วิวัฒนาการละครไทย_ Flipbook PDF

วิวัฒนาการละครไทย_

93 downloads 109 Views 4MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

วิวัฒนาการ ละครไทย จัดทำโดย นางสาวภัทรวดี รักวงษา ชั้น ม.6/2 เลขที่ 35

วิวัฒนาการของการละครไทย ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

สมัยน่ านเจ้า สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสิ นทร์

สมัยน่ านเจ้า

ไม่มีหลักฐานแน่ชัดเกี่ยวกับการละคร ค้นพบว่าประเทศไทยมีนิยาย คือ นิยายเรื่อง “นามาโนราห์” การละเล่นของไทยในสมัยนั้นยังมีการแสดงระบำต่าง ๆ เช่น ระบำหมวกและระบำนกยูง

สมัยสุโขทัย

ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับการละครมากนัก แต่จะเน้นเป็น การแสดงทางศิลปะ การแสดงพื้นเมือง ประเภทรำและระบำ กำหนดแบบแผนแห่งศิลปะการแสดงทั้งสามชนิดไว้เป็น ที่แน่นอนและบัญญัติคำเรียกการแสดงดังกล่าวข้างต้นว่า “โขน ละคร ฟ้อนรำ” การแสดงละครที่สันนิษฐานว่ามีในสมัยนี้คือ มโนราห์และ ละครแก้บน

สมัยอยุธยา

มีการนำคณะละครหลวงของเขมรและตำนานนาฏศิลป์ของเขมร เข้ามา เนื่องจากพระเจ้าอู่ทองได้สั่งให้พระราเมศวรไปปราบ กษัตริย์เขมร เริ่มเล่นโขน กำเนิดละครชาตรีที่ปักษ์ใต้ เป็นต้นกำเนิดละครรำ ส่วนระบำหรือ ฟ้อนนั้น เป็นศิลปะโดยอุปนิสัยของคนไทยสืบมา ละครรำของไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้น มี ๓ ประเภท คือละคร ชาตรี ละครนอก และละครใน บทละครที่ใช้แสดงกันในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีอยู่ ๒๒ เรื่อง เช่น สังข์ทอง เป็นต้น

สมัยธนบุรี

ตัวละครและบทละครครั้งกรุงเก่าสูญหายไปมาก ส่วนละคร นอกเป็นของราษฎรเล่นกันในพื้นเมืองแพร่หลาย เสด็จยาตราทัพไปปราบก๊กเจ้านครศรีธรรมราช ทำให้ได้ทั้ง ละครผู้หญิง เครื่องประดับเงินทอง โปรดให้มีละครผู้หญิงมาแสดงสมโภชพระบรมธาตุที่เมือง นครศรีธรรมราช ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง รามเกียรติ์

สมัยรัตนโกสิ นทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) รื้อฟื้ นการหัดเล่นหุ่นและโขนของหลวง พระองค์ทรงพัฒนาโขน โดยให้ผู้แสดงเปิดหน้าและสวมมงกุฎ หรือชฏา ละครผู้หญิงให้มีแต่ในราชวังเท่านั้น ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ อุณรุท คาวี อิเหนา

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) วรรณคดี และละครเจริญถึงขีดสุด ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร เรื่องอิเหนา ทรงเปลี่ยนแปลงการแต่งกาย ให้เป็นการแต่งยืนเครื่อง แบบใน ละครใน ให้ละครผู้หญิงของหลวงออกมาฝึกละครนอก ยูเนสโก ได้ถวายพระเกียรติคุณแด่พระองค์ ให้ในฐานะบุคคล สำคัญ ที่มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ระดับโลก

สมัยรัตนโกสิ นทร์ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ทรงยกเลิกละครหลวงผู้หญิงและโขนตลอดรัชกาล เกิดละครเอกชน เนื่อจากก่อนหน้าเจ้านาย ข้าราชการที่นิยมไม่ กล้านำมาแสดงกลัวเป็นการแข่งกับละครหลวง เมื่อยกเลิกเจ้า นายข้าราชการพากันหัดเล่นละครหลวงแบบรัชกาลที่ 2

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ได้ฟื้ นฟูละครหลวงขึ้นใหม่ แต่ไม่ห้ามละครเอกชนหยุด การแสดง อนุญาตให้ราษฎรฝึกละครในได้ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอนพระราม เดินดงตอนนารายณ์ปราบนนทกยุค

สมัยรัตนโกสิ นทร์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) กำเนิดละครดึกดำบรรพ์ และละครพันทางอีกด้วย ทรงส่งเสริมให้เอกชนตั้งคณะละครอย่างแพร่หลายแล้ว ละครคณะใดที่มีชื่อเสียงแสดงได้ดี โปรดเกล้าฯ ให้แสดงใน พระราชฐานเพื่อเป็นการต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองอีกด้วย มีการปรับปรุงละครสมัยใหม่มากขึ้นได้รับอิทธิพลมาจากยุโรป และอเมริกา

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) โขน ละคร ดนตรี ปี่ พาทย์เจริญถึงขีดสุด ทรงเป็นราชาแห่งศิลปิน แม้ว่าจะมีประสมการณ์ด้านละครพูดแบบ ตะวันตก แต่ทรงมีพระราชปณิธาน ที่จะทรงไว้ซึ่ง “ความเป็นไทย" ทรงพระราชนิพนธ์บทละครทุกชนิด ทั้งร้องและละครรำ ทรงพระราชทานบรรดาศักดิ์ให้แก่ศิลปินโขนที่มีฝีมือให้เป็นขุนนาง มีการแต่งตั้งกรมมหรสพขึ้นใหม่เพื่อปรับปรุงศิลปะด้านโขนและ ดนตรีปี่ พาทย์

สมัยรัตนโกสิ นทร์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) โอนกองมหรสพไปอยู่ในสังกัดของกรมศิลปากร มีละครแนวใหม่เกิดขึ้น ที่เรียกว่า ละครเพลง หรือที่รู้จักกันว่า ละครจันทโรภาส

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (รัชกาลที่ 8) ได้ฟื้ นฟู เปลี่ยนแปลงการแสดงโขน ละครในรูปแบบใหม่ จัดตั้งโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์ขึ้น เพื่อให้การศึกษาทั้งด้านศิลปะ และสามัญ และเพื่อยกระดับศิลปิน เกิดละครรูปแบบใหม่ ที่เรียกว่า ละครหลวงวิจิตรวาทการ เป็นละครที่ มีแนวคิดปลุกใจให้รักชาติ บางเรื่องเป็นละครพูด

สมัยรัตนโกสิ นทร์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ทรงให้บันทึกภาพยนตร์สีส่วนพระองค์ บันทึกท่ารำเพลงต่าง ๆ ทรงให้จัดพิธีไหว้ครู(พิธีครอบ) ปลูกฝังจิตสำนึกในการร่วมกัน อนุรักษ์ สืบสาน สืบทอด และพัฒนาศิลปะการแสดงของชาติผ่าน การเรียนการสอนในระดับการศึกษาทุกระดับ มีสถาบันที่เปิดสอนวิชาการละครเพิ่มมากขึ้นทั้งของรัฐและเอกชน มีรูปแบบในการแสดงลำครไทยที่หลากหลายให้เลือกชม ทรงให้มีการจัดแสดงตามสถานที่ต่างๆ มีการจัดแสดงทาง โทรทัศน์

อ้างอิง https://sites.google.com/site/blue stampnew/ https://www.kanlakornthaibpi4465.com สื่อการสอนของคุณครูสุภิศา แสง อาวุธ

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.