบในเรื่องที่ยังไม่รู้และเมื่อมีสิ่งนั้นมา สอดคล้องกับความรู้สึกดั้งเดิมที่เคยมีอยู่ก็จะตกลงใจ เชื่อในทันที จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น พอสรุปถึงที่มาของความเชื่อได้ว่า ความเชื่อนั้นเกิดจากความเชื่อที่ เกิดขึ้นจากความไม่รู้ในปรากฎการณ์ธรรมชาติ หรือเรื่องราวสิ่งต่าง ๆ ที่มนุษย์ต้องการแสวงหาค าตอบอันเกิด จากในสิ่งที่ยังไม่รู้ จึงก่อให้เกิดความเชื่อขึ้นมาเพื่อใช้เป็นสิ่งที่สามารถตอบค าถามในสิ่งที่ต้องการค าตอบได้ รวมถึงสามารถเป็นเหตุผลในการในการปลอบขวัญและให้ก าลังใจในความกลัวของมนุษย์ในเรื่องต่าง ๆ ได้


ประเภทของความเชื่อ กิ่งแก้ว อัตถากร (2519, หน้า 93 - 94) ได้ประมวลความเชื่อต่าง ๆ และจัดประเภทไว้ ซึ่งสรุป ได้ดังนี้ 1. ความเชื่อบุคคล เช่น การตั้งชื่อ วิญญาณ การตายแล้วเกิดใหม่ในรูปต่าง ๆ ตามผลกรรม การเข้าทรง การเผาตัว 2. ความเชื่อสิ่งแวดล้อม เหตุการณ์ เช่น ขวานฟ้า ลายแทง ลางสังหรณ์ ปรอทท าให้เหาะได้ 3. ความเชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น แห่นางแมวขอฝน เทพเจ้า เสน่ห์ยาแฝดยาสั่ง เวทมนต์ คาถา พระภูมิ เจ้าที่ เป็นต้น 4. ความเชื่อเรื่องเพศ เช่น หญิงสาวที่มีทรวงอกใหญ่ แสดงว่ามีความรู้สึกทางเพศหรือกามารมณ์ มาก ถ้าพ่อเป็นคนเจ้าชู้ ลูกชายก็มักจะเป็นคนเจ้าชู้เหมือนพ่อ 5. ความเชื่อเรื่องสุขภาพและสวัสดิภาพ เช่น เป็นฝี ห้ามกินข้าวเหนียว คนที่ถูกงูแสงอาทิตย์กัด ถ้าเห็นแสงอาทิตย์เมื่อไรจะตาย คนที่มีหูยาน (ยาว) จะเป็นคนที่มีอายุยืน 6. ความเชื่อเรื่องฤกษ์ โชคลาง เช่น คนที่เกิดวันเสาร์เป็นคนใจแข็ง จิ้งจกทัก เป็นต้น 7. ความเชื่อเรื่องความฝัน เช่น ฝันเห็นงู หรืองูกัด ฝันเห็นนกยูง ท านายความฝันตามวัน 8. ความเชื่อเรื่องเครื่องรางของขลัง ไสยศาสตร์ เช่น ผ้ายันต์ ตะกรุด กุมารทอง นางกวัก เป็นต้น 9. ความเชื่อเรื่องภูติผีปีศาจ วิญญาณ เช่น ผีปู่ย่าตายาย ผีฟ้า ผีกระสือกระหัง เป็นต้น 10. ความเชื่อเรื่องนรก สวรรค์ 11. ความเชื่อเรื่องโหราศาสตร์ หมอดู เช่น วันห้ามประกอบการมงคล วันมงคล ฤกษ์ชะตาชีวิต เกี่ยวกับเทวดาทางโหร เป็นต้น บุปผา ทวีสุข (2526, หน้า 159-169) ได้แบ่งรูปแบบของความเชื่อเป็น ความเชื่อที่มี เหตุผล และความเชื่อที่ไร้เหตุผล ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 15 ประเภท คือ 1. ความเชื่อที่เกี่ยวกับการเกิดตาย เช่น - ถ้าแมวด ากระโดดข้ามศพ ถือว่าศพนั้นจะฟื้นขึ้นมาหลอก - เวลาไปเผาศพ ให้ล้างเท้าก่อนเข้าบ้าน - หญิงท้องแก่ไม่ให้ไปงานศพ เป็นต้น 2. ความเชื่อเกี่ยวกับโชคลาง เช่น - เวลาออกจากบ้าน ถ้าจิ้งจกร้อง ไม่ให้ออกไปเพราะเป็นลางร้าย - ถ้าเขม่นตาขวาจะเกิดลางร้าย ถ้าเขม่นตาซ้ายจะได้ลาภ - ถ้านกแร้งเกาะบ้านใคร จะเกิดความวิบัติ เป็นต้น 3. ความเชื่อเกี่ยวกับความฝันและการท านายฝัน เช่น - ฝันว่าฟันหัก แสดงว่าญาติพี่น้องพ่อแม่จะเจ็บป่วยหรือเสียชีวิต - ฝันว่าได้แหวนหรือได้สร้อย จะได้ลูก - ฝันว่าเหาะหรือหายตัวได้ เชื่อว่าจะมีโชคลาภ เป็นต้น 4. ความเชื่อเกี่ยวกับฤกษ์ ยาม ฤกษ์ คือ เวลาที่เหมาะเป็นชัยมงคล ยาม คือ ส่วนแห่งวันที่ดีและร้าย เช่น - วันขึ้น 1 ค่ า ท าการมงคลดีมีลาภ - การปลูกเรือน ควรเป็นวันจันทร์ วันพุธหรือวันพฤหัสบดีดีนักแล เป็นต้น 5. เวทมนต์คาถา เครื่องราง ของขลัง เสน่ห์และไสยศาสตร์อื่น ๆ เช่น


- การเสกแป้งผัดหน้า หรือขี้ผึ้งทาปาก ท าให้เกิดเสน่ห์มหานิยม - การสักลงคาถาตามตัว ช่วยให้เหนียว - การท าเสน่ห์ โดยใช้น้ าเหลืองที่รนจากคางผีตายทั้งกลม 6. การดูลักษณะดี ชั่ว ของคนสัตว์ต่าง ๆ เช่น - หญิงใดหน้าผากงอก มีสติปัญญามาก - หญิงใดมีนิ้วตีนยาว และหัวนมยาว จะเข็ญใจได้ทุกข์แล - หญิงใดมีขอบตาแดง และหนังตาย่น จะชนะศัตรู - หญิงใดมีไม่ได้นม เป็นมหาเสน่ห์ดีนัก มักมีคนใกล้ไกลน าเอาลาภมาให้ ฯลฯ 7. สิ่งศักดิ์สิทธิ์เช่น เทวดา เทพารักษ์ เจ้าพ่อ เจ้าที่ เจ้าแม่ มนุษย์ต่าง ๆ (ผี ยักษ์ เปรต คนธรรพ์ ผีเสื้อสมุทร เงือก เป็นต้น) เช่น - ผีปอบ เป็นผีที่เข้าสิงในร่างกายคนจะแย่งอาหารและกินตับไตไส้พุง ผู้ถูกผีปอบเข้าสิงจะ ผอมลงๆ ไม่สู้ตาคน ถ้ารดน้ ามนต์ก็จะตายทันที (เชื่อกันว่าเหลือเป็นซากกองกระดูกเท่านั้น) หรือถ้าไม่รด น้ ามนต์ในที่สุดก็ตาย - ผีตานี เป็นผีผู้หญิงสิงอยู่ที่กล้วยตานี ผู้ใดโชคร้าย หรือดวงชะตาอ่อนก็จะพบเห็น ดังนั้นจึง ไม่นิยมปลูกกล้วยตานีไว้ในบ้าน - เงือก เป็น ผู้หญิงครึ่งคนครึ่งมัจฉา ท่อนบนตั้งแต่เอวขึ้นไปเป็นหญิงไว้ผมยาวสยาย คนโบราณเชื่อว่าอยู่ในน้ า และมีผู้เห็นเงือกขึ้นมานั่งสยายผม เป็นต้น 8. เคล็ดและการแก้เคล็ดต่าง ๆ เรื่องของเคล็ดเป็นการแก้เหตุการณ์ร้ายที่จะเกิดในอนาคตหรือเป็นการสร้างเหตุการณ์ ขึ้นเพื่อให้เกิดก าลังใจ เป็นการสร้างโดยนัยและต้องแก้ไข เช่น การเอาเคล็ด โดยท าบุญด้วยเงินที่ ขึ้นต้นและลง ท้ายด้วย 9 เพื่อเอาเคล็ดเรื่องเสียงว่า เก้า-ก้าวหน้า เป็นต้น 9. มงคลและอัปมงคล มงคล คือ สิ่งที่น ามาซึ่งความสุขความเจริญ อัปมงคล คือ สิ่งที่ตรงกันข้ามกับมงคล เช่น - วันแต่งงาน ห้ามเจ้าสาวเหยียบธรณีประตูจะเป็นอัปมงคล -ถ้าจะเดินทางไปข้างไหน ท้องฟ้าแจ่มใส ดอกไม้บานหอมรวยริน เชื่อว่าเป็นมงคล (มงคลนิมิต) 10. ความเชื่อเกี่ยวกับจ านวนนับ จ านวนเลขต่าง ๆ เช่น - ท างานมงคลให้นิมนต์พระเลข - ถ้าสวดศพ นิมนต์พระจ านวน 4 องค์ - โจรห้าร้อย, ป้าห้าร้อย - พระเจ้า 5 พระองค์ เป็นต้น 11. ความเชื่อเกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น - ถ้ามดแดงคาบไข่จากรัง แสดงว่าฝนจะตกหนัก - ถ้าท้องฟ้าสีแดงจะมีพายุ - ฟ้าร้อง คือ เมฆขลาล่อแก้ว รามสูรขว้างขวาน เป็นต้น 12. ความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องยากลางบ้าน เช่น - คนป่วยห้ามกินกล้วยน้ าว้าหรือฝรั่งเพราะจะแสลง - ถ้าสุนัขบ้าเอาน้ ามะพร้าวให้กินจะตาย - คนมีประจ าเดือนห้ามกินน้ ามะพร้าว เป็นต้น


13. ความเชื่อเรื่องนรก สวรรค์ ชาติใหม่ ภาพใหม่ เช่น - ให้ตักบาตรร่วมขันจะพบกันชาติหน้า - คนเราท าความดีไว้มากจะได้ขึ้นสวรรค์ - ถ้าอยากกินดิน ท่านว่าพระพรหมลงมาเกิด เป็นต้น 14. ความเชื่อเกี่ยวกับอาชีพ เช่น - ก่อนท านาต้องเลี้ยงผีตาแฮกเสียก่อนจะท าให้ได้ข้าวมาก - คนใจร้อนปลูกพริก พริกจะเผ็ดกว่าคนใจเย็นปลูก - ถ้าต้องการให้มะละกอเป็นตัวเมียให้เอาผ้าถุงไปพันรอบโคนต้น เป็นต้น 15. เบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ที่นอกไปจากดังกล่าวทั้ง 14 ข้อ เช่น - ห้ามเล่นข้าวสารมือจะด่าง - ขี่หมาแล้วฟ้าจะผ่า - ร้องเพลงในครัวมีผัวแก่ เป็นต้น จิราภรณ์ ภัทราภานุภัทร (2528, หน้า 12 - 22) ได้แบ่งประเภทของคติความเชื่อของคนไทย ออกเป็น 8 ประเภท สรุปได้ดังนี้ 1. ความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติ ได้แก่ ความเชื่อถือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของธรรมชาติที่มนุษย์ยัง ไม่สามารถอธิบายได้ เช่น ความเชื่อเกี่ยวกับก าเนิดโลกและจักรวาลและสรรพสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ 2. ความเชื่อเรื่องการเกิด การตาย และช่วงเวลาที่ส าคัญในชีวิต 3. ความเชื่อเกี่ยวกับประเพณีการนับถือผี 4. ความเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา 5. ความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ เป็นความเชื่อดั้งเดิมก่อนที่จะมีการนับถือพุทธศาสนา 6. ความเชื่อเกี่ยวกับครัวเรือนและที่อยู่อาศัย ได้แก่ ความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับเครื่องใช้ไม้สอยใน ครัวเรือน เช่น เตาไฟ เชื่อว่ามีผีประจ าอยู่ ความเชื่อเกี่ยวกับอาหารการกิน หรือความเชื่อเกี่ยวกับสถานที่ตั้ง บ้านเรือน และการก่อสร้างบ้านเรือน เป็นต้น 7. ความเชื่อที่เกี่ยวกับอาชีพ เช่น อาชีพนักมวยต้องมีการไหว้ครูทุกครั้งที่ขึ้นชก เป็นต้น 8. ความเชื่อซึ่งเป็นลักษณะผสมผสานของความเชื่อต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ขนิษฐา จิตชินะกุล (2545, หน้า 38) ได้แบ่งประเภทของความเชื่อ ดังนี้ 1. ความเชื่อเรื่องบุคคล 2. ความเชื่อเรื่องผีสางเทวดา 3. ความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์และเครื่องรางของขลัง 4. ความเชื่อเรื่องโชคลาง 5. ความเชื่อเรื่องความฝันและการท านายฝัน 6. ความเชื่อเรื่องโหราศาสตร์ 7. ความเชื่อเรื่องยากลางบ้าน จากการศึกษารวบรวมส านวนไทยจาก 2,000 ส านวน ได้ส านวนไทยที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อ ทั้งสิ้น 84 ส านวน ซึ่งน ามาศึกษาในเรื่อง ความหมาย และที่มาของส านวนไทยที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อ โดย น ามาจัดหมวดหมู่ตามประเภทของความเชื่อ ซึ่งในการจัดหมวดหมู่ครั้งนี้ได้อาศัยแนวทางการจัดประเภทความ เชื่อจากนักวิชาการที่ได้ศึกษาค้นคว้าในเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยยึดหลักเกณฑ์การแบ่งประเภทของ


ความเชื่อจากท่านนักวิชาการทั้งหมด 3 ท่าน คือ 1) บุปผา ทวีสุข 2) จิราภรณ์ ภัทราภานุภัทร และ 3) ขนิษฐา จิตชินะกุล ซึ่งจัดประเภททั้งหมดร่วมกันได้ 7 ประเภท และจัดประเภทเพิ่มเติมจากท่านนักวิชาการ อีก 1 ประเภท คือ ประเภทความเชื่อเกี่ยวกับสัตว์สามารถเรียงเรียงประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับส านวนไทยที่ เกี่ยวข้องกับความเชื่อ ซึ่งสามารถจัดหมวดหมู่ของส านวนไทยที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อได้ทั้งสิ้น 8 ประเภท ได้แก่ 1. ความเชื่อเกี่ยวกับศาสนา 2. ความเชื่อเกี่ยวกับเวรกรรม บาปบุญ นรกสวรรค์ 3. ความเชื่อเกี่ยวกับวิญญาณ ภูตผี ปีศาจ 4. ความเชื่อเกี่ยวกับอ านาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ 5. ความเชื่อเกี่ยวกับเครื่องรางของขลัง เวทมนตร์ และไสยศาสตร์ 6. ความเชื่อเกี่ยวกับชาติภพ 7. ความเชื่อเกี่ยวกับดวงชะตา โหราศาสตร์ 8. ความเชื่อเกี่ยวกับสัตว์ ขอบเขตของการศึกษา 1. แหล่งศึกษาส านวนไทย จ านวน 1 แหล่ง ได้แก่ หนังสือ 2,000 ส านวนไทย 2. หัวข้อในการศึกษาส านวนไทย ได้แก่ส านวนไทยที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อ โดยเลือกศึกษา เฉพาะส านวนที่เกี่ยวของกับความเชื่อ 8 ประเภท ที่ก าหนดไว้ข้างต้น 9.2 ผลการวิเคราะห์ ตารางวิเคราะห์ข้อมูล ส านวนไทย และประเภทของความเชื่อ ส านวนที่เกี่ยวกับความเชื่อ ความหมาย ประเภท ของความเชื่อ 1. กงกรรมกงเกวียน กรรมตามสนอง, เวนตามสนองผู้กระท า 2 2. กงเกวียนก าเกวียน กรรมตามสนอง, เวนตามสนองผู้กระท า 2 3. กรรมตามทัน กรรมปรากฏผล, ได้รับผลกรรมตามที่ท ามา 2 4. กระสือดูด ผลไม้ที่เหี่ยวแห้งซูบผิดปกติ 3 5. แก่วัด รู้ทางหลบหลีกเก่ง 1 6. แก้บน เซ่นสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามที่ตนได้บนบาน 4 7. แก้วสารพัดนึก แก้วที่เชื่อกันว่า ถ้าผู้ใดมีอยู่แล้วจะนึกอะไรได้ อย่างใจ 5 8. ขนทรายเข้าวัด การท าประโยชน์ส่วนรวม 1 9. ของขึ้น ของขลังศักดิ์สิทธิ์แสดงอิทธิฤทธิ์, การแสดง ความกล้าอย่างบ้าบิ่น 5 10. เข้าทรง อาการที่เจ้าเข้าสิงในตัวคนทรง 5 11. เข้าฝัน มาบันดาลให้ฝันเห็น 4 12. คนดีผีคุ้ม คนท าดีย่อมไม่มีภัย 2 13. คนตายขายคนเป็น เป็นการจัดงานศพที่ใช้จ่ายเงินมาก ท าให้ 2


ส านวนที่เกี่ยวกับความเชื่อ ความหมาย ประเภท ของความเชื่อ สิ้นเปลืองถึงขนาดอาจยากจนลง 14. คว่ าบาตร ไม่ยอมคบค้าสมาคมด้วย 1 15. คอขาดบาดตาย ร้ายแรงถึงอาจต้องสูญเสียชีวิต 2 16. คู่สร้างคู่สม ผู้ที่เคยสร้างบุญคุณร่วมกันมา, ผู้ที่มีหลักธรรม ของคู่ชีวิตสอดคล้องกลมกลืนกัน 6 17. เคราะห์หามยามร้าย เคราะห์ร้าย 2 18. จิ้งจกทัก เสียงทักท้วง, ค าตักเตือน 7 19. ชั่วเจ็ดที ดีเจ็ดหน มีชั่วบ้างดีบ้างสลับกันไป 2 20. ชั่วช่างชี ดีช่างสงฆ์ ปล่อยไปตามเรื่องราว 1 21. ชาติหน้าตอนบ่าย ๆ ไม่มีทางเป็นไปได้ 6 22. ชายผ้าเหลือง ผลดีของการบวชบุตรหลาน 1 23. ชายสามโบสถ์ คนบวชสามหนไม่น่าไว้วางใจเพราะแสดงถึง จิตใจที่โลเล 1 24. เชื่อน้ ามนต์ หลงเชื่อตาม 5 25. แช่งชักหักกระดูก แช่งด่ามุ่งร้ายให้ผู้อื่นได้รับอันตรายร้ายแรง 5 26. เก็บดอกไม้ร่วมต้น เคยท าบุญร่วมกันมาแต่ก่อน 6 27. ตักบาตรอย่าถามพระ จะให้สิ่งของแก่ผู้ที่เต็มใจรับอยู่ 1 28. ตัดหางปล่อยวัด ตัดขาดไม่เกี่ยวข้อง ไม่เอาเป็นธุระ 7 29. ตามยถากรรม เป็นไปตามกรรม, สุดแต่จะเป็นไป 2 30. ถวายหัว ยอมเสี่ยงชีวิตเพื่อชาติ, เอาชีวิตเป็นประกัน, ท า จนสุดความสามารถ, ย่อมสู้ตาย 1 31. ถึงฆาต ถึงที่ตาย 2 32. ท าบุญบูชาโทษ ท าคุณแต่กลับเป็นโทษ, ท าดีแต่กลับเป็นร้าย 2 33. เทพอุ้มสม เหมือนเทวดาจัดมาให้ 4 34. บนข้าวผีตีข้าวพระ ขอร้องให้ผีสางเทวดาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยเหลือ โดยจะแก้บนเมื่อส าเร็จประสงค์ 4 35. บนบานศาลกล่าว ขอร้องให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยเหลือ 4 36. ปล้ าผีลุกปลุกผีนั่ง พยายามท าให้มีเรื่องมีราวขึ้นมา 3 37. ปลุกผีกลางคลอง ท าการเสี่ยงขณะอยู่ในภาวะคับขัน, ท าอะไร ๆ ที่น่ากลัวขณะที่ไม่มีใครช่วยเหลือ 3 38. ปิดทองหลังพระ ท าความดีแต่ไม่ได้รับการยกย่อง เพราะไม่มีใคร เห็นคุณค่า 1 39. ผีเข้าผีออก เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย, ไม่คงที่ 3 40. ผีช้ าด้ าพลอย ถูกซ้ าเติมเมื่อพลาดพลั้งหรือเมื่อคราวเคราะห์ ร้าย 3


ส านวนที่เกี่ยวกับความเชื่อ ความหมาย ประเภท ของความเชื่อ 41. ผีบ้านไม่ดี ผีป่าก็พลอย คนในบ้านเป็นใจช่วยให้คนนอกบ้านเข้ามาท า ความเสียหายได้, คนในบ้านไม่ดี ท าให้คนที่มา อาศัยอยู่ด้วยพลอยไม่ดีไปด้วย 3 42. ผีไม่มีศาล ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง 3 43. ผีเรือนไม่ดี ผีอื่นก็พลอยได้ คนในบ้านท าตัวไม่ดีย่อมเป็นช่องทางให้คนนอก บ้านน าความเดือดร้อนเสียหายมา 3 44. พระมาลัยมาโปรด ผู้ที่มาช่วยเหลือในยามที่ก าลังตกทุกข์ได้ยากได้ ทันท่วงที 1 45. แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร การยอมแพ้ท าให้เรื่องสงบ การไม่ยอมแพ้ท าให้ เรื่องไม่สงบ 1 46. กรวดน้ าคว่ าขัน ตัดขาดไม่คบหาสมาคมกันต่อไป 1 47. มารประจญ, มารผจญ ผู้คอยเป็นอุปสรรคขัดขวาง 1 48. ฤกษ์งามยามดี ระยะเวลาที่ดี, ช่วงเวลาที่เหมาะสม, โอกาสงาม 1 49. ฤกษ์พานาที ระยะเวลาที่เป็นฤกษ์ 1 50. ลูกผีลูกคน เอาแน่เอานอนไม่ได้ 3 51. วันพระไม่ได้มีหนเดียว วันหน้ายังมีโอกาสอีก 1 52. ศิษย์มีครู คนเก่งที่มีครูเก่ง 1 53. สัพเพสัตตา แล้วแต่บุญแต่กรรม 1 54. สิ้นบุญ ตาย 2 55. หูผีจมูกมด รู้เรื่องอะไรได้รวดเร็วทันท่วงที 3 56. เห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นผิดเป็นชอบ 2 57. เหมือนผีจับยัด แม่นมาก 1 58. อมพระมาพูด ไม่น่าเชื่อถือ, เชื่อถือไม่ได้ 5 59. อาสน์แข็ง รู้สึกแปลกประหลาดใจ, สงสัยว่าจะมีอะไรเกิด ขึ้นกับตน 1 60. อาสน์ร้อน มีความรู้สึกว่าจะมีเรื่องเดือดร้อนเกิดขึ้น 1 61. เฮี้ยน มีฤทธิ์เดชน่ากลัว 3 62. กินเหล็กกินไหล อดทนอดกลั้นได้อย่างผิดปกติ 5 63. ยกเมฆ นึกเดาเอาเอง, กุเรื่องขึ้น 5 64. ร้อนวิชา เกิดความเร่าร้อนเนื่องจากคาถาอาคมจนอยู่ไม่ เป็นปกติ, เร่าร้อนอยากจะแสดงวิชาความรู้ พิเศษหรือคาถาอาคมจนผิดปกติ 5 65. ตกน้ าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ ตกอยู่ในที่คับขันอย่างไรก็ไม่เป็นอันตราย, เป็น ค าเปรียบเทียบ หมายความว่า ตกอยู่ในที่ใดก็ ไม่สูญหาย 2


ส านวนที่เกี่ยวกับความเชื่อ ความหมาย ประเภท ของความเชื่อ 66. ลิ้นทอง พูดจาคล่องแคล่วไพเราะน่าฟัง 5 67. ไวเป็นปรอท ไวมากจนจับไม่ทัน 5 68. สั่นเป็นเจ้าเข้า หนาวสั่นมาก 5 69. ตัดไม้ข่มนาม ข่มขวัญให้เกรงกลัว 5 70. กระดูกร้องได้ ผลสะท้อนของฆาตกรรมที่ท าให้จับตัวผู้กระท า ผิดมาลงโทษได้คล้ายกับว่ากระดูกของผู้ตาย ร้องบอก 3 71. กินทิพย์ อิ่ม 4 72. เซียน เทวดา, ผู้วิเศษ, คนเก่งกาจสามารถ, คนมีเล่ห์ เพทุบายจัด 4 73. เผาพริกเผาเกลือแช่ง โกรธเคืองใครแล้วท าให้สาแก่ใจด้วยการเอา พริกเกลือมาเผาสาปแช่งให้เป็นไปต่าง ๆ นานา 5 74. พระอินทร์มาเขียว ๆ ไม่เชื่อถือ 4 75. น่าเกลียดน่าชัง น่ารักน่าเอ็นดู 3 76. เอาปูนหมายหัว ผูกอาฆาตไว้, คาดโทษไว้, เชื่อแน่ว่าจะเป็นไป ตามที่คาดหมายไว้ 6 77. ตกฟาก เวลาที่เด็กออกพ้นครรภ์มารดา, ลักษณะค าพูด เถียงค าไม่หยุดปาก 7 78. พระศุกร์เข้าพระเสาร์แทรก ความทุกข์ยากล าบากที่เกิดซ้อน ๆ เข้ามาใน ลักษณะเดียวกัน 7 79. ไม้ล้มข้ามได้ คนล้มอย่าข้าม ไม้ที่โค่นล้มลงไปแล้ว เราสามารถเดินข้ามได้ เพราะมันไม่อาจตั้งขึ้นอีก แต่คนล้ม ห้ามข้าม เพราะอาจหยัดยืนขึ้นมาใหม่ได้อีก, อย่าดูหมิ่น ซ้ าเติมคนล้มเพราะเขาอาจกลับมามั่งมีหรือมี อ านาจได้อีก 7 80. แข่งเรือแข่งพายแข่งได้ แข่งบุญ แข่งวาสนาแข่งไม่ได้ แข่งขันเพื่อเอาชนะกันทางกายนั้นได้ แต่กับ เรื่องของบุญความดีงามที่ส่งผลให้คนสูงส่งนั้น แข่งไม่ได้ 2 81. ขึ้นสวรรค์ทั้งเป็น มีความสุขมาก 2 82. ตกกระทะทองแดง ได้รับโทษทัณฑ์ในนรก 2 83. ตัวเงินตัวทอง สิ่งไม่ดี ความอัปมงคล 8 84. พรากลูกนกฉกลูกกา ท าให้ลูกพลัดพรากจากพ่อแม่ 8


ตารางแบ่งประเภทของความเชื่อ8 ประเภท 1) ความเชื่อเกี่ยวกับศาสนา จ านวน 21 ส านวน ได้แก่ ส านวนไทย ความหมาย ที่มา 1. แก่วัด รู้ทางหลบหลีกเก่ง เป็นส านวนที่เกิดจากบุคลิกภาพของคน ที่เคยบวชเป็นพระภิกษุ หรือคลุกคลีอยู่ ในแวดวงวัด ปกติผู้ที่เคยบวชเรียนมา นานจะถูก หล่อหลอมบุคลิกภาพด้วย วินัยสงฆ์ จึงคุ้นเคยกับวิถีชีวิตทางวัด มากกว่าทางโลก แม้ผู้นั้นจะลาสิกขา เป็นฆราวาสแล้ว ก็ยังคง ติดอยู่กับ ลั ก ษ ณ ะ ก า ร พู ด ก า ร คิ ด แ ล ะ อากัปกิริยาของพระภิกษุ ตามความเคย ชิน ท าให้ดูต่างไปจากคนทั่วไป (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 14) 2. ขนทรายเข้าวัด การท าประโยชน์ส่วนรวม ในอดีตวัดส่วนใหญ่มีบริเวณที่เป็นพื้น ทราย เมื่อมีพุทธศาสนิกชนมาท าบุญ หรือท ากิจธุระต่าง ๆ ที่วัดตอนขากลับ อาจจะมีทรายติดเท้าออกนอกวัดไป ด้วยซึ่งเชื่อกันว่าเป็นบาปเป็นหนี้สงฆ์ จึงได้มีประเพณีขนทรายเข้าวัด เพื่อให้ ชาวบ้านน าทรายมาคืนวัดจะได้ไม่ติด หนี้สงฆ์(ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 17) 3. คว่ าบาตร ไม่ยอมคบค้าสมาคมด้วย เห็นชายผ้าเหลือง แปลตามตัวว่า เห็น ผ้ากาสาวพัตร์ หรือ ผ้าเหลืองที่ ผู้บวช นุ่งห่มผ้าเหลืองในที่นี้คือ ไตรจีวร ซึ่ง เป็นเครื่องนุ่งห่มของพ ระภิกษุใน พระพุทธศาสนาอัน ประกอบด้วย สบง จีวร สังฆาฏิ ส านวนนี้มักใช้กับบิดา มารดาที่มีบุตรชายได้บวชให้บิดามารดา เชื่อกันว่า บิดามารดาได้บุญอย่าง ประเสริฐ โบราณเชื่อกันว่า บวชเณรจะ ได้แก่มารดา บวชพระจะได้แก่บิดา (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 19) 4. ชั่วช่างชี ดีช่างสงฆ์ ปล่อยไปตามเรื่องราว ถ้าพระภิกษุ หรือ หญิงที่นุ่งขาวห่มขาว โกนคิ้วโกนผม ถือศีล ๘ หรือ ที่เรากัน ว่า “ แม่ชี ” ประพฤติผิดศีลธรรม หรือ ท าชั่วท าเลวอย่างใด เราก็จ าเป็นต้อง


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา ปล่อยปละละวาง เพราะมันเป็นเรื่อง ของสงฆ์ที่จะว่ากล่าวตักเตือนกันเอง เราไม่ต้องไปยุ่งเกี่ยว และเราไม่มีหน้าที่ เข้าไปเกี่ยวข้องในกิจของสงฆ์อยู่แล้ว หากพบการกระท าผิดก็เพียงแจ้งให้ผู้ที่ มีส่วนเกี่ยวข้องทราบกันเท่านั้น (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 25) 5. ชายผ้าเหลือง ผลดีของการบวชบุตรหลาน เห็นชายผ้าเหลือง แปลตามตัวว่า เห็น ผ้ากาสาวพัตร์ หรือ ผ้าเหลืองที่ ผู้บวช นุ่งห่มผ้าเหลืองในที่นี้คือ ไตรจีวร ซึ่ง เป็นเครื่องนุ่งห่มของพ ระภิกษุใน พระพุทธศาสนาอัน ประกอบด้วย สบง จีวร สังฆาฏิ ส านวนนี้มักใช้กับบิดา มารดาที่มีบุตรชายได้บวชให้บิดามารดา เชื่อกันว่า บิดามารดาได้บุญอย่าง ประเสริฐ โบราณเชื่อกันว่า บวชเณรจะ ได้แก่มารดา บวชพระจะได้แก่บิดา (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 26) 6. ชายสามโบสถ์ คนบวชสามหนไม่น่าไว้วางใจ เพราะแสดงถึงจิตใจที่โลเล ในสมัยพุทธกาลชายสามโบสถ์ หมายถึง คนที่เปลี่ยนศาสนา 3 ครั้ง เช่น ตอนนี้ เ ป็ น พุ ท ธ อี ก พั ก ห นึ่ง ก ล า ย เ ป็ น พราหมณ์อีกสักพักไปบวชเป็นชีปะขาว ชายสามโบสถ์ คือชายที่เปลี่ยนศาสนา 3 หน แต่คนไทยเอามาเรียกคนที่บวช แล้วสึก สึกแล้วบวชใหม่ บวช ๆ สึก ๆ ถึง 3 หน (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 33) 7. ตักบาตรอย่าถามพระ จะให้สิ่งของแก่ผู้ที่เต็มใจรับอยู่ พระสงฆ์สมัยโบราณจะถือพระธรรมะ วินัยเคร่งครัดมาก ว่าอย่ายึดติดกับ รสชาติ เขาเลยห้ามถาม จึงได้น ามาตั้ง เป็นสุภาษิต ในหลักการตักบาตรตาม หลักพระพุทธศาสนา (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 46) 8. ถวายหัว ยอมเสี่ยงชีวิตเพื่อชาติ, เอาชีวิต เป็นประกัน, ท าจนสุด ความสามารถ, ย่อมสู้ตาย โบ ร าณท่ าน จ ะเป รี ยบไ ว้ กับคนที่ ท า อ ะไ ร ด้ ว ยใ จ เ กิ น ร้ อ ย ท า เ ต็ ม ความสามารถ ไม่ท้อถอย เรียกได้ว่า ยอมสู้ตาย ด้วยอาจเป็นเพราะ เป็นงาน


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา หรือสิ่งที่ชอบเป็นทุนเดิม การได้รับ โอกาสใหม่ๆ การได้อยู่ในสถานที่ ท างานที่ตนชอบ การกระท าแบบมี เป้าหมายในอนาคตที่ชัดเจน การท า เพื่อความอยู่รอดของครอบครัวหรือการ กระท าเพื่อตอบแทนบุญคุณ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 52) 9. ปิดทองหลังพระ ท าความดีแต่ไม่ได้รับการยก ย่อง เพราะไม่มีใครเห็นคุณค่า การเปรียบเปรยถึงการปิดทองด้านหลัง พระพุทธรูป ที่โดยปกติแล้วเมื่อผู้คนมา ท าบุญที่วัดหลังสักการะพระพุทธรูป เ ส ร็ จ แ ล้ ว ก็ จ ะน า แ ผ่ นทองไปปิ ด ด้านหน้า แต่การปิดทองพระพุทธรูป นั้นไม่ควรท าแค่ด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้อง ปิดทองให้ทั่วทั้งองค์เพื่อความสวยงาม ห ากไม่มีใครปิดทองหลังพ ระเลย พระพุทธรูปองค์นั้นก็อาจจะสวยงาม เพียงด้านหน้าด้ านเดียว จึงน าม า เปรียบเทียบกับการท าความดี ว่าจะท า ความดีเพื่อให้ได้รับค าชมไม่ได้ ให้ปิด ทองห ลังพ ร ะบ้ าง แต่ในบ างค รั้ง ส านวน ปิดทองหลังพระก็ถูกใช้ใน ความหมายเชิงตัดพ้อ หรือน้อยใจได้ ด้วย(ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 53) 10. พระมาลัยมาโปรด ผู้ที่มาช่วยเหลือในยามที่ก าลัง ตกทุกข์ได้ยากได้ทันท่วงที มาจาก คัมภีร์มาลัยสูตร ที่มีเรื่องพระ มาลัยมหาเถระมีอิทธิฤทธิ์ลงไป เมือง นรก ท าลายเครื่องลงโทษสัตว์นรก เช่น ทุบหม้อทองแดงให้แตก ท าให้สัตว์นรก ไม่ถูกลงโทษ ทัณฑ์ ได้เป็นสุขขึ้น มาลัย สูตรนี้สมัยโบราณแต่งเป็นกลอดสวด เรียกว่า สวดมาลัย เคยใช้สวดใน พิธี แต่งงาน สวดให้คู่บ่าวสาวฟัง จากเรื่อง พระมาลัยนี้จึงเกิดส านวน พระมาลัยมา โปรด(ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 56) 11 แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร การยอมแพ้ท าให้เรื่องสงบ การ ไม่ยอมแพ้ท าให้เรื่องไม่สงบ เป็นธรรมเทศนาที่มีกุศโลบาย สอนให้ คนรู้จักระงับความโกรธ โดยหากใช้ ความ อดกลั้นและยอมถอย ไม่ทะเลาะ ด้วย เรื่องราว ร้าย ๆ ก็จะไม่เกิด ถึงแม้


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา จะเป็นฝ่ายแพ้ในการโต้ เถียง แต่ก็ขึ้น ชื่อได้ว่าประเสริฐนัก (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 59) 12. กรวดน้ าคว่ าขัน ตัดขาดไม่คบหาสมาคมกัน ต่อไป ก า ร ริ น น้ า จ า กภ า ช น ะ ด้ ว ย ค ว า ม ปรารถนาอย่างใดอย่างหนึ่ง ส่วนคว่ า ขันเป็นกริยาที่ท าหลังจากเทน้ าเสร็จ แล้วจึงน ามาเปรียบเทียบกับการตัด ความสัมพันธ์กับผู้คนที่ต้องการให้จบ สิ้นกันกันไปหลังจากเทน้ า (ยมนา ทอง ใบ, 2550, หน้า 61) 13. มารประจญ, มารผจญ ผู้คอยเป็นอุปสรรคขัดขวาง มาจากพุทธประวัติตอนสมัยพุทธกาล ตอนพระพุทธเจ้าบ าเพ็ญตบะเพื่อตรัสรู้ ได้มีพญามารยกทพมาผจญ ขัดขวาง การบ าเพ็ญสมาธิเพื่อไม่ให้พระองค์ ส าเร็จสมโพธิญาณได้ แต่พระแม่ธรณี ได้มาช่วยพระองค์โดยการบีบมวยผม ท าให้เกิดน้ าท่วมหมู่มารจึงจมน้ าตาย คติไทยจึงมีความเชื่อเกี่ยวกับมารว่า มาร คือ ปีศาจชนิดหนึ่งซึ่งมักจะมีจิตใจ ที่ชั่วร้ายคอยท าลายมนุษย์ ถ้าคิดจะ สร้างหรือท าความดีแล้วไม่สามารถท า ได้ก็จะบอกว่ามีมารมาประจญนั่นเอง (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 105-106) 14. ฤกษ์งามยามดี ระยะเวลาที่ดี, ช่วงเวลาที่ เหมาะสม, โอกาสงาม ใจความส าคัญของส านวนนี้คือ ฤกษ์ดี แต่เติมค าสร้อยเข้าไปเพื่อให้เกิดความ ไพเราะทางภาษา เป็น ฤกษ์งามยามดี การหาฤกษ์ในการประกอบกิจการหรือ ลงมือท าง านต่ าง ๆ นั้นเชื่อกันว่ า จะต้องเลือกเวลาที่เหมาะสมซึ่งเป็นไป ตาม ก า ห น ด ที่ มี อ ยู่ แ ล้ ว ใ น ต า ร า โหราศาสตร์ หรือต าราหมอดู ฤกษ์ใน การท ากิจกรรมต่างชนิดกันก็มักจะมี ฤกษ์ที่แตกต่างกัน เช่น วันจันทร์ พุธ พฤหัสบดี และ ศุกร์ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 77) 15. ฤกษ์พานาที ระยะเวลาที่เป็นฤกษ์ ม าจ าก ต า ร าโห ร าศ าสต ร์เช่นกัน เหมือนกับส านวนฤกษ์งามยามดีคือดู


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา วันเวลาที่เหมาะสมที่ถือว่าเป็นเวลาดีใน การประกอบการงานหรือกิจการต่าง ๆ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 77) 16. วันพระไม่ได้มีหนเดียว วันหน้ายังมีโอกาสอีก ตั้งแต่ที่สยามรับเอาพุทธศาสนามาใช้ใน สังคม เมื่อก่อนนี้ สังคมไทยก าหนด วันหยุดท างานราชการในวันพระ ต่อมา ได้ยกเลิก แล้วใช้วันเสาร์ - อาทิตย์ เป็น วันหยุดราชการแทนวันพระ ดังนั้นใน รอบเดือนหนึ่ง ๆ จะมีวันพระได้หลาย ครั้ง (วีระพงศ์ มีสถาน, 2563, หน้า 333) 17. ศิษย์มีครู คนเก่งที่มีครูเก่ง มาจากผู้ที่มีความเก่งกล้าสามารถก็ จะต้องได้ศึกษาเล่าเรียนมาจากครู- อาจารย์ที่มีความเก่งกล้าสามารถที่ ถ่ายทอดวิชาให้(กรมวิชาการ, 2545, หน้า 271) 18. สัพเพสัตตา แล้วแต่บุญแต่กรรม มาจากค ากรวดน้ าตอนหนึ่งที่มีว่า สัพ เพสัตตา สุขีโหนตุ สัพเพสัตตา เป็น ภาษามคธ แปลว่า สัตว์หรือสิ่งที่มีชีวิต หรือวิญญาณทั้งหลาย การกรวดน้ าโดย มีบทกรวดน้ าดังกล่าวเป็นวิธีแผ่ส่วนบุญ ส่วนกุศลไปยังบุคคลหรือผู้ที่ล่วงลับไป แล้ว แต่ก็ไม่อาจทราบได้แน่ชัดว่าบุคคล เหล่านั้นหรือวิญญาณเหล่านั้นจะได้รับ จริงหรือไม่หรือวิญญาณใดสิ่งมีชีวิตใด จะได้รับในส่วนบุญส่วนกุศลที่เราอุทิศ ให้ไป จึงเกิดเป็นส านวน สัพเพสัตตาขึ้น หมายถึง เสี่ยงตาม บุญตามกรรม เอา แน่ไม่ได้ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 89) 19 เหมือนผีจับยัด แม่นมาก มาจาก การท าอะไรแล้วแม่นเหมือนกับ การจับวาง หรือได้สิ่งใดสิ่งหนึ่งมาตรง กับความต้องการอย่างไม่นึกไม่ฝันว่า จะได้สิ่งนั้นมาเหมือนกับผีม าช่วย บันดาลให้ได้ เพราะผีมีอิทธิฤทธิ์ย่อมท า อะไ รที่คนท าไม่ได้ห รื อเกินค ว าม คาดหมายที่คนธรรมดาทั่วไปจะท าได้


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา จึงเป็นการเปรียบเทียบว่า แม่นหรือได้ สิ่งใดสิ่งหนึ่งเหมือนกับผีช่วยให้ได้มา (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 51) 20 อาสน์แข็ง รู้สึกแปลกประหลาดใจ, สงสัย ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้นกับตน มาจากความเชื่อเกี่ยวกับเทวดา คือ พระอินทร์ซึ่งเป็นเทวดาผู้เป็นใหญ่ ใน สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เป็นเทวดาที่มี บทบาทกับสังคมไทยค่อนข้างมาก เพราะเป็นเทวดาที่คนไทย ให้ความ เคารพและนับถือ พระอินทร์จะคอย ดู แ ลทุ ก ข์ สุ ข ข อง มนุ ษ ย์ แ ล ะ รั บ รู้ พฤติกรรมความ เป็นไปของมนุษย์ ดังนั้นจึงมีความเชื่อว่า ถึงแม้ท าความดี หรือความชั่วไว้โดยไม่มีใครเห็น แต่ เทวดาคือพระอินทร์ย่อมรับรู้และเห็น ในสิ่งที่มนุษย์นั้นประพฤติปฏิบัติเสมอ แ ล ะ ผู้ นั้ น ย่ อ ม จ ะไ ด้ รั บ ผ ล ก ร ร ม ที่ได้ประพฤติห รือได้กระท าไว้เอง นอกจากนี้ยังมีความเชื่อว่าถ้ามนุษย์คน ใดซึ่งเป็นผู้มีบุญญาธิการได้รับความ ทุกข์หรือความเดือดร้อน ที่นั่งหรือ อาสน์ของพระอินทร์จากที่นุ่มก็จะแข็ง กระด้างเหมือนหินขึ้นมา นั่งอย่างไม่มี ความสุขจนต้องลงมาช่วยหรือมาดล บันดาลสิ่งต่าง ๆให้กับผู้มีบุญนั้นได้หมด ทุกข์ไป (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 66) 21 อาสน์ร้อน มีความรู้สึกว่าจะมีเรื่อง เดือดร้อนเกิดขึ้น มาจาก เรื่องราวของพระอินทร์ ซึ่งเป็น เทวดาผู้เป็นใหญ่บนสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์ เป็นผู้คอยดูแลความทุกข์สุขของมนุษย์ เมื่อมีเรื่องเดือดร้อนหรือเกิดเหตุร้ายขึ้น ในโลกมนุษย์ เช่น คนดีถูกกลั่นแกล้งถูก ท าร้าย ทิพยอาสน์หรือที่นั่งของพระ อินทร์ก็จะร้อนขึ้นมาจนนั่งอย่างไม่เป็น สุข พระอินทร์ก็จะรู้ว่ามีเหตุร้ายเกิดขึ้น แล้วในโลกมนุษย์ ก็จะต้องสอดส่องหา สาเหตุ และลงไปจากเทวโลกเพื่อไป ช่วยเหลือคนดีที่ได้รับความเดือดร้อน


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา นั้นให้หมดสิ้นไป ในเรื่องสังข์ศิลป์ชัย เมื่อสังข์ศิลป์ชัยถูกโอรสทั้งหกพลักตก เหว ท าให้ได้รับบาดเจ็บอย่างมาก ท า ให้ท้าวสหัสนัยน์โกสีย์ร้อนอาสน์ขึ้นมา เมื่อส่องทิพยเนตรเห็นก็ทราบว่า สังข์ ศิลป์ชัยได้รับความเดือดร้อน จึงลงมา ช่วย (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 65) 2) ความเชื่อเกี่ยวกับเวรกรรม บาปบุญ นรกสวรรค์จ านวน 17 ส านวน ได้แก่ ส านวนไทย ความหมาย ที่มา 1. กงกรรมกงเกวียน กรรมตามสนอง, เวนตามสนอง ผู้กระท า มาจากความเชื่อเกี่ยวกับกฎแห่งกรรม คือเชื่อว่า บุคคลมีกรรมเป็น เครื่อง ก าหนด ใครประกอบกรรมดีไว้ย่อม ได้รับผลดีตอบแทน ใครประกอบกรรม ชั่วไว้ย่อมได้รับ ผลชั่วตอบสนองเช่นกัน เหมือนดั่งกับกงล้อของเกวียนที่หมุนวน ไปเรื่อย ๆตามที่ล้อเกวียนหมุนไป (กง คือ ส่วนรอบของล้อเกวียน ส่วน ก า คือ ซี่ล้อ มีดุมเป็นส่วนกลางของล้อที่มีรู ส าหรับสอดเพลา เมื่อกงเกวียนหมุนไป ทางใด ก าเกวียนก็หมุนไปด้วยส่วนค า ว่ากรรมนั้นเป็นค าพ้องเสียงกับค าว่า ก า แปลว่า การกระท า) เมื่อใครท าสิ่ง ไม่ดีสิ่งชั่วใดไว้สิ่งนั้นก็จะคืนสนองแก่ ผู้กระท า เช่น ใครเคยท าร้ายผู้อื่นไว้ ต่อไปก็อาจจะโดนผู้อื่นท าร้ายเอาบ้าง เช่นกัน (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 82) 2. กงเกวียนก าเกวียน กรรมตามสนอง, เวนตามสนอง ผู้กระท า มาจาก เกวียนเป็นพาหนะที่ใช้กันทั่วไป ในสมัยก่อน กงเกวียนเป็นส่วนรอบล้อ เกวียน ก าเกวียนเป็นซี่ล้อมีดุมเป็น ส่วนกลางของล้อที่มีรูส าหรับสอดเพลา เมื่อกงเกวียนหมุนไปทางใด ก าเกวียนก็ หมุนไปด้วย ใช้เปรียบกับการกระท า ของมนุษย์ ว่าผู้ใดท ากรรมอย่างใดไว้ ย่อมได้รับผลกรรมนั้น มีความหมาย เช่นเดียวกับส านวน “วัวของใครเข้า


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา คอกคนนั้น” (กรมวิชาการ, 2545, หน้า 2) 3. กรรมตามทัน กรรมปรากฏผล, ได้รับผลกรรม ตามที่ท ามา มาจากความเชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม กรรม คือ การกระท า เชื่อว่า ใคร กระท าสิ่งใดไว้ในไม่ช้าสิ่งนั้นก็จะส่งผล ตอบสนองคืนมายังผู้กระท านั้น ท าดี ย่อมได้ดีท าชั่วย่อมได้รับผลร้ายตอบ แทนสังคมไทย จึงเชื่อว่า ถ้าใครเคยก่อ กรรมท าเข็ญกับผู้อื่นไว้ก็จะต้องรับผล กรรมนั้นตอบสนองกลับมาท าให้มีเหตุ ต้องได้รับความเดือดร้อนทุกข์เข็ญโดย กะทันหันเช่นกัน (ยมน า ทองใบ , 2550, หน้า 83) 4. คนดีผีคุ้ม คนท าดีย่อมไม่มีภัย มาจากคนไทยเชื่อว่า ในตัวบุคคลแต่ละ คนจะมีผีหรือเทวดาประจ าตัวคอย คุ้มครองปกป้องอันตรายให้ ถ้าหาก ไม่ใช่เป็นเพราะกรรมเก่าที่เคยท าไว้ หรือเพราะเวรกรรมแต่ชาติปางก่อน ตามมาทันแล้ว หากเกิดภัยอันตรายใด ๆ ขึ้นแก่บุคคลผู้ประพฤติปฏิบัติดี ผี หรือเทวดาประจ าตัวก็จะช่วยปกป้อง คุ้มครองให้แคล้วคลาดจากภัยอันตราย เหล่านั้น หรือถ้าเป็นคนดี มีความ ซื่อสัตย์ ถึงจะถูกคนอื่นท าร้ายหรือกลั่น แกล้งก็จะไม่เป็นอันตรายใด ๆ (กรม วิชาการ, 2545, หน้า 57) 5. คนตายขายคนเป็น เป็นการจัดงานศพที่ใช้จ่ายเงิน มาก ท าให้สิ้นเปลืองถึงขนาด อาจยากจนลง มาจากความเชื่อหลังความตาย จะ กลายเป็นอีกโลกวิญญาณที่ไม่สามารถ เข้าไปยุ่งเกี่ยวข้องกับโลกของคนที่ยังมี ชีวิตอยู่ได้จึงใช้เปรียบว่า คนตายไป แล้วไม่มีสิทธิ์อะไรแล้ว ส่วนคนเป็นต้อง รับผิดชอบแทนไปโดยปริยาย (กรม วิชาการ, 2545, หน้า 23) 6. คอขาดบาดตาย ร้ายแรงถึงอาจต้องสูญเสียชีวิต มาจากความเชื่อความเป็นความตายถือ เป็นที่สิ้นสุดของชีวิตแล้ว จึงใช้เปรียบ เป็นการสูญเสียที่ยิ่งใหญ่มาก ๆ ถึงกับ ชีวิตได้จบสิ้นลง (กรมวิชาการ, 2545,


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา หน้า 24) 7. เคราะห์หามยามร้าย เคราะห์ร้าย คนโบราณท่านนิยมใช้กับคนที่เคราะห์ ร้าย เคราะห์ไม่ดี ดวงไม่ดีหรือที่ภาษา ชาวบ้านเรียกว่าดวงซวยนั่นเอง จะท า อะไรหรือจะหยิบจับอะไรก็แย่ไปหมด ชีวิตตกต่ า หน้าที่การงานก็แย่ไปหมด อาจจะเกิดอุบัติเหตุหรือถูกท าร้ายร่วม ด้วย เป็นต้น (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 73) 8. ชั่วเจ็ดที ดีเจ็ดหน มีชั่วบ้างดีบ้างสลับกันไป มาจากความเชื่อในพุทธศาสนากล่าวว่า เป็นเพราะผลแห่งกรรมดีและชั่วของแต่ ละบุคคล อาจส่งผลในชีวิตสลับกันไป ไม่มีความแน่นอน (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 44) 9. ตามยถากรรม เป็นไปตามกรรม, สุดแต่จะ เป็นไป มาจากความเชื่อเรื่องเวรกรรม หากใคร ท าดีจะได้ดี ใครท าไม่ดีก็จะได้อย่างนั้น ตามแต่ผลของการกระท าที่ผู้กระท าได้ ปฏิบัติไว้(ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 86) 10. ถึงฆาต ถึงที่ตาย มาจากความเชื่อเรื่องดวง โชคชะตา ของบุคคลได้ถึงแก่ความตายแล้ว ซึ่ง จะต้องเกิดอุบัติเหตุหรือเรื่องไม่คาดฝัน ท าให้สูญเสียถึงชีวิตได้ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 87) 11 ท าบุญบูชาโทษ ท าคุณแต่กลับเป็นโทษ, ท าดี แต่กลับเป็นร้าย มาจากความเชื่อเรื่องผลของการกระท า แต่ในที่นี้เป็นการโปรดสัตว์ที่ไม่รู้จัก บุญคุณเหมือนคน เมื่อท าดีด้วยแล้ว แต่ ไม่ได้รับผลดีตอบแทน กลับได้สิ่งที่ไม่ดี กระท าตอบกลับมา (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 48) 12. สิ้นบุญ ตาย มาจากความเชื่อเรื่องบาปบุญ เมื่อได้ เกิดเป็นมนุษย์ถือว่าเป็นผู้มีบุญมาก หากได้เสียชีวิตลงจึงเรียกว่า หมดบุญที่ ได้เกิดเป็นมนุษย์หรือสิ้นบุญลงแล้ว (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 86) 13. เห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นผิดเป็นชอบ มาจาก ตามนิทานชาดก มิตวินทุกะ เป็นผู้มีบาปหนา เมื่อจะได้รับโทษตาม


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา กรรมก็มองเห็นกงจักรบนหัวเปรตตน หนึ่งว่าเป็นดอกบัว จึงขอมาใส่บนหัว ตนเอง ท าให้ได้รับทุกข์ทรมานจาก กงจักรที่หมุนบาดหัวอยู่ตลอดเวลา ชาดกนี้เป็นที่มาของส านวนว่า เห็น กงจักรเป็นดอกบัว (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 93) 14. ตกน้ าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ ตกอยู่ในที่คับขันอย่างไรก็ไม่ เป็นอันตราย, เป็นค า เปรียบเทียบ หมายความว่า ตกอยู่ในที่ใดก็ไม่สูญหาย มาจากการท าผลของการท าความดี การเป็นคนดีจะมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครอง แม้จะมีภัยอันตรายเข้ามาหรืออยู่ใน สถานการณ์ที่แย่ แต่ก็จะแคล้วคลาด ปลอดภัย เพราะผลแห่งการกระท าที่ดี (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 77) 15. แข่งเรือแข่งพายแข่งได้ แข่ง บุญแข่งวาสนาแข่งไม่ได้ แข่งขันเพื่อเอาชนะกันทางกาย นั้นได้ แต่กับเรื่องของบุญความ ดีงามที่ส่งผลให้คนสูงส่งนั้น แข่งไม่ได้ มาจากความเชื่อเรื่องบุญวาสนาของแต่ ละคนไม่เท่ากัน เป็นผลของการท าบุญ ไว้มากในชาติก่อน ส่งผลให้มีวาสนาดี ในชาตินี้ จึงใช้เปรียบว่า แข่งอะไรก็แข่ง ได้ แต่แข่งบุญวาสนาที่ท ามาแต่ชาติ ก่อนของแต่ละคนนั้นไม่เท่ากัน ย่อม แข่งกันไม่ได้(ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 85) 16. ขึ้นสวรรค์ทั้งเป็น มีความสุขมาก มาจากการสะท้อนความเห็นถึงความ เชื่อของคนไทยเกี่ยวกับสวรรค์ คือ เชื่อ ว่าผู้ที่เป็นมนุษย์ตอนอยู่บนโลกนั้นถ้า ท าความดีเมื่อตายไปก็จะได้ขึ้นสวรรค์ ซึ่งเป็นดินแดนแห่งความสุข เป็นทิพย สถานแห่งความสวยงามและความ รื่นรมย์ของชาวสวรรค์ ค าว่า ขึ้นสวรรค์ ทั้งเป็น ใช้ในความหมายเปรียบเทียบว่า ถึงแม้ยังไม่ตาย แต่ก็มีความสุขมาก เหมือนได้ขึ้นสวรรค์ทั้ง ๆ ที่ยังมีชีวิตอยู่ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 91) 17. ตกกระทะทองแดง ได้รับโทษทัณฑ์ในนรก มาจากความเชื่อของคนไทยเกี่ยวกับ เรื่องนรก ซึ่งในหนังสือไตรภูมิพระร่วง ได้กล่าวถึงขุมนรกที่ชื่อสัญชีพนรกบ่าว ล้อมรอบทั้ง 4 ด้าน ด้านละ 4 ขุม มี ทั้งสิ้น 16 ขุม ด้วยกัน นรกบ่าวใน 16


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา ขุมนั้นมีนรกบ่าวขุมหนึ่งชื่อว่าโลกกุมภี นรก เป็นนรกที่มีหม้อเหล็กแดงขนาด ใหญ่เท่ากับภูเขาลูกใหญ่ๆอยู่ หม้อ เหล็กนั้นเต็มไปด้วยเหล็กที่ถูกเผาไฟจน แดงหลอมละลายเป็นน้ าอยู่ ผู้ที่ตกนรก ในขุมนี้ยมบาลจะจับเท้าทั้งสองข้างของ ผู้นั้นยกขึ้นมาแล้วหย่อนหัวลงเบื้องล่าง แล้วพุ่งตัวผู้นั้นลงไปในหม้อใหญ่ที่มี เหล็กแดงหลอมละลายเป็นน้ าอยู่ สัตว์ ที่ตกนรกในขุมนี้จะร้อนหนักหนา ดิ้นไป มาอยู่ในหม้อใหญ่นี้อย่างทุกขเวทนา และถูกกระท าให้ทุกข์ทรมานอย่างนี้ หลายครั้งหลายคราจนกว่าจะสิ้นเวร (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 92) 3) ความเชื่อเกี่ยวกับวิญญาณ ภูตผี ปีศาจ จ านวน 13 ส านวน ได้แก่ ส านวนไทย ความหมาย ที่มา 1. กระสือดูด ผลไม้ที่เหี่ยวแห้งซูบผิดปกติ มาจากคนโบราณเชื่อกันว่าผีกระสือจะ ออกหากินในเวลากลางคืน โดยเวลาไป จะเป็นดวงไฟแวบๆเคลื่อนลอยไปต่ าๆ เหนือพื้นดิน ดังนั้นจึงเชื่อกันว่าถ้าของ อะไรในบ้านที่เป็นอาหารมีลักษณะ ผิดปรกติเชื่อกันว่ากระสือมากิน คน โบราณห้ามไม่ให้ตากผ้าทิ้งค้างคืนไว้ เพราะถ้าตากผ้าทิ้งไว้กระสือก็จะใช้เช็ด ปาก วิธีจับกระสือมีว่า ถ้าเห็นผ้าที่ตาก ทิ้งไว้มีรอยเปื้อนผิดปรกก็ให้เอาผ้านั้น มาต้ม ใครเป็นผีกระสือที่ใช้ผ้านั้นเช็ด ปากก็จะร้อนจนทนไม่ไหวต้องไปหาผู้ที่ ต้มผ้านั้น เนื่องจากผีกระสือเที่ยวหากิน ของในเวลากลางคืนท าให้ของนั้นเสีย ดังนั้นของอะไรที่เหี่ยวแห้งผิดปรกติ หรือซูบลงไปจึงเรียกว่า กระสือดูด (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 41) 2. ปล้ าผีลุกปลุกผีนั่ง พยายามท าให้มีเรื่องมีราวขึ้นมา มาจากการปลุกเสกทางไสยศาสตร์ (วี ระพงศ์ มีสถาน, 2563, หน้า 225) 3. ปลุกผีกลางคลอง ท าการเสี่ยงขณะอยู่ในภาวะคับ มาจาก พิธีทางไสยศาสตร์ คือ การปลุก


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา ขัน, ท าอะไร ๆ ที่น่ากลัวขณะที่ ไม่มีใครช่วยเหลือ ผี การปลุกผีนั้นหมอผีจะใช้เวทมนต์ คาถาในการเรียกผู้ที่ตายไปแล้วให้ฟื้น ตื่นขึ้นมาเพื่อให้ผีท าตามค าสั่งที่หมอผี ต้องการ แต่การปลุกผีกลางคลองเป็น การกระท าที่ไม่ถูกที่ถูกทางซึ่งจะเกิด อันตรายได้ง่าย เพราะการปลุกผีผู้ ประกอบพิธีต้องใช้สมาธิอย่างมากใน การบริกรรมคาถาอาคมเพื่อควบคุมผีให้ ท า ต า ม ค า สั่ง ห า ก ผี ส า แ ดง ฤ ท ธิ์ อาละวาดก็จะท าอันตรายต่อผู้ท าพิธีได้ และเมื่อเป็นการปลุกผีระหว่างทางน้ า คือ ปลุกผีในเรือ ย่อมมีความยุ่งยาก มากเพราะเรือเป็นที่แคบมีพื้นที่ไม่มาก เมื่อผีอาละวาดออกฤทธิ์อาจท าให้เรือ ล่มได้ อันตรายที่ผู้ท าพิธีจะได้รับจึงมีทั้ง อันตรายจากผีที่จะท าร้ายและอันตราย จากอุบัติเหตุเรือล่มอีกด้วย (ยมนา ทอง ใบ, 2550, หน้า 39) 4. ผีเข้าผีออก เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย, ไม่คงที่ มาจากลักษณะความเชื่อเรื่องผีสิง (วีระ พงศ์ มีสถาน, 2563, หน้า 251) 5. ผีช้ าด้ าพลอย ถูกซ้ าเติมเมื่อพลาดพลั้งหรือ เมื่อคราวเคราะห์ร้าย ความเชื่อในเรื่องผี คือ คนไทยมักจะ เชื่อถือว่า บ้านเรือนจะมีผีคุ้มครองอยู่ เรียกว่า ผีเรือน ท าหน้าที่ป้องกันไม่ให้ พวกผีป่าหรือผีอื่นๆที่อยู่นอกบ้านมาก ล้ ากรายสร้างความเดือดร้อนให้คนใน บ้าน ช่วยปกป้องรักษาบ้านระวังภัย อันตรายไม่ให้เกิดแก่เจ้าของเรือน ตลอดจนคนในบ้านได้ แต่ถ้าผีเรือนนั้น ไม่เก่ง ไม่สามรถคุ้มครองบ้านเรือนได้ หรือเป็นผีที่ไม่ดีไม่รักษาหน้าที่ ผีอื่นก็ จะเข้ามาได้ แต่ในการน าส านวนนี้มาใช้ นั้นไม่ได้หมายความว่า ผีเรือนไม่เก่ง หรือไม่ได้หมายถึงผีตรงๆแต่เป็นค า เปรียบถึงคนในบ้าน คือ ถ้าคนในบ้าน ไม่ดีแล้วก็เป็นช่องทางให้คนอื่นเขา ล่วงล้ าดูถูกหรือท าอะไรๆให้เป็นที่ เดือดร้อนเสียหายแก่เจ้าของบ้านได้


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 47) 6. ผีบ้านไม่ดี ผีป่าก็พลอย คนในบ้านเป็นใจช่วยให้คนนอก บ้านเข้ามาท าความเสียหายได้, คนในบ้านไม่ดี ท าให้คนที่มา อาศัยอยู่ด้วยพลอยไม่ดีไปด้วย มาจากความเชื่อเรื่องผี ที่ว่า ถ้าผีที่ปก ปักคุ้มครองบ้านไม่ดี ผีอื่นก็สามารถเข้า มาท าร้ายคนในบ้านได้ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 48) 7. ผีไม่มีศาล ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง มาจากความเชื่อเรื่องผีไม่มีศาล ไม่มีที่ สิงสถิตย์ ไม่มีบ้านอยู่ เร่รอนไปเรื่อย ๆ (วีระพงศ์ มีสถาน, 2563, หน้า 255) 8. ผีเรือนไม่ดี ผีอื่นก็พลอยได้ คนในบ้านท าตัวไม่ดีย่อมเป็น ช่องทางให้คนนอกบ้านน าความ เดือดร้อนเสียหายมา ความเชื่อในเรื่องผี คือ คนไทยมักจะ เชื่อถือว่า บ้านเรือนจะมีผีคุ้มครองอยู่ เรียกว่า ผีเรือน ท าหน้าที่ป้องกันไม่ให้ พวกผีป่าหรือผีอื่น ๆ ที่อยู่นอกบ้านมาก ล้ ากรายสร้างความเดือดร้อนให้คนใน บ้าน ช่วยปกป้องรักษาบ้านระวังภัย อันตรายไม่ให้เกิดแก่เจ้าของเรือน ตลอดจนคนในบ้านได้ แต่ถ้าผีเรือนนั้น ไม่เก่ง ไม่สามรถคุ้มครองบ้านเรือนได้ หรือเป็นผีที่ไม่ดีไม่รักษาหน้าที่ ผีอื่นก็ จะเข้ามาได้ แต่ในการน าส านวนนี้มาใช้ นั้นไม่ได้หมายความว่า ผีเรือนไม่เก่ง หรือไม่ได้หมายถึงผีตรง ๆ แต่เป็นค า เปรียบถึงคนในบ้าน คือ ถ้าคนในบ้าน ไม่ดีแล้วก็เป็นช่องทางให้คนอื่นเขา ล่วงล้ าดูถูกหรือท าอะไร ๆ ให้เป็นที่ เดือดร้อนเสียหายแก่เจ้าของบ้านได้ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 47) 9. ลูกผีลกคน เอาแน่เอานอนไม่ได้ มาจากประเพณีการคลอดลูก จากใน สมั ยโ บ ร าณนั้น ก า ร แพท ย์ ยังไ ม่ เจริญก้าวหน้าเหมือนกับปัจจุบันนี้ ท า ให้อัตราการเสียชีวิตแรกคลอด หรือ ในช่วงวัยเด็กนั้นมีสูงมาก ดังนั้นในสมัย โบราณนั้นจึงมีพิธีกรรมที่จะแก้เรื่อง ดังกล่าวโดยการน าเอาเด็กใส่กระด้ง แล้วแกว่งไปแกว่งมา และพร้อมพูดว่า "สามวันลูกผี สี่วันลูกคน ลูกของใครมา รับเอาไปเน้อ..." (วีระพงศ์ มีสถาน, 2563, หน้า 327)


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา 10. หูผีจมูกมด รู้เรื่องอะไรได้รวดเร็วทันท่วงที หูผี หมายถึง หูเหมือนผีซึ่งมีฤทธิ์เดช ต่าง ๆ เพราะคนไทยมีความเชื่อว่าผี มี หูทิพย์ส าม า รถได้ยินคนพูดกันได้ ทั้งหมดถ้ าต้องก า รได้ยิน จมูกมด หมายถึง จมูกเหมือนมด ซึ่งไวต่อกลิ่น อาหารหรือของกินอะไรที่อยู่ตรงไหน มดเป็นต้องรู้และมากินทันทีเพราะจมูก ของมดไวต่อกลิ่น จึงน าไปเปรียบเทียบ กับคนที่รู้เรื่องรู้ข่าวอะไรรวดเร็วจึงพูด กันเป็นส านวนว่า หูผีจมูกมด (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 51) 11 เฮี้ยน มีฤทธิ์เดชน่ากลัว มาจากความเชื่อเรื่องผีวา ผู้ที่ตายไป แล้วถามีฤทธิ์เดชท าให้ผู้คนเกิด ความ กลัวหรือสร้างความเดือดร้อนให้กับ ผู้คน จะเรียกผู้ตายนั้นว่า เฮี้ยน หรือ ผี เฮี้ยน ซึ่งในสังคมไทยผีที่เฮี้ยนนั้นมัก ตายโหงหรือตายทั้งกลมและมีความเชื่อ ว่า ถ้าผีตายโหงหรือตายทั้งกลมนั้นตั้ง ศพแล้วมีแมวด ากระโดดข้ามศพไป ศพ นั้นจะลุกได้และจะมีความเฮี้ยนมาก (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 51) 12. กระดูกร้องได้ ผลสะท้อนของฆาตกรรมที่ท า ให้จับตัวผู้กระท าผิดมาลงโทษ ได้คล้ายกับว่ากระดูกของผู้ตาย ร้องบอก มาจากความเชื่อเกี่ยวกับวิญญาณของ ผู้ตาย กระดูกในที่นี้หมายถึงกระดูกของ ผู้ตายที่ถูกฆาตกรรมโดยที่ผู้ร้ายไม่ได้ทิ้ง หลักฐานร่องรอยใด ๆ ไว้ท าให้ไม่ สามารถจับคนร้ายมาลงโทษได้ แต่ใน ที่สุดผู้ร้ายก็ถูกต ารวจจับได้เหมือนกับ ว่ากระดูกของผู้ตายบอกร่องรอยเพื่อ ร้องขอความเป็นธรรม จึงน ามาใช้เป็น ส านวนในการเปรียบเทียบถึงผู้ร้ายที่ฆ่า คนตายโดยไม่ทิ้งหลักฐานไว้แต่ก็ถูก ต ารวจจับได้ว่า กระดูกร้องได้ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 41) 13. น่าเกลียดน่าชัง น่ารักน่าเอ็นดู มาจากผู้ใหญ่ที่เวลาจะพูดชมเด็กเล็ก ๆ วัยขวบ สองขวบนั้นมักพูดว่าน่าเกลียด น่าชัง เนื่องจากคนไทยโบราณมีคติ


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา ความเชื่อกันว่าภูตผีปีศาจมีอยู่ทั่วไป เหมือนกับที่มีคนอยู่ทั่วไปแต่ต่างกัน ตรงที่เรามองไม่เห็นภูตผีเหล่านั้น และ เมื่อมีเด็กเล็ก ๆ ที่เป็นทารกน่ารัก ๆ หากมีคนชมเด็กว่าน่ารักน่าเอ็นดู เมื่อผี ได้ยินก็จะมาเอาเด็กคนนั้นไปอยู่ด้วย นั่นคือ อาจเป็นเหตุให้เด็กคนนั้นล้มเจ็บ และตายได้ ดังนั้น จึงต้องพูดว่าน่า เกลียดน่าชัง แทนในความหมายว่า น่ารัก เพื่อไม่ให้ผีนั้นเอาไปอยู่ด้วย (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 69) 4) ความเชื่อเกี่ยวกับอ านาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์จ านวน 8 ส านวน ได้แก่ ส านวนไทย ความหมาย ที่มา 1. แก้บน เซ่นสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามที่ตน ได้บนบาน บน คือ บอกหรือพูดโดยปฏิญาณว่าถ้า ได้ในสิ่งที่ต้องการจะน าของมาถวาย ของที่น ามาถวายนั้น เป็นของที่เจ้า ผี หรือ สิงศักดิ์สิทธิ์ชอบ เช่น หัวหมู ไก่ ต้ม ปะทัด ดอกไม้ เป็นต้น เมื่อน า สิ่งของหรืออาหารมาถวายแก่เจ้าหรือ สิ่งศักดิ์สิทธิ์แล้วจะเรียกว่า แก้บน (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 53) 2. เข้าฝัน มาบันดาลให้ฝันเห็น มาจาก ความเชื่อเกี่ยวกับการฝัน คือ ถ้าใครฝันเห็นคนที่ตายไปแล้วหรือสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ เช่น เทวดา เจ้าพ่อมาบอก อะไรในขณะที่ก าลังหลับอยู่ เชื่อว่าสิ่งที่ บอกนั้นจะเป็นจริง ความฝันเป็นความ เชื่อมาแต่โบราณ ซึ่งตามคติของไทย เชื่อว่า ความฝันจะเป็นลางหรือนิมิต บอกเหตุการณ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับผู้ฝันว่า จะดีหรือร้ายประการใด ในความฝันนั้น จะสามารถท านายได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับ ลักษณะอาการของความฝัน (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 103) 3. เทพอุ้มสม เหมือนเทวดาจัดมาให้ ค าว่า อุ้มสม หมายถึง มีผู้พาฝ่ายหนึ่ง ไปให้ครองรักกับอีกฝ่ายหนึ่ง คนที่ถูก


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา อุ้มสมในที่นี้คือฝ่ายชาย เทพอุ้มสม ก็ คือ เทวดาเป็นผู้อุปถัมภ์ให้ได้ครองรัก กันระหว่างฝ่ายชายกับฝ่ายหญิง โดย เป็นผู้พาฝ่ายชายไปครองรักกับฝ่าย หญิงนั่นเอง (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 57) 4. บนข้าวผีตีข้าวพระ ขอร้องให้ผีสางเทวดาหรือสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ช่วยเหลือโดยจะแก้บน เมื่อส าเร็จประสงค์ บน หมายถึง ขอร้องให้ผีสางเทวดาหรือ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยเหลือ โดยจะแก้บนเมื่อ สมประสงค์แล้ว บนข้าวผี หมายถึง บน ผีว่าจะให้ข้ าวผีกิน ตีข้ าวพระ คือ ตะล่อมหรือปั้นข้าวให้เป็นข้าวบิณฑ์เพื่อ ถวายพระพุทธ ส านวนนี้บางทีให้ว่า “บนกะผีตีกะพระ” มีความหมายคล้าย กับส านวน “บนบานศาลกล่าว” (กรม วิชาการ, 2545, หน้า 169) 5. บนบานศาลกล่าว ขอร้องให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยเหลือ ศาลกล่าว หมายถึง กล่าวบนบานต่อ ศาล เช่น ศาลพระภูมิ ศาลเจ้า ส านวน นี้มีความหมายคล้ายกับส านวน “บน ข้าวผีตีข้าวพระ” (กรมวิชาการ, 2545, หน้า 170) 6. กินทิพย์ อิ่ม ที่มาจากความเชื่อที่ว่าเทวดา นางฟ้า หรือชาวสวรรค์นั้นอิ่มได้โดยไม่ต้องกิน อาหารหรือสิ่งใด ๆ ทั้งสิ้น เรียกว่า กิน ทิพย์หรืออิ่มทิพย์ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 53) 7. เซียน เทวดา, ผู้วิเศษ, คนเก่งกาจ สามารถ, คนมีเล่ห์เพทุบายจัด ค าว่า เซียน เป็นภาษาจีน แปลว่า เทวดาหรือผู้วิเศษมีฤทธิ์เดชต่าง ๆ ซึ่ง คนจีนจะให้ความเคารพนับถือเพราะ เชื่อว่าเซียนต่าง ๆ เหล่านี้เป็นเทพที่มี ฤทธิ์เดช คอยช่วยเหลือมนุษย์ในด้าน ต่าง ๆ ให้มีความสุขอยู่เสมอ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 55) 8. พระอินทร์มาเขียว ๆ ไม่เชื่อถือ มาจากนิทานนิยายของไทยนั้นมักมีพระ อินทร์เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่มากมีเรื่อง ส าคัญ ๆ อะไรเกิดขึ้นก็ร้อนถึงพระ อินทร์ลงมาช่วยเป็นที่เชื่อถือกัน พระ อินทร์นั้นเป็นเทวดาชั้นผู้ใหญ่ในสวรรค์


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา เป็นที่นับหน้าถือตาของพวกชาวสวรรค์ เพราะจะมีอิทธิฤทธิ์และมีฤทธิ์เดช (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 63) 5) ความเชื่อเกี่ยวกับเครื่องรางของขลัง เวทมนตร์ และไสยศาสตร์จ านวน 14 ส านวน ได้แก่ ส านวนไทย ความหมาย ที่มา 1. แก้วสารพัดนึก แก้วที่เชื่อกันว่า ถ้าผู้ใดมีอยู่แล้ว จะนึกอะไรได้อย่างใจ ที่มาของส านวนมาจากความเชื่อเรื่อง สิ่งของวิเศษคือแก้วสารพัดนึกว่า ถ้า ใครมีหรือใครได้ครอบครองเป็นเจ้าของ ของแก้วสารพัดนึก ถ้าต้องการสิ่งใดนึก เอาไว้ในใจก็จะได้ในสิ่งที่ต้องการนั้น (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 21) 2. ของขึ้น ของขลังศักดิ์สิทธิ์แสดงอิทธิฤทธิ์ , การแสดงความกล้าอย่าง บ้าบิ่น ส านวนมาจาก ลักษณะอาการของคนที่ มีเครื่องรางของคลังอยู่ในตัว หรือ คนที่ มีวิชาทางไสยศาสตร์เมื่อมีเวทมนต์ คาถาหรือของขลังอยู่ในตัวแล้วสิ่งนั้นจะ แสดงอิทธิฤทธิ์ออกมา ท าให้บุคคลนั้นมี กริยาอาการผิดปรกติไปจากเดิมที่เคย เป็น เช่น ใครที่สักยันต์เป็นรูปลิงลม ถ้า ของขึ้นบุคคลนั้นก็จะมีกิริยาท่าทาง เหมือนลิง อยู่ไม่นิ่ง เป็นต้น (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 22) 3. บังไพร ท าพิธีเสกมนต์เพื่อไม่ให้สัตว์ป่า เห็นตัวจะได้เข้าไปล่าสัตว์ได้ มาจากการท าพิธีทางไสยศาสตร์ของ นายพรานโดยการเสกมนตร์ท าให้สัตว์ ป่านั้นไม่เห็นตัวของนายพราน มาตร์ที่ เสกนั้นน่าจะเป็นวิชาก าบัง ซึ่งเป็นเวท มนตร์ที่ใช้ซ่อนตัวเพื่อให้พ้นจากสายตา สัตว์และผู้อื่น เมื่อเข้าป่าไปล่าสัตว์ก็จะ สามารถเข้าไปล่าสัตว์ได้โดยง่ายเพราะ สัตว์เหล่านั้นไม่เห็นและไม่รู้ตัว (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 33) 4. เชื่อน้ ามนต์ หลงเชื่อตาม มาจากการใช้น้ ามนต์ทางลัทธิไสย ศาสตร์ให้เกิดผลดีต่าง ๆ โดยเชื่อว่าการ อาบน้ ามนต์ รดน้ ามนต์ จะเป็นศิริมงคล ต่อตนเอง เช่น ช่วยให้พ้นจากเคราะห์ ร้อย หายป่วยจากโรคภัยไข้เจ็บหรือถ้า ได้ดื่นน้ ามนต์ สิ่งชั่วร้ายที่อยู่ในตัวจะ


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา หายไป เช่น ถ้าท าคุณไสยท าของใส่ตัว โดยเสน่ห์ยาแฝด ก็จะหายจากสิ่งแหล่า นี้เพ ร าะเชื่อ ว่ าน้ ามนต์นั้นเป็นสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ เป็นมงคลเมื่อรดน้ ามนต์แล้ว สิ่งที่ไม่ดีต่าง ๆ หายไป (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 24) 5. แช่งชักหักกระดูก แช่งด่ามุ่งร้ายให้ผู้อื่นได้รับ อันตรายร้ายแรง คนโบราณที่ใช้วิธีทางไสยศาสตร์ในการ สาบคนให้เกิดอันตราย (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 29) 6. อมพระมาพูด ไม่น่าเชื่อถือ, เชื่อถือไม่ได้ ที่มาของส านวนพระในส่วนนี้ หมายถึง พระเครื่องคือพระพุทธรูปองค์เล็ก ๆ ที่ นิยมใช้เป็นเครื่องรางของขลัง เพื่อให้ อยู่ยงคงกระพัน เมตตามห านิยม มหาละลวย มหาเสน่ห์ เป็นต้น เราใช้ แขวนคอ บางทีก็ใช้อม โดยเชื่อถือว่า พระนั้นจะให้คุณ ป้องกันอันตรายได้ และท าอะไรก็จะเป็นส าเร็จ อมพระมา พูด หมายถึงว่า ต่อให้อมพระมาพูดก็ไม่ เชื่อถือตามค าพูด เป็นส านวนปรามาส แสดงว่าพูดอย่างไรก็ไม่เชื่อ (ยมนา ทอง ใบ, 2550, หน้า 27) 7. หงส์ร่อนมังกรร า พิธีทางไสยศาสตร์ที่ท าให้ผัว หลงรักสองพิธีคือ หงส์ร่อน มังกรร า ที่มาของส านวนคือ หงส์ร่อน เป็นพิธี ทางไสยศาสตร์ที่ประกอบขึ้นเพื่อให้ สามีหลงรักโดยวิธีการท าคือ นั่งคร่อม หม้อข้าวที่พึ่งหุงเสร็จสุกใหม่ ๆ ให้ไอ ร้อนของข้าวถั่วขึ้นมาถูกบริเวณอวัยวะ เพศและเกิดเป็นเหงื่อหยดลงไปใส่ข้าว แล้วน าไปให้สามีรับประทาน เมื่อสามี ทานอาหารเข้าไปก็จะเกิดหลงรักจนลืม หญิงอื่น ๆ หมด ส่วน มังกรร า นั้นเป็น พิธีอีกอย่างหนึ่งที่ท าให้สามีรักเช่นกัน วิธีการท า คือ เมื่อเวลาอาบน้ าในอ่างจะ เก็บขี้ไคลก้นอ่างเอาไว้จนครบเจ็ดวัน แล้วเอาไปท าพิธีเสกด้วยคาถาและ ประสมด้วยสิ่งอื่น ๆ อีกหลายชนิดแล้ว ป่นให้เป็นผง เมื่อจะยกไปให้สามีทาน (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 38-39)


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา 8. ร้อนวิชา เกิดความเร่าร้อนเนื่องจาก คาถาอาคมจนอยู่ไม่เป็นปกติ, เร่าร้อนอยากจะแสดงวิชา ความรู้พิเศษหรือคาถาอาคมจน ผิดปกติ ที่มาจของส านวนมาจากคติความเชื่อ ที่ว่า คนที่มีวิชาแก่กล้านั้นมักจะท า อะไรแปลก ๆ ผิดจากคนทั่ว ๆ ไป เช่น คนปกติทั่วไปเขานั่งในที่ร่ม เพราะไม่มี ใครจะนั่งตากแดดทนความร้อนของ แสงอาทิตย์ แต่คนที่มีวิชากลับไปนั่ง ตากแดดอยู่คนเดียว เป็นต้น 9. ลิ้นทอง พูดจาคล่องแคล่วไพเราะน่าฟัง มาจากยันต์ชนิดหนึ่ง เรียกว่า ยันต์ สาลิกา ส าหรับลงตะกรุด มีคาถาว่า สาลิกา กิ คาวคาวเอหิ ตะกรุดสากิกา มักท าด้วยทองเป็นแผ่นเล็ก ๆ ใส่อมไว้ ในปาก เรียกว่า สาลิกาลิ้นทอง เชื่อว่า เวลาพูดจาจะท าให้เกิดความนิยมรัก ใคร่ชื่นชอบ นอกจากนี้ค าว่าสาลิกา มา จากชื่อนกชนิดหนึ่งเป็นนกที่พูดเก่งมาก ดังนั้นค าว่า ลิ้นทอง เมื่อน ามาใช้ใน ส านวน จึงหมายความว่า พูดเก่ง พูดดี พูดในสิ่งใดก็มีแต่คนเชื่อ (ยมนา ทองใบ , 2550, หน้า 26) 10 ไวเป็นปรอท ไวมากจนจับไม่ทัน มาจากปรอทซึ่งเป็นโลหะชนิดเดียวที่ เป็ น ข อง เห ล ว เ ค ลื่ นไห วไ ด้ อ ย่ าง คล่องแคล่วรวดเร็ว ดังนั้นเมื่อสิ่งใดที่มี ความเคลื่อนไหวรวดเร็วมากจนจับตาดู แทบไม่ทัน จึงน ามาเปรียบเทียบกับ ปรอทที่มีความไวในการเคลื่อนไหวว่า ไวยังกับปรอท เนื่องจากปรอท เป็น สารเคมีที่มีลักษณะเหลวเลื่อนไหลไม่อยู่ กับที่ เคลื่อนไหวตัวได้เร็วมาก คน โบราณเชื่อว่าศักดิ์สิทธิ์ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 26) 11. สั่นเป็นเจ้าเข้า หนาวสั่นมาก มาจากพิธีทางไสยศาสตร์ คือพิธีเชิญ เจ้าให้มาเข้าสิงคนทรง ผู้ที่จะให้ผีหรือ เจ้ามาเข้าสิงซึ่งเรียกว่าคนทรงนั้น จะต้องแต่งกายสะอาดนุ่งขาวห่มขาว มี ผ้าขาวม้าปูรองนั่งเครื่องประกอบที่ใช้ ในพิธีมี ข้าวตอก ดอกไม้ ธูปเทียน หมากพลูเป็นเครื่องบูชา แต่ถ้าทราบว่า


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา เจ้าองค์ใดชอบอะไรก่อนแล้วจะต้องจัด มาให้ครอบเช่น เหล้า ไก่ต้ม หัวหมูต้ม จัดตั้งบูชาให้เรียบร้อย (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 38) 12. ตัดไม้ข่มนาม ข่มขวัญให้เกรงกลัว มาจากความเชื่อเกี่ยวกับพิธีทางไสย ศาสตร์เพื่อเอาชนะข้าศึกโดยก่อนออก สงคราม จะประกอบพิธีตัดไม้ข่มนาม ซึ่งวิธีการท า คือ ตัดไม้ที่มีชื่อร่วมอักษร หรือส าเนียงคล้ายกับชื่อข้าศึกมาเข้าพิธี โดยสมมุติให้ไม้นั้นเป็นข้าศึกแล้วใช้พระ แสอาญาสิทธิ์ฟันให้ขาดแล้วเดินทัพข้าม ไปเพื่อหมายถึงเป็นการได้ชัยชนะจาก ศัตรูและเป็นการสร้างขวัญก าลังใจ ให้กับทหาร (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 29) 13. เผาพริกเผาเกลือแช่ง โกรธเคืองใครแล้วท าให้สาแก่ใจ ด้วยการเอาพริกเกลือมาเผา สาปแช่งให้เป็นไปต่าง ๆ นานา มาจากความเชื่อในการสาปแช่งคนที่ตน เกลียดชังว่า ถ้าจะให้ค าแช่งได้ผล รุนแรงห รือค าสาปแช่ง ๆ นั้นเกิด ผลสัมฤทธิ์ขึ้นมาจริง ๆ ต้องเอาพริกเอา เกลือมาเผาด้วย เพื่อให้ผู้ที่ถูกแช่งนั้น นอกเหนือจากจะได้รับผลร้ายจากสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ ผีสาง เทวดาที่บันดาลให้ เป็นไปตามค าแช่งแล้วยังมีทั้งความปวด แสบ ทุกข์ร้อนทรมานอีก (ยมนา ทอง ใบ, 2550, หน้า 62) 14. ยกเมฆ นึกเดาเอาเอง, กุเรื่องขึ้น มาจาก ความเชื่อทางไสยศาสตร์ในการ ดูเมฆ ดูรูปร่างลักษณะของเมฆเพื่อจะดู นิมิตดีร้ายในการกระท ากิจกรรมส าคัญ ๆ เช่น การยกทัพ ถ้าเห็นเมฆเป็นรูป พระนารายณ์ก็ถือว่าเป็นนิมิตที่ดี ควร ยกทัพได้ แต่ถ้าฤกษ์ยกทัพเกิดเป็นรูป เมรุเผาศพ ทายว่า ถ้ายกทัพไปรบกับ ข้าศึกก็จะถูกข้าศึกตีแตกพ่าย ไพร่พลก็ จะล้มตายกันหมด(ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 35)


6) ความเชื่อเกี่ยวกับชาติภพ จ านวน 4 ส านวน ได้แก่ ส านวนไทย ความหมาย ที่มา 1. คู่สร้างคู่สม ผู้ที่เคยสร้างบุญคุณร่วมกันมา, ผู้ที่มีหลักธรรมของคู่ชีวิต สอดคล้องกลมกลืนกัน ม าจ ากคติค ว ามเชื่อของไทยท าง พระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการสร้างบุญ สร้ างกุศล ร่วมกันมาของชายหญิง เช่นเดียวกับส านวน คู่แล้วไม่แคล้ว คลาด โดยเชื่อว่า คนที่รักกัน เป็นเนื้อคู่ กัน ต้องเป็นคู่สร้างคู่สมกันมาก่อนคือ ทั้งคู่เคยอยู่ร่วมกันมาและสร้างบุญ บารมีมา ด้วยกันในอดีตชาติ ชาตินี้จึง ได้มาเป็นคู่กันอีก เหมือนเป็นคู่ที่ถูก สร้างขึ้นมาให้มีความเหมาะสม (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 85) 2. ชาติหน้าตอนบ่าย ๆ ไม่มีทางเป็นไปได้ มาจากความเชื่อในเรื่องชาติภพ เชื่อกัน ว่า มนุษย์และสิ่งมีชีวิตมีการเวียนว่าย ตายเกิด ดังนั้น จึงมีชาติปางก่อน ชาตินี้ และชาติหน้า คติไทยเชื่อกันว่าเมื่อเรา มาเกิดในชาตินี้ก็เกี่ยวเนื่องมาจากผล แห่งบุญกรรมที่เคยท าไว้ในชาติที่แล้ว ใครท าดีไว้ ชาตินี้ก็ได้เสวยผลกรรมดีนั้น ใครท าชั่วไว้ก็ได้รับผลกรรมชั่วนั้นตอบ แทนเช่นกัน และในชาตินี้เมื่อสร้างบุญ กรรมไว้ ก็จะส่งผลต่อไปในภายชาติภพ หน้าด้วย เหตุนี้ผู้ที่เชื่อในเรื่องบุญกรรม จึงมักท าบุญให้ทานเสมอเพื่อหวังผลใน ชาติหน้า ซึ่งชาติหน้านั้นเราก็ไม่อาจ ล่วงรู้ได้ว่ามีจริงหรือไม่ จึงน ามาใช้เป็น ส านวนว่า ชาติหน้าตอนบ่ายๆ หมายถึง ไม่มีทางจะเป็นไปได้ (ยมนา ทองใบ, 2550 , หน้า 79) 3. เก็บดอกไม้ร่วมต้น เคยท าบุญร่วมกันมาแต่ก่อน มาจากความเชื่อเรื่องบุพเพสันนิวาส หรือเรื่องอดีตชาติ คนไทยเชื่อว่ามีชาติ ที่แล้ว ชาตินี้ และชาติหน้า ความ เป็นไปในปัจจุบัน เช่น ฐานะ อาชีพ คู่รัก ก็เพราะเป็นผลมาจากอดีตชาติ (วีระพงศ์ มีสถาน, 2536, หน้า 48)


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา 4. เอาปูนหมายหัว ผูกอาฆาตไว้, คาดโทษไว้, เชื่อ แน่ว่าจะเป็นไปตามที่คาดหมาย ไว้ มาจากประเพณีคลอดบุตรของไทย โบราณมีว่า ถ้าเด็กคลอดออก มาแล้ว เสียชีวิต หมอต าแยหรือผู้ใหญ่จะเอาปูน หรือมินหม้อแต้มไว้ ทั้งนี้เพื่อว่าถ้า คลอดบุตรคนใหม่ มีปานแดง หรือปาน ด าติดตัวมา ก็จะรู้ว่าบุตรที่ตายนั้นมา เกิดใหม่ แต่บางทีเด็กที่เกิดมาใหม่ หมอ ต า แ ย ก็ เ อ า ปู น ห รื อ มิ น ห ม้ อ แ ต้ ม หน้าผากไว้ อาจจะเป็นเคล็ดหรือเป็น วิธีการของหมอ ต าแยอย่างหนึ่งในการ ท าคลอดเด็กแล้วเด็กรอดชีวิตก็ได้ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 70) 7) ความเชื่อเกี่ยวกับดวงชะตา โหราศาสตร์จ านวน 3 ส านวน ได้แก่ ส านวนไทย ความหมาย ที่มา 1. ตกฟาก เวลาที่เด็กออกพ้นครรภ์มารดา, ลักษณะค าพูดเถียงค าไม่หยุด ปาก มาจากบ้านเรือนสมัยก่อนจะท าพื้นเป็น ฟาก ซึ่งในสมัยก่อนเมื่อคลอดลูกก็ มักจะมีหมอต าแยท าคลอดให้ที่บ้าน ไม่ได้ไปคลอดที่โรงพยาบาลเหมือน อย่างในปัจจุบัน ขณะที่ทารกคลอด ออกมาจากท้องแม่ก็ย่อมมีฟากซึ่งเป็น พื้นบ้านเป็นที่รองรับ จึงเกิดส านวนว่า ตกฟาก (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 74) 2. พระศุกร์เข้าพระเสาร์ แทรก ความทุกข์ยากล าบากที่เกิดซ้อน ๆ เข้ามาในลักษณะเดียวกัน มาจากความเชื่อด้านโหราศาสตร์ หมอ ดูที่ท านายดวงชะตาให้ผู้อื่นนั้น มักจะดู ดาวแล้วก็อาศัยสถิติการเดินทางของ ดวงดาวที่มีผลต่อชีวิตมนุษย์ที่เกิดในวัน นั้ น เ ว ล า นั้ น ส ถ าน ที่นั้ น ม า เป็ น เครื่องมือพยากรณ์อดีต ปัจจุบันและ อนาคต ให้กับผู้นั้น ดาวที่เดินอยู่ตาม ราศีต่าง ๆ ได้แก่ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ซึ่งตาม ดาวของบุคคลนั้นจะมีช่วงเวลาหนึ่งที่ เรียกว่า เป็นช่วงพระศุกร์เข้าพระเสาร์ แทรก หมายถึง ช่วงเวลาที่ดาวพระศุกร์ และดาวพระเสาร์โคจรมาอยู่ในมุมที่ส่ง


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา อิทธิพลต่อบุคคลผู้นั้นโดยตรง มักท าให้ เกิดเคราะห์ร้ายต่าง ๆ ขึ้นพร้อม ๆ กัน หลายอย่าง (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 75) 3. ไม้ล้มข้ามได้ คนล้มอย่า ข้าม ไม้ที่โค่นล้มลงไปแล้ว เรา สามารถเดินข้ามได้ เพราะมันไม่ อาจตั้งขึ้นอีก แต่คนล้ม ห้าม ข้าม เพราะอาจหยัดยืนขึ้นมา ใหม่ได้อีก, อย่าดูหมิ่นซ้ าเติมคน ล้มเพราะเขาอาจกลับมามั่งมี หรือมีอ านาจได้อีก มาจากไม้ล้มนั้นสามารถข้ามไม้นั้นไปได้ เพราะเมื่อไม้ล้มแล้วก็ถือว่าเป็นอัน สิ้นสุดไม่มีทางที่จะท าให้ต้นไม้นั้น กลับมาตั้งเป็นต้นไม้ใหม่ได้อีก คนล้ม หมายถึง คนหมดอ านาจวาสนา ต้อง ตกต่ าโดยเป็นไปเองตามโชคชะตา ไม่ใช่ เพราะความทุจริตคดโกง คนล้มต้องตก อับอย่างนี้อย่าข้าม ซึ่งหมายความว่า อย่าดูถูกดูหมิ่นเหยียดหยาม เพราะวัน ข้างหน้าบุคคลนั้นอาจจะได้ดีมีบุญ วาสนาขึ้นอีกได้ เพราะคติไทยเชื่อว่าใน ชีวิตช่วงหนึ่งของคนเราอาจจะมีช่วง ชะตาชีวิตที่ตกต่ า ต้องตกอับแต่ชีวิตก็ ไม่ได้จะด าเนินอย่างนี้ไปตลอดเพราะ เมื่อหมดช่วงชีวิตที่ตกต่ า ก็อาจจะมีบุญ ว า ส น า น า พ า ใ ห้ ชี วิ ต ก ลั บ ม า เจริญรุ่งเรืองได้ ดังนั้นเมื่อคนล้มคือ บุคคลที่มีช่วงชีวิตที่ตกอับจึงไม่ควรดู หมิ่นเหยียดหยามเขาเพราะต่อไปใน ภายภาคหน้าเขาอาจจะกลับมามีชีวิตที่ สุขสบาย มีแต่ความรุ่งเรืองได้เช่นกัน (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 76) 8) ความเชื่อเกี่ยวกับสัตว์จ านวน 4 ส านวน ได้แก่ ส านวนไทย ความหมาย ที่มา 1. จิ้งจกทัก เสียงทักท้วง, ค าตักเตือน มาจากความเชื่อของชาวไทยแต่โบราณ เชื่อว่า ยามจะเดินออกจากบ้าน หากได้ ยินเสียงจิ้งจกร้อง ถือว่าเป็นลางไม่ดี ต้องไม่เดินทาง ความเชื่อนี้ปรากฏเป็น ส าน ว น แ ม้ จิ้ง จ กทั ก ยัง ต้ องฟัง มี ความหมายว่า เมื่อมีการทักท้วงขึ้นมาก็ ให้ฟังดู คิดดู อย่าประมาท การฟังเสียง ร้องของจิ้งจกนี้ในต าราโบราณกล่าวไว้


ส านวนไทย ความหมาย ที่มา ว่าถ้าจิ้งจกร้องทักอยู่ด้านหน้าให้เร่งไป หรือท ากิจนั้นโดยเร็วจะมีชัย ถ้าจิ้งจก ร้องทักอยู่ข้างหลังไปจะได้ทุกข์ ถ้า จิ้งจกร้องทักอยู่ทางซ้ายจะมีชัย ถ้า จิ้งจกร้องทักอยู่ทางขวาจะได้รับทุกข์ โทษ ถ้าจิ้งจกอยู่ด้านบนอย่าเดินทาง เป็นอันขาดอันตรายมาก ถ้าจิ้งจกไต่บน เท้าจะพบโชคชัย ถ้าจิ้งจกตกใส่ศีรษะ โดยบังเอิญจะได้รับโชคลาภ (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 67) 2. ตัดหางปล่อยวัด ตัดขาดไม่เกี่ยวข้อง ไม่เอาเป็น ธุระ ที่มาจากไก่ โดยเชื่อว่า ไก่พันธ์พื้นเมือง หรือไก่นั้นปกติจะมีสีด าแต่หากมีไก่ขาว ขึ้นมา ถือว่าเป็นไก่กาหรือกาลกิณี ถ้า เลี้ยงไว้ก็จะน าแต่โชคร้ายมาให้ ต้อง น าไปปล่อยที่วัดให้เป็นไก่วัดไป ก่อนที่ จะน าไก่กาลีหรือกาลกิณีไปปล่อยวัดนั้น ต้องตัดหางมันออกเสียก่อน จึงเรียกว่า ตัดหางปล่อยวัด (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 100) 3. ตัวเงินตัวทอง สิ่งไม่ดี ความอัปมงคล จ า ก สั ต ว์ ที่ มี ชื่ อ ว่ า เ หี้ ย เ หี้ ย เ ป็ น สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง มีลักษณะ คล้ายจระเข้ แต่มีขนาดเล็กกว่า เชื่อกัน ว่า เป็นสัตว์อัปมงคล ขึ้นบ้านใครก็ต้อง ท าพิธีล้างซวย หรือไล่ซวยและการพูด ค าว่า เหี้ย ก็ไม่เป็นมงคล เพื่อเป็นการ แ ก้ เ ค ล็ ด จึง เ รี ยก สั ต ว์ ช นิ ด นี้ ว่ า ตัวเงินตัวทอง เพื่อให้ฟังดูเป็นมงคล (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 100) 4. พรากลูกนกฉกลูกกา ท าให้ลูกพลัดพรากจากพ่อแม่ มาจากความเชื่อว่าใครที่เคยพรากลูก นกลูกกามาจากแม่ของมัน พรากมา จากรังของมันในชาติที่แล้วในชาตินี้ที่ พ่อแม่ต้องแยกกันอยู่กับลูก มีความ จ าเป็นที่จะต้องน าลูกไปให้ผู้อื่นเลี้ยง แทน เพราะเป็นผลมาจากการท าบาป ไว้ใน ชาติก่อนที่เคยพรากลูกนกลูก กามาจากรัง มาจากแม่ของมัน (ยมนา ทองใบ, 2550, หน้า 101)


ภาพประกอบส านวนที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อ แบ่งออกเป็น 8 ประเภท 1. ความเชื่อเกี่ยวกับศาสนา 1.1 คว่ าบาตร ภาพจาก https://m.pantip.com ภาพการคว่ าบาตรนี้มาจากส านวน “คว่ าบาตร” ซึ่งหมายถึง ตัดออกจากสมาคมหรือไม่คบค้า สมาคมด้วย โดยมีเหตุมาจากการที่พระสงฆ์ลงโทษคฤหัสถ์ผู้ประทุษร้ายต่อศาสนาโดยประกาศให้ภิกษุทั้งหลาย ไม่คบด้วย คือ ไม่รับบิณฑบาต ไม่รับนิมนต์ จึงเป็นที่มาของส านวนนี้ 1.2 ปิดทองหลังพระ ภาพจาก https://www.thaismescenter.com ภาพคนปิดทองหลังพระนี้มาจากส านวน “ปิดทองหลังพระ” ซึ่งหมายถึง ท าความดีแต่ไม่ได้ รับการยกย่องเพราะไม่มีใครเห็นคุณค่า โดยมีเหตุมาจากการปิดทองด้านหลังพระพุทธรูปที่โดยปกติแล้วเมื่อ ผู้คนมาท าบุญสักการะพระพุทธรูปเสร็จแล้วก็จะน าแผ่นทองไปปิดแต่เพียงด้านหน้าไม่มีใครปิดทองหลังพระ เลยท าให้พระพุทธรูปงดงามแต่เพียงด้านเดียว จึงเกิดการเปรียบเทียบกับการท าความดีว่าท าดีแล้วไม่มีใครรับรู้ จึงเป็นที่มาของส านวนนี้


1.3 ขนทรายเข้าวัด ภาพจาก https://www.winnews.com ภาพผู้คนขนทรายเพื่อก่อเจดีย์ทรายในประเพณีสงกรานต์นี้มาจากส านวน “ขนทรายเข้าวัด” ซึ่งหมายถึง การท าประโยชน์ต่อส่วนรวม โดยมีเหตุมาจากการที่ในอดีตวัดส่วนใหญ่จะมีบริเวณที่เป็นพื้นทราย เมื่อมีศาสนิกชนมาท าบุญหรือท าธุระต่าง ๆ ที่วัดตอนขากลับอาจมีทรายติดเท้าออกนอกวัดไปได้ซึ่งมีความเชื่อ กันว่าจะเป็นการติดหนี้สงฆ์จึงได้มีประเพณีขนทรายเข้าวัดเพื่อให้ชาวบ้านได้น าทรายมาคืน จึงเป็นที่มาของ ส านวนนี้ 1.4 ชายผ้าเหลือง ภาพจาก https://www.mumpak.blogspot.com ภาพคนจับชายผ้าเหลืองนี้มาจากส านวน “ชายผ้าเหลือง” ซึ่งหมายถึง ผลดีของการบวชบุตร หลานโดยมีเหตุมาจากเรื่องเล่าของสุบินที่มีพ่อแม่เป็นคนบาปโดยสุบินได้บวชเป็นเณรเพื่อให้แม่พ้นบาป และ บวชเป็นพระ เพื่อให้พ่อพ้นบาปส านวนนี้มักใช้กับบิดามารดาที่มีบุตรชายได้บวชให้บิดามารดาเชื่อกันว่า บิดา มารดาได้บุญอย่างประเสริฐ โบราณเชื่อกันว่า บวชเณรจะได้แก่มารดา บวชพระจะได้แก่บิดาจึงเป็นที่มาของ ส านวนนี้


1.5 ตักบาตรอย่าถามพระ ภาพจาก https://www.2.nstru.ac.th ภาพประเพณีการตักบาตรตามจิตศรัทธาของผู้คนมาจากส านวน “ตักบาตรอย่าถามพระ” ซึ่งหมายถึง จะให้สิ่งของแก่ผู้ที่เต็มใจรับอยู่ โดยมีเหตุมาจากพระสงฆ์สมัยโบราณจะถือพระธรรมะวินัย เคร่งครัดมากว่าอย่ายึดติดกับรสชาติจึงมีการห้ามถามและได้น ามาตั้งเป็นสุภาษิตในหลักการตักบาตรตามหลัก พระพุทธศาสนา จึงเป็นที่มาของส านวนนี้ 1.6 กรวดน้ าคว่ าขัน ภาพจาก https://www.twitert.com ภาพการกรวดน้ าที่มีลักษณะการคว่ าภาชนะนี้นั้นมาจากส านวน “กรวดน้ าคว่ าขัน” ซึ่งหมายถึง ตัดขาดไม่คบหาสมาคมกันต่อไป โดยมีเหตุมาจากการรินน้ าจากภาชนะด้วยความปรารถนาอย่าง ใดอย่างหนึ่ง ส่วนคว่ าขันเป็นกริยาที่ท าหลังจากเทน้ าเสร็จแล้ว จึงน ามาเปรียบเทียบกับการตัดความสัมพันธ์ กับผู้คนที่ต้องการให้จบสิ้นกันกันไปหลังจากเทน้ า จึงเป็นที่มาของส านวนนี้


2. ความเชื่อเกี่ยวกับเวรกรรม บาปบุญ นรกสวรรค์ 2.1 สิ้นบุญ ภาพจาก https://kalyanamitra.org/th/article_detail.php?i=8930 ภาพเปรียบเทียบการเสียชีวิตมาจากส านวน “สิ้นบุญ” ซึ่งหมายถึง ตาย โดยมีเหตุมาจาก ความเชื่อเรื่องบาปบุญ เมื่อได้เกิดเป็นมนุษย์ถือว่าเป็นผู้มีบุญมาก หากได้เสียชีวิตลงจึงเรียกว่า หมดบุญที่ได้ เกิดเป็นมนุษย์หรือสิ้นบุญลงแล้ว จึงเป็นที่มาของส านวนนี้ 2.2 กงเกวียนก าเกวียน ภาพจาก https://www.misc.today.com ภาพวงล้อของเกวียนมาจากส านวน “กงเกวียนก าเกวียน” ซึ่งหมายถึง กรรมตามสนอง เวร ตามสนองผู้กระท า โดยมีเหตุมาจากเกวียนเป็นพาหนะที่ใช้กันทั่วไปในสมัยก่อน กงเกวียนเป็นส่วนรอบล้อ เกวียน ก าเกวียนเป็นซี่ล้อมีดุมเป็นส่วนกลางของล้อที่มีรูส าหรับสอดเพลา เมื่อกงเกวียนหมุนไปทางใด ก าเกวียนก็หมุนไปด้วย ใช้เปรียบกับการกระท าของมนุษย์ ว่าผู้ใดท ากรรมอย่างใดไว้ย่อมได้รับผลกรรมนั้น จึงเป็นที่มาของส านวนนี้


2.3 เห็นกรงจักรเป็นดอกบัว ภาพจาก https://www.tartoh.com รูปภาพคนที่มองเห็นกรงจักรและดอกบัวนี้มาจากส านวน “เห็นกรงจักรเป็นดอกบัว” ซึ่ง หมายถึง เห็นผิดเป็นชอบ โดยมีเหตุมาจากนิทานชาดก มิตวินทุกะ เป็นผู้มีบาปหนา เมื่อจะได้รับโทษตาม กรรมก็มองเห็นกงจักรบนหัวเปรตตนหนึ่งว่าเป็นดอกบัว จึงขอมาใส่บนหัวตนเอง ท าให้ได้รับทุกข์ทรมานจาก กงจักรที่หมุนบาดหัวอยู่ตลอดเวลา ชาดกนี้จึงเป็นที่มาของส านวนนี้ 2.4 แข่งเรือแข่งพายแข่งได้ แข่งบุญแข่งวาสนาแข่งไม่ได้ ภาพจาก https://www.google sites.com ภาพกิจกรรมการแข่งเรือนี้มาจากส านวน “แข่งเรือแข่งพายแข่งได้ แข่งบุญแข่งวาสนาแข่ง ไม่ได้” ซึ่งหมายถึง แข่งขันเพื่อเอาชนะกันทางกายนั้นได้ แต่กับเรื่องของบุญความดีงามที่ส่งผลให้คนสูงส่งนั้น แข่งไม่ได้ โดยมีเหตุมาจากความเชื่อเรื่องบุญวาสนาของแต่ละคนว่าไม่เท่ากัน เป็นผลของการท าบุญไว้มากใน ชาติก่อน ส่งผลให้มีวาสนาดีในชาตินี้ จึงใช้เปรียบว่า แข่งอะไรก็แข่งได้ แต่แข่งบุญวาสนาที่ท ามาแต่ชาติก่อน ของแต่ละคนนั้นไม่เท่ากัน ย่อมแข่งกันไม่ได้ จึงเป็นที่มาของส านวนนี้


2.5 ตกกระทะทองแดง ภาพจาก https://www.linetoday.com ภาพผู้คนที่อยูในกระทะทองแดงมาจากส านวน “ ตกกระทะทองแดง” ซึ่งหมายถึง ได้รับโทษ ทัณฑ์ในนรก โดยมีเหตุมาจากความเชื่อของคนไทยเกี่ยวกับเรื่องนรก ซึ่งในหนังสือไตรภูมิพระร่วงได้กล่าวถึง ขุมนรกที่ชื่อสัญชีพ นรกบ่าวใน 16 ขุมนั้นมีนรกบ่าวขุมหนึ่งชื่อว่าโลกกุมภีนรก เป็นนรกที่มีหม้อเหล็กแดง ขนาดใหญ่เท่ากับภูเขาลูกใหญ่ ๆ อยู่ ผู้ที่ตกนรกในขุมนี้ยมบาลจะจับเท้าทั้งสองข้างของผู้นั้นยกขึ้นมาแล้ว หย่อนหัวลงเบื้องล่าง แล้วพุ่งตัวผู้นั้นลงไปในหม้อใหญ่ที่มีเหล็กแดงหลอมละลายเป็นน้ าอยู่ ดิ้นไปมาอยู่ในหม้อ ใหญ่นี้อย่างทุกขเวทนา และถูกกระท าให้ทุกข์ทรมานอย่างนี้หลายครั้งหลายคราจนกว่าจะสิ้นเวร จึงเป็นที่มา ของส านวนนี้ 2.6 ท าคุณบูชาโทษ ภาพจาก https://www.Dogillie.com ภาพสุนัขกัดเจ้าของมาจากส านวน “ ท าคุณบูชาโทษ” ซึ่งหมายถึง ท าคุณแต่กลับเป็นโทษ ท าดีแต่กลับเป็นร้าย โดยมีเหตุมาจากความเชื่อเรื่องผลของการกระท า แต่ในที่นี้เป็นการโปรดสัตว์ที่ไม่รู้จัก บุญคุณเหมือนคน เมื่อท าดีด้วยแล้ว แต่ไม่ได้รับผลดีตอบแทน กลับได้สิ่งที่ไม่ดีกระท าตอบกลับมา จึงเป็นที่มา ของส านวนนี้


3. ความเชื่อเกี่ยวกับวิญญาณ ภูตผี ปีศาจ 3.1 กระสือดูด ภาพจาก https://board.postjung.com/959946 ส านวน “กระสือดูด” มาจากความเชื่อที่คนโบราณเชื่อกันว่าผีกระสือจะออกหากินในเวลา กลางคืน เชื่อกันว่าถ้าของอะไรในบ้านที่เป็นอาหารมีลักษณะผิดปรกติเชื่อกันว่ากระสือมากิน เนื่องจากผี กระสือเที่ยวหากินของในเวลากลางคืนท าให้ของนั้นเสีย ดังนั้นของอะไรที่เหี่ยวแห้งผิดปรกติหรือซูบลงไปจึง เรียกว่า กระสือดูด จึงเกิดเป็นส านวน“กระสือดูด” ซึ่งหมายถึง ผลไม้ที่เหี่ยวแห้งซูบผิดปกติ 3.2 ผีไม่มีศาล ภาพจาก https://www.matichon.co.th/prachachuen/news 3007797 ส านวน “ผีไม่มีศาล” มาจากความเชื่อเรื่องผีที่ไม่มีที่สิงสถิต ไม่มีบ้านอยู่ และเร่ร่อนไปเรื่อย ๆ จึงเกิดเป็นส านวน “ผีไม่มีศาล” ซึ่งหมายถึง ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง


3.3 กระดูกร้องได้ ภาพจาก www.mebmarket.com/index.php ส านวน “กระดูกร้องได้” มาจากกระดูกของผู้ตายที่ถูกฆาตกรรม โดยที่ผู้ร้ายไม่ได้ทิ้งหลักฐาน ร่องรอยใด ๆ ไว้ท าให้ไม่สามารถจับคนร้ายมาลงโทษได้ แต่ในที่สุดผู้ร้ายก็ถูกต ารวจจับได้เหมือนกับว่ากระดูก ของผู้ตายบอกร่องรอยเพื่อร้องขอความเป็นธรรม จึงน ามาใช้เป็นส านวนในการเปรียบเทียบถึงผู้ร้ายที่ฆ่าคน ตายโดยไม่ทิ้งหลักฐานไว้แต่ก็ถูกต ารวจจับได้ จึงเกิดเป็นส านวน “กระดูกร้องได้” ซึ่งหมายถึง ผลสะท้อนของ ฆาตกรรมที่ท าให้จับตัวผู้กระท าผิดมาลงโทษได้คล้ายกับว่ากระดูกของผู้ตายร้องบอก 3.4 น่าเกลียดน่าชัง ภาพจาก https://thaiza.com/horoscope/belief/289158 ส านวน “น่าเกลียดน่าชัง” มาจากเวลาที่ผู้ใหญ่จะพูดชมเด็กเล็ก ๆ วัยขวบ สองขวบนั้นมัก พูดว่าน่าเกลียดน่าชัง เนื่องจากคนไทยโบราณมีคติความเชื่อกันว่าภูตผีปีศาจมีอยู่ทั่วไป เหมือนกับที่มีคนอยู่ ทั่วไปแต่ต่างกันตรงที่เรามองไม่เห็นภูตผีเหล่านั้น และเมื่อมีเด็กเล็ก ๆ ที่เป็นทารกน่ารัก ๆ หากมีคนชมเด็กว่า น่ารักน่าเอ็นดู เมื่อผีได้ยินก็จะมาเอาเด็กคนนั้นไปอยู่ด้วย นั่นคือ อาจเป็นเหตุให้เด็กคนนั้นล้มเจ็บและตายได้ จึงเกิดส านวน “น่าเกลียดน่าชัง” ซึ่งหมายถึง น่ารักน่าเอ็นดู


4. ความเชื่อเกี่ยวกับอ านาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ 4.1 แก้บน ภาพจาก https://www.horolive.com/6329 ส านวน “แก้บน” มาจากการบอกถ้าหากได้ในสิ่งที่ต้องการ ก็จะน าของมาถวายแก่เจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ของที่น ามาถวายนั้นเป็นของที่เจ้า ผี หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ชอบ เช่น หัวหมู ไก่ต้ม ปะทัด ดอกไม้ เป็นต้น จึงเกิดส านวน “แก้บน” ซึ่งหมายถึง การเซ่นสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ตนได้บนบานไว้ 4.2 บนข้าวผีตีข้าวพระ ภาพจาก https://www.chularat304inter.com/news_detail.php?id=165 ส านวน “บนข้าวผีตีข้าวพระ” มาจากการขอร้องให้ผีสางเทวดาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยเหลือโดย จะแก้บนเมื่อส าเร็จดั่งความประสงค์ จึงเกิดเป็นส านวน “บนข้าวผีตีข้าวพระ” ซึ่งหมายถึง การขอร้องให้ผีสาง เทวดาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยเหลือโดยจะแก้บนเมื่อส าเร็จประสงค์


4.3 บนบานศาลกล่าว ภาพจาก https://www.chularat304inter.com/news_detail.php?id=165 ส านวน “บนบานศาลกล่าว” มาจากการกล่าวบนบานต่อศาล เช่น ศาลพระภูมิ ศาลเจ้า เพื่อขอสิ่งที่ต้องการ อาทิ ขอให้สอบผ่าน ขอให้ถูกหวย ขอให้ประสบความส าเร็จในชีวิต เป็นต้น จึงเกิดเป็น ส านวน “บนบานศาลกล่าว” ซึ่งหมายถึง การขอร้องต่อสิ่งศักดิ์ให้ช่วยเหลือ 4.4 พระอินทร์มาเขียว ๆ ภาพจาก https://www.khaosod.co.th/newspaper-column/amulets/news_1329939 ส านวน “พระอินทร์มาเขียว ๆ” มาจากนิทานนิยายของไทยนั้นมักมีพระอินทร์เข้ามา เกี่ยวข้องอยู่มากมีเรื่องส าคัญ ๆ อะไรเกิดขึ้นก็ร้อนถึงพระอินทร์ลงมาช่วยเป็นที่เชื่อถือกัน พระอินทร์นั้นเป็น เทวดาชั้นผู้ใหญ่ในสวรรค์เป็นที่นับหน้าถือตาของพวกชาวสวรรค์เพราะจะมีอิทธิฤทธิ์และมีฤทธิ์เดช จึงเกิดเป็น ส านวน “พระอินทร์มาเขียว ๆ” ซึ่งหมายถึง การไม่เชื่อถือ


5. ความเชื่อเกี่ยวกับเครื่องรางของขลัง เวทมนตร์ และไสยศาสตร์ 5.1 แก้วสารพัดนึก ภาพจาก https://www.google.com/imgres?imgurl ภาพนี้มาจากส านวน “แก้วสารพัดนึก” ซึ่งหมายถึง แก้วที่เชื่อกันว่า ถ้าผู้ใดมีอยู่แล้วจะนึก อะไรได้อย่างใจ ที่มาของส านวนมาจากความเชื่อเรื่องสิ่งของวิเศษคือแก้วสารพัดนึกว่า ถ้าใครมีหรือใครได้ ครอบครองเป็นเจ้าของของแก้วสารพัดนึก ถ้าต้องการสิ่งใดนึกเอาไว้ในใจก็จะได้ในสิ่งที่ต้องการนั้น 5.2 ของขึ้น ภาพจาก https://www.bbc.com ภาพนี้มาจากส านวน “ของขึ้น” ซึ่งหมายถึง ของขลังศักดิ์สิทธิ์แสดงอิทธิฤทธิ์ การแสดง ความกล้าอย่างบ้าบิ่น มาจากอาการของคนที่มีเครื่องรางของคลัง หรือ คนที่มีวิชาทางไสยศาสตร์อยู่ในตัวแล้ว สิ่งนั้นจะแสดงอิทธิฤทธิ์ออกมา ท าให้บุคคลนั้นมีกริยาอาการผิดปรกติไปจากเดิม


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.