ทำอีบุ๊ค Flipbook PDF


52 downloads 108 Views 1MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education เสนอ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พิจิตรา ธงพานิช

จัดทาโดย นายพัชรพงศ์ อุดมกัน 656150170118 สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยนครพนม

ปรัชญาทางการศึกษา ปรัชญาทางการศึกษา การศึกษาเป็ นปั จจัยทีส่ าคัญยิง่ ในการพัฒนาประเทศทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เครื่องมือในการเตรียมประชากรให้มคี ุณภาพคือการศึกษาการจัดการศึกษาของชาตินนั ้ จะต้องสอดคล้องกับ นโยบายทางด้านเศรษฐกิจสังคมและการเมืองถ้ามีการเปลีย่ นแปลงระบบทัง้ สามการจัดการศึกษาของชาติก็ จะต้องเปลีย่ นแปลงตามไปด้วยแต่ละสังคมจะมีแนวทาง ในการจัดการศึกษาต่างกัน เพราะระบบทัง้ สามไม่เหมือนกัน แนวความคิดหรือความเชื่อในการจัดการศึกษาก็คอื ปรัชญาการศึกษาซึง่ ผูท้ ม่ี หี น้าทีใ่ นการจัดการศึกษาจะยึ ดแนวทางในการจัดการศึกษาหรือปรัชญาของการศึกษาต่างกันไปตามวัตถุแระสงค์ของสังคมและสถานการ ณ์ทางสังคมในแต่ละยุคแต่ละสมัย การจัดการศึกษาของประเทศใดถ้าไม่ยดึ การศึกษาทีถ่ ูกต้องก็ไม่มที างทีจ่ ะทาให้ประเทศเจริญไปสูเ่ ป้ าหมาย ทีต่ อ้ งการปรัชญาการศึกษาจึงเป็ นสิง่ สาคัญในการกาหนดแนวทางในการพัฒนาประเทศ ความหมายของปรัชญาทางการศึกษา ปรัชญามีความหมายกว้างขวาง เป็ นเรื่องทีเ่ กี่ยวกับความคิดของบุคคลและมีลกั ษณะเป็ นนามธรรมการทีจ่ ะให้ความหมายของคาว่าปรัชญาที่ แน่นอนจึงเป็ นเรื่องยากแต่นักปราชญ์และนักคิดได้พยายามให้ความหมายของปรัชญาไว้มากมายซึง่ ความห มายหนึ่งอาจเป็ นทีย่ อมรับของคนกลุ่มหนึ่งแต่อาจไม่เป็ นทีย่ อมรับของคนอีกกลุ่มหนึ่งสุดแล้วแต่ว่าบุคคลใด จะมีมุมมองอย่างไรการพิจารณาความหมายของคาว่าปรัชญา แยกพิจารณาออกเป็ น 2 นัย คือความหมายตามรูปศัพท์ และความหมายโดยอรรถ (อรสา สุขเปรม 2541 : 55-74 ; วิไล ตัง้ จิตสมคิด 2540) ความหมายตามรูปศัพท์ คาว่า Philosophy ตามรูปศัพท์ภาษาอังกฤษ ผูท้ น่ี ามาใช้ คือ ไพทากอรัส (Pythagoras) เป็ นผูเ้ ริม่ ใช้คานี้เป็ นครัง้ แรก มาจากภาษากรีกว่า Philosophy เป็ นคาสนธิระหว่างคา ว่า Philos แปลว่า ความรัก ความสนใจ ความเลื่อมใส กับคาว่า Sophia ซึง่ แปลว่า ความรู้ ความสามารถ ความฉลาด ปั ญญา เมื่อรวม 2 คาเข้าด้วยกัน ก็จะได้คาแปลว่าความรักในความรูค้ วามรักในความฉลาด หรือความรักในความปราดเปรื่อง (Love of Wisdom) ความหมายตามรูปศัพท์ภาษาอังกฤษเน้นทีท ่ ศั นคติ นิสยั และความตัง้ ใจ

และกระบวนการแสวงหาความรูค้ าว่าปรัชญา ในภาษาไทยเป็ นคาทีพ่ ระวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ทรงบัญญัตขิ น้ึ ใช้แทนคาว่า Philosophy ในภาษาอังกฤษ เป็ นการบัญญัตเิ พือ่ ให้มคี าภาษาไทยว่าปรัชญา ใช้คาว่าปรัชญา เป็ นคาในภาษาสันสกฤต ประกอบด้วยรูปศัพท์ 2 คา คือ ปร ซึง่ แปลว่าไกล สูงสุด ประเสริฐ และคาว่า ชญา หมายถึงความรู้ ความเข้าใจ เมื่อรวมกันเป็ นคาว่าปรัชญา จึงหมายถึงความรูอ้ นั ประเสริฐ เป็ นความรอบรู้ รูก้ ว้างขวาง ความหมายตามรูปศัพท์ในภาษาไทยเน้นทีต่ วั ความรูห้ รือผูร้ ู้ ซึง่ เป็ นความรูท้ ก่ี ว้างขวาง ลึกซึง้ ประเสริฐ (ไพฑูรย์ สินลารัตน์ 2524 : 2) จะเห็นได้ว่ามีความแตกต่างกันในความแตกต่างกันในความหมายของคา ว่า Philosophy และปรัชญา Philosophy เป็ นความรักในความรู้ อยากทีจ่ ะแสวงหาความรู้ หรืออยากค้นหาความจริงอันนิรนั ดร์ (Ultimate reality) เพือ่ ให้พน้ ไปจากความสงสัยทีม่ อี ยู่ ส่วนคาว่า ปรัชญา เป็ นความรูอ้ นั ประเสริฐเป็ นสิง่ ทีเ่ กิดจากการแสวงหาความรูจ้ นพ้นข้อสงสัยแล้วก็นาไปปฏิบตั เิ พือ่ ให้มนุษย์ห ลุดพ้นจากปั ญหาทัง้ ปวง นาไปสูค่ วามสุขทีพ่ งึ ประสงค์ ความหมายโดยอรรถ นักปรัชญา และนักคิดได้อธิบายถึงความหมายของ ปรัชญาถือว่าเป็ นศาสตร์ของศาสตร์ทงั ้ หลาย ซึง่ หมายถึงว่าปรัชญาเป็ นวิชาแม่บทของวิชาการแขนงอื่นๆ และมีความสัมพันธ์กบั วิชาทุกๆสาขาด้วย (บรรจง จันทร์สา 2522 : 3) ปรัชญาจะทาหน้าทีส ่ บื ค้นเรื่องราวต่างๆทีม่ นุษย์ยงั ไม่รแู้ ละสงสัย จนกระทังรู ่ ค้ วามจริงและมีคาตอบของตนเองอย่างชัดเจนในเรื่องราวนัน้ ก็จะแยกตัวเป็ นวิชาหรือศาสตร์ต่างหากออกไป วิชาทีแ่ ยกตัวออกไปเป็ นวิชาแรกคือ ศาสนา จากนัน้ ก็มกี ารพัฒนาวิชาอื่นๆกลายเป็ นศาสตร์ต่างๆมากมาย เมื่อมีศาสตร์พฒ ั นาออกไปมาก เนื้อหาของปรัชญาก็ไม่ค่อยมีแต่ปรัชญาจะทาหน้าทีใ่ นการนาเนื้อหาของศาสตร์ต่างๆมาวิเคราะห์ หาความสัมพันธ์ และหาทางพัฒนาศาสตร์นนั ้ เพือ่ ให้ไปสูเ่ ป้ าหมายทีต่ อ้ งการถ้ามอง ปรัชญาในอีกลักษณะหนึ่ง อาจกล่าวได้ว่า ได้มกี ารนาเอาแนวคิดพืน้ ฐานของปรัชญามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับวิชาต่างๆ เพือ่ วิเคราะห์ศาสตร์ต่างเหล่านัน้ ให้เกิดความเข้าใจได้ชดั เจนยิง่ ขึน้ เช่น ปรัชญาสังคม ปรัชญาการเมือง ปรัชญาศาสนา ฯลฯ จากลักษณะของปรัชญาดังกล่าว ได้มนี กั คิด นักปรัชญา นักวิชาการได้พยายามให้ความหมายของปรัชญาไว้แตกต่างกัน ดังนี้ ความหมายของปรัชญา ปรัชญา คือ ศาสตร์หนึ่งทีม่ วี ตั ถุประสงค์ทจ่ี ะจัดหมวดหมู่ หรือระบบความรูส้ าขาต่างๆ เพือ่ นามาใช้เป็ นเครื่องมือทาความเข้าใจและแปลความหมายข้อเท็จจริงต่างๆ อย่างสมบูรณ์แบบ

ปรัชญาจะประกอบด้วยวิชา ตรรกวิทยา จริยศาสตร์ สุนทรีศาสตร์ อภิปรัชญาและศาสตร์ทว่ี ่าด้วยความรูท้ งั ้ ปวงของมนุษย์ (Good 1959 : 395) ปรัชญา คือ ความคิดเห็นใดทีย่ งั พิสจู น์ไม่ได้ หรือยังสรุปผลแน่นอนไม่ได้ แต่ถา้ พิสจู น์ได้จนลงตัวแล้วก็จดั ว่าเป็ นศาสตร์ (จานง ทองประเสริฐ 2524 : 2) ปรัชญา คือ ศาสตร์ชนิดหนึ่ง ทีม่ วี ตั ถุประสงค์ทจ่ี ะจัดหมวดหมู่หรือแบบความรูส้ าขาต่างๆ เพือ่ นามาใช้เป็ นเครื่องมือทาความเข้าใจและแปลความหมายข้อเท็จจริงต่างๆอย่างสมบูรณ์แบบ (ภิญโญ สาธร 2514: 21) หมายเหตุ : ความหมายของคาว่าปรัชญามีผใู้ ห้ทศั นะไว้อกี มากมายและจะมีความแตกต่างกันตามลักษณะของปรัชญาแ ต่ละยุคแต่ละสมัยและตามทัศนะของบุคค สาขาของปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา คุณวิทยา อภิ ปรัชญา (METAPHYSICS) อภิปรัชญา (METAPHYSICS) ปรือ ภววิทยา (ONTHOLOGY) เป็ นการศึกษาเกีย่ วกับความจริง (REALITY) เพือ่ ค้นหาความจริงอันเป็ นทีส่ งู สุด (ULTIMATE REALITY) ได้แก่ความจริงทีเ่ กี่ยวกับธรรมชาติ จิตวิญญาณ รวมทัง้ เรื่องของพระเจ้า อันเป็ นบ่อเกิดของศาสนา ญาณวิ ทยา (EPISTEMOLOGY) เป็ นการศึกษาเกีย่ วกับเรื่องความรู้ (KNOWLEDGE) ศึกษาธรรมชาติของความรูบ้ ่อเกิดของความรู้ ขอบเขตของความรู้ ซึง่ ความรูอ้ าจจะได้มาจากแหล่งต่างๆเช่น จากพระเจ้าประธานมาซึง่ ปรากฏอยู่ในคัมภีรข์ องศาสนาต่างๆจากผูเ้ ชีย่ วชาญทีท่ าการศึกษาค้นคว้าปรากฏใ นตารา เกิดจากการหยังรู ่ เ้ ป็ นความรูท้ เ่ี กิดขึน้ มาในทันทีทนั ใด เช่นพระพุทธเจ้าตรัสรูห้ รือเป็ นความรูท้ เ่ี กิดจากการพิจารณาเหตุและผล หรือได้จากการสังเกต คุณวิ ทยา (AXIOLOGY)

ศึกษาเรื่องราวเกีย่ วกับคุณค่าหรือค่านิยม (VALUE) เช่น คุณค่า เกีย่ วกับความดีและความงาม มีอะไรเป็ นเกณฑ์ในการพิจารณาว่าอย่างไรดี อย่างไรงาม แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 3.1 จริยศาสตร์ (ETHICS) ได้แก่คุณค่าแห่งความประพฤติ หลักแห่งความดี ความถูกต้อง เป็ นคุณค่าแห่งจริยธรรม เป็ นคุณค่าภายใน 3.2 สุนทรียศาสตร์ (ANESTHETICS) ได้แก่คุณค่าความงามทางศิลปะ ซึง่ สัมพันธ์กบั จิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งตัดสินได้ยากและเป็ นอัตนัย เป็ นคุณค่าภายนอก ปรัชญาพื้นฐาน หรือปรัชญาทัวไป ่ เมื่อพิจารณาในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการศึกษามีลทั ธิ ได้แก่ 1. ลัทธิจติ นิยม (IDIALISM) เป็ นลัทธิปรัชญาทีเ่ ก่าแก่ทส่ี ุดในบรรดาปรัชญาต่างๆมีกาเนิดพร้อมกับการเริม่ ต้นของปรัชญา ปรัชญาลัทธิน้ถี อื เรื่องจิตเป็ นสิง่ สาคัญ มีความเชื่อว่าสิง่ ทีเ่ ป็ นจริงสูงสุดนัน้ ไม่ใช่วตั ถุหรือตัวตน แต่เป็ นเรื่องของความคิดซึง่ อยู่ในจิต (MINE) สิง่ ทีเ่ ราเห็นหรือจับต้องได้นนั ้ ยังไม่ความจริงทีแ่ ท้ความจริงทีแ่ ท้จะมีอยู่ในโลกของจิต (THE WORLD OF MIND) เท่านัน้ ผูท้ ไ่ี ด้ช่อื ว่าเป็ นบิดาของแนวความคิดลัทธิปรัชญานี้ คือ พลาโต (PLATO) นักปรัชญาเมธีชาวกรีก ซึง่ มีความเชื่อว่าการศึกษา คือการพัฒนาจิตใจมากกว่าอย่างอื่น ถ้าพิจารณาลัทธิปรัชญาลัทธิจติ นิยมในแง่สาขาของปรัชญา แต่ละสาขาจะได้ดงั นี้ 1.1 อภิปรัชญา ถือว่าเป็ นจริงสูงสุดเป็ นนามธรรมมากกว่ารูปธรรม ต้องพัฒนาคนในด้านจิตใจมากกว่าวัตถุ 1.2 ญาณวิทยา ถือว่าความรูเ้ กิดจากความคิดหาเหตุผล และการวิเคราะห์แล้วสร้างเป็ นความคิดในจิตใจ ส่วนความรูท้ ไ่ี ด้จากการสัมผัสด้วยประสาททัง้ 5 ไม่ใช่ความรูท้ แ่ี ท้จริง 1.3 คุณวิทยา ถือว่าคุณค่าความดีความงามมีลกั ษณะตายตัวคงทนถาวรไม่เปลีย่ นแปลง ในด้าน จริยศาสตร์ ศีลธรรม จริยธรรมจะไม่เปลีย่ นแปลง ส่วนสุนทรียศาสตร์นนั ้ การถ่ายทอดความงาม เกิดจากความคิดสร้างสรรค์และอุดมการณ์อนั สูงส่งสรุปว่า ปรัชญาลัทธิจติ นิยมเป็ นการพัฒนาด้านจิตใจ ส่งเสริมการพัฒนาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม ศิลปะต่างๆ การจัดการศึกษาตามแนวจิตนิยมจึงเน้นในด้านอักษรศาสตร์และศิลปะศาสตร์ เป็ นผูม้ คี วามรอบรูโ้ ดยเฉพาะตารา การเรียนการสอนมักจะใช้หอ้ งสมุดเป็ นแหล่งค้นคว้าและถ่ายทอดเนื้อหาวิชาสืบต่อกันไป 2. ลัทธิวถั ุนิยม หรือสัจนิยม (REALISM) เป็ นลัทธิปรัชญาทีม่ คี วามเชื่อในโลกแห่งวัตถุ (THE WORLD OF THINGS) มีความเชื่อในแสวงหาความจริงโดยจิตตามแนวคิดของจิตนิยมอย่างเดียวไม่พอ

ต้องพิจารณาข้อเท็จจริงตามธรรมชาติดว้ ย ความจริงทีแ่ ท้คอื วัตถุทป่ี รากฏต่อสายตา สามารถสัมผัสได้ สิง่ เหล่านี้เป็ นพืน้ ฐานของการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ บิดาของลัทธิน้คี อื อริสโตเติล (ARISTOTLE) นักปราชญ์ชาวกรีกลัทธิปรัชญาสาขานี้เป็ นต้นกาเนิดของการศึกษาทางงด้านวิทยาศาสตร์ ถ้าพิจารณาปรัชญาลัทธิวตั ถุนิยมในแง่สาขาของปรัชญา จะได้ดงั นี้ 2.1 อภิปรัชญามีความเชื่อว่า ความจริงมาจากธรรมชาติ ซึง่ ประกอบสิง่ ทีเ่ ป็ นวัตถุสามารถสัมผัสจับต้องได้ และพิสจู น์ได้ดว้ ยวิธวี ทิ ยาศาสตร์ 2.2 ญาณวิทยา เชื่อว่าธรรมชาติเป็ นบ่อเกิดของความรูท้ งั ้ มวลความรูไ้ ด้มาจากการได้เห็นได้สมั ผัสด้วยประสาทสัมผัส ถ้าสังเกตไม่ได้มองไม่เห็น ก็ไม่เห็นว่าเป็ นความรูท้ แ่ี ท้จริง 2.3 คุณวิทยา เชื่อว่าธรรมชาติสร้างทุกสิง่ ทุกอย่างมาดีแล้ว ในด้านจริยศาสตร์กค็ วรประพฤติปฏิบตั ติ ามกฎธรรมชาติ กฎธรรมชาติกค็ อื ศีลธรรมจรรยา ขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งใช้ควบคุมพฤติกรรมมนุษย์ ส่วนสุนทรีศาสตร์เป็ นเรื่องของความงดงามตามธรรมชาติสะท้อนความงามตามธรรมชาติออกมา สรุปว่า ปรัชญาลัทธิจติ นิยม เน้นความเป็ นจริงตามธรรมชาติ การศึกษาหาความจริงได้จากการสังเกต สัมผัสจับต้อง และเชื่อในกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ การศึกษาในแนวลัทธิจติ นิยมเน้นวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ เป็ นต้นกาเนิดของวิชาวิทยาศาสตร์ 3. ลัทธิประสบการณ์นิยม (EXPERIMENTALISM) เป็ นปรัชญาทีม่ ชี ่อื อีกอย่างหนึ่งว่า ปฏิบตั นิ ิยม (PRAGMATISM) ปรัชญากลุ่มนี้มคี วามสนใจในโลกแห่งประสบการณ์ ฝ่ ายวัตถุนิยมจะเชื่อในความเป็ นจริงเฉพาะสิง่ ทีม่ นุษย์พบเห็นได้เป็ นธรรมชาติทป่ี ราศจากการปรุงแต่งเป็ นธ รรมชาติบริสุทธิ ์ ส่วนประสบการณ์นิยมมิได้หมายถึงสิง่ ทีเ่ ราพบเห็นในชีวติ ประจาวันเท่านัน้ แต่หมายรวมถึงสิง่ ทีม่ นุษย์กระทา คิด และรูส้ กึ รวมถึงการคิดอย่างใคร่ครวญและการลงมือกระทา ทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงในผูก้ ระทา กระบวนการทัง้ หมดทีเ่ กิดขึน้ ครบถ้วนแล้ว จึงเรียกว่าเป็ น ประสบการณ์ ความเป็ นจริงหรือประสบการณ์สามารถเปลีย่ นแปลงได้ตามเงือ่ นไขแห่งประสบการณ์ บุคคลทีเ่ ป็ นผูน้ าของความคิดนี้ คือ วิลเลียม เจมส์(WILLIAM, JAMES) และจอห์น ดิวอิ้ (JOHN DEWEY) ชาวอเมริกนั วิลเลียม เจมส์ มีความเห็นว่าประสบการณ์และการปฏิบตั เิ ป็ นสิง่ สาคัญส่วนจอห์น ดิวอิ้ เชื่อว่ามนุษย์จะได้รบั ความรูเ้ กีย่ วกับสิง่ ต่างๆจากประสบการณ์เท่านัน้ ถ้าพิจารณาปรัชญาลัทธิประสบการณ์นิยมในแง่ของสาขาของปรัชญาจะได้ดงั นี้ 3.1 อภิปรัชญา เชื่อว่าความจริงเป็ นโลกแห่งประสบการณ์ สิง่ ใดทีท่ าให้สามารถได้รบั ประสบการณ์ได้ สิง่ นัน้ คือความจริง

3.2 ญาณวิทยา เชื่อว่าความรูจ้ ะเกิดขึน้ ได้กด็ ว้ ยการลงมือปฏิบตั ิ กระบวนการแสวงหาความรูก้ ด็ ว้ ยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ (SCIENTIFIC METHOD) 3.3 คุณวิทยา เชื่อว่าความนิยมจะเกีย่ วกับการประพฤติปฏิบตั ทิ างด้านศีลธรรม จรรยาเป็ นสิง่ ทีม่ นุษย์สร้างและกาหนดขึน้ มาเอง และสามารถเปลีย่ นแปลงได้ ส่วนสุนทรียศาสตร์ เป็ นเรื่องของความต้องการและรสนิยมทีค่ นส่วนใหญ่ยอมรับกัน สรุปว่า ปรัชญาลัทธิประสบการณ์นิยม เน้นให้คนอาศัยประสบการณ์ในการแสวงหาความเป็ นจริงและความรูต้ ่าง ๆ ได้มาจากประสบการณ์ การศึกษาในแนวลัทธิปรัชญานี้เน้นการลงมือกระทาเพือ่ หาความจริงด้วยคาตอบของตนเอง 4. ลัทธิอตั ถิภาวะนิยม (EXISTENTIALISM) เป็ นลัทธิปรัชญาทีเ่ กิดหลังสุด มีแนวความคิดทีน่ ่าสนใจและท้าทายต่อการแสวงหาของนักปรัชญาในปั จจุบนั (กีรติ บุญเจือ 2522) EXISTENTIALISM มีความหมายตามศัพท์ คือ EXIST แปลว่าการมีอยู่ เช่น ปั จจุบนั มีมนุษย์อยู่กเ็ รียกว่า การมีมนุษย์อยู่หรือ EXIST ส่วนไดโนเสาร์ไม่มแี ล้ว ก็เรียกว่ามันไม่ EXIST คาว่าEXISTENTIALISM จึงหมายความว่า มีความเชื่อในสิง่ ทีม่ อี ยู่จริงๆ เท่านัน้ (THE WORLD OF EXISTING)หลักสาคัญปรัชญาลัทธิน้มี อี ยู่ว่า การมีอยู่ของมนุษย์มมี าก่อนลักษณะของมนุษย์(EXISTENCE PRECEDES ESSENCE) ซึง่ ความเชื่อดังกล่าวขัดกับหลักศาสนาคริสต์ ซึง่ มีแนวความคิดว่าพระเจ้าทรงสร้างมนุษย์และสรรพสิง่ ในโลก ก่อนทีจ่ ะลงมือสร้างมนุษย์พระเจ้ามีความคิดอยู่แล้วว่ามนุษย์ควรจะเป็ นอย่างไร ควรจะมีลกั ษณะอย่างไร ควรจะประพฤติปฏิบตั อิ ย่างไร ทัง้ หมดเป็ นเนื้อหาหรือสาระ ลักษณะของมนุษย์มมี าก่อนการเกิดของมนุษย์ มนุษย์จะต้องอยู่ในภาวะจายอมทีจ่ ะต้องปฏิบตั ติ ามพระประสงค์ของพระเจ้า หมดเสรีภาพทีจ่ ะเลือกกระทาตามความต้องการของตนเองปรัชญาลัทธิอตั ถิภาวะนิยมไม่ ยอมรับแนวคิดดังก ล่าว มีความเชื่อเบือ้ งต้นว่า มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความว่างเปล่า ไม่มลี กั ษณะใด ๆ ติดตัวมา ทุกคนมีหน้าทีเ่ ลือกลักษณะหรือสาระต่างๆให้กบั ตัวเอง การมีอยู่ของมนุษย์ (เกิด) จึงมีมาก่อนลักษณะของมนุษย์หลักสาคัญของปรัชญานี้จะให้ความสาคัญแก่มนุษย์มากที่สุด มนุษย์มเี สรีภาพในการกระทาสิง่ ต่างๆได้ตามความพอใจและจะต้องรับผิดชอบในสิง่ ทีเ่ ลือกถ้าพิจารณาลัทธิ อัตถิภาวนิยมในแง่สาขาของปรัชญาจะได้ดงั นี้ 4.1 อภิปรัชญา ความจริงเป็ นอย่างไร ขึน้ อยู่กบั แต่ละบุคคลจะพิจารณา และกาหนดว่าอะไร คือความจริง 4.2 ญาณวิทยา การแสวงหาความรูข้ น้ึ อยู่กบั แต่ละบุคคลทีจ่ ะเลือกสรรเพือ่ ให้สามารถดารงชีวติ อยู่ได้ 4.3 คุณวิทยา ทุกคนมีเสรีภาพทีจ่ ะเลือกค่านิยมทีต่ นเองพอใจด้วยความสมัครใจส่วนความงามนัน้ บุคคลจะเป็ นผูเ้ ลือกและ

กาหนดเอง โดยไม่จาเป็ นจะต้องให้ผอู้ ่นื เข้าใจ สรุปว่า ปรัชญาลัทธิอตั ถิภาวนิยม เป็ นปรัชญาทีใ่ ห้ความสาคัญแก่มนุษย์ว่ามีความสาคัญสูงสุด มีความเป็ นตัวของตัวเอง สามารถเลือกกระทาสิง่ ใดๆได้ตามความพอใจ แต่จะต้องรับผิดชอบในสิง่ ทีก่ ระทา การศึกษาในแนวลัทธิปรัชญานี้จะให้ผเู้ รียนมีอสิ ระในการแสวงหาความรู้ เลือกสิง่ ต่างๆได้อย่างเสรี มีการกาหนดระเบียบกฎเกณฑ์ขน้ึ มาเอง แต่ตอ้ งรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

ปรัชญาการศึกษา จากการทีไ่ ด้ทาความเข้าใจเกีย่ วกับการศึกษาและปรัชญามาโดยลาดับแล้วจะได้พจิ ารณาต่อไปว่า ปรัชญาและการศึกษามีความสัมพันธ์กนั ในลักษณะใดและนาไปใช้ประโยชน์ต่อการศึกษาได้อย่างไร (จานง ทองประเสริฐ 2520 ; วิไล ตัง้ จิตสมคิด 2540) ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับการศึกษา ปรัชญาช่วยพิจารณาและกาหนดเป้ าหมายทางการศึกษาการศึกษาเป็ นกิจกรรมทีท่ าให้บุคคลเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมไปในทางทีพ่ งึ ปรารถนาปรัชญาจะช่วยกาหนดแนวทางหรือเป้ าหมายทีพ่ งึ ปรารถนา ซึง่ จะสอดคล้องกับข้อเท็จจริงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมฯลฯ และปรัชญาจะช่วยให้เห็นว่าเป้ าหมายทางการศึกษาทีจ่ ะเลือกนัน้ สอดคล้องกับการมีชวี ติ ทีด่ หี รือไม่ ชีวติ ทีด่ คี วรเป็ นอย่างไร ธรรมชาติของมนุษย์คอื อะไร ปั ญหาเหล่านี้นกั ปรัชญาอาจเสนอแนวความเห็นเพือ่ ประกอบการพิจารณาในการเลือกเปาหมายทางการศึก ษา (วิทย์ วิศทเวทย์ 2523 : 29) ปรัชญากับการศึกษามีความสัมพันธ์กนั อย่างมาก ปรัชญาช่วยให้เกิดความชัดเจนทางการศึกษาและทาให้นกั ศึกษาสามารถดาเนินการทางการศึกษาได้อย่างถู กต้องรัดกุมเพราะได้ผ่านการพิจารณา วิพากย์วเิ คราะห์อย่างละเอียดทุกแง่ทุกมุม ทาให้เกิดความเข้าใจอย่างชัดเจน ขจัดความไม่สอดคล้อง และหาทางพัฒนาแนวคิดใหม่ ให้กบั การศึกษา ความหมายของปรัชญาการศึกษา

ปรัชญาการศึกษาคือ แนวความคิด หลักการ และกฎเกณฑ์ ในการกาหนดแนวทาง ในการจัดการศึกษา ซึง่ นักการศึกษาได้ยดึ เป็ นหลักในการดาเนินการทางการศึกษาเพือ่ ให้บรรลุเป้ าหมาย นอกจากนี้ปรัชญาการศึกษายังพยายามทาการวิเคราะห์และทาความเข้าใจเกีย่ วกับการศึกษา ทาให้สามารถมองเห็นปั ญหาของการศึกษาได้อย่างชัดเจน ปรัชญาการศึกษาจึงเปรียบเหมือนเข็มทิศนาทางให้นกั การศึกษาดาเนินการทางศึกษาอย่างเป็ นระบบ ชัดเจน และสมเหตุสมผล ลัทธิ ปรัชญาการศึกษา ปรัชญาการศึกษามีอยู่มากมายหลายลัทธิ ตามลักษณะและตามธรรมชาติของมนุษย์ทต่ี ่างก็คดิ และเชื่อไม่เหมือนกัน อาศัยแนวคิดของปรัชญาพืน้ ฐานทีแ่ ตกต่างกัน หรือนามาผสมผสานกัน ทาให้มลี กั ษณะทีค่ าบเกี่ยวกัน หรืออาจมาจากความคิดของปรัชญาพืน้ ฐานสาขาเดียวกันดังนัน้ ปรัชญาการศึกษาจึงมีหลายลัทธิ หลายระบบ ในทีน่ ้จี ะกล่าวถึงปรัชญาการศึกษาทีเ่ ป็ นทีน่ ิยมกันอย่างกว้างขวางดังต่อไปนี้ (บรรจง จันทรสา 2522 ; อรสา สุขเปรม 2546 : 63 - 74) 3.1 ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม (Essentialism) 3.2 ปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม (Perennialism) 3.3 ปรัชญาการศึกษาพิพฒ ั นาการนิยม (Progessivism) 3.4 ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) 3.5 ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism) ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม (Essentialism) เป็ นปรัชญาการศึกษาทีเ่ กิดในอเมริกา เมื่อประมาณ ปี ค.ศ.1930 โดยการนาของ วิลเลีย่ ม ซี แบคลี (William C. Bagley) และคณะ ได้รวมกลุ่มกันเพือ่ เผยแพร่แนวคิดทางการศึกษาฝ่ ายสารัตถนิยม และได้รบั ความนิยมเป็ นอย่างมากในสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 และยังนิยมเรื่อยมาอีกเป็ นเวลานาน เพราะมีความเชื่อว่าลัทธิปรัชญาสารัตถนิยมมีความเข้มแข็งในทางวิชาการและมีประสิทธิภาพในการสร้างค่า นิยมเกีย่ วกับระเบียบวินยั ได้ดพี อทีจ่ ะทาให้โลกเสรีต่อสูก้ บั โลกเผด็จการของคอมมิวนิสต์ (ภิญโญ สาธร :2525, 31) https://www.kroobannok.com/19891

ปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม (Perennialism) เป็ นปรัชญาการศึกษาทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากปรัชญาพืน้ ฐานกลุ่มวัตถุนิยมเชิงเหตุผล( Rational realism) หรือบางทีเรียกว่าเป็ นพวกโทมนัสนิยมใหม่ (Neo – Thomism) เกิดขึน้ ในขณะทีป่ ระเทศต่าง ๆ ทัวโลกก ่ าลังมีการพัฒนาทางอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ เกิดขึน้

โดยเฉพาะประเทศทางตะวันตกซึง่ มีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ก่อให้เกิดการแข่งขันทางการค้าอย่างไม่เป็ นธรรม มีการเอารัดเอาเปรียบสินค้า ราคาสูงเกิดปั ญหาครอบครัว ขาดระเบียบวินยั มนุษย์ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ได้ทาให้วฒ ั นธรรมเสือ่ มสลายลงไป จึงมีการเสนอปรัชญาการศึกษาลัทธิน้ขี น้ึ มาเพือ่ ให้การศึกษาเป็ นสิง่ นาพามนุษย์ไปสูค่ วามมีระเบียบเรียบร้อ ย มีเหตุและผล มีคุณธรรมและจริยธรรม จึงเป็ นทีม่ าของปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม ปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม มีมาแล้วตัง้ แต่สมัยกรีกโบราณ ผูเ้ ป็ นต้นคิดของปรัชญาลัทธิน้ี คือ อริสโตเติล (Aristotle) และเซนต์ โทมัส อะไควนัส (St. Thomas Aquinas) อริสโตเติลได้พฒ ั นาปรัชญาลัทธิน้โี ดยเน้น การใช้ความคิดและเหตุผล จนเชื่อได้ว่า Rational humanism ส่วนอะไควนัส ได้นามาปรับให้เข้ากับสถานการณ์ โดยคานึงถึงความเชื่อเกีย่ วกับพระเจ้า เรื่องศาสนา ซึง่ เป็ นเรื่องของเหตุและผล แนวคิดนี้มสี ว่ นสาคัญโดยตรงต่อแนวคิดทางการศึกษาในศตวรรษที่ 20 นักปรัชญาทีเ่ ป็ นผูน้ าของปรัชญานี้ในขณะนี้คอื โรเบิรท์ เอ็ม ฮัทชินส์ (Robert M. Hutchins) และคณะได้รวบรวมหลักการและให้กาเนิดปรัชญานิรนั ตรนิยมขึน้ มาใหม่ในปี ค.ศ.1929 ปรัชญาการศึกษาพิพฒ ั นาการนิยม (Progessivism) ปรัชญานี้ให้กาเนิดขึน้ เพือ่ ต่อต้านแนวคิดดัง้ เดิมทีก่ ารศึกษามักเน้นแต่เนื้อหา สอนให้ท่องจาเพียงอย่างเดียว ทาให้เด็กพัฒนาด้านสติปัญญาอย่างเดียว ไม่มคี วามคิดสร้างสรรค์ ไม่มคี วามกล้าและความมันใจในตนเองประกอบกั ่ บมีความก้าวหน้าในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทาให้ เกิดแนวความคิดปรัชญาการศึกษาพิพฒ ั นาการนิยมขึน้ ปรัชญาการศึกษาพิพฒ ั นาการนิยมเกิดขึน้ ใน ค.ศ.1870 โดยฟรานซิส ดับเบิ้ลยูปาร์คเกอร์ (Francis W. Parker) ได้เสนอให้มกี ารปฏิรูปการศึกษาเสียใหม่ เพราะการเรียนแบบเก่าเข้มงวดเรื่องระเบียบวินยั แต่แนวคิดนี้ไม่ได้รบั การยอมรับ ต่อมา จอห์น ดิวอี้ (John Dewey)ได้นาแนวคิดนี้มาทบทวนใหม่ โดยเริม ่ งานเขียนชื่อ School of Tomorrow ออกตีพมิ พ์ในปี ค.ศ.1915 ต่อมามีผสู้ นับสนุนมากขึน้ จึงตัง้ เป็ นสมาคมการศึกษาแบบพิพฒ ั นาการ (ProgessiveEducation Association) (Kneller 1971 : 47)

และนาแนวคิดไปใช้ในโรงเรียนต่างๆแต่กถ็ ูกจู่โจมตีจากฝ่ ายปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยมภายหลังสงครามโ ลกครัง้ ที่ 2 ปรัชญาการศึกษา สารัตถนิยมกลับมาได้รบั ความนิยมอีก จนสมาคมการศึกษาพิพฒ ั นาการนิยมต้องยุบเลิกไปแต่แนวคิดทางการศึกษาปรัชญาพิพฒ ั นาการนิยมยังคง ใช้ในสหรัฐอเมริกา ต่อมาได้รบั ความนิยมมากขึน้ และแพร่หลายไปยังประเทศต่าง ๆ รวมทัง้ ประเทศไทยด้วย ปรัชญาการศึกษาปฏิรปู นิยม (Reconstructionism)ในปี ค.ศ.1930 ได้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่า ในสหรัฐอเมริกา เกิดปั ญหาการว่างงาน คนไม่รจู้ กั ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์

เกิดช่องว่างระหว่างชนชัน้ ในสังคม จึงมีนกั คิดกลุ่มหนึ่งพยายามจะแก่ปัญหาสังคมโดยใช้การศึกษาเป็ นเครื่องมือในการพัฒนาสังคม ผูน้ าของกลุ่มนักคิดกลุ่มนี้ ได้แก่ จอรัจ เอส เค้าทส์ (George S.Counts) ซึง่ มีความเห็นด้วยกับหลักการประชาธิปไตย แต่ตอ้ งเป็ นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง และควรเห็นว่าโรงเรียนควรมีหน้าทีแ่ ก้ปัญหาเฉพาะอย่างของสังคมผูท้ ว่ี างรากฐานและตัง้ ทฤษฎีปฏิรปู นิยม ได้แก่ ธีโอดอร์ บราเมลด์ (Theodore Brameld)ในปี ค.ศ.1950 โดยได้เสนอปรัชญาการศึกษาเพือ่ ปฏิรูปสังคมและได้ตพี มิ พ์ ลงในหนังสือหลายเล่ม ธีโอดอร์ บราเมลด์ จึงได้รบั การยกย่องว่าเป็ นบิดาของปรัชญาการศึกษาปฏิรปู นิยม ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism) ปรัชญานี้เกิดขึน้ เนื่องจากความรูส้ กึ ทีว่ ่ามนุษย์กาลังสูญเสียความเป็ นตัวของตัวเอง การศึกษาทีม่ อี ยู่กม็ สี ว่ นทาลายความเป็ นมนุษย์ เพราะสอนให้ผเู้ รียนอยู่ในกรอบของสังคมทีจ่ ากัดเสรีภาพความเป็ นตัวของตัวเองให้ลดน้อยลงนอกจากนี้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยียงั มีสว่ นในการทาลายความเป็ นมนุษย์เพราะต้องพึง่ พามันมากเกินไปนัน่ เองผูใ้ ห้ กาเนิดแนวความคิดใหม่ทางปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม ได้แก่ ซอเร็น คีรเ์ คอร์การ์ด (Soren Kierkegard) นักปรัชญาชาวเดนมาร์ค เขาได้เสนอความคิดว่า ปรัชญาเป็ นเรื่องส่วนตัวของแต่ละคน ดังนัน้ ทุกคนจึงควรสร้างปรัชญาของตนเองจากประสบการณ์ ไม่มคี วาม จริงนิรนั ดร์ให้ยดึ เหนี่ยวเป็ นสรณะตัวตาย ความจริงทีแ่ ท้คอื สภาพของมนุษย์ (Human condition)(กีรติ บุญเจือ 2522: 14 ) แนวคิด ของ คีรเ์ คอร์การ์ด มีผส ู้ นับสนุนอีกหลายคน ซึง่ เป็ นคนร่วมสมัยในช่วงปี ค.ศ. 1950 – 1965 แต่ความพยายาม ทีจ่ ะนามาประยุกต์ใช้กบั การศึกษาก็เป็ นเวลาราว 10 ปี ต่อมาและผูร้ เิ ริม่ นามาใช้ทดลองในโรงเรียน คือ เอ เอส นีลล์ (A.S. Neil) โดยทดลองในโรงเรียนสาธิตและโรงเรียนซัมเมอร์ฮลิ ล์

ปรัชญาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิ การ พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กับปรัชญาการศึกษา ปั ญหาของวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง และความเจริญทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ส่งผลต่อการจัดการศึกษาของไทยเป็ นอย่างยิง่ เพราะการจัดการศึกษาสามารถทีจ่ ะขจัดปั ญหาต่าง ๆ ไปได้ จึงได้มกี ารตราพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ขึน้ และได้มกี ารปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้บรรจุมาตราต่าง ๆ เพือ่ กาหนดเงือ่ นไขในการเปลีย่ นแปลง 5 แนวทาง ได้แก่ 1. การปฏิรปู กระบวนการเรียนการสอน-การประเมินผล 2. การปฏิรปู การฝึกอบรมครู และระบบการพัฒนาครู การใช้ครู 3. ปฏิรปู ระบบการบริหารจัดการ 4. ปรับระบบการศึกษา 5. ยุทธศาสตร์ของการระดมสรรพกาลังจากทุก ๆ ส่วนของสังคม ให้เข้ามามีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาให้กว้างขวางยิง่ ขึน้ ปรัชญาการศึกษามีความสาคัญต่อการปฏิรปู การศึกษาเป็ นอย่างมาก เพราะมีการศึกษาทีใ่ ดย่อมมีการนาปรัชญาการศึกษาไปใช้ทน่ี นั ่ เช่นเดียวกัน ทีใ่ ดมีปรัชญาการศึกษาทีน่ นั ่ ย่อมมีการจัดการศึกษา โดยคานึงถึงองค์ประกอบต่าง ๆ ในการเรียนการสอน เพือ่ ใช้เป็ นแนวทาง เป็ นหลักการและเป็ นเครื่องมือในการตรวจสอบ ปรัชญาการศึกษาทีน่ ามาศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2542 พอจะสรุปเนื้อหาความสาคัญของปรัชญาดังต่อไปนี้

ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิ ยม (essentialism) เน้นเนื้อหาสาระและความสาคัญของมรดกทางวัฒนธรรมของสังคมทีไ่ ด้รบั การยอมรับและปฏิบตั กิ นั ในสังคมจนกลายเป็ นส่วนหนึ่งของแนวทางในการดาเนินชีวติ ของประชาชนในสังคม โดยมีจุดมุ่งหมายดังนี้ 1. เพือ่ ทะนุบารุง และถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมไปสู่ชนรุ่นหลัง มิให้สญ ู หาย หรือถูกทาลายไป 2. เพือ่ ให้การศึกษาในสิง่ ทีเ่ ป็ นเนื้อหาสาระอันได้จากมรดกทางวัฒนธรรม 3. เพือ่ ให้การศึกษาในเรื่องของความเชื่อ ทัศนคติ และค่านิยมของสังคมในอดีต 4. เพือ่ ฝึกฝนให้ผเู้ รียนมีความขยันหมันเพี ่ ยรในการศึกษาเล่าเรียนและการทางาน 5. เพือ่ ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีพฒ ั นาการทางปั ญญา 6. เพือ่ ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีระเบียบวินัยในตนเอง และรูจ้ กั ทางานร่วมกับผูอ้ ่นื ปรัชญาการศึกษานิ รนั ตรนิ ยม (perennialism) จุดมุ่งหมายของปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยมอยู่ท่ี การสร้างคนให้เป็ นคนทีส่ มบูรณ์อย่างแท้จริง ปลูกฝังความเชื่อและค่านิยมทีด่ แี ก่ผเู้ รียน มุ่งพัฒนาให้ผเู้ รียนมีเหตุผลยิง่ ขึน้ รูจ้ กั และเข้าใจตนเอง พร้อมทัง้ เห็นว่าตัวเองนัน้ มีพลังธรรมชาติอยู่ภายในแล้ว การศึกษาก็คอื การส่งเสริมให้พลังธรรมชาตินนั ้ พัฒนาเต็มที่ พลังธรรมชาติในทีน่ ้กี ค็ อื สติปัญญาของมนุษย์ ถ้าสติปัญญาได้รบั การขัดเกลาและพัฒนาอย่างดีพอ มนุษย์กจ็ ะทาอะไรได้อย่างมีเหตุผลเสมอ จุดหมายของการศึกษาของทฤษฎีการศึกษานิรนั ตรนิยมกล่าวไว้ดงั นี้ คือ 1. มุ่งให้ผเู้ รียนรูจ้ กั และทาความเข้าใจกับตนเองให้มากทีส่ ุด โดยเฉพาะในเรื่องเหตุผลและสติปัญญา 2. มุ่งให้ผเู้ รียนพัฒนาสติปัญญาและเหตุผลในตัวมนุษย์ให้ดขี ้นึ สูงขึน้ เพือ่ เป็ นคนทีส่ มบูรณ์ ปรัชญาการศึกษาพิ พฒ ั นาการนิ ยม(progressivism) แนวคิดหลักการของการศึกษาแบบพิพฒ ั นาการนิยมนี้ ก็คอื การศึกษาจะต้องพัฒนาเด็กทุก ๆ ด้านไม่เฉพาะสติปัญญาเท่านัน้ โรงเรียนมีความสัมพันธ์กบั สังคมมากขึน้ เด็กจะต้องพร้อมทีจ่ ะไปอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ปรับตัวได้อย่างดี กระบวนการเรียนการสอนจึงมีความสาคัญพอ ๆ กับเนื้อหา เรื่องของปั จจุบนั มีความสาคัญกว่าอดีตหรืออนาคต จุดมุ่งหมายของการศึกษา การศึกษาตามปรัชญาพิพฒ ั นาการนิยมนี้

เกิดขึน้ เพือ่ ต้านแนวคิดและวิธกี ารเก่าของการศึกษาทีเ่ น้นแต่เพียงคุณสมบัตดิ า้ นใดด้านหนึ่ง เพราะคิดว่าด้านนัน้ สาคัญกว่าดังทีส่ ารัตถนิยมเน้นความสามารถทางการจาและเข้าใจ และมองว่าการศึกษาจะต้องให้การศึกษาทุกด้าน ทัง้ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ควบคู่กนั ไป ความสนใจ ความถนัด และลักษณะพิเศษของผูเ้ รียนควรได้รบั ความสนใจและได้รบั การส่งเสริมให้มากทีส่ ุดส่งเสริมความเป็ นประชา ธิปไตย ทัง้ ในและนอกห้องเรียน และส่งเสริมให้ผเู้ รียนได้รจู้ กั ตนเองและสังคม เพือ่ ผูเ้ รียนจะได้ปรับตัวเข้ากับสังคมได้อย่างมีความสุข ไม่ว่าสังคมจะเปลีย่ นไปอย่างใดก็ตาม ผูเ้ รียนจะต้องรูจ้ กั แก้ปัญหาได้ ปรัชญาการศึกษาปฏิ รปู นิ ยม(reconsteuctionism) ปรัชญาการศึกษาในแนวนี้เห็นว่า ปั จจุบนั (รวมทัง้ อนาคต) สังคมมีปัญหามากทัง้ ในด้านของเศรษฐกิจ การเมือง ศิลปวัฒนธรรม ทัง้ ในระดับท้องถิน่ และระดับโลก สังคมจึงต้องการการแก้ปัญหาและหาทางทีจ่ ะสร้างค่านิยมและแบบแผนของสังคมขึน้ ใหม่ การทีจ่ ะแก้ปัญหาและสร้างค่านิยมขึน้ ใหม่น้ี การศึกษาจะต้องมีบทบาทอย่างสาคัญซึง่ ความเชื่อและหลักการสาคัญของทฤษฎีการศึกษาปฏิรูปนิยมในด้า นจุดมุ่งหมายหลักของการศึกษาในแนวทางนี้คอื การศึกษาต้องเป็ นไปเพือ่ ปรับปรุง พัฒนาและสร้างสรรค์สงั คมใหม่ทด่ี แี ละเหมาะสมกว่าขึน้ มาให้ได้ ดังจะกล่าวเป็ นรายละเอียดได้คอื 1. การศึกษาจะต้องช่วยแก้ปัญหาของสังคมทีเ่ ป็ นอยู่ 2. การศึกษาต้องเป็ นไปเพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาสังคมโดยตรง 3. การศึกษาจะต้องมุ่งสร้างระเบียบใหม่ของสังคมจากพืน้ ฐานเดิมทีม่ อี ยู่ 4. ระเบียบใหม่ทส่ี ร้างขึน้ รวมทัง้ วิธสี ร้างต้องอยู่บนพืน้ ฐานของประชาธิปไตย 5. การศึกษาจะต้องให้เด็กเห็นความสาคัญของสังคมคู่ไปกับตนเอง ปรัชญาการศึกษาอัตถิ ภาวนิ ยม(existentialism) เชื่อว่ามนุษย์มศี กั ยภาพในทางทีจ่ ะเป็ นตัวของตัวเองตลอดเวลานักปรัชญากลุ่มนี้สนใจเกีย่ วกับโลก แห่งการดารงชีวติ อยู่ได้(A World of Existing) เชื่อว่า คนคือความไม่แน่นอน ไม่มแี ก่นสารความจริงหรือความรูค้ วรจะเป็ นเรื่องทีช่ ่วยให้ตนเองดารงชีวติ อยู่ได้ จริยศาสตร์ควรจะเป็ นเรื่องของเสรีภาพและความสมัครใจสุนทรียศาสตร์ควรจะเป็ นเรื่องของการปฏิวตั หิ รือห นีสงั คมและไม่จาเป็ นต้องตรงกับความพอใจของประชาชนส่วนใหญ่ กลุ่มนี้เชื่อว่ามนุษย์มคี วามเป็ นอิสระมีเสรีภาพในการเลือกในการกระทามนุษย์ตดั สินใจด้วยตนเองเลือกด้วย

ตนเองและรับผิดชอบต่อการกระทาของตนเองลัทธิน้มี คี วามสัมพันธ์กบั ปรัชญาด้านต่ าง ๆ คือ เชื่อว่า ความจริงคือการดารงอยู่ของชีวติ ไม่เห็นด้วยกับความสมบูรณ์แท้จริงทีส่ ุดของการให้เหตุผลหรือตรรกวิทยาบริสุทธิ ์ ลัทธิน้เี น้นถึงชีวติ และประสบการณ์ของเอกัตบุคคล เชื่อว่ามนุษย์จะดีกอ็ ยู่ทก่ี ารเลือกทีจ่ ะทาตนให้เป็ นเช่นนัน้ นักปรัชญาในกลุ่มนี้บางคนก็เชื่อว่าไม่มพี ระเจ้า แต่บางคนเชื่อว่า มีพระเจ้าเป็ นผูช้ ่วยมนุษย์ให้มศี ลี ธรรมจรรยาดี เชื่อว่าความจริงคือ ความรูจ้ ะช่วยให้ดารงชีวติ อยู่ได้ และถือว่าความรูเ้ ป็ นปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน้ แก่แต่ละบุคคล ความรูไ้ ม่ใช่ผลบัน้ ปลายอันต้องประสงค์ และก็ไม่ใช่มรรคอันจาจะต้องเรียนรูเ้ พือ่ เตรียมตัวไปเผชิญกับชีวติ จริง หากความรูเ้ ป็ นมรรควิธจี ะให้แต่ละคนเจริญเติบโต และเลือกทาในสิง่ ทีต่ นประสงค์ยงิ่ ขึน้ ทุกที ปรัชญาการศึกษาพุทธปรัชญา (Buddhism) เป็ นปรัชญาทีเ่ ชื่อว่า การศึกษาคือการพัฒนาบุคคลให้ถงึ พร้อมด้วยปั ญญา และดาเนินชีวติ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตลอดจนรูจ้ กั แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ปรัชญาสารัตถนิ ยม (Essentialism) สารัตถนิยม (Essentialism) มาจากภาษาละตินว่า Essentia หมายถึง สาระ หรือ เนื้อหาทีเ่ ป็ นหลัก เป็ นแก่น เป็ นสิง่ สาคัญปรัชญาสารัตถนิยม ในทางการศึกษา คือ ปรัชญาทีย่ ดึ เนื้อหา (Subject Matter) เป็ นหลักสาคัญของการศึกษา และเนื้อหาทีส่ าคัญนัน้ ก็ตอ้ งเน้นเนื้อหาทีไ่ ด้มาจากมรดกทางวัฒนธรรม ทีค่ วรได้รบั การถ่ายทอดต่อไป สารัตถนิยม เป็ นการหล่อหลอมความคิด ของจิตนิยม (Idealism) และ สัจนิยม (Realism) มีช่อื เรียกอื่น ๆ เช่น สาระนิยม สารวาส ลัทธิจติ นิยม หรือ คตินิยม (Idealism)เชื่อว่า ความเป็ นจริง (Reality) เป็ นความนึกคิด (Mind) และเป็ นจิตรภาพ (Idea) หรือ แบบ (From) ทีม่ อี ยู่ในจินตนาการของเรา โลกแห่งความเป็ นจริงอันสูงสุด (Ultimate reality) จึงเป็ นโลกแห่งจินตนาการ (A world of mind) จากพืน้ ฐานความจริงนี้ จึงเชื่อต่อไปว่า การล่วงรูค้ วามจริงได้ตอ้ งอาศัยจิต (Mind) อาศัยปั ญญา(Intellect) เพือ่ เข้าถึงความเป็ นจริงทีม่ อี ยู่ในจิตรภาพ(Idea) คือ เราใช้ปัญญาและความคิดในการรับรูค้ วามจริงเมื่อปั ญญาล่วงรูส้ งิ่ ทีเ่ ป็ นจริงแล้วก็หมายถึงเรามี“ความรู”้

Plato เป็ นบิดาแห่งปรัชญาสาขาจิตนิยม ทีถ่ อื ว่าเก่าแก่ทส่ี ุดและตรงกับปรัชญาจิตนิยมใหม่ ในทัศนะของ Kant ซึง่ เห็นว่า การรูน้ นั ้ จะเกิดขึน้ ได้กต็ ่อเมื่อมีองค์ประกอบสาคัญ 2 ส่วน คือ 1. การรับรู้ (Percepts) คือ การได้รบั ข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุต่าง ๆ มาโดยผัสสะ 2. การเข้าใจ หรือสัญชาน (Concept) คือ ความนึกคิดทีเ่ กิดขึน้ ในจิตของเรา ความเข้าใจนัน้ ต้องอาศัยการรับรูใ้ นการป้ อนข้อมูลต่าง ๆจากผัสสะ ลัทธิ สจั นิ ยม หรือวัตถุนิยม (Realism) เชื่อว่าโลกแห่งความเป็ นจริงคือโลกแห่งวัตถุ คือ สิง่ ทัง้ หลายทีเ่ ห็นตามธรรมชาตินนั ้ เป็ นจริงในตัวของมันเองไม่ขน้ึ อยู่กบั จิต และโลกแห่งวัตถุน้จี ะเป็ นโลกทีเ่ ปิ ดเผยความจริงและความรูใ้ ห้แก่เรา ด้วยเหตุน้กี ารค้นหาความรูข้ องวัตถุนิยมจึงอาศัยการเฝ้ าสังเกตอย่างมีระเบียบAristotle ศิษย์เอกของ Plato เป็ นบิดาของ ลัทธิสจั นิยม ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม เกิดขึน้ จากปั ญญาชนรวมตัวกันอย่างเป็ นทางการภายใต้ช่อื “คณะกรรมการสารัตถนิยมเพื่อความก้าวหน้าของการศึกษาอเมริกนั ” ในประเทศสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1930 สารัตถนิยม มีพน้ื ฐานความคิดเป็ นแบบอนุรกั ษ์นิยม (Conservativism) ซึง่ สอดคล้องกับสิง่ ที่ J.R. White กล่าวคือ เป็ นความพยายามศึกษา ทาความเข้าใจและรักษาระเบียบกฎเกณฑ์ของสรรพสิง่ ในธรรมชาติมากกว่าทีจ่ ะคิดเปลีย่ นแปลง สารัตถนิยม คัดค้านความเชื่อของปรัชญาการศึกษาประสบการณ์นิยม ซึง่ เสนอแนะให้กาจัดการเรียนการสอนแบบเก่า ทีเ่ น้นการท่องจาและอานาจของครู ซึง่ ไม่เป็ นประชาธิปไตย และเรียกร้องให้นกั การศึกษา และประชาชนมาสนใจวิธคี ดิ แบบวิทยาศาสตร์ และมีความรับผิด ชอบต่อสังคม

หลักการสาคัญตามแนวคิ ดของปรัชญาการศึกษาสารัตถนิ ยม 1. การเรียนรู้ เกิดขึน้ ได้จากการทางานหนักและนาไปประยุกต์ใช้ได้ ความมีระเบียบวินัย เคร่งครัดเป็ นสิง่ สาคัญ ปลูกฝัง่ ให้เด็กเกิดความมานะ พยายาม ต้องอุทศิ ตนเพือ่ จุดหมายปลายทางในอนาคต 2. การริเริม่ ทางการศึกษา ควรเริม่ ต้นทีค่ รู ครูเป็ นผูน้ าในการเรียน และสร้างพัฒนาการให้กบั เด็ก ทาหน้าทีเ่ ชื่อมโยงโลกของผูใ้ หญ่กบั โลกของเด็กเข้าด้วยกัน 3. หัวใจสาคัญของการศึกษา คือ การเรียนรูเ้ นื้อหาวิชามาเชื่อมโยงกัน การศึกษาช่วยให้เอกัตบุคคลตระหนักในศักยภาพของตน ความรูแ้ ละประสบการณ์ทเ่ี ป็ นมรดกตกทอดเป็ นสิง่ ทีด่ งี ามและถูกต้อง เน้นความสาคัญของ “ประสบการณ์ของเชือ้ ชาติ” 4. โรงเรียนควรรักษาวิธกี ารดัง้ เดิมทีใ่ ช้ระเบียบวินัยและการอบรมจิตใจเป็ นสิง่ ทีส่ ง่ เสริม การเรียนรู้ การสอนเด็กให้เกิดการเรียนรู้ ควรสอนให้เข้าใจในสาระสาคัญ แม้ว่าจะต้องมีการปรับให้สอดคล้องกับความต้องการของเด็ก แนวคิ ดทางการศึกษาของสารัตถนิ ยม จุดมุ่งหมายทางการศึกษา

1. ให้การศึกษาในสิง่ ทีเ่ ป็ นเนื้อหา สาระ (Essential subject – matter) อันได้จากมรดกทางวัฒนธรรม โดยการรักษาและถ่ายทอดสูค่ นรุ่นหลัง 2. ให้การศึกษาเพือ่ การเรียนรูใ้ นเรื่องของความเชื่อ ทัศนคติ และค่านิยมของสังคมในอดีต 3. ธารงรักษาสิง่ ทีด่ งี ามต่าง ๆ ในอดีตเอาไว้ 4. มุ่งพัฒนาผูเ้ รียนให้เป็ นผูม้ รี ะเบียบวินัย มีปัญญา และรักษาอุดมคติอนั ดีงามของสังคมไว้ หลักสูตร เป็ นหลักสูตรทีเ่ น้นเนื้อหา (Subject – matter Oriented) เป็ นหลักสาคัญ โดยยึดประสบการณ์ของเชื้อชาติ หรือมรดกทางวัฒนธรรมเป็ นหลัก ได้รบั การจัดไว้อย่างเป็ นระบบต่อเนื่องตามขัน้ ตอนความยากง่าย จะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการเรียนการสอน วิชาพืน้ ฐาน เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ ตรรกวิทยา ศิลปะ ดนตรี ภาษาและวรรณคดี โดยมีการผสมผสานกันเพือ่ ช่วยเพิม่ ทักษะในการอ่าน การเขียน การคิดและจินตนาการให้ตวั ผูเ้ รียน หลักสูตรจะต้องสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน กระบวนการเรียนการสอน 1. การเรียนการสอนจะเน้นการบรรยายเป็ นหลัก โดยมีศลิ ปะของการถ่ายทอดความรูเ้ ป็ นสาคัญ 2. มีหลักการอบรมจิตใจ และถ่ายทอดค่านิยมเพือ่ สร้างนิสยั ทีด่ งี ามให้เกิดแก่ผเู้ รียน 3. กระบวนการเรียนการสอนจะมี “ครู” เป็ นผูม้ บี ทบาทสาคัญเป็ นศูนย์กลาง 4. การเรียนการสอนคานึงถึงความสามารถ ความสนใจ และจุดหมายของผูเ้ รียนเพือ่ ให้เกิดการเรียนรู้ ผู้สอน 1. ผูส้ อนหรือครู ต้องเป็ นผูท้ ม่ี คี วามรูด้ ี มีความประพฤติดี มีศลี ธรรม เป็ นแบบอย่างทีด่ ี และ เป็ นศูนย์กลางของห้องเรียน

2. ผูส้ อนควรต้องเป็ นผูม้ ที กั ษะ เทคนิควิธี ทีจ่ ะโน้มน้าวให้นกั เรียนเห็นคุณค่าของการเรียนรู้ 3 .ผูส้ อนต้องเสริมสร้างความสนใจและเป้ าหมายในการเรียนรูใ้ ห้แก่ผเู้ รียน 5. ผูส้ อนมีบทบาทสาคัญในอันทีจ่ ะกาหนด หรือตัดสินใจในกิจกรรมทางการเรียนรู้ ผู้เรียน 1. ผูเ้ รียนเป็ นผูร้ บั ผูฟ้ ั ง และทาความเข้าใจในเนื้อหาต่าง ๆ ทีค่ รูกาหนด 2. ผูเ้ รียนเป็ นผูเ้ รียนรู้ เป็ นผูส้ บื ทอดค่านิยม และมรดกทางวัฒนธรรมไว้และถ่ายทอดให้คนรุ่น หลังต่อไป 3. ผูเ้ รียนต้องเป็ นผูท้ ม่ี คี วามพยายาม อดทน และเป็ นผูม้ รี ะเบียบวินยั โรงเรียน 1. มีจุดมุ่งหมาย เพือ่ สงวน รักษา และประเมินคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรม 2. ทาหน้าทีฝ่ ึกฝน อบรมทางปั ญญาให้แก่เยาวชน เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้เรียนรู้ เข้าใจเรื่องราวหรือ มรดกทางสังคม 3. เป็ นสถาบันเพือ่ ความมันคง ่ ความเป็ นระเบียบของสังคมแต่ไม่เป็ นผูน้ าของสังคม 4. ช่วยสงวนรักษาความดีงาม คุณค่า และวัฒนธรรมของสังคมให้ประณีต สมบูรณ์ขน้ึ และ ถ่ายทอดให้คนรุ่นใหม่รบั ช่วงต่อไป 6. ให้ผเู้ รียนรูก้ ฎเกณฑ์ ระเบียบ ประเพณีและวัฒนธรรมของสังคม ผู้บริ หาร 1. มีลกั ษณะแบบรวมอานาจ คือ ผูบ้ ริหารตัดสินใจแต่เพียงผูเ้ ดียว 2. มีลกั ษณะยึดกฎระเบียบ ยึดกฎหมายเป็ นสาคัญ 3. มีลกั ษณะยึดแบบอย่าง ยึดมาตรฐาน ยึดระเบียบวินยั 4. มีการบริหารจัดการเรื่องการเรียนรูไ้ ปในทางเดียวกัน คือระบบบริหารเป็ นแบบสังงาน ่ (Bureaucratic Model) การวัดผลประเมิ นผล 1. เชื่อว่าความรูท้ แ่ี ท้จริงอยู่ภายนอกตัวผูเ้ รียน สามารถรับรูด้ ว้ ยจิต 2. การได้มาซึง่ ความรูน้ นั ้ เป็ นการรับมาโดยกระบวนการถ่ายทอด จดจา

3. ใช้วธิ กี ารทดสอบความจาในเนื้อหาวิชาทีไ่ ด้เรียนมาประเมินผูเ้ รียนทางด้านทฤษฎี(วิชา การ)เป็ นสาคัญ

ปรัชญาการศึกษาพิ พฒ ั นาการนิ ยม( PROGRESSIVISM ) ปรัชญาการศึกษาพิพฒ ั นาการนิยม (Progressivism) มีรายชื่อเรียกเป็ นหลายอย่างเช่นอุปกรณ์นิยม (Instrumentalism) ประสบการณ์นิยม ( Experimentalism) นอกจากนี้ตาราบางเล่มก็เรียกว่า อนุกรรมวาท หรือก้าวหน้านิยม การศึกษาแผนใหม่ ( New Education) เป็ นต้น ปรัชญาการศึกษาลัทธิน้เี ป็ นปรัชญาการศึกษาที่ แพร่หลายและเป็ นทีก่ ล่าวถึงทัวโลกมากที ่ ส่ ุดลัทธิหนึ่ง แนวความคิดและการปฏิบตั ทิ างการศึกษาก็มแี ตกต่างกันไปประเทศสหรัฐอเมริกาเองซึง่ เป็ นแหล่งกาเนิดขอ งปรัชญาการศึกษาลัทธิน้คี วามคิดก็ยงั ไม่ลงรอยกันในทุกเรื่อง ยิง่ เมื่อมีผนู้ าทัศนะนี้ไปปนกับการเคลื่อนไหวของการศึกษาแบบพิพฒ ั นาการยิง่ ทาให้เกิดความสับสนมากยิง่ ขึน้ ความหมายของคาพิพฒ ั นาการนิยม (Progressivism) คาพิพฒ ั นาการนิยม (ประกอบด้วยคา Progressive + ism ) บางแห่งใช้คาว่าพิพฒ ั นนิยม ในทีน่ ้ขี อใช้คาพิพฒ ั นาการนิยม และถือว่าทัง้ คาพิพฒ ั นาการนิยม และพิพฒ ั นนิยม มีความหมายอย่างเดียวกันคือเป็ นทีแ่ ปลมาจากคา Progressivism ด้วยกันทัง้ สองคา ซึง่ เป็ นคนสาหรับเรียกชื่อลัทธิปรัชญาทีม่ ลี กั ษณะเป็ นแนวคิดแบบก้าวหน้า (Progressive viewpoint)

Progressivism (พิพฒ ั นนิยม) หรือ การศึกษาแบบพิพฒ ั นาการถือว่า ได้มองการศึกษาในฐานะเป็ นกระบวนการถ่ายทอดวัฒนธรรม (Gultural Transmission) ก็คอื หนทางก้าวหน้าไปสูว่ ฒ ั นธรรม ( progressive Road to Culture) ตามทฤษฎีกค็ อื การศึกษาทีม่ ุ่งทางด้านความเปลีย่ นแปลง ความหมายโดยรวม คือ พิพฒ ั นาการ หมายถึง การเปลีย่ นแปลงทีไ่ ม่หยุดนิ่ง การจัดการศึกษาต้องปรับปรุงให้มคี วามสอดคล้องกันกับความเปลีย่ นแปลง จึงได้ช่อื ว่า “แนวทางแห่งความอิสระทีจ่ ะนาไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลง ปรับปรุง วัฒนธรรม และสังคม” แนวคิ ดพื้นฐานและความเป็ นมาของปรัชญาการศึกษาพิ พฒ ั นาการนิ ยม แนวความคิดทางการศึกษาแบบพิพฒ ั นาการนิยม หรือ Progressivism มีรากฐานจากปรัชญาบริสุทธิ ์ ลัทธิประจักษ์วาทเป็ นต้น ปรัชญาการศึกษาลัทธิแพร่หลายทีส่ ุด จนถึงปั จจุบนั มีแนวคิดเช่นเดียวกับปรัชญาปฏิบตั นิ ิยม เชื่อว่าสิง่ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงได้เสมอตามกาลเวลาและสิง่ แวดล้อม (เปลีย่ นแปลงไปตามสิง่ แวดล้อม) องค์ประกอบทีม่ อี ทิ ธิพลสูงสุดในการกาหนดรูปแบบของวัฒนธรรม และสังคม เช่น การค้นคว้าทดลอง เพือ่ ประสบการณ์ของมนุษย์ทเ่ี กิดมาจากผัสสะ เพราะฉะนัน้ มนุษย์จะเน้นความสาคัญและคุณค่าของ แต่ละบุคคลให้มาก การศึกษาต้องเปลีย่ นแปลงไปตามสภาพการณ์ไม่ยดึ ติดกับรูปแบบเดิม ก่อให้เกิดการปรับปรุงและพัฒนาด้านการศึกษาอย่างต่อเนื่อง Continuous Improvement ( การปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง) วิ วฒ ั นาการของปรัชญาการศึกษาพิ พฒ ั นาการนิ ยม วิ วฒ ั นาการของพิ พฒ ั นาการนิ ยม เมื่อกล่าวถึงลัทธิพฒ ั นาการนิยมในฐานะทีเ่ ป็ นปรัชญาการศึกษา หรือปรัชญาของโรงเรียนแผนใหม่แล้ว วิวฒ ั นาการของปรัชญาการศึกษาลัทธิพพิ ฒ ั นาการนิยม หรือวิวฒ ั นาการของโรงเรียนแผนใหม่ มีสาระสาคัญดังนี้ จอห์น ดิ วอี้ กล่าวยืนยันว่า พันเอก ฟรานซิส ปาร์คเก้อร (Colonel Francis Parker) คือบิดาของการศึกษาแบบพิพฒ ั นาการ เพราะเหตุว่า พันเอกฟรานซิส ปาร์คเก้อร เป็ นผูเ้ สนอให้มกี ารปฏิรปู ระบบโรงเรียนเสียใหม่ เมื่อปี ค.ศ. ๑๘๗๐ เพราะเขามีความเห็นว่าระบบโรงเรียนแบบเก่า (Traditional School or Conventional School) นัน้ ไม่เหมาะสมกับสภาพของสังคมชาวอเมริกนั ในขณะนัน้

เนื่องด้วยระบบโรงเรียนแบบเก่าเข้มงวดในเรื่องระเบียบแบบแผน ประเพณี ระเบียบวินยั มากเกินไป ทาให้เกิดบรรยากาศการเรียนเฉื่อยชา และปรากฏว่าโรงเรียนบางแห่งจัดการศึกษาแบบตามสบายคือไม่มจี ุดยืนทีแ่ น่นอน สแตนวูด๊ คอบบ์ (Stanwood Cobb) ได้จดั ตัง้ สมาคมการศึกษาแบบพิพฒ ั นาการ (The Progressive Education Association) ขึน้ ในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ. ๑๙๑๙ และนับตัง้ แต่นนั ้ เป็ นต้นมา ปรัชญาการศึกษาแบบพิพฒ ั นาการก็เป็ นทีร่ จู้ กั และยอมรับกันอย่างแพร่หลาย ช่วงเวลาทีป่ รัชญาการศึกษาลัทธิพพิ ฒ ั นาการนิยม มีอทิ ธิพลและได้รบั ความนิยมอย่างกว้างขวางในประเทศสหรัฐอเมริกา ได้แก่ช่วงระหว่าง ค.ศ. ๑๙๒๐ – ๑๙๕๐ ความคิ ดพื้นฐานบางประการของการศึกษาพิ พฒ ั นาการ พืน้ ฐานหรือรากฐาน (Foundations) ทีส่ าคัญๆ ของการศึกษาแบบพิพฒ ั นาการมีอยู่ ๕ ประการคือ 1) พืน้ ฐานทางปรัชญา

2) พืน้ ฐานทางจิตวิทยา

4) พืน้ ฐานทางประวัตศิ าสตร์

3) พืน้ ฐานทางสังคมวิทยา

5) พืน้ ฐานทางเทคโนโลยี

การวิ เคราะห์แนวคิ ดของปรัชญาการศึกษาพิ พฒ ั นาการนิ ยม (Progressivism) ยึดหลักประสบการณ์นิยม (Experimentalism) เป็ นหลัก เชื่อว่านักเรียนเรียนรูไ้ ด้โดยอาศัยประสบการณ์และการกระทาจริง ๆ ครูจงึ มีหน้าทีจ่ ดั เตรียมประสบการณ์ทด่ี แี ละเหมาะสมให้นกั เรียนเพือ่ ให้เขาได้รบั ประสบการณ์และมีสว่ นร่วม ในกิจกรรมต่าง ๆ ของสังคม การเรียนการสอนจะทาในลักษณะการกาหนดปั ญหาให้นกั เรียนหาทางแก้ เพือ่ ฝึกให้ผเู้ รียนสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้อย่างมรประสิทธิภาพ ในบางแห่งได้กา้ วหน้าไปถึงขัน้ ให้โรงเรียนและนักเรียนเป็ นผูน้ าในการปรับปรุงและพัฒนาสังคมไปในทางที่ ต้องการ กลายเป็ นลัทธิใหม่เรียกว่า ปฏิรปู นิยม หลักของปรัชญาพิ พฒ ั นาการ 1 ) ยึดเด็กเป็ นศูนย์กลาง ถ้าเด็กเป็ นฝ่ ายกระตือรือร้นทีจ่ ะมีสว่ นร่วมและริเริม่ กิจกรรมการเรียนรู้ ครูเป็ นผูค้ อยแนะนาและจัดเตรียมประสบการณ์ ไม่เน้นเนื้อหาวิชา แต่มุ่งให้เด็กพัฒนาทัง้ ทางร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา

2 ) เน้นการทดลอง และการปฏิบตั จิ ริง โดยเฉพาะการฝึกแก้ปัญหา 3 ) ถือว่าการศึกษาคือ ชีวติ เป็ นการพัฒนาเด็กในทุกด้าน มุ่งให้เด็กเกิดความเจริญงอกงาม และเพิม่ พูนสติปัญญาสาหรับการดาเนินชีวติ 4 ) เน้นการร่วมมือมากกว่าการแข่งขัน เน้นความรับผิดชอบ 5 ) มุ่งเสริมวิถที างประชาธิปไตย สอนให้นกั เรียนรูจ้ กั ทางานเป็ นหมู่คณะ รูจ้ กั เป็ นผูน้ าและผูต้ ามทีด่ ี ฝึกให้รจู้ กั แสดงความคิดเห็น การจัดชัน้ เรียนคละกันทัง้ เด็กเก่งและเด็กอ่อน ตามสภาพทีเ่ ป็ นจริงของสังคมภายนอกให้เรียนรูก้ ารทางานเป็ นกลุ่มและการร่วมมือกัน รูจ้ กั แก้ปัญหาหรือทากิจกรรม โต๊ะ เก้าอี้ สามารถเคลื่อนย้ายได้ตามความเหมาะสมกับสภาพการเรียนการสอน แม้แต่ตารางสอนก็จดั แบบยืดหยุ่นได้ มุ่งทีค่ วามสนใจของผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ เนื้อทีเ่ รียนต้องนาไปใช้ประโยชน์ในชีวติ จริงได้ ดังคากล่าวทีว่ ่า การศึกษาคือชีวติ จึงควรให้โอกาสแก่เด็กทุกคนได้รบั การศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน หลักการสาคัญของทฤษฎีการศึกษาตามแนวคิ ดฝ่ ายพิ พฒ ั นาการนิ ยม หลักการสาคัญของทฤษฎีการศึกษาตามแนวคิดฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยม โดยสรุปแล้ว ก็พอจะนามากล่าวได้ดงั นี้ 1. การศึกษา คือ ชีวติ ไม่ใช่เป็ นการเตรียมตัวเพือ่ ชีวติ หมายความว่า การทีจ่ ะมีชวี ติ อยู่อย่างชาญฉลาดนัน้ จะต้องอาศัยการเข้าใจความหมายของประสบการณ์ ฉะนัน้ เด็กจึงควรจะได้เรียนรูใ้ นการสิง่ ทีเ่ หมาะสมแก่วยั ของเขา และสิง่ ทีจ่ ดั ให้เด็กเรียนนัน้ ควรจะเป็ นไปในทางทีก่ ่อให้เกิดประสบการณ์ทเ่ี ด็กอาจจะต้องประสบเมื่อโตเป็ นผูใ้ หญ่ เรียนรูเ้ พือ่ ให้สามารถเข้าใจปั ญหาของชีวติ และสังคมในปั จจุบนั และหาทางปรับตัวให้เข้าภาวะทีเ่ ป็ นจริงในปั จจุบนั 2. การเรียนควรจะเรียนในสิ่ งที่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับความสนใจของเด็ก ดังนัน้ แนวคิดของฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยมจึงถือว่า เด็กเป็ นส่วนสาคัญในกระบวนการเรียน ดร.คีลแพทริค จึงสนับสนุนให้จดั โรงเรียนแบบยึดเด็กเป็ นศูนย์กลาง ซึง่ กระบวนการเรียนนัน้ จะเป็ นไปตามแนวทางทีเ่ ด็กแต่ละคนสนใจ ทัง้ นี้ ไม่ได้หมายความว่าครูจะปล่อยให้เด็กเลือกเรียนอะไร ๆ ก็ได้ตามความปรารถนาของตนไปเสียทุกอย่าง ถ้าหากเด็กยังไม่โตพอทีเ่ ข้าใจในจุดมุ่งหมายอันสาคัญแห่งชีวติ ได้ ครูกย็ ่อมจะต้องช่วยแนะนา เด็กนัน้ ย่อมต้องการแนะแนวทางจากครู เพราะครูเป็ นผูม้ ปี ระสบการณ์มามากกว่า

3. การเรียนโดยวิ ธีแก้ปัญหาย่อมจะมีความสาคัญกว่าการเรียนโดยวิ ธีท่องจาเนื้ อหาวิ ชา ฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยมคัดค้านวิธกี ารเรียนรู้ โดยการยัดเยียดความรูซ้ ง่ึ เป็ นนามธรรมเข้าไปในจิตใจและความจาของเด็ก และเห็นว่าความรูน้ นั ้ เป็ นเพียงเครื่องมือทีจ่ ะช่วยให้เด็กมีประสบการณ์เท่านัน้ ประสบการณ์ย่อมเป็ นสิง่ ทีม่ คี วามสาคัญกว่า การจะให้เด็กมีประสบการณ์ในเรื่องใด ๆ ย่อมต้องอาศัยวิธกี ารแก้ปัญหา ในการเรียนวิชาต่าง ๆ นัน้ แทนทีจ่ ะสอนในเนื้อหาวิชาจึงเป็ นการนาเนื้อหาวิชาเหล่านัน้ มาสร้างเป็ นปั ญหา ซึง่ จะเป็ นปั ญหาต่าง ๆ ทีม่ อี ยู่ในสังคมปั จจุบนั เช่น ปั ญหาสุขภาพ ปั ญหาการคมนาคม การขนส่ง ปั ญหาเกีย่ วกับการค้าและเศรษฐกิจ เป็ นต้น 4.บทบาทของครูนัน้ ไม่ใช่เป็ นผู้บงการหรือออกคาสัง่ แต่จะทาหน้าทีใ่ นการให้คาแนะนาและคาปรึกษา ในลักษณะเช่นนี้เด็กจะเป็ นผูก้ าหนดว่าตนเองต้องการอะไร มีแผนการในการเรียนอย่างไร ต้องการประสบความสาเร็จในด้านใด จากการทีไ่ ด้ทราบความต้องการของเด็กเช่นนี้ ครูกจ็ ะคอยเป็ นผูใ้ ห้คาปรึกษาและแนะนา การทีจ่ ะทาเช่นนี้อย่างได้ผล ครูจะต้องอาศัยความรูแ้ ละประสบการณ์ของตนมาใช้เป็ นประโยชน์ในการให้คาแนะนา โรงเรียนควรจะส่งเสริ มให้เด็กเกิ ดความร่วมมือ ไม่ใช่สง่ เสริมให้เกิดการแข่งขัน มนุษย์นนั ้ โดยธรรมชาติย่อมจะไม่อยู่โดดเดีย่ ว หากแต่จะอยู่กนั เป็ นหมู่คณะทีเ่ รียกว่าสังคม และความพอใจสูงสุดของมนุษย์นนั ้ ก็ได้มาจากการทีไ่ ด้มคี วามสัมพันธ์และการพึง่ พาซึง่ กันและกัน นักการศึกษาฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยมจึงเชื่อว่า ความรักก็ดี การช่วยเหลือเกือ้ กูลซึง่ กันและกันก็ดี จะเป็ นสิง่ ทีเ่ หมาะทีค่ วรยิง่ กว่าการแข่งขันเพือ่ ให้ได้มาซึ่งประโยชน์สว่ นตน ดังนัน้ การศึกษาในฐานะทีเ่ ป็ นปั จจัยในการสร้างสรรค์ประสบการณ์ จึงเป็ นเครื่องมือสร้างสรรค์ธรรมชาติของมนุษย์เพือ่ ให้อยู่ในสังคมอย่างเป็ นสุขนันก็ ่ คอื ให้มนุษย์รจู้ กั ร่วมมือกัน วิ ถีทางแบบประชาธิ ปไตยเท่านัน้ ที่จะส่งเสริ มให้เกิ ดมีความสัมพันธ์กนั ทางแนวควา มคิ ดและบุคลิ กภาพอย่างเสรี ซึง่ สิง่ นี้เองคือลักษณะทีจ่ าเป็ นสาหรับพัฒนาการทีถ่ ูกต้อง นันก็ ่ คอื หลักการข้อ ๕ กับข้อ ๖ มีความสัมพันธ์กนั อย่างใกล้ชดิ ตามความเห็นของฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยมนัน้ เห็นว่าประชาธิปไตยก็คอื การมีความร่วมมือใจกันนัน่ เอง ถ้าจะพูดกันอย่างเป็ นอุดมการณ์แล้ว “ประชาธิปไตย” ก็คอื “การมีประสบการณ์ร่วมกัน” ดังทีจ่ อห์น ดิวอี้

กล่าวว่า “ประชาธิปไตยนัน้ มีความหมายกว้างกว่าทีจ่ ะหมายถึงรูปแบบของการปกครองระบอบหนึ่งเท่านัน้ ความหมายในขัน้ พืน้ ฐานนัน้ หมายถึงแนวทางอยู่ร่วมกัน การมีประสบการณ์ร่วมกัน” ดังนัน้ คาว่า “ประชาธิปไตย” “พัฒนาการ” (Growth) และ “การศึกษา” จึงมีความสัมพันธ์กนั อย่างแนบแน่น การนาลัทธิ ปรัชญาการศึกษาพิ พฒ ั นาการนิ ยมไปใช้กบั การศึกษา ก่อนสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ วิชาครูหรือวิชาศึกษาศาสตร์ในโรงเรียนฝึกหัดครู หรือในแผนกฝึกหัดตรูมธั ยมของมหาวิทยาลัย ยังเป็ นแบบ Traditional, คือยังยึด “การสอนตามขัน้ ทัง้ ๕ ของ Herbart” อยู่ เมื่อนักเรียนฝึกหัดครูเหล่านัน้ ออกทาการฝึกสอนตามโรงเรียนต่าง ๆ ก็ตอ้ งเตรียมการสอนตามแบบของ Herbart ทัง้ สิน้ ในระหว่างสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ ประเทศไทยถูกภัยสงครามมาก ทุก ๆ อย่างชะงักงันไปหมดจึงไม่อาจจะมีอะไรเปลีย่ นแปลงในวงวิชาครูได้ ใน พ.ศ. ๒๔๘๘ (๑๙๔๕) สงครามโลกดังกล่าวสงบลง แต่กว่าทุกสิง่ ทุกอย่างโดยเฉพาะการศึกษาจะเข้ารูปเข้ารอยเดิม ก็กนิ เวลาอยู่บา้ ง ในระยะ ๑ – ๒ ปี หลังสงคราม นักเรียนไทยทีเ่ รียนวิชาศึกษาศาสตร์ทเ่ี อมริกา และติดสงครามอยู่นนั ้ ก็เริม่ ทยอยกลับมาบ้าง แต่กจ็ านวนน้อย เพราะคนทีเ่ รียนวิชาศึกษาศาสตร์ในสมัยนัน้ มีน้อยมาก อาชีพครูยงั เป็ นอาชีพทีต่ ่าต้อยเกินควร นอกจากผูท้ ส่ี อนในมหาวิทยาลัย แต่กส็ นั นิษฐานได้ว่านักเรียนไทยดังกล่าวนัน้ เมื่อเข้ารับราชการในมหาวิทยาลัยหรือในกระทรวงศึกษาธิการ แล้ว ก็คงจะพยายามสอดแทรกความคิดเรื่อง Progressive Education ให้แก่นกั เรียนหรือนิสติ ฝึกหัดครูได้บา้ งเล็ก ๆ น้อย ๆ เพราะโอกาสยังไม่อานวย คือว่า การฝึกหัดครูยงั อยู่ในระบบเดิม เช่นมีครูประถมแล้วสูงขึน้ ไปก็เป็ นครูมธั ยม ครูประถมต่ากว่า ครูมธั ยม เป็ นต้น ในพ.ศ. ๒๔๙๐ (๑๙๔๗) สหรัฐอเมริกาเริม่ ให้ทุนแก่นกั เรียนไทยไปเรียนวิชาศึกษาศาสตร์ ๑ ทุน และต่อมาอีกประมาณ ๑ – ๒ ปี กระทรวงศึกษาธิการก็เริม่ ส่งนักเรียนไทยไปศึกษาวิชาศึกษาศาสตร์ทอ่ี เมริกาเป็ นอันมาก และส่งครูไปดูงานหรือไปศึกษาทีอ่ งั กฤษอีกหลาย ๆ คน รวมแล้วทัง้ หมดเป็ นจานวน ๑๐๐ ทุนคนเหล่านี้เมื่อเรียนสาเร็จแล้วก็ทยอยกันกลับมารับใช้ประเทศชาติทนั ที ใน พ.ศ.๒๔๙๕ (๑๙๕๒) โรงเรียนฝึกหัดครูชนั ้ สูง ถนนประสานมิตร เริม่ สอนวิชาครูแบบ Progressive Education แต่กย็ งั ทาได้ไม่ถนัดมาก เพราะยังเป็ นหลักสูตรเดิม (หลักสูตรครูมธั ยม)

อยู่แต่กไ็ ด้รบี สอนเข้าไปทัง้ ปรัชญา Experimentalism และจิตวิทยา Gestalt และอื่น ๆ (John Dewey) ถึงแก่กรรมในปี ๑๙๕๒ นี้เอง ถ้าชักช้าอยู่จะตามเขาไม่ทนั ใน พ.ศ. ๒๔๙๖ (๑๙๕๓) โรงเรียนฝึกหัดตรูชนั ้ สูง ถนนประสานมิตรได้รบั การสถาปนาเป็ นวิทยาลัยวิชาการศึกษา (คือมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒในปั จจุบนั ) จึงสามารถเปลีย่ นระบบฝึกหัดครู และฝึกหัดศึกษาธิการได้ทงั ้ ระบบ คือ ๑) หลักสูตร ได้ใช้ระบบหน่วยกิต (Credit System) และทาการฝึกหัดครูในระดับปริญญา ตรี โท เอก คือได้ฝึกหัดครูประถมในระดับปริญญาฝึกหัดครูมธั ยมในระดับปริญญา ๒) วิ ธีสอน เริม่ ใช้วธิ กี ารแห่งปั ญญาเป็ นวิธกี ารสอนแทนวิธตี ามขัน้ ทัง้ ๕ ของ Herbert ตลอดจนพยายามปรับปรุงวิธกี ารสอนวิชาเฉพาะต่าง ๆ ด้วยเท่าทีจ่ ะทาได้ ๓) วิ ธีวดั ผล ก็ได้เปลีย่ นไปตามลักษณะของหลักสูตร มีการให้เขียนนิพนธ์ประจารายวิชา (Term Paper) มีการทดสอบย่อย ๆ และมีการสอบและวัดผลทุก ๆ ภาคเรียนผลทีว่ ดั ออกมาได้นนั ้ ก็เป็ นรูปของ Grade – Point – Average (G.P.A) แทนทีจ่ ะเป็ นเปอร์เซ็นต์ ๔) การบริ หารสถานศึกษา นอกจากจะพยายามใช้วธิ กี ารแห่งปั ญญา เป็ นเครื่องมือในการตัดสินใจแล้ว ก็พยายามสร้างน้าใจประชาธิปไตยขึน้ อีกด้วย จึงทาให้เกิด School Climate อย่างใหม่ขน้ึ เป็ นทีช่ ่นื ชมกันมากในตอนต้น (ใน พ.ศ. ๒๔๙๖ (๑๙๕๓) นัน้ เอง องค์การ USOM แห่งอเมริกามีนโยบายทีจ่ ะช่วยการศึกษาด้าน ต่าง ๆ ของประเทศไทย ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๙๗ (๑๙๕๔) ก็มกี ารทาสัญญาระหว่างวิทยาลัยวิชาการศึกษาแห่งกระทรวงศึกษาธิการ กับ School of Education แห่งมหาวิทยาลัย Indiana ของอเมริกา แล้วต่อมามหาวิทยาลัย Indiana นี้ ก็ได้ทาสัญญากับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ อีกของประเทศไทยเพื่อมาช่วยปรับปรุงแก้ไขและเร่งเร็วในงานัน้ ๆ ทฤษฎีการศึกษาหรือแนวคิ ดทางการศึกษาของปรัชญาการศึกษาลัทธิ พฒ ั นาการนิ ยม ในตอนต้นนี้จะขอนาเอาทฤษฎีการศึกษา หรือแนวคิดทางการศึกษาของปรัชญาการศึกษาลัทธิพพิ ฒ ั นาการ โดยจัดแบ่งออกเป็ นส่วน ๆ ตามลาดับดังต่อไปนี้ ๑. ความหมายของการศึกษา ๒. ความมุ่งหมายของการศึกษา ๓. โรงเรียนและหน้าทีข่ องโรงเรียน

๔. หลักสูตร ๕. หลักการสอน ๖. ครูและบทบาทของครู ๗. นักเรียน ๘. วินยั ๙. ค่านิยมทางการศึกษา (หรือค่านิยมทางสังคม) 1. ความหมายของการศึกษา : นักการศึกษาฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยมเชื่อว่า 1. การศึกษาคือ ขบวนการดารงชีวติ (Education is life) 2. การศึกษาคือ ขบวนการแห่งความเจริญงอกงาม (Education is grouch) 3. การศึกษาคือ ขบวนวิธแี ห่งการปฏิรปู ประสบการณ์อย่างต่อเนื่องกันไป (Education is a continuous reconstruction of experience) 4. การศึกษาคือ ขบวนวิธที างสังคม (Education is a social process) 5. การศึกษาคือ ขบวนวิธที อ่ี าศัยองค์ประกอบทีส่ าคัญสองส่วน ได้แก่ องค์ประกอบทางสังคม วิทยา และองค์ประกอบทางจิตวิทยา 6. การศึกษาคือ เครื่องมือสาคัญทีจ่ ะช่วยให้สงั คมก้าวหน้าและมีการปฏิรูปอย่างต่อเนื่อง 2. ความมุ่งหมายของการศึกษา : โรงเรียนแบบพิพฒ ั นาการหรือโรงเรียนของฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยม กาหนดความมุ่งหมายของการศึกษาไว้ดงั นี้ 1. ความมุ่งหมายของการศึกษาจะต้องตอบสนองความต้องการปั จจุบนั และความสนใจทีเ่ กิดขึ้ น ในขณะนัน้ ของนักเรียน (ซึง่ หมายถึงความต้องการและความสนใจทีแ่ ท้จริงของนักเรียน) 2. ความมุ่งหมายของการศึกษาจะต้องมุ่งพัฒนาความเจริญงอกงามด้านต่าง ๆ ของนักเรียน ได้แก่ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม อาชีพ และสติปัญญา ควบคู่กนั ไปกับความสนใจ ความถนัดและลักษณะพิเศษของผูเ้ รียนแต่ละคน ซึง่ จาเป็ นจะต้องได้รบั การเอาใจใส่ได้รบั การ

ส่งเสริม 3. ความมุ่งหมายของการศึกษาจะต้องมุ่งพัฒนาผูเ้ รียนให้เป็ นบุคคลทีม่ คี วามสามารถในการ พัฒนาตนเองและพัฒนาสังคมของตนอีกด้วย 3. โรงเรียนและหน้ าที่ของโรงเรียน : นักการศึกษาฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยมมีความเห็นว่า ๑. โรงเรียนคือ สถาบันทางสังคม เป็ นทีส่ าหรับสร้างสมาชิกทีด่ แี ละมีประโยชน์ต่อสังคม ๒. โรงเรียนจะต้องเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันกับสังคม ยอมรับการเปลีย่ นแปลงของสังคมโดยเฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวัฒนธรรม เมื่อโรงเรียนเป็ นส่วนของสังคมแล้ว โรงเรียนก็จะมีโอกาสสร้างนักเรียนในลักษณะใหม่ ทีม่ สี ติปัญญา มีความพร้อม มีความกระตือรือร้น มีความรู้จกั และเข้าใจสังคมอย่างดีพอ จนทาให้สงั คมมีพฒ ั นาการดาเนินไปอย่างต่อเนื่องอย่างไม่หยุดยัง้ ๓. โรงเรียนจะต้องได้รบั การตัง้ ขึน้ เพือ่ สนองความต้องการของสังคม โดยสังคมเป็ นผูม้ สี ว่ นร่วมในการดาเนินงาน และดารงอยู่ได้ดว้ ยการสนับสนุนของสังคม ๔. หลักสูตร : ทรรศนะของนักพิพฒ ั นาการนิยม หรือแนวคิดเกีย่ วกับหลักสูตรของโรงเรียนแบบพิพฒ ั นา การ 1. หลักของการจัดหลักสูตร มีดงั นี้ 1.1 ยึดหลักแห่งความแตกต่างระหว่างเอกัตบุคคล (Principle of individual differences) 1.2 ยึดหลักแห่งพัฒนาการและความเจริญงอกงามของบุคคล (Principle of the human growth and development) 1.3 การบรรจุวชิ าต่าง ๆ เข้าไว้ในหลักสูตรจะต้องเน้นความสาคัญแห่งประสบการณ์ ของผูเ้ รียน โดยถือว่าประสบการณ์นนั ้ ควรเป็ นประสบการณ์ทส่ี มั พันธ์กบั ชีวติ จริง ในปั จจุบนั ของสังคม และจะต้องให้เด็กมีสว่ นร่วมโดยตรงในประสบการณ์เหล่านัน้ นันคื ่ อในการบรรจุวชิ าต่าง ๆ เข้าไว้ในหลักสูตร จะต้องคานึงถึงพัฒนาการของ

ผูเ้ รียนเป็ นสาคัญโดยมุ่งหวังให้ผเู้ รียนมีพฒ ั นาการในด้านต่าง ๆ จนครบทุกด้าน และทีส่ าคัญทีส่ ุดก็คอื ทาให้ผเู้ รียนเข้าใจตนเอง เข้าใจสังคมของตน และมี ความสามารถทีจ่ ะประเมินประสบการณ์ของตน เพือ่ ประโยชน์ในการพัฒนาในขัน้ ต่อ ๆ ไป 2. รูปแบบและเนื้อหาวิชาของหลักสูตร นักการศึกษาฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยมมีความเชื่อดังนี้ 2.1 รูปแบบของหลักสูตร ควรเป็ นหลักสูตรแบบยึดถือเด็กเป็ นศูนย์กลาง (Child – centered curriculum) หรือหลักสูตรแบบกิจกรรม (Activity - centered curriculum) 2.2 เนื้อหาสาคัญของหลักสูตร คือการบรรจุวชิ าการต่าง ๆ เพือ่ กระตุน้ ให้นกั เรียนมี ความสนใจทีจ่ ะศึกษาให้เข้าใจในสังคมของตน และเข้าใจตนอง ดังนัน้ เนื้อหา สาคัญของหลักสูตร จึงควรแบ่งออกพิจารณาเป็ น ๒ ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ : เนื้อหาของหลักสูตรทีจ่ ะช่วยให้เข้าใจในสังคมและตนเอง ได้แก่ วิชา สังคมศึกษา และภาษา (หรือความรูท้ เ่ี กีย่ วกับการสือ่ ความหมายเพือ่ ประโยชน์ใน ชีวติ ประจาวัน) ทัง้ สองวิชานี้ควรได้รบั ความสนใจพิเศษ ส่วนที่ ๒ : เนื้อหาของหลักสูตรทีจ่ ะช่วยให้คน้ พบวิธกี าร (Method) อันหมายถึง วิธกี ารทางานแบบนักวิทยาศาสตร์ (Scientific method) หรือวิธกี ารแก้ปัญหา (Problem – solving method) จาเป็ นจะต้องอาศัยการประกอบกิจกรรม หรือ การให้โอกาสนักเรียนได้เลือกทากิจกรรมต่าง ๆ ตามทีเ่ ขาสนใจ 5. หลักการสอน : ทฤษฎีการสอนของนักการศึกษาฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยม มีดงั นี้ 1. รูปแบบของการสอน หรือกระสวนของการสอน (Pattern of teaching) ได้แก่ กระสวนการ สอนแบบกลุ่มทีม่ คี วามร่วมมือกันแบบพลวัต (Dynamic Cooperative group Pattern) ซึง่ มุ่งฝึกให้ผเู้ รียนได้สร้างการเรียนรูด้ ว้ ยการกระทาและมีโอกาสได้ฝึกการทางาน การเล่น

และการอยู่ร่วมกันในสังคมแบบประชาธิปไตย 2. ระเบียบวิธกี ารสอน (Method of Teaching) ทีค่ วรนามาใช้ ได้แก่ วิธสี อนแบบแก้ปัญหา และวิธกี ารสอนแบบโครงการ (Project method) 3. หลักการสอนทีค่ รูควรถือเป็ นแนวปฏิบตั ิ มีดงั นี้ 3.1 การเรียนการสอนเน้นทีค่ วามสนใจและความถนัดของผูเ้ รียน 3.2 การเรียนการสอนควรให้เด็กมีสว่ นร่วมในการวางแผน 3.3 ครูเป็ นผูจ้ ดั สิง่ แวดล้อมให้เด็กเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง 3.4 เด็กควรได้รบั ประสบการณ์ตรงในเรื่องทีศ่ กึ ษา 3.5 เด็กควรได้รบั ประสบการณ์ทน่ี ่าสนใจ ชักจูงใจ เช่นการใช้ภาพยนตร์ สไลด์ เชิญวิทยากร ฯลฯ 3.6 ผูเ้ รียนควรได้รบั ความช่วยเหลือให้รจู้ กั วิเคราะห์ปัญหา หาข้อมูล เพือ่ แก้ปัญหา และ วิเคราะห์ขอ้ มูลต่าง ๆ 3.7 ผูเ้ รียนควรได้รจู้ กั การวางโครงการ ดาเนินโครงการวิเคราะห์และประเมินโครงการ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 3.8 ส่งเสริมประชาธิปไตยและความร่วมมือในการเรียนการสอน 3.9 การเรียนควรเป็ นกระบวนการต่อเนื่องเกีย่ วพันกันตลอดเวลา ๖. ครูและบทบาทของครู : เมื่อพิจารณาจากหลักการสอนและหน้าทีข่ องโรงเรียนตามนัยแห่งแนวคิดทางการศึกษา ของฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยมแล้ว ย่อมทาให้เข้าใจในบทบาทและหน้าทีส่ าคัญของครู ได้ดงั นี้ ๑) หน้ าที่ของครู นักพิพฒ ั นาการนิยมเชื่อว่า หน้าทีส่ าคัญของครู ไม่ใช่การสอนหนังสือ และไม่ใช่ผถู้ ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรม แต่ครูเป็ นผูม้ หี น้าทีใ่ นการจัดเตรียมประสบการณ์ทเ่ี หมาะสมกับเด็ก การแนะแนวทาง และคอยให้คาปรึกษาแก่นกั เรียน เกีย่ วกับการสร้างประสบการณ์ของเด็กด้วยตัวของเขาเอง ในโอกาสอันสมควร หรืออาจกล่าวว่าจริงอยู่ ครูคอื ผูม้ คี วามรูก้ ว้างขวาง แต่ไม่ใช่หน้าทีข่ องครูทจ่ี ะบังคับ หรือไม่ใช่ผกู้ าหนดให้นกั เรียนต้องเรียนรูต้ ามทีค่ รูตอ้ งการ หรือไม่ใช่ผคู้ วบคุมให้นกั เรียนรูต้ ามทีค่ รูเคยรูม้ าก่อนแล้ว หน้าทีอ่ นั แท้จริงของครู

คือการทาหน้าทีเ่ ป็ นผูส้ นับสนุนให้เด็กได้มโี อกาสสร้างประสบการณ์เพือ่ การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง และประสบการณ์นนั ้ จะต้องช่วยให้นกั เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และการหยังรู ่ อ้ ย่างแท้จริงด้วยตัวของนักเรียน ๒) บทบาทของครู ในทรรศนะของนักการศึกษาฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยมแล้ว ครูไม่ใช่ผมู้ บี ทบาทสาคัญในการเรียนการสอน นักเรียนเท่านัน้ คือผูม้ บี ทบาทสาคัญมากทีส่ ุด สาหรับบทบาทของครูในการเรียนการสอน ได้แก่ บทบาทผูค้ อยกระตุน้ ผูค้ อยป้ อนแรงเสริม และคอยเฝ้ าดู หมายความว่า ในระยะแรก ครูคอยกระตุน้ ให้นกั เรียนมีความสนใจทีจ่ ะประกอบกิจกรรมเพือ่ การเรียนรูด้ ว้ ยตัวเอง ในระยะต่อมานักเรียนมีความสนใจทีจ่ ะเรียนรูด้ ว้ ยตัวเองแล้ว บทบาทของครูคอื การทาหน้าทีใ่ นการส่งเสริมและคอยให้คาปรึกษาในโอกาสอันควร จนกระทังแน่ ่ ใจว่านักเรียนได้ประกอบกิจกรรมตามแนวทางทีเ่ หมาะสมแล้วในระยะสุดท้ายครูจะต้องคอยสังเ กตและคอยเฝ้ าดูเท่านัน้ ให้นกั เรียนได้ทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตัวของเขาเอง โดยปราศจากการรบกวนใด ๆ ทัง้ สิน้ ๓) คุณสมบัติของครู ครูทด่ี ใี นทรรศนะของนักการศึกษาฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยม ย่อมได้แก่ ครูทส่ี ามารถปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละบทบาทตามทีไ่ ด้กล่าวข้างต้น ซึง่ หมายความว่า (๑) ครูจะต้องเป็ นผูม้ คี วามรูด้ ี จนมีความสามารถเป็ นผูน้ าทางวิชาการ อันเหมาะสมแก่การประกอบอาชีพของตน (๒) ครูจะต้องมีความรูเ้ กีย่ วกับธรรมชาติของนักเรียน อันได้แก่ ทฤษฎีพฒ ั นาการและความเจริญงอกงามของเด็ก (๓) ครูจะต้องมีบุคลิกภาพทีด่ ี (๔) ครูจะต้องมีความสามารถในการเป็ นผูน้ าทีด่ ี เป็ นผูร้ ่วมงานทีด่ ี และมีทกั ษะในการทางานร่วมกันกับนักเรียนได้เป็ นอย่างดี (๕) ครูจะต้องมีทกั ษะในการสอน การจัดห้องเรียน การใช้อุปกรณ์การสอน และการวัดผลเป็ นอย่างดี (๖) ครูจะต้องมีความสัมพันธภาพอันดีกบั ชุมนุมชน และสามารถนาเอาแหล่งความรูใ้ นชุมชนมาใช้เพือ่ ช่วยให้นกั เรียนได้รบั ความรูเ้ กีย่ วกับชุมนุมชนของตน ๗. นักเรียน : นักการศึกษาฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยม อาศัยทฤษฎีจติ วิทยาโดยเฉพาะอย่างยิง่ ทฤษฎีพฒ ั นาและความเจริญงอกงามของมนุษย์

นักเรียน : นักการศึกษาฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยม อาศัยทฤษฎีจติ วิทยาโดยเฉพาะอย่างยิง่ ทฤษฎีพฒ ั นาการและความเจริญงอกงามของมนุษย์ เป็ นหลักในการอธิบายเกีย่ วกับธรรมชาติของนักเรียนนัน่ คือการยอมรับว่านักเรียนคือ องคาพยพ (Organism) หรือสิง่ ทีม่ ชี วี ติ ซึง่ ย่อมจะดาเนินไปตามขบวนวิธแี ห่งชีววิทยา (Biological process) ทีส่ าคัญก็คอื นักการศึกษาฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยมไม่เชื่อในเรื่องบาปโดยกาเนิด (Original Sin) และไม่เชื่อว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมกับสิง่ ทีด่ ี (ตามทรรศนะของรูซโซ) แต่เชื่อว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมด้วยลักษณะทีว่ ่างเปล่า ๘. วิ นัย : ถึงแม้ว่านักการศึกษาฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยมมุ่งส่งเสริมเสรีภาพของเอกัตบุคคล แต่กส็ นับสนุนการเสริมสร้างวินยั เช่นกัน โดยถือว่าวินยั เป็ นสิง่ จาเป็ นต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมแบบประชาธิปไตย ดังนัน้ วินัยตามนัยของฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยม ย่อมได้แก่วนิ ยั ทีน่ กั เรียนได้สร้างขึน้ เพือ่ ตนเอง สาหรับการอยู่ร่วมกัน ทางานร่วมกัน และเล่นร่วมกันอย่างเป็ นสุขภายในโรงเรียน วินยั ตามนัยดังกล่า วนี้ ไม่ใช่วนิ ยั ทีเ่ กิดจากครูเป็ นผูส้ ร้างให้แก่นกั เรียน แต่เป็ นวินยั ทีน่ กั เรียนแต่ละคนและทุกคนสร้างขึน้ สาหรับตนเองด้วยความเข้าใจในสิทธิและหน้าทีร่ ่วมกัน โดยถือว่านักเรียนทุกคนมีสว่ นร่วมรับผิดชอบในการสร้างวินยั ให้แก่ตนเอง เพือ่ ประโยชน์ของส่วนรวม ๙. ค่านิ ยมทางการศึกษา (หรือค่านิ ยมทางสังคม) : นักการศึกษาฝ่ ายพิพฒ ั นาการนิยม ย่อมอาศัยหลักการดังนี้ ๑) หลักแห่งความแตกต่างระหว่างเอกัตบุคคล ๒) หลักแห่งการอยู่ร่วมกันอย่างเห็นอกเห็นใจกัน ๓) หลักแห่งพัฒนาการและความเจริญงอกงามของมนุษย์ ๔) หลักแห่งการเรียนรูด้ ว้ ยการกระทาจริง เป็ นแนวติดในการกาหนดค่านิยมทางการศึกษา หรือค่านิยมทางสังคม เช่นเมื่อกล่าวว่าความมุ่งหมายของการศึกษา ย่อมได้แก่การสร้างสมาชิกทีด่ ขี องสังคม คาว่า สมาชิ กที่ดี ของสังคมตามนัยแห่งลัทธิพพิ ฒ ั นาการนิยมย่อมหมายถึงสมาชิกทีม่ คี วามคิดริเริม่ มีความตื่นตัว มีความกล้าทีจ่ ะแสดงตนด้วยความมันใจและมี ่ ความสามารถในการร่วมมือและร่วมใจกับคนอื่น มีทกั ษะในการอภิปรายปั ญหาร่วมกันและมีทศั นคติทด่ี ตี ่อความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่าง ๆ การนาลัทธิ ปรัชญาการศึกษาพิ พฒ ั นาการนิ ยมไปใช้กบั การศึกษา การจัดกระบวนเรียนรูท้ ผ่ี เู้ รียนสาคัญทีส่ ุดควรคานึงถึงประเด็นทีส่ าคัญ ดังต่อไปนี้

๑. สมองของมนุษย์มีศกั ยภาพในการเรียนรู้สูงสุด สมองของมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์สมองประมาณหนึ่งแสนล้านเซลล์ เป็ นโครงสร้างทีม่ หัศจรรย์ โดยธรรมชาติสมองมีความพร้อมทีจ่ ะเรียนรูต้ งั ้ แต่แรกเกิด มีความต้องการทีจ่ ะเรียนรู้ สามารถเรียนรูใ้ ห้บรรลุอะไรก็ได้ มนุษย์ตอ้ งการเรียนรูเ้ กีย่ วกับตนเอง ธรรมชาติ และทุกอย่างรอบตัว มนุษย์สามารถเรียนรูส้ งิ่ ต่าง ๆ ได้ตอ้ งอาศัยสมองและระบบประสาทสัมผัส ซึง่ เป็ นพืน้ ฐานของการรับรู้ ซึง่ รับความรูส้ กึ จาก อวัยวะรับความรูส้ กึ คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ กระบวนการเรียนรูท้ ม่ี ปี ระสิทธิภาพ ผูส้ อนจะต้องสนใจ และให้ผเู้ รียนได้พฒ ั นาความสัมพันธ์ระหว่างสมอง (Head) จิตใจ (Heart) มือ (Hand) และสุขภาพองค์รวม (Health) ๒. ความหลากหลายของสติ ปัญญา คนแต่ละคนมีความสามารถ หรือความเก่ง แตกต่างกัน และมีรูปแบบการพัฒนาเฉพาะของแต่ละคน สิง่ แวดล้อมทีแ่ ตกต่างกัน ส่งผลต่อการพัฒนาเสริมสร้างความสามารถให้แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชดั โอเวิรด์ การ์ดเนอร์ ได้ศกึ ษาเกีย่ วกับความหลากหลายของสติปัญญาและได้จาแนกความสามารถของคนไว้ ๑๐ ประเภท คือ ด้านภาษา ดนตรี ตรรกและคณิตศาสตร์ การเคลื่อนไหว ศิลปะ / มิตสิ มั พันธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล / การสือ่ สารด้านความรูส้ กึ / ความลึกซึง้ ภายในจิตใจ ด้านความเข้าใจสิง่ แวดล้อม ด้านจิตวิญญาณ และด้านจิตนิยม การจัดกระบวนการเรียนรู้ ควรจัดกิจกรรมทีห่ ลากหลาย เพือ่ ส่งเสริมศักยภาพความเก่ง / ความสามารถของผูเ้ รียนเป็ นรายบุคคล เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้พฒ ั นาเต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคลซึง่ สามารถเก่งได้หลานด้าน ๓. การเรียนรู้เกิ ดจากประสบการณ์ตรง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ได้ดาเนินการรวบรวมแนวคิดทางทฤษฎีการเรียนรู้ และเสนอแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรูไ้ ด้ดงั นี้ ๑) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคลให้ผเู้ รียนได้พฒ ั นาเต็มตามความส ามารถทัง้ ด้านความรู้ จิตใจ อารมณ์และทักษะต่าง ๆ ๒) ลดการถ่ายทอดเนื้อหาวิชาลง ผูเ้ รียนกับผูส้ อนมีบทบาทร่วมกันใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้

ให้ผเู้ รียนได้เรียนจากสถานการณ์จริงทีเ่ ป็ นประโยชน์และสัมพันธ์กบั ชีวติ จริง เรียนรูค้ วามจริงในตัวเองและความจริงในสิง่ แวดล้อมจากแหล่งเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย ๓) กระตุน้ ให้ผเู้ รียนได้เรียนรูอ้ ย่างมีประสิทธิภาพโดยการทดลองปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง ครูทาหน้าทีเ่ ตรียมการ จัดสิง่ เร้า ให้คาปรึกษา วางแนวกิจกรรม และประเมินผล วิ เคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย ของการนาปรัชญาการศึกษาพิ พฒ ั นาการนิ ยม ไปใช้กบั การศึกษา มีหลายท่านเข้าใจผิดคิดว่าหลักสูตรแบบพิพฒ ั นาการนิยมนัน้ เป็ นหลักสูตรแบบยึดตัวผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง (Child – centered curriculum ) กล่าวคือยึดถือความสนใจของผูเ้ รียนเป็ นตัวกาหนดสิง่ ทีจ่ ะให้เรียนโดยไม่คานึงถึงว่า สิง่ ทีผ่ เู้ รียนสนใจหรือต้องการเรียนนัน้ จะมีความหมายหรือเป็ นประโยชน์ใดๆ แก่การสร้างสรรค์ทางสติปัญญาหรือการดาเนินชีวติ ของผูเ้ รียนหรือไม่ เป็ นการให้เสรีภาพ แก่ผเู้ รียนอย่างเต็มที่ ซึง่ ทัศนะดังกล่าวนี้ Dewey และนักการศึกษาประสบการณ์นิยมคนอื่นๆ ไม่เห็นด้วยและคัดค้านอย่างเต็มที่ โดยกล่าวว่าการกระทาของนักการศึกษาทีย่ ดึ ตัวผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลางดังกล่าวนัน้ เป็ นความผิดพลาดอย่างยิ่ งใหญ่ การเรียนรูจ้ ากประสบการณ์นนั ้ ควรเป็ นประสบการณ์ทไ่ี ด้รบั การพิจารณาเลือกสรร และควบคุมด้วยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ หรือผ่านการพิจารณาอย่างใคร่ครวญจากสังคมแล้วเท่านัน้ ไม่ใช่ประสบการณ์อะไรก็ได้เพราะการเรียนรูเ้ ช่นนัน้ อาจนาไปสูค่ วามวุ่นวาย แทนทีจ่ ะนาไปสูค่ วามเจริญงอกงามและการพัฒนาบุคคล และสังคมโดยส่วนรวม ดังนัน้ ในการเลือกสรรเนื้อหาวิชาและกาหนดหลักสูตรตลอดจนดาเนินการจัดการศึกษาโดยทัว่ ๆ ไปตามทัศนะของประสบการณ์นิยมแล้ว จึงควรยึดหลัก ๒ ประการร่วมกันคือ หลักจิตวิทยาเพือ่ เรียนรูค้ วามสนใจและความสามารถของผูเ้ รียน และหลักสังคมวิทยาเพือ่ กาหนดสิง่ ทีม่ คี วามหมายทางสังคมแก่ผเู้ รียน ดังนัน้ ลักษณะทีส่ าคัญของหลักสูตรแบบประสบการณ์นิยมจึงเน้นทีก่ จิ กรรมทีม่ คี วามหมายการ ประยุกต์ใช้ความรูเ้ พือ่ การพัฒนาชีวติ ของบุคคลและสังคม การใช้วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์เพือ่ แสวงหาความรูต้ ลอดจนแก้ปัญหาของชีวติ และสังคม และการกาหนด เนื้อหาวิชาให้สมั พันธ์กบั ชีวติ จริงของผูเ้ รียน หลักสูตรของประสบการณ์นิยมจึงเป็ นหลักสูตรทีย่ ดื หยุ่นได้ และเป็ นหลักสูตรเชิงปฏิบตั มิ ากกว่าจะเป็ นหลักสูตรทีใ่ ห้แต่ความรูเ้ พียงอย่างเดียว ข้อดีของการนาปรัชญาการศึกษาพิ พฒ ั นาการนิ ยม ไปใช้กบั การศึกษา

๑. ด้วยกระบวนการเรียนการสอนทีย่ ดึ ถือเด็กเป็ นศูนย์กลาง จะทาให้เด็กมีความตื่นตัว มีความสนใจและตัง้ ใจเรียนอยู่เสมอในการเรียนการสอน เพราะเป็ นการสอนตามความต้องการและความสนใจของเด็ก ๒. การเรียนการสอนทีเ่ น้นวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ทาให้เด็กได้ฝึกกระบวนการคิดเป็ นระบบ การคิดมีเหตุมผี ล เด็กมีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็นและการแก้ปัญหา ซึง่ จะเป็ นพืน้ ฐานในการดารงชีวติ ของเด็กในการอยู่ในสังคมต่อไป ๓. เป็ นการปูพน้ื ฐานการเรียนรูใ้ ห้เด็กเกิดการสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ อยู่เสมอ ไม่ว่าอยู่ในเหตุการณ์อย่างไร เด็กจะมีกระบวนการเรียนรูต้ ลอดเวลา เมื่อเด็กอยู่ในสังคมก็สามารถมีการเรียนรูต้ ลอดเวลา ๔. เด็กจะมีความสุขและได้รบั ประโยชน์จากการทางานเป็ นกลุ่มมากกว่าการทางานคนเดียว ๕. การเรียนการสอนแบบแลกเปลีย่ นประสบการณ์ จะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์กนั ทางความคิดและบุคลิกภาพอย่างเสรี ส่งเสริมให้เด็กได้ปกครองกันเอง มีเสรีภาพในการอภิปรายและแลกเปลีย่ นความคิดเห็น มีการวางแผนงานร่วมกันเป็ นคณะ และมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ ข้อเสีย ของการนาปรัชญาการศึกษาพิ พฒ ั นาการนิ ยม ไปใช้กบั การศึกษา ๑. การเรียนการสอนแบบเน้นผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง อาจจะทาให้เด็กขาดวินยั ไม่มคี วามรับผิดชอบ เพราะครูปล่อยให้เด็กทาอะไรเกินขอบเขต มีอสิ ระในการเลือกทีจ่ ะเรียนความความพอใจ ๒. การจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นความสนใจเด็กเป็ นหลัก เมื่อเด็กเกิดการเปลีย่ นใจในหัวเรื่องทีจ่ ะสนใจแล้วก็จะทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงเป้ าหมายการศึกษ า หรือจุดประสงค์การเรียนรูอ้ ยู่บ่อยตามความสนใจของเด็กซึง่ จะทาให้การเรียนการสอนไม่ต่อเนื่อง ๓. การเรียนการสอนแบบเน้นเด็กเป็ นศูนย์กลาง ครูจะต้องมีบทบาทเป็ นผูแ้ นะแนวมากกว่าบังคับเด็ก ซึง่ ครูจะต้องเป็ นผูท้ ม่ี คี วามรูร้ อบด้านและมีการแสวงหาความรูเ้ พิม่ เติมเสมอ แต่ปัจจุบนั ครูสว่ นใหญ่ยงั ขาดการเรียนรูเ้ พิม่ เติม และไม่มแี รงจูงใจในการเพิม่ เติมความรู้ การเสนอแนวทางแก้ปัญหา ประเด็นสาคัญและข้อเสนอแนะ การศึกษาตลอดชีวิตนัน้ อาศัยหลักสาคัญ ๔ ประการ คือ การเรียนเพือ่ รู้ การเรียนรูเ้ พือ่ ปฏิบตั ไิ ด้จริง การเรียนรูเ้ พือ่ ทีจ่ ะอยู่ร่วมกัน และ การเรียนรูเ้ พือ่ ชีวติ

การเรียนเพื่อรู้ โดยผสมผสานความรูท้ วไปที ั ่ ก่ ว้างขวางเพียงพอ เข้ากับโอกาสทีจ่ ะศึกษาบางวิชาอย่างละเอียดลึกซึง้ การเรียนเพือ่ รู้ หมายรวมถึงการฝึกฝนในวิธเี รียนรู้ เพือ่ จะได้ตกั ตวงประโยชน์จากการศึกษาไปจนตลอดชีวติ การเรียนรู้เพื่อปฏิ บตั ิ ได้จริ ง เพือ่ จะได้ไม่เพียงแต่มคี วามชานาญทางด้านวิชาชีพเท่านัน้ แต่ทก่ี ว้างกว่านี้ คือ สามารถรับมือกับสถานการณ์ต่าง ๆ และปฏิบตั งิ านเป็ นหมู่คณะ เป็ นการเรียนรูโ้ ดยอาศัยประสบการณ์ต่าง ๆ ทางสังคมและในการประกอบอาชีพ ซึง่ อาจเป็ นการเรียนรูน้ อกระบบโรงเรียน ทัง้ นี้สบื เนื่องจากสภาพในท้องถิน่ หรือประเทศนัน้ ๆ หรืออาจเป็ นการเรียนรูใ้ นระบบโรงเรียนโดยใช้หลักสูตรซึง่ ประกอบด้วยการเรียนในภาคทฤษฎีสลับกับการฝึ กปฏิบตั งิ าน การเรียนรู้เพื่อที่จะอยู่ร่วมกัน ด้วยการสอนให้เข้าใจผูอ้ ่นื และตระหนักดีว่ามนุษย์เราจะต้องพึง่ พาอาศัยกัน ดาเนินโครงการร่วมกัน และเรียนรูว้ ธิ แี ก้ปัญหาข้อขัดแย้งต่าง ๆ โดยชีใ้ ห้เห็นว่า ความหลากหลาย ความเข้าใจอันดีต่อกัน และสันติภาพนัน้ ล้าค่าและคู่ควรแก่การหวงแหน การเรียนรู้เพื่อชีวิต เพือ่ จะได้สามารถปรับปรุงบุคลิกภาพของตน ได้ดยี งิ่ ขึน้ ดาเนินงานต่าง ๆ โดยอิสรเสรียงิ่ ขึน้ มีดุลยพินิจ และความรับผิดชอบต่อตนเองมากขึน้ เกีย่ วกับเรื่องนี้ ในการจัดการศึกษา เราจะต้องไม่ละเลยศักยภาพในด้านใดด้านหนึ่งเป็ นอันขาด : ความจา การใช้เหตุผล ความซาบซึง้ ในสุนทรียภาพ สมรรถนะทางร่างกาย และทักษะในการติดต่อสือ่ สารกับผูอ้ ่นื การศึกษาในระบบ มักจะเน้นเรื่องการได้รบั ความรู้ จึงเป็ นผลเสียกับการเรียนรูป้ ระเภทอื่น ๆ ไป แต่บดั นี้ จาเป็ นอย่างยิง่ ทีเ่ ราจะต้องมองการศึกษาในวงกว้างวิสยั ทัศน์ดงั กล่ าวควรช่วยวางพืน้ ฐาน และให้แนวทางในการดาเนินงานปฏิรปู และวางนโยบายการศึกษา ทัง้ ในส่วนทีเ่ กี่ยวกับเนื้อหาสาระของหลักสูตร และสือ่ การเรียนการสอนอีกด้วย ข้อคิ ด ของการนาปรัชญาการศึกษาพิ พฒ ั นาการนิ ยม ไปใช้กบั การศึกษา เมื่อขึน้ ยุค Computer Age แล้วจริง ๆ ทุก ๆ คนก็คงจะมี Computer ประจาตัวใช้กนั โดยทัวไปการสอนก็ ่ คงจะง่ายขึน้ มาก นักเรียนแต่ละคนก็จะเรียนจากเครื่อง Computer ของตนเอง ซึง่ ได้ Program ไว้อย่างเหมาะสมกับลักษณะของเขาซึ่งย่อมจะแตกต่างไปจากของผูอ้ ่นื จึงทาให้เรียนได้เร็วขึน้ ทัง้ นี้แปลว่าครูได้แก้ปัญหาเรื่อง Individual differences หรือความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียนในชัน้ ของตนได้สาเร็จ

เมื่อเป็ นอย่างนี้แล้ว แปลว่านักเรียนอาจจะอยู่บา้ นได้มากขึน้ อาจจะมาโรงเรียนเฉพาะตอนทีค่ รูนดั หมายให้มารายงานผลงานหรือมาถกแถลงกับนักเรียนผูอ้ ่นื หรือมาในตอนทีจ่ าเป็ นจะต้องมีทากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันและอื่น ๆ บิดามารดาของนักเรียนนัน้ ก็อาจจะอยู่บา้ นได้มากขึน้ เช่นกัน เพราะว่าตามโรงงานต่าง ๆ นัน้ ตัวหุ่นยนต์ (Robot) ทางานเป็ นส่วนมากแล้ว บุคคลระดับบริหารจะประชุมกันก็อาจจะอยู่ท่ีบา้ นของตน แต่กป็ ระชุมโต้ตอบกันได้ทางจอโทรทัศน์ Computer ประดุจอยู่ในห้องประชุมด้วยกัน ในการสอบปากเปล่าระดับปริญญาโท หรือปริญญาเอกก็คงเช่นกัน ต่างคนต่างอยู่ทบ่ี า้ นแต่กท็ าการถามและอธิบายกันได้ทางโทรทัศน์ Computer บางทีอาจจะอยู่คนละประเทศก็ยงั ทาได้เป็ นแต่เพียงนัดเวลาให้ตรงกันเท่านัน้ สิง่ ต่าง ๆ ทีก่ ล่าวมานี้ โดยเฉพาะเรื่องสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียน เป็ นความฝันของครูมานานแล้ว ถ้าได้สอนรายตัวได้แล้วก็จะเป็ นการสมดังทีฝ่ ั นไว้นนั ้ ในประเทศอื่น ๆ คงจะเริม่ คิดและเริม่ ทาไปบ้างแล้ว ทัง้ นี้ตามทีอ่ ่านพบในวารสารทางการศึกษา และในหนังสืออื่น ๆ ส่วนตัวครูเองนัน้ ก็คงจะสอน อบรม แนะแนวได้ดว้ ยความสะดวกยิง่ ขึน้ แต่ในประเทศไทยเรานัน้ ครูไทยเห็นจะต้องฝันไปอีกนานกระมัง ถ้าเราไม่พยายามคิดและพยายามทาบ้าง ก็คงจะถูกทิง้ ให้ลา้ หลังไกลออกไปทุกที ๆ ถ้าถูกทิง้ ให้ลา้ หลัง ในคราวนี้แล้วก็คงยากทีจ่ ะตามได้ทนั , หรืออาจจะไม่ทนั เลย อย่างไรก็ตาม เราก็คงจะต้องพยายามและจะต้องใฝ่ ฝันเอาไว้ ดังทีก่ ล่าวกันอยู่ทวั ่ ๆ ไปว่า “You must have a dream. If you don’t have a dream, how can you say you have a dreamcome-true ?” ปัญหาของการนาปรัชญาการศึกษาพิ พฒ ั นาการนิ ยม ไปใช้กบั การศึกษา ๑. เด็กขาดระเบียบวินยั ขาดความรับผิดชอบต่อสังคม เพราะครูปล่อยให้เด็กทาอะไรเกินขอบเขต ๒. เป้ าหมายในการศึกษาไม่แน่นอน เพราะเด็กเกิดการเปลีย่ นใจง่ายในกระบวนการเรียนการสอน ๓. ในกระบวนการเรียนทีเ่ น้นนักเรียนเป็ นศูนย์กลาง ครูจะเป็ นผูใ้ ห้คาแนะนาซึง่ ปั จจุบนั ครูยงั ไม่มคี วามรูร้ อบด้าน ขาดการอบรมสัมมนาหาความรูเ้ พิม่ เติมอย่างต่อเนื่อง การเสนอแนวทางการแก้ปัญหา ข้อ ๑.

(๑) กิจกรรมการเรียนการสอนควรเสริมในด้านจริยธรรม คุณธรรม โดยให้เด็กมีสว่ นร่วมในการสร้างวินัยให้แก่ตนเอง เช่นเรื่องความรับผิดชอบในงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย (๒) ฝึกให้เด็กเรียนรูโ้ ดยการทางานเป็ นกลุ่ม เพือ่ เสริมสร้างความสามัคคี (๓) มีระเบียบข้อบังคับของโรงเรียนที่เน้นประโยชน์ต่อการปฏิบตั ติ นให้อยู่ในกฎระเบียบ (๔) ปลูกจิตสานึกให้เด็กมีความรักในงานทีท่ า และให้เด็กรูส้ กึ สนุก ชอบในงานทีท่ า (๕) ครูมอบหมายการทางานให้เด็กโดยเหมาะสมกับวัย ข้อ ๒. (๑) กาหนดเป้ าหมายการศึกษาสาหรับการเรียนรูร้ ะยะสัน้ เน้นให้แก่ปัญหาชีวติ ใน ปั จจุบนั อย่างต่อเนื่องจนชานาญจะเป็ นการเตรียมเพือ่ ชีวติ อนาคตทีม่ ปี ระสิทธิภาพกว่า (๒) เป้ าหมายในการศึกษาต้องชัดเจน ไม่คลุมเครือหรือห่างไกลตัวเด็กเกินไป (๓) ทาให้มองเห็นผลทีจ่ ะได้รบั อย่างต่อเนื่องเป็ นขัน้ ๆ ไป ทาให้เกิดการเรียนรูเ้ ป็ นลาดับ ขัน้ ตอน ข้อ ๓. (๑) จัดอบรมพัฒนาบุคลากรในด้านต่าง ๆ อย่างสม่าเสมอ และต่อเนื่อง (๒) สร้างแรงจูงใจในการแสวงหาความรูข้ องบุคลากรทางการศึกษา (๓) ครูตอ้ งมีความเชื่อมันในตั ่ วผูเ้ รียนว่าสามารถเรียนรูไ้ ด้ (๔) ครูตอ้ งมีวธิ กี ารสอนทีเ่ น้นกระบวนการมากกว่าเนื้อหา (๕) การจัดกระบวนการเรียนรูท้ ผ่ี เู้ รียนสาคัญทีส่ ุด ครูผสู้ อนต้องเตรียมศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาวิชาในหลักสูตรและวัตถุประสงค์ของการเรียนรูใ้ ห้เข้าใจอย่างถ่อง แท้ว่าหลักสูตรต้องการอะไร แค่ไหนและทาไมจึงต้องการอย่างนัน้ ทัง้ นี้ ครูผสู้ อนต้องร่วมมือกันทางานเป็ นทีม เพือ่ วางแผนจัดกระบวนการเรียนรูใ้ ห้มคี วามต่อเนื่องเชื่อมโยงกันอย่างมีความหมาย และบูรณาการสาระการเรียนรูแ้ ต่ละวิชาทีส่ มั พันธ์กนั เข้าด้วยกัน เพือ่ จัดกิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้สอดคล้องกับวิถชี วี ติ จริง และให้ผเู้ รียนได้เรียนรูจ้ ากประสบการณ์จริงให้มากทีส่ ุด โดยครูตอ้ งเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รียนได้มสี ว่ นร่วมในการกาหนดกิจกรรมและลงมือปฏิบตั จิ ริงทุกขัน้ ตอนสรุปควา มรูด้ ว้ ยตนเองรวมทัง้ ให้ผเู้ รียนมีปฏิสมั พันธ์กบั สมาชิกภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้เรียนรูว้ ธิ กี ารแสวงหาความรู้ ซึง่ ผูท้ ม่ี สี ว่ นช่วยให้กระบวนการเรียนรูน้ ้ีประสบความสาเร็จได้กค็ อื ครูผสู้ อน ทีต่ อ้ งเตรียมแหล่งข้อมูล

ทัง้ ในรูปของสือ่ การเรียน เทคนิควิธกี ารเรียนรู้ ใบความรู้ และวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจนชีแ้ นะแหล่งการเรียนรูต้ ่าง ๆ เพือ่ ให้ผเู้ รียนสามารถเลือกศึกษาค้นคว้าตามความต้องการ

๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.

๗.

บทสรุป หลักการสาคัญของลัทธิปรัชญาการศึกษาของพิพฒ ั นาการนิยม การศึกษา คือ ชีวติ ไม่ใช่การเตรียมตัวเพือ่ ชีวติ การเรียนรูน้ นั ้ ต้องสัมพันธ์โดยตรงกับความสนใจของเด็ก โรงเรียนจะต้องส่งเสริมให้มกี ารร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน โรงเรียนจะต้องเป็ นห้องปฏิบตั กิ ารทีเ่ รียนรูช้ วี ติ จริง และต้องเป็ นต้นแบบของประชาธิปไตย การเรียนรูด้ ว้ ยการแก้ปัญหา บทบาทของครู ต้องไม่ใช่ผนู้ าตลอดไป แต่ตอ้ งเป็ นผูใ้ ห้คาแนะนา แก่ผเู้ รียนทีจ่ ะแก้ปัญหาและโครงการของเขา ดังนัน้ ครูจงึ ต้องอดทน ยืดหยุ่น มีวนิ ยั ความคิดก้าวหน้า และต้องฉลาด ประชาธิปไตยเท่านัน้ ทีจ่ ะส่งเสริมให้เด็กมีพฒ ั นาการทัง้ ในด้านความคิดและบุคลิกภาพทีด่ ใี นสังคมที่ พัฒนา ปรัชญาการศึกษาบูรณนิ ยม (Reconstructionism) ปรัชญาการศึกษาลัทธิบูรณนิยม มีช่อื เรียกเป็ นภาษาไทยแตกต่างกันไป เช่น ปรัชญาการศึกษาบูรณาการนิยม ปฏิรปู นิยม บูรณกรรมวาท เป็ นต้น ปรัชญาการศึกษาแบบนี้มรี ากฐานความคิดส่วนหนึ่งมาจากปรัชญาปฏิบตั นิ ิยม เช่นเดียวกับ ปรัชญาการศึกษาพิพฒ ั นาการนิยม แต่เกิดขึน้ ภายหลัง เนื่องจากหลักการและการปฏิบตั ทิ างการศึกษาของพิพฒ ั นาการนิยมทีเ่ ป็ นอยู่ทวั ่ ๆ ไป ในต้นศตวรรษที่ 20 นัน้ มุ่งเน้นแต่จะแก้ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ เฉพาะหน้ามากเกินไป จนมองไม่เห็นแผนการในการสร้างสังคมทีช่ ดั เจน และแน่นอนพอ ดังนัน้ เมื่อประเทศสหรัฐอเมริกาประสบกับภาวะเศรษฐกิจ และการเมืองตกต่าประมาณปี ค.ศ. 1930 การศึกษาแบบพิพฒ ั นาการนิยมทีป่ ฏิบตั กิ นั ทัวไปในโรงเรี ่ ยน จึงไม่สามารถช่วยอะไรได้มากกว่าทีท่ าหน้าทีเ่ สมือน "ผ้าพันแผลให้กบั ร่างกายทีห่ วิ และอ่อนแอเท่านัน้ " นันคื ่ อ หลักการและการปฏิบตั ขิ องพิพฒ ั นาการนิยม ไม่สามารถจะช่วยขจัดปั ญหาของสังคมได้ เพราะเมื่อหมดปั ญหาหนึ่งปั ญหาอื่น ๆ ก็ยงั ติดตามมาอย่างไม่สน้ิ สุด

นักการศึกษาคนสาคัญ นักการศึกษาแบบบูรณนิ ยมที่สาคัญ ได้แก่ 1. ยอร์จ เคานทส์ (George Counts) 2. แฮโรลด์ รักก์ (Harold Rugg) 3. ธีโอดอร์ แบรมเมลด์ (Theodore Brameld) 4. ซิดนีย์ ฮุค (Sidney Hook) เป็ นต้น การวิ วฒ ั นาการ จอห์น ดิวอี้ เป็ นคนแรกทีใ่ ช้คาว่า "Reconstructionism"แปลตามตัวว่า การปฏิรปู การบูรณะ หรือการสร้างขึน้ ใหม่ ในแนวคิดปรัชญาของเขาตัง้ แต่ทศวรรษ 1920 ต่อมาประมาณ ค.ศ. 1930 ยอร์จ เคานทส์ และแฮโรลด์ รักก์ คือ ผูน้ าคนสาคัญของนักคิดกลุ่มแนวหน้า (Frontier Thinkers) ซึง่ เรียกร้องให้โรงเรียนมีบทบาทสาคัญทีจ่ ะสร้างสรรค์สงั คมใหม่ ซึ่งเป็ นสังคมทีม่ คี วามยุตธิ รรมยิง่ ขึน้ จนกระทัง่ ปี ค.ศ. 1950 คืออีกประมาณ 20 ปี ธีโอดอร์ แบรมเมลด์ นักการศึกษาชัน้ นาคนหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ได้เสนอแนวคิดปรัชญาการศึกษา เกีย่ วกับ "การศึกษาเพือ่ ปฏิรปู สังคม" พร้อมกับเสนอรายละเอียดเกีย่ วกับการจัดการศึกษา ตามระบบบูรณาการนิยม(Reconstructionism) จึงกล่าวได้ว่า แบรมเมลด์ เป็ นผูน้ าในการวางรากฐานการศึกษาตามแบบบูรณาการนิยม ทีม่ แี นวปฏิบตั ิ ดังปรากฏอยู่ในทุกวันนี้ โดยเขียนหนังสือมากมาย และ ทีส่ าคัญ ๆ ก็ได้แก่ Patterns of Educational Philosophy (1950) Toward a Reconstructed Philosophy of Education (1956) และ Education as Power (1965) และสาหรับยุคนัน้ เดิมมีทศั นะแบบประสบการณ์นิยม แต่ต่อมาภายหลังก็เห็นด้วยกับแนวคิดแบบบูรณนิยม แนวคิ ดแบบบูรณนิ ยม แนวคิดของปรัชญาการศึกษาบูรณนิยม มีนกั การศึกษาได้ให้แนวคิดไว้ดงั นี้ ๑. แนวคิดแบบหัวรุนแรง (Radicalism) แนวคิดโดยทัว่ ๆ ไป ของนักการศึกษาแบบบูรณนิยมนัน้ เป็ นแนวคิดแบบหัวรุนแรง ซึ่ง แพร็ท (Pratte) กล่าวว่าแนวคิดแบบหัวรุนแรงของบูรณนิยมนัน้ เป็ นแบบกลาง ๆ ไม่ใช่หวั รุนแรงแบบสุดโต่ง เหมือนพวกคอมมิวนิสต์ กล่าวคือ นักบูรณนิยมนัน้ เป็ นพวกทีม่ องการณ์ไกลไปในอนาคต และเห็นว่าปั จจุบนั นัน้ จะต้องสืบเนื่องต่อไปในอนาคต แต่เป็ นอนาคตทีม่ นุษย์สามารถจะกาหนดได้ จากความสามารถทางสติปัญญา และการทดลองร่วมกันของสมาชิกทัง้ มวล

2. รากฐานความคิดทางมานุษยวิทยา (Anthropology) ถึงแม้ปรัชญาการศึกษาแบบบูรณนิยมจะมีรากฐานความคิดส่วนหนึ่งมาจากปรัชญาปฏิบตั นิ ิยม แต่กม็ คี วามคิด ทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์ของตนเองโดยเฉพาะ ซึง่ ได้มาจากผลของการค้นคว้าทางมานุษยวิทยาสมัยใหม่ ซึง่ เชื่อว่ามนุษย์เป็ นผูส้ ร้างสรรค์วฒ ั นธรรมและในทางกลับกันวัฒนธรรมก็ทามนุษย์ให้เป็ นมนุษย์ เพราะฉะนัน้ จึงไม่ใช่เรื่องแปลกทีค่ นในสังคมเดียวกันมักจะมีวฒ ั นธรรมเหมือนกันและคนต่างสังคมกันก็มกั จ ะมีวฒ ั นธรรมต่างกันไป ความมุ่งหมายของการจัดการศึกษาแบบบูรณนิ ยม ปรัชญาการศึกษาบูรณนิยมนัน้ มองเห็นข้อบกพร่องของปรัชญาการศึกษาพิพฒ ั นาการนิยมว่าไม่สา มารถจะขจัดปั ญหาสังคมทีท่ บั ถมกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และยังมีความเห็นอีกว่า วิธกี ารของพิพฒ ั นาการนิยมทีใ่ ช้นนั ้ อาจจะเหมาะกับสังคมทีม่ คี วามเปลีย่ นแปลงไม่มากนัก และไม่รวดเร็วนัก เช่น สังคมในยุคของเสรีประชาธิปไตยแบบปล่อยไปตามบุญตามกรรม (Laissez-faire Liberalism) แต่เมื่อสังคมอยู่ในภาวะวิกฤติ (Crisis) เช่น ทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกาประสบราว ๆ ค.ศ. 19301950 นัน้ มีปัญหาและความเปลีย่ นแปลง องค์ประกอบพืน้ ฐานทีส่ าคัญ 3 ประการ ตามแนวทัศนะของปรัชญาบูรณนิยม ทีจ่ ะทาให้การสร้างสรรค์สงั คมใหม่สาเร็จได้ จึงประกอบด้วย ความสามารถทางสติปัญญาของสมาชิกในสังคมทีจ่ ะเลือกคิด สืบเสาะ แสวงหาวิพากษ์วจิ ารณ์ และวางแผนการสาหรับสร้างสรรค์วฒ ั นธรรมให้แก่สงั คมใหม่ อุดมการณ์ของประชาธิปไตย เพือ่ เปิ ดโอกาสให้มวลสมาชิกในสังคมได้ร่วมกันคิด สืบเสาะหา พิจารณา และตัดสินในการแสวงหาแนวทางสาหรับสังคมใหม่ ซึง่ เป็ นการตกลงร่วมกันของมวลสมาชิก ไม่ใช่การใช้อานาจ ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ข้อมูลและหลักฐานการค้นพบของวิทยาศาสตร์ และศาสตร์สาขาต่าง ๆ เพือ่ เป็ นพืน้ ฐานประกอบในการพิจารณา และตัดสินใจของสมาชิกในสังคม หลักสูตรการจัดการศึกษาตามแนวบูรณนิ ยม เมื่อความมุ่งหมายอันสูงสุดของบูรณนิยมนัน้ อยู่ทก่ี ารใช้การศึกษาเป็ นเครื่องมือแสวงหาเป้ าหมายแ ละทิศทางของสังคมในอุดมคติ เพือ่ จะได้ปฏิรูปสังคมปั จจุบนั ให้เป็ นไปตาม "ภาพของสังคมในอุดมคติ" นัน้ หลักสูตรสาหรับแนวปรัชญาลัทธิบูรณนิยม

Reconstructionismจึงควรเป็ นหลักสูตรทีย่ ดึ อนาคตเป็ นศูนย์กลาง (Future-centered Curriculum)นัน่ คือจัดเนื้อหาวิชาและแผนการเรียนการสอนให้เอือ้ ต่อการแสวงหา เป้ าหมายสาหรับอนาคต

วิ ธีการเรียนการสอนแบบบูรณนิ ยม นักปรัชญาแนวลัทธิบูรณนิยม Reconstructionism มีแนวคิดทีต่ อ้ งการปฏิรปู ให้ไปสู่รปู แบบใหม่ หรือสร้างสรรค์วฒ ั นธรรมใหม่ในภาวะวิกฤติ เช่นนี้ วิธกี ารทีเ่ หมาะสมควรจะเป็ น "วิธกี ารสร้างสรรค์ และวางแผน" (Method of Creating and Designing) มากกว่า "ซึง่ จะเป็ นวิธกี ารในการแสวงหาความเป็ นระเบียบและเป็ นเอกภาพในสังคมทีส่ บั สน ไม่เป็ นระเบียบ และไม่มเี อกภาพ" นัน่ คือ นอกจากจะเป็ นวิธกี ารในการแก้ปัญหาแล้ว ยังเป็ นการมองไปข้างหน้าเพือ่ แสวงหาแผนการทีเ่ หมาะสมในอนาคตด้วย ดังนัน้ วิธกี ารทีจ่ ะเอือ้ ต่อ "การสร้างสรรค์และวางแผน" ได้แก่ การพานักเรียนไปพบสภาพทีเ่ ป็ นจริงในสังคม เช่น ในแหล่งชุมชนแออัด ในโรงงานอุตสาหกรรม อื่น ๆ เป็ นต้น จากแนวคิดและทัศนะต่าง ๆ ของนักการศึกษาปรัชญาลัทธิบูรณนิยม ได้สรุปไว้พอสรุปแนวคิดทัวไปของลั ่ ทธิบูรณนิยม มีดงั นี้ 1. สังคมทัวไปในอนาคต ่ ควรเป็ นสังคมทีป่ กครองโดยสามัญชน โลกอนาคตทีอ่ าศัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพือ่ เสริมสร้างสถานการณ์พูนสุขและสร้างความมันคงปลอดภั ่ ยให้แก่มวลมนุษย์ สังคมในอนาคตควรเป็ นสังคมนานาชาติ และรวมความเชื่อทางศาสนาและประชาธิปไตยเข้าด้วยกัน และประสานเข้ากับเทคโนโลยี และศิลปะสมัยใหม่ เพือ่ สร้างวัฒนธรรมใหม่ซง่ึ มีมวลชนโดยรวมของโลกเป็ นผูด้ แู ลรักษา 2. มีความเห็นสอดคล้องกับกลุ่มนิรนั ตรนิยม ที่เชื่อว่าสังคมปั จจุบนั มีความวิกฤติทางอารยธรรม แต่ไม่เห็นด้วยว่า จะต้องย้อนสูอ่ ดีต เพือ่ นาวัฒนธรรมสมัยกลางมาเป็ นแนวทางการดารงชีวติ และไม่เห็นด้วยกับกลุ่มสารัตถนิยม ทีม่ ุ่งจะอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมดัง้ เดิม ในขณะเดียวกันก็ไม่เห็นด้วยกับกลุ่มพิพฒ ั นาการนิยม ทีม่ ุ่งเปลี่ยนแปลงแก้ไขปั ญหาสังคม เฉพาะทีเ่ ป็ นอยู่ในปั จจุบนั แนวทางทีค่ วรจะเป็ นคือ การปฏิรูปอย่างจริงจัง เพือ่ สร้างวัฒนธรรมสาหรับอนาคตขึน้ มาใหม่ แนวคิ ดที่สาคัญ ๆ ทางการศึกษาของปรัชญาลัทธิ บูรณนิ ยม อาจจะสรุปได้ดงั นี้

1. การศึกษาจะต้องรับภาระทีจ่ ะสร้างสรรค์ระบบสังคมใหม่ขน้ึ มา ซึง่ เป็ นสังคมทีบ่ รรลุคุณค่าขัน้ พืน้ ฐานของวัฒนธรรม และในขณะเดียวกันก็ให้สอดคล้องกับภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมของโลกใน ยุคใหม่ดว้ ย 2. สังคมใหม่จะต้องเป็ นสังคมประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ซึง่ มีประชาชนในสังคมเป็ นผูค้ วบคุมสถาบันต่างๆ ตลอดจนทรัพยากรทัง้ หลาย ตามแนวคิดของ แบรเมลด์ คือ ถ้าโลกเป็ นประชาธิปไตยทีแ่ ท้จริง ประชาชนระดับผูใ้ ช้แรงงาน ควรเป็ นผูค้ วบคุม สถาบันและทรัพยากรต่าง ๆ การจัดการศึกษาจึงต้องเน้นความเป็ นประชาธิปไตย 3. ผูเ้ รียน โรงเรียน และการศึกษา เป็ นไปตามหลักของสังคมและวัฒนธรรมโดยไม่มกี ารผ่อนผัน ดังนัน้ การศึกษาจึงต้องสอนให้ผเู้ รียนคานึงถึงสังคม ไม่ใช่สอนให้ตระหนักในตัวเองเพียงอย่างเดียว โรงเรียนไม่ควรมุ่งเพียงทีจ่ ะสร้างความเจริญเติบโตให้แก่ผเู้ รียนตามธรรมชาติของแต่ละคน แต่จะต้องช่วยให้ได้เรียนรู้ วิธกี ารทางานร่วมกันเพือ่ สังคมด้วย 4. ครูมบี ทบาทในการหาทางช่วยให้ผเู้ รียน มองเห็นความถูกต้อง และความจาเป็ นทีจ่ ะสร้างสรรค์สงั คมใหม่ โดยใช้วธิ กี ารประชาธิปไตย ให้เด็กได้รบั หลักฐานข้อเท็จจริงต่าง ๆ และให้คดิ วิเคราะห์ขอ้ เท็จจริงต่าง ๆ อย่างเสรี เปิ ดเผย และหาข้อ สรุปเป็ นทางเลือกได้โดยยุตธิ รรม 5. อาศัยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ตามแบบพิพฒ ั นาการนิยม ในการค้นหาความรูแ้ ต่ให้ความสนใจกับ "เรื่องทีจ่ ะคิด" (What to think) มากกว่ากระบวนการคิด (How to think) ตามแนวพิพฒ ั นาการนิยม โดยวิจารณ์ว่า ลัทธิพพิ ฒ ั นาการมีจุดอ่อนเพราะสนใจแต่เพียงวิธคี ดิ (Means) โดยไม่คานึงว่าสิง่ ทีค่ ดิ ได้นนั ้ จะให้คุณหรือให้โทษแก่สงั คมอย่างไรบ้าง จุดมุ่งหมายของการศึกษา 1. การศึกษาจะต้องช่วยแก้ปัญหาของสังคมทีเ่ ป็ นอยู่ 2. การศึกษาจะต้องเป็ นไปเพือ่ ส่งเสริมพัฒนาสังคมโดยตรง 3. การศึกษาอาศัยมุ่งสร้างระเบียบใหม่ของสังคม จากพืน้ ฐานเดิมทีม่ อี ยู่ 4. ระเบียบใหม่ทส่ี ร้างขึน้ จะต้องอยู่บนรากฐานของประชาธิปไตย 5. การศึกษาจะต้องให้เด็กเห็นความสาคัญของสังคมควบคู่ไปกับตนเอง เนื้ อหาวิ ชา เนื้อหาวิชาจะเกี่ยวกับสภาพและปั ญหาของสังคมเป็ นส่วนใหญ่ ซึง่ จะเน้นอยู่ในหมวดสังคมศึกษา นอกจากนัน้ ก็จะเน้นเนื้อหาเกีย่ วกับวิทยาศาสตร์ ศิลปะ การศึกษา มนุษย์สมั พันธ์ และวิชาทีเ่ กีย่ วกับเทคนิคและวิธกี ารต่างๆการจัดการเรียนการสอน มีลกั ษณะคล้ายกับปรัชญาพิพฒ ั นนิยม

กล่าวคือ ให้เด็กได้เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ลงมือทาเอง มองเห็นปั ญหา และเข้าใจเรื่องราวด้วยตนเอง ใช้วธิ กี ารแก้ปัญหา วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั อาศัยวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ วิธกี ารทางปรัชญา มาประกอบด้วย และเป้ าหมายปลายทางจะต้องเป็ นไปเพือ่ สังคมเป็ นหลัก บทบาทของครูตามปรัชญานี้จะต้องเป็ นนักบุกเบิก นักแก้ปัญหา และมีความรอบรูเ้ รื่องของสังคมและปั ญหา ข้อดีการศึกษาของปรัชญาลัทธิ บูรณนิ ยม 1. ยกย่องความเป็ นปั จเจกบุคคล ให้คนมีเสรีภาพในการศึกษา ทาให้เป็ นการเปิ ดโอกาสให้คนปรับตัว เข้ากับสภาพแวดล้อม ให้เด็กได้มโี อกาสในการคิด วิเคราะห์ ถกเถียง ครูเป็ นผูช้ ้แี นะ ผูป้ ระสานให้เด็กเป็ นผูแ้ สดงความรูต้ ่าง ๆ เพราะฉะนัน้ จะทาให้ได้ความคิดทีห่ ลากหลาย จากผูแ้ สดงความความรูต้ ่าง ๆ 2. ทาให้ผเู้ รียนสามารถนาความรูท้ ไ่ี ด้ จากการปรัชญาทีย่ กย่องมนุษย์ว่า "มนุษย์เป็ นผูม้ คี วามคิด" และยกย่องว่า "คนรูจ้ กั เลือก แก้ปัญหาสังคมได้" แล้วนามาตอบสนองความต้องการของสังคมได้ มิใช่เรียนแต่ในตารา 3. ปลูกฝังค่านิยมของความเป็ นประชาธิปไตย หรือเป็ นการปกครองทีเ่ ลวน้อยทีส่ ุด เสรีนิยม แบบสังคมนิยม การเมือง เคารพแนวคิดแบบวิทยาศาสตร์ โดยใช้วธิ กี ารค้นหาความจริงด้วยเหตุผล และทดลองลงมือปฏิบตั จิ ริง ข้อเสีย การศึกษาของปรัชญาลัทธิ บูรณนิ ยม 1. เป็ นอุดมคติมากเกินไป ไม่สอดคล้องกับความเป็ นจริง 2. มองมนุษย์ในแง่ดเี กินไป 3. ไม่สอดคล้องกับความเป็ นจริงของการศึกษาในปั จจุบนั ข้อเสนอแนะการศึกษาของปรัชญาลัทธิ บูรณนิ ยม 1. ต้องเสนอทางเลือกให้เด็กเยอะ ๆ 2. ปรับเป้ าหมายทางการศึกษาใหม่ ไม่ใช่มุ่งรับใช้ตลาดอย่างเดียว 3. ควรเดินสายกลางตามแนวทางของพระพุทธศาสนา

ปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง เป็ นปรัชญาชีถ้ งึ แนวการดารงอยู่และปฏิบตั ติ นของประชาชนในทุกระดับตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพือ่ ให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวฒ ั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีระบบภูมคิ ุม้ กันในตัวทีด่ พี อสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ

อันเกิดจากการเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายนอกและภายใน ทัง้ นี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง่ ในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขัน้ ตอน หลักแนวคิ ดของเศรษฐกิ จพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาทีต่ งั ้ อยู่บนพืน้ ฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมคิ ุม้ กันทีด่ ใี นตัว ตลอดจนใช้ความรูค้ วามรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา ปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง ประกอบไปด้วย 5 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1. กรอบแนวคิ ด เป็ นปรัชญาทีช่ แ้ี นะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบตั ติ นในทางทีค่ วรจะเป็ น โดยมีพน้ื ฐานมาจาก วิถชี วี ติ ดัง้ เดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิงระบบทีม่ ี การเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิงระบบทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้น การรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพือ่ ความมันคง ่ และความยังยื ่ นของการพัฒนา ส่วนที่ 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนามาประยุกต์ใช้กบั การปฏิบตั ติ นได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบตั บิ นทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขัน้ ตอน ส่วนที่ 3. คานิ ยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ ดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีทไ่ี ม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผูอ้ ่นื เช่นการผลิต และการบริโภคทีอ่ ยู่ในระดับ พอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกีย่ วกับระดับของความพอเพียงนัน้ จะต้องเป็ นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องตลอดจนคานึงถึงผลทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ จากการกระทานัน้ ๆ อย่างรอบคอบ 3. การมีภูมคิ ุม้ กันทีด่ ใี นตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลีย่ นแปลงด้านต่าง ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ โดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ในอนาคตทัง้ ใกล้ และไกล ส่วนที่ 4. เงื่อนไข

การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนัน้ ต้องอาศัยทัง้ ความรู้ และคุณธรรม เป็ นพืน้ ฐาน 2 เงือ่ นไข ดังนี้ เงือ่ นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ กีย่ วกับวิชาการต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบทีจ่ ะนาความรูเ้ หล่านัน้ มาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพือ่ ประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขัน้ ปฏิบตั ิ เงือ่ นไขคุณธรรม ทีจ่ ะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวติ ส่วนที่ 5. แนวทางปฏิ บตั ิ / ผลที่คาดว่าจะได้รบั จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาทีส่ มดุล และยังยื ่ น พร้อมรับต่อการเปลีย่ นแปลงในทุกด้าน ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี

หลักของความมีภมู ิ ค้มุ กัน 2 ประการ ภูมปิ ั ญญา : มีความรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ภูมธิ รรม : ซื่อสัตย์ สุจริต ขยันอดทนและแบ่งปั น พอเพียง คือ ไม่เบียดเบียน ความพอเพียงนี้ อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่นต้องให้พอประมาณตามอัตภาพพูดจาก็พอเพียง ทาไรก็พอเพียง ปฏิบตั ติ นก็พอเพียง โลภน้ อย คือ พอเพียง คนเราถ้าพอในความต้องการก็มคี วามโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย การปฏิ บตั ิ ตนตามแนวทางเศรษฐกิ จพอเพียง เราสามารถมีสว่ นร่วมในการปฏิบตั ติ ามแนวเศรษฐกิจพอเพียงโดยร่วมปฏิบตั ใิ นสิง่ ง่ายดังนี้ 1.ยึดหลักประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายทีไ่ ม่จาเป็ นในทุกด้าน ลด ละ ความฟุ่มเฟื่ อยในการดารงชีวติ 2.ประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดารงชีพ 3.ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ทร่ี ุนแรงและไม่ถูกต้อง 4.ไม่หยุดนิ่งทีจ่ ะหาทางให้ชวี ติ หลุดพ้นจากความทุกข์ โดยขวนขวายหาความรู้ ให้เกิดรายได้เพิม่ พูนจนถึงขัน้ พอเพียง 5.ปฏิบตั ติ นในแนวทางทีด่ ี ลดละสิง่ ชัวร้ ่ ายให้หมดสิน้ ไป การนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน ด้านเศรษฐกิจ ไม่ใช้จ่ายเกินตัว ไม่ลงทุนเกินขนาด คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ มีภูมคิ ุม้ กันไม่เสีย่ งเกินไป เช่น ทาบัญชีรายรับรายจ่ายเพือ่ ทีจ่ ะจัดการการใช้จ่ายเงินได้อย่างเป็ นระบบ ด้านจิตใจ มีจติ ใจเข้มแข็ง มีจติ สานึกทีด่ ี เอือ้ อาทร เห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวมมากกว่า ประโยชน์สว่ นตัว ด้านสังคมและวัฒนธรรม ช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน รู้ รัก สามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว และชุมชน รักษาเอกลักษณ์ ภาษา ภูมปิ ั ญญา และวัฒนธรรมไทย

ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รูจ้ กั ใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ ฟื้ นฟูทรัพยากรเพือ่ ให้เกิดความยังยื ่ นและคงอยู่ ชัวลู ่ กหลาน เช่น การใช้น้าอย่างประหยัด ปิ ดไฟเมื่อไม่ใช้งาน ขึน้ ลงชัน้ เดียวใช้บนั ไดแทนลิฟท์ ด้านเทคโนโลยี รูจ้ กั ใช้เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและสภาพแวดล้อม พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมปิ ั ญญาชาวบ้าน

การจัดการความรู้ (KM) Knowledge Management การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) หมายถึง การรวบรวมองค์ความรูท้ ม่ี อี ยู่ในองค์กร ซึง่ กระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็ นระบบ เพือ่ ให้ทุกคนในองค์กร สามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็ นผูร้ ู้ รวมทัง้ ปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถเชิงแข่งขันสูงสุด การจัดการความรู้ คือเครื่องมือเพือ่ การบรรลุเป้ าหมายอย่างน้อย 4 ประการไปพร้อม ๆ กัน ได้แก่ (1) การบรรลุเป้ าหมายของงาน (2) การบรรลุเป้ าหมายด้านการพัฒนาคน (3) การบรรลุเป้ าหมายด้านการพัฒนาองค์กรไปเป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (4) การบรรลุเป้ าหมายของการเป็ นชุมชน หมู่คณะ ทีม่ คี วามเอือ้ อาทรระหว่างกันในทีท่ างาน — นพ.วิจารย์ พาณิช ประเภทขององค์ความรู้ 1. ความรูท้ ฝ่ี ังอยู่ในคน (tacit knowledge) เป็ นความรูท้ ไ่ี ด้จากประสบการณ์ พรสวรรค์ หรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทาความเข้าใจในสิง่ ต่าง ๆ เป็ นความรูท้ ไ่ี ม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็ นคาพูดหรือลายลักษณ์อกั ษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทางาน งานฝีมอื หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครัง้ จึงถูกเรียกว่ าเป็ นความรูแ้ บบนามธรรม 2. ความรูท้ ช่ี ดั แจ้ง (explicit knowledge)

เป็ นความรูท้ ส่ี ามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธตี ่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ทฤษฎี คู่มอื ต่าง ๆ และบางครัง้ ถูกเรียกว่าเป็ นความรูแ้ บบรูปธรรม การจัดการความรู้ เป็ นการดาเนินการอย่างน้อย 6 ประการต่อความรู้ 1. กาหนดความรูห้ ลักทีจ่ าเป็ นหรือสาคัญต่องานและองค์กร 2. เสาะหาความรูท้ ต่ี อ้ งการ 3. ปรับปรุง ดัดแปลง หรือสร้างความรูใ้ ห้เหมาะต่อการใช้งานของตน 4. ประยุกต์ใช้ความรูก้ บั งานของตน 5. นาประสบการณ์จากการทางานและการประยุกต์ใช้ความรูแ้ ล้วมาแลกเปลีย่ น เรียนรู้ และสกัด “ขุมความรู”้ ออกมาบันทึกไว้ 6. จดบันทึก “ขุมความรู”้ และ “แก่นความรู”้ สาหรับไว้ใช้งานและปรับปรุงเป็ นชุดความรูท้ ค่ี รบถ้วน ลุ่มลึก และเชื่อมโยงให้เหมาะกับการใช้งานมากขึน้ เป้ าหมาย คือ การบรรลุผลสัมฤทธิในการด ์ าเนินการตามทีก่ าหนดไว้ ทีเ่ รียกว่า Operation Effectiveness และนิยามผลสัมฤทธิ ์ ออกเป็ น 4 ส่วน คือ 1) การสนองตอบ (Responsiveness) ซึง่ รวมทัง้ การสนองตอบความต้องการของลูกค้า สนองตอบความต้องการของเจ้าของกิจการหรือผูถ้ อื หุน้ สนองตอบความต้องการของพนักงาน และสนองตอบความต้องการของสังคมส่วนรวม 2) การมีนวัตกรรม (Innovation) ทัง้ ทีเ่ ป็ นนวัตกรรมในการทางาน และนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์หรือบริการ 3) ขีดความสามารถ (Competency) ขององค์กร และของบุคลากรทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ซึง่ สะท้อนสภาพการเรียนรู้ขององค์กร 4) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ซึง่ หมายถึงสัดส่วนระหว่างผลลัพธ์ กับต้นทุนทีล่ งไป การทางานทีป่ ระสิทธิภาพสูง หมายถึง การทางานทีล่ งทุนลงแรงน้อย แต่ได้ผลมากหรือคุณภาพสูง เป้ าหมายสุดท้ายของการจัดการความรู้ คือ การทีก่ ลุ่มคนทีด่ าเนินการจัดการความรูร้ ่วมกัน มีชุดความรูข้ องตนเองทีร่ ่วมกันสร้างเอง สาหรับใช้งานของตน คนเหล่านี้จะสร้างความรูข้ น้ึ ใช้เองอยู่ตลอดเวลา โดยทีก่ ารสร้างนัน้ เป็ นการสร้างเพียงบางส่วน

เป็ นการสร้างผ่านการทดลองเอาความรูจ้ ากภายนอกมาปรับปรุงให้เหมาะต่อสภาพของตน และทดลองใช้งาน จัดการความรูไ้ ม่ใช่กจิ กรรมทีด่ าเนินการเฉพาะหรือเกีย่ วกับเรื่องความรู้ แต่เป็ นกิจกรรมทีแ่ ทรก/แฝง หรือในภาษาวิชาการเรียกว่า บูรณาการอยู่กบั ทุกกิจกรรมของการทางาน และทีส่ าคัญตัวการจัดการความรูเ้ องก็ตอ้ งการการจัดการด้วย ตัง้ เป้ าหมายการจัดการความรูเ้ พือ่ พัฒนา 3 ประเด็น - งาน พัฒนางาน - คน พัฒนาคน - องค์กร เป็ นองค์กรการเรียนรู้ วิ ธีการจัดการความรู้ เมื่อพิจารณาจากข้อกาหนดต่าง ๆ ตามเกณฑ์ EdPEx พบว่ามีประเด็นพิจารณาต่อไปนี้ - การรวบรวมและถ่ายทอดความรูข้ องบุคลากร - การผสมผสานและหาความสัมพันธ์ของข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพือ่ สร้างองค์ความรูใ้ หม่ - การถ่ายทอดความรูท้ เ่ี ป็ นประโยชน์ ระหว่างหน่วยงานกับผูเ้ รียน ลูกค้ากลุ่มอื่น ผูส้ ง่ มอบ คู่ความร่วมมือทัง้ ทีเ่ ป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ - การรวบรวมความรูแ้ ละถ่ายทอดความรูท้ เ่ี ป็ นประโยชน์ไปใช้ใน การสร้างนวัตกรรมและในกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์

การจัดการความรู้ที่ดีเริ่ มด้วย - สัมมาทิฐิ : ใช้การจัดการความรูเ้ ป็ นเครื่องมือเพือ่ บรรลุความสาเร็จและความมันคงในระยะยาว ่ - การจัดทีมริเริม่ ดาเนินการ - การฝึกอบรมโดยการปฏิบตั จิ ริง และดาเนินการต่อเนื่อง - การจัดการระบบการจัดการความรู้ องค์ประกอบสาคัญของการจัดการความรู้ (Knowledge Process) 1.“คน” เป็ นองค์ประกอบทีส่ าคัญทีส่ ุดเพราะเป็ นแหล่งความรู้ และเป็ นผูน้ าความรูไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์ 2.“เทคโนโลยี” เป็ นเครื่องมือเพือ่ ให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บ แลกเปลีย่ น

รวมทัง้ นาความรูไ้ ปใช้อย่างง่ายและรวดเร็วขึน้ 3.“กระบวนการความรู”้ เป็ นการบริหารจัดการ เพือ่ นาความรูจ้ ากแหล่งความรูไ้ ปให้ผใู้ ช้ เพือ่ ทาให้เกิดการปรับปรุงและนวัตกรรม กระบวนการจัดการความรู้ กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็ นกระบวนการทีจ่ ะช่วยให้เกิดพัฒนาการของความรู้ มีทงั ้ หมด 7 ขัน้ ตอน 1.การบ่งชีค้ วามรู้ (Knowledge Identification) เป็ นการพิจารณาว่าองค์กรมีวสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้ าหมายคืออะไร เพือ่ ให้บรรลุเป้ าหมาย ต้องใช้อะไร ปั จจุบนั มีความรูอ้ ะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด และอยู่ทใ่ี คร 2.การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) เป็ นการสร้าง แสวงหา รวบรวมความรูท้ งั ้ ภายใน/ภายนอก รักษาความรูเ้ ดิม แยกความรูท้ ใ่ี ช้ไม่ได้แล้วออกไป 3.การจัดความรูใ้ ห้เป็ นระบบ (Knowledge Organization) เป็ นการกาหนดโครงสร้างความรู้ แบ่งชนิด ประเภท เพือ่ ให้สบื ค้น เรียกคืน และใช้งานได้งา่ ย 4.การประมวลและกลันกรองความรู ่ ้ (Knowledge Codification and Refinement) เป็ นการปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็ นมาตรฐาน ใช้ภาษาเดียวกัน ปรับปรุงเนื้อหาให้ครบถ้วนสมบูรณ์ 5.การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) เป็ นการทาให้ผใู้ ช้ความรูเ้ ข้าถึงความรูท้ ต่ี อ้ งการได้ง่ายและสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) Web board บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็ นต้น 6.การแบ่งปั นแลกเปลีย่ นความรู้ (Knowledge Sharing) เป็ นการแบ่งปั น สามารถทาได้หลายวิธกี าร โดยกรณีทเ่ี ป็ นความรูช้ ดั แจ้ง (Explicit Knowledge) อาจจัดทาเป็ นเอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีทเ่ี ป็ นความรูฝ้ ังลึก (Tacit Knowledge) จัดทาเป็ นระบบทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบพีเ่ ลีย้ ง การสับเปลีย่ นงาน เวทีแลกเปลีย่ นความรู้ เป็ นต้น 7.การเรียนรู้ (Learning) เป็ นการนาความรูม้ าใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ แก้ปัญหา และทาให้เป็ นส่วนหนึ่งของงาน เช่น เกิดระบบการเรียนรูจ้ ากสร้างองค์ความรู้ การนาความรูใ้ นไปใช้ เกิดการเรียนรู้ และประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง หัวใจของการจัดการความรู้

มีผรู้ ไู้ ด้กล่าวถึง KM หลายแง่หลายมุมทีอ่ าจรวบรวมมาชีธ้ งคาตอบว่า หัวใจของ KM อยู่ทไ่ี หนได้ โดยอาจกล่าวเป็ นลาดับขัน้ หัวใจของ KM เหมือนกับลาดับขัน้ ของความต้องการ ( Hierarchy of needs ) ของ Mcgregor ได้ โดยเริม่ จากข้อสมมุตฐิ านแรกทีเ่ ป็ นสากลทีย่ อมรับทัวไปว่ ่ าความรูค้ อื พลัง (DOPA KM Team) 1. Knowledge is Power : ความรูค้ อื พลัง 2. ความสาเร็จของการถ่ายทอดความรูไ้ ม่ใช่อยู่ทค่ี อมพิวเตอร์หรือเอกสาร แต่อยู่ทก่ี ารมีปฏิสมั พันธ์ ระหว่างคนด้วยกัน 3. จุดหมายปลายทางสาคัญของความรูม้ ใิ ช่ทต่ี วั ความรูแ้ ต่อยู่ทก่ี ารนาไปปฏิบตั ิ 4. นิยามใหม่ของผูจ้ ดั การ คือผูซ้ ง่ึ ทาให้ความรูผ้ ลิตดอกออกผล เครื่องมือในการจัดการความรู้ การจัดการความรูป้ ระกอบด้วย กระบวนการหลัก ๆ ได้แก่ การค้นหาความรู้ การสร้างและแสวงหา ความรูใ้ หม่ การจัดความรูใ้ ห้เป็ นระบบ การประมวลผลและกลันกรองความรู ่ ้ การแบ่งปั นแลกเปลีย่ นความรู้ สุดท้ายคือการเรียนรู้ และเพือ่ ให้มกี ารนาความรูไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อองค์กร เครื่องมือหลากหลายประเภทถูกสร้างขึน้ มาเพือ่ นาไปใช้ในการถ่ายทอดและแลกเปลีย่ นความรู้ ซึง่ อาจแบ่งเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ 1.เครื่องมือทีช่ ่วยในการ “เข้าถึง” ความรู้ ซึง่ เหมาะสาหรับความรูป้ ระเภท Explicit มักเป็ นแบบทางเดียว 2.เครื่องมือทีช่ ่วยในการ “ถ่ายทอด” ความรู้ ซึ่งเหมาะสาหรับความรูป้ ระเภท อาศัยการปฏิสมั พันธ์ระหว่างบุคคลเป็ นหลัก ในบรรดาเครื่องมือดังกล่าวทีม่ ผี นู้ ิยมใช้กนั มากประเภทหนึ่งคือ ชุมชนแห่ง การเรียนรู้ หรือชุมชน นักปฏิบตั ิ Community of practice :cop ตัวอย่างเครื่องมือ 1.ชุมชนนักปฏิบตั ิ (Community of practice :cop) 2.การศึกษาดูงาน (Study tour) 3.การทบทวนหลังปฏิบตั กิ ารหรือการถอดบทเรียน (After action review : AAR) 4.การเรียนรูร้ ่วมกันหลังงานสาเร็จ เรื่องเล่าเร้าพลัง (Retrospect) 5.เรื่องเล่าเร้าพลัง (Springboard Storytelling) ชุมชนนักปฏิ บตั ิ (CoP : Community of Practice)

คือ ชุมชนทีม่ กี ารรวมตัวกัน หรือเชื่อมโยงกันอย่างไม่เป็ นทางการ โดยมีลกั ษณะดังนี้ - ประสบปั ญหาลักษณะเดียวกัน - มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ต้องการแลกเปลีย่ นประสบการณ์จากกันและกัน - มีเป้ าหมายร่วมกัน มีความมุ่งมันร่ ่ วมกัน ทีจ่ ะพัฒนาวิธกี ารทางานได้ดขี น้ึ - วิธปี ฏิบตั คิ ล้ายกัน ใช้เครื่องมือ และภาษาเดียวกัน - มีความเชื่อและยึดถือคุณค่าเดียวกัน - มีบทบาทในการสร้าง และใช้ความรู้ - มีการแลกเปลีย่ นเรียนรูจ้ ากกันและกัน อาจจะพบกันด้วยตัวจริง หรือผ่านเทคโนโลยี - มีช่องทางเพือ่ การไหลเวียนของความรู้ ทาให้ความรูเ้ ข้าไปถึงผูท้ ต่ี อ้ งการใช้ได้ง่าย - มีความร่วมมือช่วยเหลือ เพือ่ พัฒนาและเรียนรูจ้ ากสมาชิกด้วยกันเอง - มีปฏิสมั พันธ์ต่อเนื่อง มีวธิ กี ารเพือ่ เพิม่ ความเข้มแข็งให้แก่สายในทางสังคม ชุมชนนักปฏิ บตั ิ มีความสาคัญอย่างไร เครือข่ายความสัมพันธ์ทไ่ี ม่เป็ นทางการ เกิดจากความใกล้ชดิ ความพอใจ และพืน้ ฐานทีใ่ กล้เคียงกัน ลักษณะทีไ่ ม่เป็ นทางการจะเอือ้ ต่อการเรียนรูแ้ ละการสร้างความรูใ้ หม่ๆ มากกว่าโครงสร้างทีเ่ ป็ นทางการ คาว่า ปฏิบตั ิ หรือ practice ใน CoP ชีจ้ ุดเน้นที่ การเรียนรูซ้ ง่ึ ได้รบั จากการทางาน เป็ นหลัก เป็ นแง่มุมเชิงปฏิบตั ิ ปั ญหาประจาวัน เครื่องมือใหม่ๆ พัฒนาการในเรื่องงาน วิธกี ารทางานทีไ่ ด้ผล และไม่ได้ผล การมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างบุคคล ทาให้เกิดการถ่ายทอดแลกเปลีย่ นความรูฝ้ ังลึก สร้างความรู้ และความเข้าใจได้มากกว่าการเรียนรู้ จากหนังสือ หรือการฝึกอบรมตามปกติ เครือข่ายทีไ่ ม่เป็ นทางการ ซึง่ มีสมาชิกจากต่างหน่วยงาน ช่วยให้องค์กรประสบความสาเร็จได้ดกี ว่า การสือ่ สารตามโครงสร้างทีเ่ ป็ นทางการ ข้อคิดเห็นเกีย่ วกับชุมชนนักปฏิบตั ิ โมเดลจัดการความรู้ โมเดลเซกิ (SECI Model) คือ แผนภาพแสดงความสัมพันธ์การหลอมรวมความรูใ้ นองค์กรระหว่างความรูฝ้ ังลึก (Tacit Knowledge) กับความรูช้ ดั แจ้ง (Explicit Knowledge) ใน 4 กระบวนการ เพือ่ ยกระดับความรูใ้ ห้สงู ขึน้ อย่างต่อเนื่องเป็ นวัฎจักร เริม่ จากการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ (Socialization) การสกัดความรูอ้ อกจากตัวคน (Externalization) การควบรวมความรู้ (Combination) และการผนึกฝังความรู้ (Internalization) และวนกลับมาเริม่ ต้นทาซ้าทีก่ ระบวนการแรก เพือ่ พัฒนาการจัดการความรูใ้ ห้เป็ นงานประจาทีย่ งยื ั่ น

1.การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ กระบวนการที่ 1 อธิบายความสัมพันธ์ทางสังคมในการส่งต่อระหว่างความรูฝ้ ังลึก 2.การสกัดความรูอ้ อกจากตัวคน กระบวนการที่ 2 อธิบายความสัมพันธ์กบั ภายนอกในการส่งต่อระหว่างความรูฝ้ ังลึก 3.การควบรวมความรู้ กระบวนการที่ 3 อธิบายความสัมพันธ์การรวมกันของความรูช้ ดั แจ้งทีผ่ ่านการจัดระบบ และบูรณาการความรูท้ ต่ี ่างรูปแบบเข้าด้วยกัน 4.การผนึกฝังความรู้ กระบวนการที่ 4 อธิบายความสัมพันธ์ภายในทีม่ กี ารส่งต่อความรู้ ชัดแจ้ง สูค่ วามรูฝ้ ังลึก แล้วมีการนาไปใช้ในระดับบุคคล ครอบคลุมการเรียนรูแ้ ละลงมือทา โมเดลปลาทู (Tuna Model) เปรียบการจัดการความรู้ เหมือนกับปลาทูหนึ่งตัวทีม่ ี 3 ส่วนสัมพันธ์กนั ส่วน “หัวปลา” (Knowledge Vision- KV) หมายถึง ส่วนทีเ่ ป็ นเป้ าหมาย วิสยั ทัศน์ หรือทิศทางของการจัดการความรู้ โดยก่อนทีจ่ ะทาจัดการความรู้ ต้องตอบให้ได้ว่า “เราจะทา KM ไปเพือ่ อะไร ?” โดย “หัวปลา” นี้จะต้องเป็ นของ “คุณกิจ” หรือ ผูด้ าเนินกิจกรรม KM ทัง้ หมด โดยมี “คุณเอือ้ ” และ “คุณอานวย” คอยช่วยเหลือ ส่วน “ตัวปลา” (Knowledge Sharing-KS) หมายถึง ส่วนของการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ซึง่ ถือว่าเป็ นส่วนสาคัญ ซึง่ “คุณอานวย” จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุน้ ให้ “คุณกิจ” มีการแลกเปลีย่ นเรียนรูค้ วามรู้ โดยเฉพาะความรูซ้ ่อนเร้นทีม่ อี ยู่ในตัว “คุณกิจ” พร้อมอานวยให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรูแ้ บบเป็ นทีม ให้เกิดการหมุนเวียนความรู้ ยกระดับความรู้ และเกิดนวัตกรรม ส่วน “หางปลา” (Knowledge Assets-KA) หมายถึง ส่วนของ “คลังความรู”้ หรือ “ขุมความรู”้ ทีไ่ ด้จากการเก็บสะสม “เกร็ดความรู”้ ทีไ่ ด้จากกระบวนการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ “ตัวปลา” ซึง่ เราอาจเก็บส่วนของ “หางปลา” นี้ดว้ ยวิธตี ่าง ๆ เช่น ICT ซึง่ เป็ นการสกัดความรูท้ ซ่ี ่อนเร้นให้เป็ นความรูท้ เ่ี ด่นชัด นาไปเผยแพร่และแลกเปลีย่ นหมุนเวียนใช้ พร้อมยกระดับต่อไป

หลักการบริ หารจัดการบ้านเมืองที่ดี หลักธรรมาภิ บาลของการบริ หารกิ จการบ้านเมืองที่ดี ภารกิจหลักประการหนึ่งของสานักงาน ก.พ.ร. คือการส่งเสริมให้ระบบราชการไทยนา หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี มาใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน เพือ่ ประโยชน์สุขของประเทศชาติและประชาชน ตามเจตนารมณ์ของมาตรา ๓/๑ แห่งพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๕ และพระราช กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ปี ระกอบ ด้วย ๑๐ หลัก ได้แก่ หลักการ

ตอบสนอง (Responsiveness) หลักประสิทธิผล (Effectiveness) หลักประสิทธิภาพ/คุม้ ค่า (Efficiency/ Value for money) หลักความเสมอภาค (Equity) หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) หลักการ ตรวจสอบได้/มีภาระรับผิดชอบ (Accountability) หลักเปิ ดเผย/โปร่งใส (Transparency) หลักการกระจาย อานาจ (Decentralization) หลักการมีสว่ นร่วม (Participation) และ หลักนิตธิ รรม (Rule of Law) อย่างไรก็ตาม อ.ก.พ.ร. เกีย่ วกับการส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี ในการประชุมครัง้ ที่ ๓/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๔ ได้มขี อ้ สังเกตว่าหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี ๑๐ หลักดังกล่าว เป็ นหลักทีจ่ ายาก จึงควรจัดกลุ่มใหม่ (Regroup) โดยรวมเรื่องทีเ่ กีย่ วข้องไว้ดว้ ยกันเป็ นหมวดหมู่เพือ่ ให้เป็ นหลักการทีง่ ่ายต่อความเข้าใจและการน าไปปฏิบตั ิ และให้น าเสนอต่อ ก.พ.ร. และ คณะรัฐมนตรีเพือ่ ประกาศใช้ต่อไป สานักงาน ก.พ.ร. จึงได้ศกึ ษาข้อมูลเพิม่ เติม และหารือในเบือ้ งต้นกับประธาน อ.ก.พ.ร. เกีย่ วกับการ ส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี (ศาสตราจารย์ ดร.วิษณุ เครืองาม) เพือ่ นามาประกอบการปรับปรุงหลัก ธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี ใหม่ ให้เข้าใจได้ง่ายขึน้ สะดวกต่อการจดจาและการนาไปปฏิบตั ิ รวมทัง้ มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพบริบทของประเทศไทย โดยได้นาเอาประเด็นทีม่ คี วามสัมพันธ์เกีย่ วข้องรวมไว้ดว้ ยกันเป็ นหมวดหมู่ นอกจากนี้ยงั ได้ให้ความสาคัญในเรื่องความรับผิดชอบทางการบริหาร โดยเพิม่ เติมในเรื่องการสร้างจิตสานึกด้านคุณธรรมและจริยธรรม อันเป็ นไปตามบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๙ ซึง่ ได้กาหนดให้มมี าตรฐานทางจริยธรรมสาหรับผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าทีข่ องรัฐแต่ละประเภทไว้ดว้ ย จากผลการศึกษาดังกล่าว ทาให้ได้หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ (ี GG Framework) ซึ่งประกอบด้วย ๔ หลักการสาคัญ และ ๑๐ หลักการย่อย ดังนี้ ๑) การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New.Public.Management) ประกอบด้วย หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) หลักประสิทธิผล (Effective) และหลักการตอบสนอง (Responsive) ๒) ค่านิยมประชาธิปไตย (Democratic Value) ประกอบ ด้วยหลักภาระรับผิดชอบ/สามารถตรวจสอบ ได้ (Accountability) หลักความเปิ ดเผย/โปร่งใส (Transparency) หลักนิตธิ รรม (Rule of Law) และหลัก ความเสมอภาค (Equity) ๓) ประชารัฐ (Participatory State) ประกอบด้วยหลักการกระจายอานาจ (Decentralization) และ หลักการมีสว่ นร่วม/การมุ่งเน้นฉันทามติ (Participation/Consensus Oriented) ๔) ความรับผิดชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility) ประกอบด้วยหลักคุณธรรม/ จริยธรรม

(Morality/Ethics) ต่อมา อ.ก.พ.ร. เกีย่ วกับการส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี ในการประชุมครัง้ ที่ ๔/๒๕๕๔ เมื่อ วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ได้พจิ ารณาเห็นชอบกับข้อเสนอแผนการส่งเสริมและพัฒนาธรรมาภิบาลในภาค ราชการเพือ่ การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ อี ย่างยังยื ่ น และเห็นชอบหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการ บ้านเมืองทีด่ ี (GG Framework) ซึง่ ประกอบด้วย ๔ หลักการสาคัญ และ ๑๐ หลักการย่อยดังกล่าวข้างต้นและ โดยทีใ่ นบริบทของประเทศไทยอาจไม่สามารถใช้แนว ทางฉันทามติกบั ทุกเรื่องได้ จึงเป็ นควรรวมหลักนี้ไว้กบั หลักการมีสว่ นร่วม และปรับถ้อยคาเป็ นหลักการมีสว่ นร่วม/การพยายามแสวงหาฉันทามติ (Participation/ Consensus Oriented) แสดงหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี (GG Framework) ดังภาพ ต่อไปนี้

แผนภาพแสดงหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองทีดี่ (GG Framework) แ ล ะ ก . พ . ร . ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ค รั ้ง ที่ ๗ / ๒ ๕ ๕ ๔ เ มื่ อ วั น ที่ ๒ ๑ พ ฤ ศ จิ ก า ย น ๒ ๕ ๕ ๔ ไ ด้ มี ม ติ เ ห็ น ช อ บ ข้ อ เ ส น อ แ ผ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ธ ร ร ม า ภิ บ า ล ใ น ภ า ค ร า ช ก า ร เ พื่ อ การบริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี อ ย่ า งยั ง่ ยื น แล ะให้ น าเสนอ คณะรั ฐ มนต รี พิ จ ารณาต่ อ ไป โ ด ย ห ลั ก ธ ร ร ม า ภิ บ า ล ข อ ง ก า ร บ ริ ห า ร กิ จ ก า ร บ้ า น เ มื อ ง ที่ ดี ( GG Framework) เป็ น ส่ว นหนึ่ ง ในข้อ เสนอแผนการส่ง เสริม ฯ ดัง กล่ า ว ซึ่ ง คณะรัฐมนตรีใ นการประชุ ม เมื่อ วันที่ ๒๔ เ ม ษ า ย น ๒ ๕ ๕ ๕ ได้ มี ม ติ เห็ น ชอบกั บ ข้ อ เสนอแผนการส่ ง เสริ มและพั ฒ นาธรรมาภิ บาลในภาคราชการ เ พื่ อ ก า ร บ ริ ห า ร กิ จ ก า ร บ้ า น เ มื อ ง ที่ ดี อ ย่ า ง ยั ง่ ยื น ต า ม ที่ ส า นั ก ง า น ก . พ . ร . เ ส น อ โ ด ย ที่ ห ลั ก ธ ร ร ม า ภิ บ า ล ข อ ง ก า ร บ ริ ห า ร กิ จ ก า ร บ้ า น เ มื อ ง ที่ ดี (GG.Framework) เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ใ น ข้ อ เ ส น อ แ ผ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ฯ ที่ ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี ไ ด้ มี ม ติ เ ห็ น ช อ บ แ ล้ ว สาหรับความหมายของหลัก ธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้า นเมือ งที่ดี (GG Framework) ทัง้ ๔ หลักการสาคัญ และ ๑๐ หลักการย่อย มีดงั นี้ ๑) การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ประกอบด้วย ● ประสิทธิภาพ .(Efficiency) หมาย ถึง ในการปฏิบัติราชการต้อ งใช้ทรัพยากรอย่ างประหยัด เกิดผลิตภาพที่คุ้มค่าต่อการลงทุนและบังเกิดประโยชน์ สูงสุดต่อส่วนรวม ทัง้ นี้ต้องมีการลดขัน้ ตอนและ ร ะ ย ะ เ ว ล า ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น เ พื่ อ อ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก แ ล ะ ล ด ภ า ร ะ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ตลอดจนยกเลิกภารกิจทีล่ า้ สมัยและ ไม่มคี วามจาเป็ น ● ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ( Effectiveness) ห ม า ย ถึ ง ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ต้ อ ง มี วิ สั ย ทั ศ น์ เ ชิ ง ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ย ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต า ม พั น ธ กิ จ ใ ห้ บ ร ร ลุ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง อ ง ค์ ก า ร มีการวางเป้ าหมายการปฏิบตั ิงานที่ชดั เจนและอยู่ในระดับที่ตอบสนองต่อความคาด หวัง ของประชาชน สร้ า งกระบวนการปฏิ บัติ ง านอย่ า งเป็ นระบบและมี ม าตรฐาน มีก ารจัด การความเสี่ย งและมุ่ ง เน้ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น เ ป็ น เ ลิ ศ รวมถึงมีการติดตามประเมินผลและพัฒนาปรับปรุงการปฏิบตั งิ านให้ดขี น้ึ อย่างต่อเนื่อง

● การตอบสนอง (Responsiveness) หมาย ถึง ในการปฏิบตั ริ าชการต้องสามารถให้บริการได้ อย่างมีคุณภาพ สามารถดาเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาทีก่ าหนด สร้างความเชื่อมันไว้ ่ วางใจ รวมถึง ตอบสนองตามความคาดหวัง/ความต้องการของประชาชนผูร้ บั บริการ และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทีม่ คี วามหลากหลาย และมีความแตกต่างกันได้อย่างเหมาะสม ๒) ค่านิยมประชาธิปไตย (Democratic Value) ประกอบด้วย ● ภาระรับผิดชอบ/สามารถตรวจสอบได้ (Accountability) หมายถึง ในการปฏิบตั ริ าชการต้อง สามารถตอบคาถามและชีแ้ จงได้เมื่อมีขอ้ สงสัย รวมทัง้ ต้องมีการจัดวางระบบการรายงานความก้าวหน้าและ ผลสัมฤทธิตามเป้ ์ าหมายทีก่ าหนดไว้ต่อสาธารณะเพือ่ ประโยชน์ในการตรวจสอบและการให้คุณ ให้โทษ ตลอดจนมีการจัดเตรียมระบบการแก้ไขหรือบรรเทาปั ญหาและผลกระทบใด ๆ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ● เปิ ดเผย/โปร่งใส (Transparency) หมายถึง ในการปฏิบตั ริ าชการต้องปฏิบตั งิ านด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต ตรงไปตรงมา รวมทัง้ ต้องมีการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารทีจ่ าเป็ นและเชื่อถือได้ให้ประชาชนได้ รับทราบอย่างสม่าเสมอ ตลอดจนวางระบบให้การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารดังกล่าวเป็ นไปโดยง่าย ● หลักนิตธิ รรม (Rule of Law) หมายถึง ในการปฏิบตั ริ าชการต้องใช้อานาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับในการปฏิบตั งิ านอย่างเคร่งครัด ด้วยความเป็ นธรรม ไม่เลือกปฏิบตั ิ และคานึงถึงสิทธิ เสรีภาพของประชาชนและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียฝ่ ายต่าง ๆ ● ความเสมอภาค (Equity) หมาย ถึง ในการปฏิบตั ริ าชการต้องให้บริการอย่างเท่าเทียมกัน ไม่มี การแบ่งแยกด้านชายหญิง ถิน่ กาเนิด เชือ้ ชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม และอื่น ๆ อีกทัง้ ยังต้องคานึงถึงโอกาสความเท่าเทียมกันของการเข้าถึงบริการสาธารณะของ กลุ่มบุคคลผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคมด้วย ๓) ประชารัฐ (Participatory State) ประกอบด้วย ● การมีสว่ นร่วม/การพยายามแสวงหาฉันทามติ(Participation/Consensus Oriented) หมายถึง ในการปฏิบตั ริ าชการต้องรับฟั งความคิดเห็นของประชาชน รวมทัง้ เปิ ดให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ ทาความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปั ญหา/ประเด็นทีส่ าคัญทีเ่ กีย่ วข้องร่วมคิดแก้ไขปั ญหา ร่วมใน กระบวนการตัดสินใจและการดาเนินงานและร่วมตรวจสอบผลการปฏิบตั งิ าน ทัง้ นี้ ต้องมีความพยายามในการ แสวงหาฉันทามติหรือข้อตกลงร่วมกันระหว่างกลุ่มผูม้ ี ส่วนได้สว่ นเสียทีเ่ กีย่ วข้อง โดยเฉพาะกลุ่มทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ โดยตรงจะต้องไม่มขี อ้ คัดค้านทีห่ าข้อยุตไิ ม่ ได้ในประเด็นทีส่ าคัญ

● การกระจายอานาจ (Decentralization) หมายถึง ในการปฏิบตั ริ าชการควรมีการมอบอานาจ และกระจายความรับผิดชอบในการตัดสินใจและ การดาเนินการให้แก่ผปู้ ฏิบตั งิ านในระดับต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม รวมทัง้ มีการโอนถ่ายบทบาทและภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ หรือภาค ส่วนอื่น ๆ ในสังคม ๔) ความรับผิดชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility) ประกอบด้วย ● คุณธรรม/จริยธรรม (Morality/Ethics) หมายถึง ในการปฏิบตั ริ าชการต้องมีจติ สานึกความ รับผิดชอบในการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็ น ไปอย่างมีศลี ธรรม คุณธรรม และตรงตามความคาดหวังของสังคม รวมทัง้ ยึดมันในค่ ่ านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรมสาหรับผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ประมวล จริยธรรมข้าราชการพลเรือน และจรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจน คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของระบบราชการไทย ๘ ประการ (I AM READY) ได้แก่ 6 I - Integrity ซื่อสัตย์และกล้ายืนหยัดในสิง่ ทีถ่ ูกต้อง A - Activeness ทางานเชิงรุก คิดเชิงบวกและมีจติ บริการ M - Morality มีศลี ธรรม คุณธรรมและจริยธรรม R - Responsiveness คานึงถึงประโยชน์สุขของประชาชนเป็ นทีต่ งั ้ E - Efficiency มุ่งเน้นประสิทธิภาพ A - Accountability ตรวจสอบได้ D - Democracy ยึดมันในหลั ่ กประชาธิปไตย Y - Yield มุ่งผลสัมฤทธิ ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับครู และวิ ชาชีพครู เกี่ยวกับคุณธรรม จรรยาบรรณ ที่ครุ สุ ภากาหนด ข้อบังคับคุรสุ ภา ว่าด้วยมาตรฐานวิ ชาชีพ พ.ศ. 2556 คุรุสภาได้ออกข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2556 มีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ทีป่ ระกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้

“มาตรฐานวิ ชาชีพทางการศึกษา” หมายความว่า ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ และคุณภาพทีพ่ งึ ประสงค์ในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึง่ ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบตั ติ าม ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานความรูแ้ ละประสบการณ์วชิ าชีพ มาตรฐานการปฏิบตั งิ านและมาตรฐานการปฏิบตั ติ น “มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ” หมายความว่า ข้อกาหนดเกี่ยวกับความรูแ้ ละประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา ซึง่ ผูต้ อ้ งการประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องมีเพียงพอทีส่ ามารถนาไปใช้ในการประกอบวิชาชีพได้ ข้อบังคับคุรสุ ภาว่าด้วยมาตรฐานวิ ชาชีพ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ “มาตรฐานความรู้และประสบการณ์ วิชาชีพ หมายความว่า ข้อกาหนดเกีย่ วกับความรู้ และประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา ซึง่ ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมทัง้ ผูต้ อ้ งการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีเพียงพอทีส่ ามารถนาไปใช้ในการประกอบวิชาชีพได้ ” “มาตรฐานการปฏิ บตั ิ งาน หมายความว่า ข้อกาหนดเกีย่ วกับคุณลักษณะ หรือการแสดง พฤติกรรมการปฏิบตั งิ านและการพัฒนางาน ซึง่ ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมทัง้ ผูต้ อ้ งการ ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องปฏิบตั ติ าม เพือ่ ให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์ และเป้ าหมายการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา รวมทัง้ ต้องฝึกฝนพัฒนาตนเองให้มที กั ษะ หรือความชานาญสูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง ” “มาตรฐานการปฏิ บตั ิ ตน หมายความว่า จรรยาบรรณของวิชาชีพทีก่ าหนดขึน้ เป็ นแบบแผน ในการประพฤติปฏิบตั ติ น ซึ่งผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมทัง้ ผูต้ อ้ งการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องยึดถือปฏิบตั ติ าม เพือ่ รักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียง และฐานะของผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ให้เป็ นทีเ่ ชื่อถือศรัทธาแก่ผรู้ บั บริการและสังคม อันจะนามาซึง่ เกียรติ และศักดิ ์ศรีแห่งวิชาชีพ ” มาตรฐานความรู้ ต้องมีความรอบรูแ้ ละเข้าใจในเรื่อง ดังต่อไปนี้ (1) การเปลีย่ นแปลงบริบทของโลก สังคม และแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ( 2 ) จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาให้คาปรึกษา ในการวิเคราะห์และพัฒนาผูเ้ รียนตามศักยภาพ (3) เนื้อหาวิชาทีส่ อน หลักสูตร ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในการจัดการเรียนรู้ (4) การวัด ประเมินผลการเรียนรู้ และการวิจยั เพือ่ แก้ปัญหาและพัฒนาผูเ้ รียน

(5) การใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพือ่ การศึกษา (6) การออกแบบและการดาเนินการเกีย่ วกับงานประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ ผ่านการปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษาเป็ นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบตั ิ การสอน ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทีค่ ณะกรรมการคุรุสภากาหนด ดังต่อไปนี้ (1) การฝึกปฏิบตั วิ ชิ าชีพระหว่างเรียน (2) การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ ผู้ประกอบวิ ชาชีพครู ต้องมีมาตรฐานการปฏิ บตั ิ งาน ดังนี้ การปฏิบตั หิ น้าทีค่ รู (1) มุ่งมันพั ่ ฒนาผูเ้ รียน ด้วยจิตวิญญาณความเป็ นครู (2) ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างทีด่ ี มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความเป็ นพลเมืองทีเ่ ข้มแข็ง (3) ส่งเสริมการเรียนรู้ เอาใจใส่ และยอมรับความแตกต่างของผูเ้ รียนแต่ละบุคคล (4) สร้างแรงบันดาลใจผูเ้ รียนให้เป็ นผูใ้ ฝ่ เรียนรู้ และผูส้ ร้างนวัตกรรม (5) พัฒนาตนเองให้มคี วามรอบรู้ ทันสมัย และทันต่อการเปลีย่ นแปลง การจัดการเรียนรู้ (1) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ สือ่ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (2) บูรณาการความรูแ้ ละศาสตร์การสอนในการวางแผนและจัดการเรียนรูท้ ส่ี ามารถพัฒนาผูเ้ รียนให้มปี ั ญญารูค้ ิ ด และมีความเป็ นนวัตกรรม (3) ดูแลช่วยเหลือ และพัฒนาผูเ้ รียนเป็ นรายบุคคลตามศักยภาพ สามารถรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนได้อย่างเป็ นระบบ (4) จัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรูใ้ ห้ผเู้ รียนมีความสุขในการเรียน โดยตระหนักถึงสุขภาวะของผูเ้ รียน (5) วิจยั สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ให้เกิดประโยชน์ ต่อการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน (6) ปฏิบตั งิ านร่วมกับผูอ้ ่นื อย่างสร้างสรรค์และมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพ ความสัมพันธ์กบั ผู้ปกครองและชุมชน (๑) ร่วมมือกับผูป้ กครองในการพัฒนาและแก้ปัญหาผูเ้ รียนให้มคี ุณลักษณะ ทีพ่ งึ ประสงค์

(๒) สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผูป้ กครองและชุมชน เพือ่ สนับสนุนการเรียนรู้ ทีม่ คี ุณภาพของผูเ้ รียน (3) ศึกษาเข้าถึงบริบทของชุมชน และสามารถอยู่ร่วมกันบนพืน้ ฐาน ความแตกต่างทางวัฒนธรรม (๔) ส่งเสริม อนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม และภูมปิ ั ญญาท้องถิ่น ข้อสอบ เรื่อง ปรัชญาการศึกษา 1. ปรัชญาประสบการณ์ยมมีช่อื เรียกชื่อหนึ่งว่าอย่างไร ก. ปรัชญาวัตถุนิยม ข. ปรัชญาจิตนิยม ค. ปรัชญาปฏิบตั นิ ิยม ง. ปรัชญาประสบการณ์นิยม 2. Essentialism หมายถึง แนวคิดปรัชญาการศึกษาใด ก. ปรัชญาการศึกษาสารัตตนิยม ข. ปรัชญาการศึกษาพิพฒ ิ นาการนิยม ค. ปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม ง ปรัชญาการศึกษาบูรณาการนิยม 3. ผูใ้ ห้กาเนิดปรัชญาจิตนิยม คือ ใคร ก. จอห์น ดิวอี๋ ข. พลาโต ค. วิลเลีย่ ม เจมส์ ง. อริสโตเตีล้ 4. ข้อใดเป็ นศาสตร์ทเ่ี กีย่ วข้องกับวิชาการศึกษา ก. วิทยาศาสตร์ ข. มนุษยศาสตร์ ค. สังคมศาสตร์ ง. คณิตศาสตร์ 5. Child Center เกีย่ วข้องกับปรัชญาการศึกษาไดมากที่สุด

ก. ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม ข. ปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม ค. ปรัชญาการศึกษาพิพฒ ั นาการนิยม ง ปรัชญาการศึกษาอัตดีภาวนิยม 6. การเรียนการสอนให้เสรีภาพแก่ผเู้ รียนในการเลือกทากิจกรรมต่าง ๆ อรูปแบบปรัชญาการศึกษาใด ก. ปรัชญาจิตนิยม ข. ปรัชญาประสบการณ์นิยม ค. ปรัชญาวัตถุนิยม ง. ปรัชญาอัตนิยม 7. "ผูเ้ รียนจะเกิดการเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยการลงมือกระทา" เป็ นแนวคิดของนักการศึกษาผูใ้ ด ก. ศาสตราจารย์ ตร สาโรจน์ บัวศรี ข. จอห์น ดีวอี้ ค. อริสโตเติล้ ง. มาสโลว์ 8. การเรียนการสอนขึน้ อยู่กบั ผูส้ อนเป็ นสาคัญ เป็ นหลักของปรัชญาการศึกษาใด ก. ปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม ข. ปรัชญาการศึกษาสาติตถนิยม ค. ปรัชญาการศึกษาพิพฒ ั นาการนิยม ง. ปริชญาการศึกษาอัตติภาวนิยม 9. การจัดการศึกษาขึน้ พืน้ ฐาน ตามพระราชปั ญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปแบบใดได้บา้ ง ก. จัดการศึกษาในระบบเท่านัน้ ข. จัดการศึกษานอกระบบเท่านัน้ ค. จัดการศึกษาตามอัธยาศัยเท่านัน้ ง. จัดทัง้ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบน การศึกษาตามอัธยาศัย 10. All for Education หมายถึงข้อใด ก. ให้สงั คมมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา ข. การจัดการศึกษาเป็ นไปเพือ่ พัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์

ค. เป็ นการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ง. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูใ้ ห้เป็ นไปอย่างต่อเนื่อง 11. ผูร้ เิ รีบนาแนวคิด หลักไตรสิกขา หรือ หลักการศึกษา 3 ประการ คือใคร ก. มาสไลว์ ข. อริสโตเตีล้ ค. จอห์น ดิวอี้ ง. ศาสตราจารย์ ตร สาโรจน์ บัวศรี

12. กระบวนการเรียนการสอนตามหลักพระพุทธศาสนา ก. อธิจติ ตสิกขา ข. อธิปัญญาสิกขา ค. โตรสิกยา ง. สมาธิลกขา 13. ปรัชญาการศึกษาสารัตนิยม เน้นการสอนวิชาพืน้ ฐานใด เป็ นความรู้ ก. ภาษา คณิตศาสตร์ ข. ภาษา คณิตศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ ค. ภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ง. ภาษา สังคมศาสตร์ คณิตศาสตร์ 14. การสอนด้วยวิธแี ก้ปัญหาแบบวิทยาศาสตร์ คือ แนวคิดของปรัชญาการศึกษาใด ก. ปรัชญาวัตถุนิยม ข. ปรัชญาจิตนิยม ค. ปรัชญาปฏิบตั นิ ิยม ง. ปรัชญาประสบการณ์นิยม 15. ผูใ้ ห้กาเนิดปรัชญาอัดนิยมคือใคร ก.คีรเ์ คเกอร์ด ข. จอห์น ไซล์ดส์ ค. วิลเลีย่ ม คิลแพทริก

ง. จอห์น ดิวอี้

------------------------------------------------------------------เฉลย 1ค 2ก 3ข 4ค 5ค 6ง 7ข 8ข 9ง 10 ก 11 ง

12 ค 13 ข 14 ค 15 ก

เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง 1. เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงอะไร ก. การทาเกษตรกรรม ข. การดารงชีวติ อยู่อย่างพออยู่พอกิน ค. การค้าขายให้ได้เงินเพียงพอสาหรับครอบครัว ง. การปลูกพืชและเลีย้ งสัตว์เพือ่ ให้ครอบครัวพออยู่พอกิน 2. เป้ าหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือข้อใด ก. มุ่งแก้ไขปั ญหาวิกฤตเศรษฐกิจชาติ ข. เพือ่ ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมันคง ่ ค. เพือ่ ให้กา้ วทันต่อโลกในยุคโลกภิวฒ ั น์ ง. มุ่งให้เกิดความสมดุลพร้อมรับต่อการเปลีย่ นแปลง 3. การปฏิบตั ติ นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะก่อให้เกิดผลดีต่อตนเองและครอบครัว ยกเว้น ข้อใด ก. มีความรับผิดชอบต่อสังคม ข. มีความพอประมาณในการใช้จ่าย ค. มีการวางแผนการบริหารจัดการประเทศ

ง. ทาให้รจู้ กั ใช้เหตุผลในการวางแผนและการปฏิบตั ติ น 4. ดินชนิดใดเหมาะในการเพาะปลูกมากทีส่ ุด ก. ดินเหนียว ข. ดินเหนียวปนตะกอน ค. ดินร่วน ง. ดินร่วนปนตะกอน 5. ทีด่ นิ เป็ นกรดควรแก้ไขอย่างไร ก. ใช้ปนู ขาวหว่าน ข. ระบายน้าเข้าทีด่ นิ ค. การใส่ปยพื ุ๋ ชสด ง. การปลูกพืชหมุนเวียน 6. แนวทฤษฎีใหม่ให้ความสาคัญกับการจัดทรัพยากรให้มากทีส่ ุด ก. มนุษย์ ข. ทรัพยากรน้ า ค. ทรัพยากรดิน ง. ทรัพยากรป่ าไม้ 7. แนวพระราชดาริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเริม่ ต้นเมื่อใด ก. พ.ศ. 2507 ข. พ.ศ. 2517 ค. พ.ศ. 2527 ง. พ.ศ. 2537 8. หลักคิดในการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวติ ยกเว้นข้อใด ก. ความมีเหตุผล ข. การมีภูมคิ ุม้ กันทีด่ ใี นตัว ค. ความขยันหมันเพี ่ ยร ง. ใช้คุณธรรมนาความรู้ 9. การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาทีส่ มดุลและยังยื ่ น พร้อมรับต่อการเปลีย่ นแปลงในทุกด้าน ยกเว้น ด้านใด ก. สังคม ข. สิง่ แวดล้อม ค. วัฒนธรรม ง. พัฒนาประเทศ 10. การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนัน้ ต้องอาศัยสิง่ ใดเป็ นพืน้ ฐาน ก. ความซื่อสัตย์และความรู้ ข. ความรูแ้ ละคุณธรรม

ค. คุณธรรมและความเพียร ง. ความเพียรและสติปัญญา 11. ข้อใดเป็ นการปฏิบตั ติ นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ก. รูจ้ กั ประหยัด ข. ยืมเงินเพือ่ นและผ่อนใช้ทหี ลัง ค. อดอาหารกลางวันเพือ่ เก็บเงินใส่ออมสิน ง. ทางานหลังเลิกเรียนเพือ่ เก็บเงินไว้ซอ้ื สิง่ ของทีอ่ ยากได้ 12. ข้อใดคือความหมายของการพึง่ ตนเอง ก. มีความมันใจว่ ่ าตนเองเก่ง ข. มีความเอือ้ เฟื้ อเผื่อแผ่ ค. ขอความช่วยเหลือเมื่อทาสิง่ นัน้ ไม่ได้ ง. พยายามทาทุกอย่างด้วยตนเองแม้จะทาไม่ได้ดี 13. เกษตรทฤษฎีใหม่แบ่งพืน้ ทากินทีอ่ ย่างไร ก. ขุดสระน้ า / ปลูกข้าว / ปลูกอ้อย / ทีอ่ ยู่ ข. ปลูกข้าว / ปลูกอ้อย / ปลูกข้าวโพด / ทีอ่ ยู่ ค. ปลูกข้าว / เลีย้ งปลา / ปลูกอ้อย / ทีอ่ ยู่ ง. ขุดสระน้า / ปลูกพืช / ปลูกข้าว / ทีอ่ ยู่ 14. ข้อใดเป็ นการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมเพือ่ ปลูกฝังแนวคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียงต่อตนเอง ก. การนาน้ าล้างจานไปรดต้นไม้ ข. เปลีย่ นหลอดไฟเป็ นแบบหลอดประหยัดไฟฟ้ า ค. ไม่ทง้ิ ขยะในทีส่ าธารณะและแหล่งน้าในชุมชน ง. ใช้ถุงผ้าแทนถุงกระดาษแทนและถุงพลาสติกในการซื้อของ 15. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 ได้อญ ั เชิญปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบตั ใิ นการพัฒนาแบบบูรณาการเป็ นองค์รวม ยกเว้นข้อใด ก. คนเป็ นศูนย์การพัฒนา ข. การปฏิบตั บิ นทางสายกลาง ค. การพัฒนาอย่างเป็ นขัน้ ตอน ง. การแก้ปัญหาความยากจน 16. สถานะภาพของประเทศทีส่ าคัญตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 ยกเว้นข้อใด ก. สถานะด้านธรรมาภิบาล ข. สถานด้านเศรษฐกิจของประเทศ

ค. สถานะด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ง. สถานะด้านการพัฒนาบนรากฐานความหลากหลายทางสังคม 17. โครงการใดต่อไปนี้ไม่ใช่โครงการพัฒนาประเทศตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ก. โครงการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ข. โครงการอนุรกั ษ์ภูมปิ ั ญญาท้องถิน่ ค. โครงการส่งเสริมสินค้า OTOP ง. โครงการส่งเสริมประเพณี วัฒนธรรม 18. โครงการเสริมสร้างการเรียนรูต้ ลอดชีวติ มีประโยชน์และความสาคัญอย่างไร ก. สร้างโอกาสทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ข. สนับสนุนการศึกษา การจัดทาหลักสูตร ค. พัฒนาคุณภาพบุคลากรทางการศึกษา ง. ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้าใจและตระหนักในการเรียนรู้ 19. การกระจายอานาจการบริหารจัดการประเทศสูภ่ ูมภิ าค ท้องถิน่ และชุมชนมีความสาคัญอย่างไร ก. ส่งเสริมภาคเอกชนให้มคี วามเข้มแข็ง ข. สร้างความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม ค. เสริมสร้างความเข้มแข็งภาคประชาชน ง. เสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการอยู่ร่วมกัน 20. คุณธรรมด้านใดทีม่ คี วามสาคัญกับหลักเศรษฐกิจ พอเพียงมากทีส่ ุด ก. เป็ นคนมีศลี ธรรม ข. มีความละอายต่อบาป ค. เป็ นผูม้ คี วามโอบอ้อมอารี ง. มีความซื่อสัตย์ ขยันหมันเพี ่ ยร

เฉลย 1. ข 2. ข 3. ค 4. ค

11. ก 12. ง 13. ง 14. ง

5. ก 6. ข 7. ข 8. ค 9. ค 10. ข

15. ง 16. ง 17. ค 18. ก 19. ง 20. ค

เรื่อง ปรัชญาการศึกษากระทรวงศึกษาธิ การ

๑. หลักสูตรประเภทใดต่อไปนี้เป็ นหลักสูตรทีย่ ดึ หลักปรัชญาปฏิรปู นิยม ก.หลักสูตรหมวดวิทยา ค.หลักสูตรเนื้อหาวิชา

ข.หลักสูตรสหสัมพันธ์ ง.หลักสูตรแบบแกนกลาง

๒. การพัฒนาผูเ้ รียนให้เกิดความสมดุลตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ.2551 ต้องคานึงถึงสิง่ ใดต่อไปนี้ ก.หลักการพัฒนาทางสมองและพหุปัญญา ข.หลักความแต่กต่างระหว่างบุคคล ค.เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ ง.เน้นการจัดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการ ๓. ปรัชญาการศึกษาใดต่อไปนี้ เชื่อว่าการศึกษาเป็ นเครื่องมือในการเปลีย่ นแปลงสังคม ก.พิพฒ ั นาการ ข.อัตถิภาวนิยม ค.ปฏิรูปนิยม ง.นิรนั ตรนิยม ๔. ปรัชญาการศึกษานามาใช้ประโยชน์โดยตรงในข้อใด ? ก. กาหนดเนื้อหาสาระ ข. กาหนดวิธกี ารสอนและหลักการสอน ค. กาหนดการจัดกระบวนการเรียนการสอน ง. กาหนดเป้ าหมายและจุดมุ่งหมายของการศึกษา 5. หลักสูตรแบบใดทีไ่ ด้แนวคิดจากปรัชญาการศึกษาพิพฒ ั นาการ ? ก. หลักสูตรกิจกรรม ข. หลักสูตรแกนกลาง ค. หลักสูตรเพือ่ ชีวติ และสังคม ง. ถูกทัง้ ก. และ ข. ๖. พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้บรรจุมาตราต่าง ๆ เพือ่ กาหนดเงือ่ นไขในการเปลีย่ นแปลงไว้กแ่ี นวทาง ก.5 ข.10

ค.7 ง.8 ๗. โลกและชีวติ เป็ นอนิจจังไม่มอี ะไรแน่นอนเพราะประกอบด้วยสิง่ ต่างๆ อันเป็ นของไม่เทีย่ ง ข้อใดคือขันธ์ 5 ก.อนิจจัง ข.ทุกขัง ค.สังขาร ง.อนัตตา ๘. ความมุ่งหมายของการศึกษาตามแนวพุทธปรัชญาของศาสตราจารย์สาโรช บัวศรี มี 4 ประการ ยกเว้นข้อใด ก.มุ่งพัฒนาโลภ โกรธ หลง ให้ลดลงและพัฒนาความรู้ ความจา นิสยั และอื่นๆ ในทางทีเ่ หมาะสม ข.พัฒนาสังคมให้ร่มเย็นเป็ นสุข เนื่องจากวังคมไทยเป็ นสังคมทีช่ ่วยเหลือเกือ้ กูลกัน และใช้ปัญญาในการแก้ปัญหา ค.พัฒนาวิธคี ดิ และการใช้เหตุผลในตัวผูเ้ รียนเพือ่ ให้สามารถนาความรูไ้ ปแก้ไขปั ญหาต่างๆ ง.เพือ่ ดับทุกข์ทงั ้ ปวงให้หมดสิน้ 9. ข้อใดคือ ปรัชญาการศึกษาพุทธปรัชญา (Buddhism) ก.การสร้างคนให้เป็ นคนทีส่ มบูรณ์อย่างแท้จริง ข.การศึกษาจะต้องพัฒนาเด็กทุก ๆ ด้าน ค.เชื่อว่ามนุษย์มศี กั ยภาพในทางทีจ่ ะเป็ นตัวของตัวเองตลอดเวลา ง.ปรัชญาทีเ่ ชื่อว่า การศึกษาคือการพัฒนาบุคคลให้ถงึ พร้อมด้วยปั ญญา และดาเนินชีวติ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตลอดจนรู้จกั แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 10. จุดมุ่งหมายของปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม (essentialism) ก.เพือ่ ทะนุบารุง และถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมไปสู่ชนรุ่นหลัง มิให้สญ ู หาย หรือถูกทาลายไป ข.เพือ่ ให้การศึกษาในสิง่ ทีเ่ ป็ นเนื้อหาสาระอันได้จากมรดกทางวัฒนธรรม ค.เพือ่ ให้การศึกษาในรื่องของความเชื่อ ทัศนคติ และค่านิยมของสังคมในอดีต ง.ถูกทุกข้อ 11. ปรัชญาในข้อใดไม่ได้ถูกนามาศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับ พรบ.2542

ก. ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม (Essentialism) ข. ปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม (Perennialism) ค. ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism) ง. ปรัชญาการศึกษาลัทธิประสบการณ์นิยม (Experimentalism) 12. ปรัชญาการศึกษาใด ทีเ่ น้นเนื้อหาสาระและความสาคัญของมรดกทางวัฒนธรรมของสังคมทีไ่ ด้รบั การยอมรับและปฏิบตั กิ นั ในสังค มจนกลายเป็ นส่วนหนึ่งของแนวทางในการดาเนินชีวติ ของประชาชนในสังคม ก. ปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม (perennialism) ข. ปรัชญาการศึกษารัตถนิยม (essentialism) ค. ปรัชญาการศึกษาปฏิรปู นิยม (reconsteuctionism) ง. ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (existentialism) 13. ปรัชญาในข้อใดมุ่งให้ผเู้ รียนรูจ้ กั และทาความเข้าใจกับตนเองให้มากทีส่ ุด โดยเฉพาะในเรื่องเหตุผลและสติปัญญา ก. ปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม (perennialism) ข. ปรัชญาการศึกษารัตถนิยม (essentialism) ค. ปรัชญาการศึกษาปฏิรปู นิยม (reconsteuctionism) ง. ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (existentialism) 14. ข้อคือรายละเอียดของปรัชญาการศึกษาปฏิรปู นิยม(reconsteuctionism) ก. การศึกษาจะต้องมุ่งสร้างระเบียบใหม่ของสังคมจากพืน้ ฐานเดิมทีม่ อี ยู่ ข. ระเบียบใหม่ทส่ี ร้างขึน้ รวมทัง้ วิธสี ร้างต้องอยู่บนพืน้ ฐานของประชาธิไตย ค.ถูกทัง้ ก และ ข ง.ผิดทุกข้อ 15. “การศึกษาจะต้องพัฒนาเด็กทุก ๆ ด้านไม่เฉพาะสติปัญญาเท่านัน้ ” ข้อความข้างต้นเป็ นปรัชญาอะไร ก. ปรัชญาการศึกษานิรนั ตรนิยม (perennialism) ข. ปรัชญาการศึกษารัตถนิยม (essentialism) ค. ปรัชญาการศึกษาพิพฒ ั นาการนิยม(progressivism) ง. ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (existentialism)

เฉลย 1ง 2ก 3ค 4ง 5ง 6ก 7ค 8ง 9ง 10 ง 11 ง 12 ข 13 ก 14 ค 15 ค

เรื่อง การจัดการความรู้ 1. การจัดการความรูเ้ รียกสัน้ ๆ ว่าอะไร ก. MK ค. LO

ข. KM ง. QA

2. เป้ าหมายของการจัดการความรูค้ อื อะไร ก. พัฒนาคน ข. พัฒนางาน ค. พัฒนาองค์กร ง. ถูกทุกข้อ 3. ขัน้ สูงสุดของการเรียนรูค้ อื อะไร ก. ปั ญญา ข. สารสนเทศ ค. ข้อมูล ง. ความรู้ 4. ข้อใดถูกต้องมากทีส่ ุด ก. การจัดการความรูห้ ากไม่ทา จะไม่รู้ ข. การจัดการความรูค้ อื การจัดการความรูข้ องผูเ้ ชีย่ วชาญ

ค. การจัดการความรูถ้ อื เป็ นเป้ าหมายของการทางาน ง. การจัดการความรูค้ อื การจัดการความรูท้ ม่ี ใี นเอกสาร ตารา มาจัดให้เป็ นระบบ 5. ความหมายของการจัดการความรูต้ รงกับข้อใดมากทีส่ ุด ก. กระบวนการการจัดการความรูท้ ม่ี อี ยู่หรือเรียนรูน้ ามาใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อองค์กร ข. กลยุทธ์การบริหารจัดการข้อมูลทีเ่ ป็ นความรูใ้ ห้เป็ นระเบียบ ค. วิธกี ารจัดการข้อมูลทีต่ อ้ งเกีย่ วข้องกับบุคลากรในองค์กรทุกคน ง. การยกระดับความรูข้ ององค์กร 6. องค์ประกอบสาคัญของการจัดการความรูต้ รงกับข้อใด ก. เทคโนโลยี กระบวนการจัดการความรู้ การแบ่งปั นและแลกเปลี่ยนความรู้ ข. กระบวนการจัดการความรู้ การแบ่งปั นและแลกเปลีย่ นความรู้ คน ค. การแบ่งปั นและแลกเปลีย่ นความรู้ คน เทคโนโลยี ง. คน เทคโนโลยี กระบวนการจัดการความรู้ 7. ความรูท้ ช่ี ดั แจ้ง (Explicit Knowledge) ตรงกับข้อใด ก. การใช้การบริหารจัดการทีเ่ น้นการมีสว่ นร่วม ข. ทฤษฎีการบริหารจัดการทีเ่ น้นการมีสว่ นร่วม ค. ประสบการณ์การบริหารจัดการทีเ่ น้นการมีสว่ นร่วม ง. การปฏิบตั จิ ริงในการบริหารจัดการทีเ่ น้นการมีสว่ นร่วม 8. ความรูใ้ นข้อใดทีเ่ ป็ นความทีฝ่ ังลึกในตัวบุคคล (tacit Knowledge) ก. ทฤษฎีการประเมินผูเ้ รียนทีเ่ น้นการประเมินตามสภาพจริง ข. หลักการการประเมินผูเ้ รียนทีเ่ น้นการประเมินตามสภาพจริง ค. แนวทางการประเมินผูเ้ รียนทีเ่ น้นการประเมินตามสภาพจริง ง. ประสบการณ์ในการประเมินผูเ้ รียนทีเ่ น้นการประเมินตามสภาพจริง 9. กระบวนการจัดการความรูม้ ขี นั ้ ตอนทีส่ าคัญกีข่ นั ้ ตอน ก. 6 ขัน้ ตอน ข. 7 ขัน้ ตอน ค. 8 ขัน้ ตอน ง. 9 ขัน้ ตอน 10. กระบวนการใดทีเ่ ป็ นการใช้ความรูใ้ หเกิดประโยชน์กบั องค์กรมากทีส่ ุด ก. การแบ่งปั นและแลกเปลีย่ นเรียนรู้

ข. การสร้างและแสวงหาความรู้ ค. การเข้าถึงความรู้ ง. การเรียนรู้ 11. ส่วนใดของโมเดลปลาทู เทียบได้กบั ส่วนแลกเปลีย่ นความรู้ ก.ส่วนหัวปลา ค.ส่วนหางปลา

ข.ส่วนกลางลาตัว ง.ส่วนตาปลา

12. ข้อใดเป็ นวัตถุประสงค์หลักของการจัดการความรู้ ? ก.ทาให้องค์กรมาความก้าวหน้าและทันสมัย ข.เพือ่ ให้องค์กรมีความเข้มแข็งและมีจุดเด่นในการทีจ่ ะแข่งขันกับองค์กรอื่นๆ ค. เพือ่ ตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริหาร ง.ถูกทัง้ A และ B 13. การแลกเปลีย่ นเรียนรูจ้ ากวิธกี ารทางานแบบ Practice มีขอ้ ดีอย่างไร ก. มีประสิทธิภาพสู ์ ง ข.มีการร่วมมือร่วมใจทีด่ ใี นการทางาน ค. มีมาตรฐานในทางปฏิบตั งิ าน ง.ทาให้สะดวกในการแลกเปลีย่ นความรูข้ องพนักงาน 14.Tacit Knowledge เป็ นการแลกเปลีย่ นเรียนรูด้ ว้ ยวิธกี ารใด ก.ระบบพีเ่ ลีย้ ง ข.เอกสารความรู้ ค.เทคโนโลยี ง.ไม่มขี อ้ ถูก 15.ข้อใดเป็ นปั ญหาของการจัดการความรู้? ก.ปั ญหาการอยู่ร่วมกัน ข.ปั ญหาทางโภชนาการ

ค.ปั ญหาการถ่ายทอดความรูร้ ะหว่างบุคคล ง.ปั ญหาการเดินทาง

เฉลย 1ข 2ง 3ง 4ค 5ก 6ก

7ง 8ง 9ข 10 ก 11 ข 12 ข 13 ก 14 ก 15 ค

เรื่องปรัชญาการศึกษาพิ พฒ ั นาการ และปรัชญาการศึกษาบูรณนิ ยม 1. หลักสูตรแบบใดทีไ่ ด้แนวคิดจากปรัชญาการศึกษาพิพฒ ั นาการ ก. หลักสูตรกิจกรรม

ข. หลักสูตรแกนกลาง ค. หลักสูตรเพือ่ ชีวติ และสังคม ง. ถูกทัง้ ก. และ ข. 2. ปรัชญาใดเน้นการเรียนรู้ ก. ปรัชญาสารัตถนิยม ข. ปรัชญานิรนั ตรนิยม ค. ปรัชญาปฎิรปู นิยม ง. ปรัชญาพิพฒ ั นาการนิยม 3. ปรัชญาพิพฒ ั นาการนิยม มีแนวคิดเช่นเดียวกันกับปรัชญาการศึกษาใด ก. ปรัชญาปฏิบตั นิ ิยม ข. ปรัชญานิรนั ตรนิยม ค. ปรัชญาสารัตถนิยม ง. ปรัชญาบูรณนิยม 4. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้องเกีย่ วกับปรัชญาพิพฒ ั นาการ ก. การเปลีย่ นแปลงไม่หยุดนิ่ง ข. ศึกษาเกีย่ วกับความเป็ นจริงของสิง่ ทัง้ หลายทัง้ ปวง ค.การบูรณะหรือการสร้างขึน้ ใหม่ ง. เนื้อหาทีเ่ ป็ นหลักเป็ นแก่น 5. ใครคือผูร้ เิ ริม่ จัดตัง้ สมาคมการศึกษาแบบพิพฒ ั นาการ ก. อริสโตเติล้ ข. มาสโลว์ ค. จอห์น ดิวอี้ ง. สแตนวู๊ด คอบบ์ 6. ปรัชญาการศึกษาใดต่อไปนี้เชื่อว่าเป็ นการเปลีย่ นแปลงของสังคม ก.ปรัชญาพิพฒ ั นาการนิยม ข. ปรัชญาอัตถิภาวนิยม ค. ปรัชญานิรนั ตรนิยม ง. ปรัชญาปฏิรปู นิยม

7. บุคคลสาคัญของปรัชญาการศึกษาบูรณนิยมทีส่ าคัญ ยกเว้น บุคคลใด ก. ยอร์จ เคานทส์ (George Counts) ข. แฮโรลด์ รักก์ (Harold Rugg) ค. ธีโอดอร์ แบรมเมลด์ (Theodore Brameld) ง. จอห์น ดิวอี้ John Dewey 8. ข้อใด ไม่ใช่ รากฐาน ของปรัชญาพิพฒ ั นาการ ก. พืน้ ฐานทางปรัชญา ข.พืน้ ฐานทางจิตวิทยา ค.พืน้ ฐานทางสังคมวิทยา ง.พืน้ ฐานทางวิทยาศาสตร์ 9. บทบาทของผูส้ อนไม่ใช่เป็ นผูใ้ ช้อานาจหรือออกคาสัง่ แต่ทาหน้าทีใ่ ห้คาปรึกษาแนะแนวทางให้กบั ผูเ้ รียน ตรงกับปรัชญาการศึกษาใด ก. Existentialism ข. Reconstructivism ค. Progressivism ง. Essentialism 10. ใครคือผูท้ าให้ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยมเป็ นทีร่ จู้ กั กันอย่างกว้างขวาง ก. โอดอร์ บราเมลด์ ข. จอห์น ดิวอี้ ค. สแตนวู๊ด คอบบ์ ง. ฮาโรลด์ รักก์ 11. Reconstruct หมายถึง ก. การเปลีย่ นแปลงไม่หยุดนิ่ง ข. ศึกษาเกีย่ วกับความเป็ นจริงของสิง่ ทัง้ หลายทัง้ ปวง ค. การบูรณะหรือการสร้างขึน้ ใหม่ ง. เนื้อหาทีเ่ ป็ นหลักเป็ นแก่น 12. บิดาของปรัชญาการศึกษาปฏิรปู นิยมคือใคร

ก. John Dewey ข. Stanwood Cobb ค. Theodore Brameld ง. Maslow 13.ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยมได้ถูกต้อง ก. เชื่อว่าชีวติ เป็ นสิง่ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงได้เสมอตามกาลเวลาและสิง่ แวดล้อม ข. เชื่อว่ามนุษย์มคี วามสามารถทีจ่ ะใช้ความคิดและเหตุผลอยู่ตลอดเวลา ค. เชื่อว่าการศึกษาคือชีวติ ไม่ใช่เป็ นการเตรียมตัวเพือ่ ชีวติ ง. มุ่งการปฏิรปู สังคม ขึน้ มาใหม่ 14. ปรัชญาการศึกษาพิพฒ ั นาการนิยม มีหลักการให้ผเู้ รียนมีกระบวนการเรียนรูอ้ ย่างไร ก. ผูเ้ รียนเป็ นผูร้ บั ผูฟ้ ั ง และทาความเข้าใจในเนื้อหาต่าง ๆ ทีค่ รูกาหนด ข. ผูเ้ รียนต้องเป็ นผูท้ ม่ี คี วามพยายาม อดทน และเป็ นผูม้ รี ะเบียบวินยั ค. ผูเ้ รียนได้มปี ระสบการณ์ตรง หรือลงมือกระทาด้วยตนเอง (Learning by Doing) ง. ผูเ้ รียนมีความสนใจใคร่เรียนรู้ 15. การนิยมเกิดขึน้ เพือ่ ต่อต้านแนวคิดและวิธกี ารศึกษาแบบเดิมทีเ่ น้นแต่เ นื้อหา สอนแต่ท่องจา ไม่คานึงถึงความสนใจของเด็ก เป็ นแนวคิดของปรัชญาการศึกษาใด ก. ปฏิรปู นิยม ข. อัตถิภาวนิยม ค. พิพฒ ั นาการนิยม ง. นิรนั ตรนิยม เฉลยแบบทดสอบ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ง ก ก ก ง ง

7. ง 8. ง 9. ค 10. ก 11. ค 12. ค 13. ง 14. ค 15. ค

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง คุณธรรม จริ ยธรรมความเป็ นครู 1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ค่านิยม 12 ประการตามประกาศของนายกรัฐมนตรี ก. ปฏิบตั ติ ามพระราชดารัสของในหลวง ข. มีความสามัคคีในหมู่คณะ ค. รักษาวัฒนธรรมและประเพณีของชาติ ง. ยึดมันในศี ่ ลธรรมของศาสนา

2. ครูพมิ พร สามารถอธิบายเรื่องยุ่งยาก ซับซ้อนให้เข้าใจได้งา่ ย และช่วยให้ศษิ ย์เรียนรูไ้ ด้อย่างลึกซึง้ ยิง่ ขึน้ เป็ นคุณธรรมของกัลยาณมิตรข้อใด ก. วจนักขโม ข. คัมภีรญ ั จะ กถัง กัตตา ค. โน จัฏฐาเน นิโยชเย ง. วัตตา 3. ผูป้ กครองนักเรียนคาดหวังในตัวครูสงู มาก นอกจากความรูค้ วามสามารถในการสอนแล้ว ครูจะต้องเป็ น แบบอย่างทีด่ ใี ห้กบั เด็ก ดังนัน้ ครูจะต้องไม่ประพฤติ ไปในทางเสือ่ มเสียใด ๆ ท่านมีความคิดเห็นต่อข้อความนี้ อย่างไร ก. การเป็ นครูลาบากกว่าทีค่ ดิ ข. อาชีพครูอยู่ภายใต้ความกดดันของสังคม ค. สังคมยังเห็นคุณค่าของครู ง. ครูเป็ นมนุษย์ปุถุชน อาจกระทาผิดได้ 4. สังคมไทยไม่ชอบการกระทาของครูตามข้อใดมากทีส่ ุด ก. ขาดความรับผิดชอบ ข. เป็ นคนเข้าอารมณ์ ค. ประสบสอพลอ ง. ขาดความยุตธิ รรม 5. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระราชดารัสแก่พสกนิกรชาวไทยว่า “ให้รจู้ กั ข่มใจ” ซึง่ หมายถึงข้อใด ก. ความจริงใจต่อตนเอง ข. การรูจ้ กั ฝึกใจตนเอง ค. การประพฤติปฏิบตั แิ ต่สงิ่ ทีเ่ ป็ นประโยชน์ ง. รูจ้ กั เสียสละประโยชน์สว่ นตัวเพือ่ ส่วนรวม 6. ผอ.สุเทพ เป็ นบุคคลทีม่ นี ิสยั สุภาพอ่อนโยน มีมนุษยสัมพันธ์ทด่ี กี บั ครูในโรงเรียน ลักษณะดังกล่าวตรงกับ หลักทศพิธราชธรรมข้อใด ก. อาชวะ ข. มัทวะ

ค. ตะบะ ง. อวิหงิ สา 7. ตาแหน่งครูในสถานศึกษาถูกลงโทษทางวินยั ร้ายแรงต้องขออุทธรณ์ต่อผูใ้ ด ก. ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ข. เลขาธิการ สพฐ. ค. อ.ก.ค.ศ. เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ง. ก.ค.ศ. 8. ถ้าท่านเห็นว่าการปฏิบตั ติ ามคาสังของผู ่ บ้ งั คับบัญชาทีส่ งโดยชอบด้ ั่ วยกฎหมายจะทาให้เสียหายแก่ราชการ หรือจะเป็ นการไม่รกั ษาประโยชน์ของทางราชการ ท่านจะดาเนินการตามข้อใด ก. ไม่ปฏิบตั ติ าม เพราะต้องรักษาผลประโยชน์ของชาติ ข. ต้องปฏิบตั ติ ามคาสังอย่ ่ างเคร่งครัด ค. เสนอความเห็นเป็ นหนังสือภายในเจ็ดวัน เพือ่ ให้ผบู้ งั คับบัญชาทบทวนคาสัง่ ง. เสนอความเห็นด้วยวาจา แล้วทาเป็ นหนังสือภายในเจ็ดวัน เพือ่ ให้ผบู้ งั คับบัญชาทบทวน 9. ข้าราชการครูตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ผูใ้ ดถูกสังโทษปลดออก ่ ไล่ออก ให้มสี ทิ ธิตาม ข้อใด ก. ร้องทุกข์ ข. ร้องเรียน ค. อุทธรณ์ ง. มีสทิ ธิท์ าได้ทุกกรณีทก่ี ล่าวมา 10. คุรุสภา มีช่อื เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร ก. สภาครู ข. องค์กรวิชาชีพครู ค. สมาคมวิชาชีพครู ง. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา 11. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษามีกป่ี ระเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท

12. มาตรฐานวิชาชีพครูในข้อใดทีก่ าหนดให้เป็ นจรรยาบรรณของวิชาชีพ ก. มาตรฐานการปฏิบตั ติ น ข. มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ค. มาตรฐานความรูแ้ ละประสบการณ์วชิ าชีพ ง. มาตรฐานการสอน 13. มาตรฐานความรูข้ องผูป้ ระกอบวิชาชีพครู ต้องมีคุณวุฒติ ามข้อใด ก. ปริญญาทางการศึกษาหรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒอิ ่นื ทีค่ ุรุสภารับรอง ข. ปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒอิ ่นื ทีค่ ุรุสภารับรอง ค. ไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒอิ ่นื ทีค่ ุรุสภารับรอง ง. ถูกทุกข้อทีก่ ล่าวมา 14. ข้อใดกล่าวถึงพฤติกรรมของครูทด่ี ที ส่ี ุดตามาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ประเด็นกิจกรรมทางวิชาการเพือ่ พัฒนา วิชาชีพครูให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ ก. มีบทบาทในการพัฒนาวิชาชีพครู ข. เป็ นผูน้ าในการพัฒนาวิชาชีพครู ค. แสวงหาความรูเ้ กี่ยวกับวิชาชีพครูอยู่เสมอ ง. เป็ นผูด้ าเนินการหรือการมีสว่ นร่วมในการดาเนินการขององค์กรวิชาชีพครู 15. ข้อใดกล่าวถึงพฤติกรรมของครูได้ดที ส่ี ุดตามมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน มุ่งมันพั ่ ฒนาผูเ้ รียนให้เติบโตเต็ม ศักยภาพ ก. มีการแก้ไขข้อบกพร่องของผูเ้ รียน ข. มีการแก้ไขข้อบกพร่องของผูเ้ รียน และพัฒนาความสามารถของผูเ้ รียน ค. พัฒนาความสามารถของผูเ้ รียนให้สงู ขึน้ เต็มขีดความสามารถของแต่ละคนอย่างเป็ นระบบ ง. ถูกทุกข้อทีก่ ล่าวมา

เฉลยแบบทดสอบ 1. ข 2. ข 3. ค 4. ก 5. ข 6. ข 7. ง 8. ค 9. ค 10. ก 11. ข 12. ก 13. ค 14. ค 15. ง

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.