กลไกราคา Flipbook PDF


32 downloads 111 Views 965KB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

กลไกราคา

ตลาด

ตลาด คือ การที่ผู้ซื้อและผู้ขายมาทำการติดต่อซื้อขายกัน 1.ตลาดเเข่งขันสมบูรณ์ มีการแข่งขันกันอย่างเต็มที่ระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย การ กำหนดราคาเกิดขึ้นทั้งจากผู้ซื้อและผู้ขาย ไม่มีปัจจัยอื่นเข้า มามีอิทธิพล

2.ตลาดเเข่งขันไม่สมบูรณ์ ผู้ซื้อหรือผู้ขายมีอิทธิพลในการกำหนดราคาหรือปริมาณ สินค้าในตลาด เนื่องจากสินค้าส่วนมากมีลักษณะไม่ เหมือนกัน ทำให้ผู้ซื้อเกิดความพึงพอใจสินค้าของผู้ค้าคน ใดคนหนึ่งมากกว่ากัน

กลไกราคา

อุปสงค์ ปริมาณผลิตภัณฑ์ หรือบริการอย่างใดอย่างหนึ่งที่ผู้

บริโภคมีความเต็มใจที่จะซื้อ และสามารถซื้อหามาได้ ในขณะใดขณะหนึ่ง ณ ระดับราคาต่าง ๆ ที่ตลาด กำหนดมาให้ EX คุณแม่มีความต้องการดื่มน้ำผลไม้สัปดาห์ละ 3 กล่อง เมื่อน้ำผลไม้มีราคากล่องละ 60 บาทแต่ถ้าลดลงเหลือ กล่องละ 50 บาท คุณแม่ก็มีแนวโน้มจะบริโภคน้ำ ผลไม้เพิ่มมากขึ้น เช่น อาจซื้อถึง 5 กล่อง แต่ถ้าน้ำ ผลไม้ราคากล่อง 65 บาท คุณแม่ก็อาจจะซื้อลดลง

กฏของอุปสงค์ สินค้าราคาถูกลง = ซื้อเพิ่มขึ้น สินค้าราคาแพงขึ้น = ซื้อน้อยลง

กลไกราคา

อุปทาน ปริมาณของสินค้าและบริการที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายนำออก มาขายในตลาดตามราคาที่กำหนด

EX ร้านบุญส่งของฝากเป็นร้านผลิตพวงกุญแจที่ระลึกขาย แก่นักท่องเที่ยว ถ้าพวงกุญแจราคาชิ้นละ 25 บาท ร้านจะผลิตจำนวน 1,000 ชิ้น เมื่อราคาเพิ่มขึ้นเป็น 30 บาทต่อชิ้น ร้านจะผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 1,500 ชิ้น เนื่องจากมีความต้องการขายสินค้าเพิ่มมากขึ้น

กฏของอุปทาน

สินค้าราคาแพงขึ้น = ผลิตเพิ่ม สินค้าราคาถูกลง = ลดการผลิต

การกำหนดราคาในระบบ เศรษฐกิจ ราคาสินค้าและบริการสูงขึ้น อุปทานสูงขึ้น อุปสงค์ต่ำลง ราคาสินค้าและบริการต่ำลง อุปทานต่ำลง อุปสงค์สูงขึ้น

ราคาดุลยภาพ

ราคาที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ =ราคาที่ผู้ผลิตต้องการขาย อุปทานส่วนเกินหรืออุปสงค์ส่วนขาด อุปสงค์ (D) น้อยกว่า อุปทาน (S) ความต้องการบริโภคสินค้าน้อยลง แต่สินค้าและ การผลิตมีเท่าเดิม ส่งผลให้ สินค้าล้นตลาด อุปสงค์ส่วนเกินหรืออุปทานส่วนขาด อุปสงค์ (D) มากกว่าอุปทาน (S)ความต้องการบริโภคสินค้ามีมาก แต่การผลิตเท่าเดิมหรือลดลง ทำให้สินค้าขาดตลาด

ปัจจัยในการกำหนดราคา

สภาวะเศรษฐกิจ เศรษฐกิจดี 1.ประชาชนมีรายได้ดี 2.ปริมาณเงินในตลาดมาก 3.คนมีกำลังซื้อ ผู้ขาย ตั้งราคาสินค้าสูง เศรษฐกิจตกต่ำ 1.ประชาชนมีรายได้ไม่ดี 2.ปริมาณเงินในตลาดน้อย 3.คนมีกำลังซื้อน้อย ผู้ขาย ตั้งราคาสินค้าต่ำ

กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้สูง กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ต่ำ

ผู้ขาย ตั้งราคาสินค้าสูง ผู้ขาย ตั้งราคาสินค้าต่ำ

การแข่งขันของตลาด 1.ตลาดที่มีสินค้าประเภทเดียวกัน – สินค้ามีลักษณะเหมือนกัน – มีผู้ขายหลายคน

2.ตลาดที่มีผู้ขายเพียงไม่กี่เจ้า – สินค้าที่มีการลงทุนสูง

เช่น ธุรกิจน้ำมัน ,เครื่องจักร – มีผู้ขายเพียงคนเดียวกำหนดราคาได้ ตามความต้องการ

1.ผู้ขาย กำหนดราคาสินค้าเท่าๆกัน 2.ผู้ขาย กำหนดราคาสินค้าสูง

การตั้งราคาสินค้า ตั้งราคาจากต้นทุนของสินค้า ราคาขาย = ต้นทุน + (% กำไรที่ต้องการ × ต้นทุน) ราคาขาย = 1,000 + (20% × 1,000) = 1,200

ด.ญ.ศุธัญพนา ฉรี เลขที่ 41 ชั้นม.3/5

THE END

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.