คู่มือข้าราชการทหารที่ออกจากราชการ Flipbook PDF


50 downloads 103 Views 25MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

คำ�นำ� กรมการเงินกลาโหม ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญและคุณค่าของข้าราชการทหารที่ได้ อุทิศตน และปฏิบัติหน้าที่อย่างดียิ่งในระหว่างที่รับราชการ และในโอกาสที่จะต้องออกจาก ราชการทหารไปตามวิถีทางของการรับราชการ กรมการเงินกลาโหม เห็นว่าข้าราชการทหาร ควรจะได้รับรู้ถึงสิทธิประโยชน์ ข้อควรปฏิบัติ สาระน่ารู้ ทั้งก่อนและหลังการออกจากราชการ จึงได้จัดพิมพ์หนังสือคู่มือข้าราชการทหารที่ออกจากราชการนี้ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ ข้าราชการทหารผู้รับเบี้ยหวัดบำ�นาญ ตลอดจนทายาท และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ได้มีไว้ เป็นคู่มือเพื่อจะได้ยึดถือและใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อไป หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือคู่มือข้าราชการทหารที่ออกจากราชการเล่มนี้ จะอำ�นวยประโยชน์ให้แก่ข้าราชการทหาร ผู้รับเบี้ยหวัดบำ�นาญหรือทายาท สมตาม วัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้ทุกประการ กรมการเงินกลาโหม พ.ศ.๒๕๖๒


กรมการเงินกลาโหม บริการทันใจ ซื่อสัตยโปรงใส ทันสมัยสามัคคี


ส�รบัญ หน้� หมวด ๑ ก�รปฏิบัติของข้�ร�ชก�รทห�ร ก่อนออกจ�กร�ชก�ร ๑ ๑. แนวทางปฏิบัติในการดำาเนินการกรณีเกษียณอายุราชการ ๒ ของข้าราชการทหาร สังกัดสำานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ๒. สิทธิประโยชน์ของข้าราชการทหาร เมื่อออกจากราชการ ๔ ๓. ข้อเปรียบเทียบของการเลือกรับเงินบำาเหน็จ หรือเงินบำานาญ ๕ ๔. การนับอายุบุคคล ๖ ๕. หลักเกณฑ์ที่จะมีสิทธิได้รับเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ ๖ ๖. เงินเดือนสำาหรับคำานวณเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ ๙ ๗. การเตรียมตัวของข้าราชการทหาร เมื่อจะออกจากราชการ ๙ ๘. ส่วนราชการที่จะต้องติดต่อยื่นเรื่องขอรับเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ ๙ ๙. การยื่นเรื่องต่อเจ้าหน้าที่ เพื่อขอรับเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ ๑๐ ๑๐. การติดตามเรื่องการรับเงินเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญในส่วนภูมิภาค ๑๐ ๑๑. การฌาปนกิจสงเคราะห์ ๑๐ ๑๒. การสหกรณ์ออมทรัพย์ สป. ๑๑ หมวด ๒ ก�รปฏิบัติของข้�ร�ชก�รทห�ร หลังออกจ�กร�ชก�ร ๑๓ ๑. หน้าที่ของผู้รับบำาเหน็จบำานาญ ๑๔ ๒. การทำาบัตรประจำาตัวผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ ๑๔ ๓. การทำาบัตรผ่านเข้า - ออก กระทรวงกลาโหม ๑๕ ๔. การทำาบัตรประจำาตัวข้าราชการบำาเหน็จบำานาญ ๑๕ ๕. การแต่งเครื่องแบบทหารของผู้ออกจากราชการ ๑๖ ๖. การยื่นเรื่องขอเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร ๑๖ ๗. การยื่นเรื่องขอเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ๑๘ ๘. การรับเงินสวัสดิการผ่านธนาคารทหารไทย จำากัด (มหาชน) ๒๕ ๙. การขอเปลี่ยนแปลงบัญชีเงินฝากธนาคาร ๒๕ ๑๐. การโอนเงินเบี้ยหวัดบำานาญ ไปรับเงินทางหน่วยเบิกจ่ายอื่น ๒๕


หมวด ๓ การปฏิบัติของทายาท เมื่อข้าราชการทหารหรือผู้รับ ๒๗ เบี้ยหวัดบำนาญเสียชีวิต ๑. สิทธิของทายาท ๒๘ ๒. การดำ เนินการของทายาท เมื่อข้าราชการทหารหรือผู้รับเงินเบี้ยหวัด ๒๘ บำ นาญเสียชีวิต - หลักฐานที่ต้องนำ ไปยื่นต่อเจ้าหน้าที่ ๒๘ ๓. ส่วนราชการที่ทายาทจะต้องติดต่อยื่นเรื่องขอรับเงินบำ เหน็จตกทอด ๒๙ ๔. เงินที่ทายาทจะได้รับเมื่อข้าราชการทหาร หรือผู้รับเงินเบี้ยหวัด ๓๐ บำ นาญเสียชีวิต หมวด ๔ สาระน่ารู้ ๓๑ ๑. การคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๓๒ ๒. สิทธิพิเศษของข้าราชการทหารที่เกษียณอายุ ๓๒ ๓. การแจ้งการตาย ๓๓ ๔. การขอพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ พระราชทานเพลิงศพ ๓๕ และหีบเพลิง ๕. การจัดกองทหารเกียรติยศ ๔๑ ๖. การฌาปนกิจสงเคราะห์ ๔๒ หมวด ๕ คำ�นิยาม กฎหมาย และระเบียบแบบแผนของทางราชการ ๔๕ ที่เกี่ยวกับเบี้ยหวัดบำ�เหน็จบำ�นาญ หน้า ๑. ข้อบังคับกระทรวงกลาโหมว่าด้วยเงินเบี้ยหวัด พ.ศ.๒๔๙๕ ๔๖ ๒. พระราชบัญญัติบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ พ.ศ.๒๔๙๔ ๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม - บาำ เหน็จ ๔๗ - บาำ นาญปกติ ๔๗ - บำานาญพิเศษ ๔๘ - บำาเหน็จดำารงชีพ ๔๙ - บำาเหน็จตกทอด ๕๐


๓. พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.๒๕๓๙ ๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม - บำ เหน็จ ๕๒ - บำ นาญ ๕๒ - บำ เหน็จดำ รงชีพ ๕๓ - บำ เหน็จตกทอด ๕๔ ๔. ทายาทที่ไม่มีสิทธิรับบำ เหน็จตกทอด ๕๔ ๕. พระราชกฤษฎีกาการจ่ายเงินเดือน เงินปีบำ เหน็จ บำ นาญ ๕๕ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม - เงินช่วยพิเศษ ๕๕ - ผู้มีสิทธิได้รับเงินช่วยพิเศษ ๕๖ - ระยะเวลาการขอรับเงินช่วยพิเศษ ๕๖ - วิธีการรับและเอกสารประกอบ ๕๖ ๖. การทำหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด ๕๖ ๗. การทำหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับเงินช่วยพิเศษ ๕๗ ๘. พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำ นาญ ๕๘ พ.ศ.๒๕๒๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม หน้า


การปฏิบัติของขาราชการทหาร กอนออกจากราชการ กรมการเงินกลาโหม บริการทันใจ ซื่อสัตยโปรงใส ทันสมัยสามัคคี


การปฏิบัติของขาราชการทหาร กอนออกจากราชการ หมวด ๑


๒ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๑. แนวท�งปฏิบัติในก�รดำ�เนินก�รกรณีเกษียณอ�ยุร�ชก�รของ ข้�ร�ชก�รทห�ร สังกัดสำ�นักง�นปลัดกระทรวงกล�โหม มีระยะเวล� และขั้นตอนปฏิบัติ ดังนี้ ž เดือนตุล�คม สม. ดำาเนินการสำารวจรายชื่อกำาลังพลที่จะครบกำาหนดเกษียณอายุราชการ ž เดือนพฤศจิก�ยน สม. ประสานกับ นขต.สป. เพื่อขอให้แจ้งกำาลังพลในสังกัดที่จะครบ กำาหนดเกษียณอายุราชการไปตรวจสอบความถูกต้องของสมุดประวัติรับราชการ โดยนายทหาร สัญญาบัตรตรวจสอบประวัติที่ สม. (แผนกทะเบียนพล กจก.สกพ.สม.) และนายทหารประทวน ตรวจสอบประวัติที่หน่วยต้นสังกัด ž เดือนธันว�คม หน่วยต้นสังกัดของกำาลังพลที่จะครบกำาหนดเกษียณอายุราชการ รวบรวมเอกสารหลักฐานประกอบการยื่นเรื่องขอรับบำาเหน็จบำานาญของนายทหารสัญญาบัตร ให้ สม. (สำาหรับนายทหารชั้นนายพล สม. จะมีเจ้าหน้าที่อำานวยความสะดวกไปรับเอกสาร) ž เดือนมกร�คม - กุมภ�พันธ์ สม. ดำาเนินการคำานวณเวลาราชการและบำาเหน็จบำานาญ ในเบื้องต้นให้นายทหารสัญญาบัตรที่ครบกำาหนดเกษียณอายุราชการ ส่วน นขต.สป. ดำาเนินการ คำานวณเวลาราชการและบำาเหน็จบำานาญในเบื้องต้นให้นายทหารประทวนและลูกจ้างในสังกัด ที่ครบกำาหนดเกษียณอายุราชการ ž เดือนมีน�คม สม. แจ้งข้อมูลในการคำานวณบำาเหน็จบำานาญให้นายทหารสัญญาบัตร ที่ครบกำาหนดเกษียณอายุราชการทราบในขั้นต้น ส่วน นขต.สป. แจ้งข้อมูลในการคำานวณบำาเหน็จ บำานาญให้นายทหารประทวนและลูกจ้างในสังกัดที่ครบกำาหนดเกษียณอายุราชการทราบในขั้นต้น ž เดือนเมษ�ยน สม. ดำาเนินการสำารวจรายชื่อกำาลังพลที่จะครบกำาหนดเกษียณอายุ ราชการเพิ่มเติม ภายหลังมีการโปรดเกล้าฯ ปรับย้ายในวาระเดือนเมษายน ž เดือนพฤษภ�คม สัปดาห์ที่ ๑ - ๒ สม. ประสานกับ นขต.สป. เพื่อขอให้แจ้งกำาลังพล ในสังกัดที่จะครบกำาหนดเกษียณอายุราชการไปตรวจสอบความถูกต้องของสมุดประวัติรับราชการ โดยนายทหารสัญญาบัตรตรวจสอบประวัติที่ สม. (แผนกทะเบียนพล กจก.สกพ.สม.) และ นายทหารประทวนตรวจสอบประวัติที่หน่วยต้นสังกัด ž เดือนพฤษภ�คม สัปดาห์ที่ ๓ - ๔ หน่วยต้นสังกัดของกำาลังพลที่จะครบกำาหนดเกษียณอายุ ราชการรวบรวมเอกสารหลักฐานของนายทหารสัญญาบัตรส่งให้ สม. (สำาหรับนายทหารชั้นนายพล สม. จะมีเจ้าหน้าที่อำานวยความสะดวกไปรับเอกสาร)


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๓ ž เดือนมิถุน�ยน สม. ดำาเนินการคำานวณเวลาราชการและบำาเหน็จบำานาญในเบื้องต้น ให้นายทหารสัญญาบัตรที่ครบกำาหนดเกษียณอายุราชการ ส่วน นขต.สป. ดำาเนินการคำานวณ เวลาราชการและบำาเหน็จบำานาญในเบื้องต้นให้นายทหารประทวนและลูกจ้างในสังกัด ที่ครบกำาหนดเกษียณอายุราชการ ž เดือนกรกฎ�คม สม. ดำาเนินการเรื่องการขอรับบำาเหน็จบำานาญของนายทหารสัญญาบัตร ที่ครบกำาหนดเกษียณอายุราชการส่งให้ กง.กห. (แผนกเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ กบน.กง.กห.) เพื่อ กง.กห. จัดส่งให้กรมบัญชีกลาง นขต.สป. ดำาเนินการเรื่องการขอรับบำาเหน็จบำานาญ ของนายทหารประทวนที่ครบกำาหนดเกษียณอายุราชการ ส่งให้ กง.กห. เพื่อ กง.กห. จัดส่งให้ กรมบัญชีกลาง ž เดือนสิงห�คม สม. จัดทำาหนังสือประกาศเกียรติคุณสำาหรับมอบให้ผู้เกษียณอายุราชการ ž เดือนกันย�ยน ตั้งแต่สัปดาห์ที่ ๒ เปนต้นไป สม. ทำาบัตรประจำาตัวข้าราชการบำาเหน็จ บำานาญให้นายทหารชั้นนายพล สังกัด นขต.กห. ที่เกษียณอายุราชการ กง.กห. จัดทำาบัตรประจำาตัว ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญให้นายทหารสัญญาบัตรและนายทหารประทวนที่เกษียณอายุราชการ กรณีรับเงินจาก กง.กห. ภายหลังจากผู้รับเบี้ยหวัดบำานาญได้รับหนังสือสั่งจ่ายจากกรมบัญชีกลาง เรียบร้อยแล้ว


๔ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ สิทธิประโยชน์ของข้�ร�ชก�รทห�ร เมื่อออกจ�กร�ชก�ร ผู้ที่รับราชการเปนทหารเมื่อพ้นราชการด้วยเหตุลาออก เกษียณอายุ ลาออกตามโครงการ เกษียณอายุราชการก่อนกำาหนด ให้ออกโดยไม่มีความผิด ซึ่งรับราชการโดยกระทำาความดี ความชอบมาตลอด ทางราชการจะตอบแทนผู้นั้นให้ได้รับสิทธิประโยชน์ ตามสิทธิที่ได้รับ ได้แก่ ๑. รับเงินบำาเหน็จ ให้รับเปนเงินก้อนครั้งเดียว ๒. รับเงินเบี้ยหวัด ให้เฉพาะข้าราชการทหารชายรับเปนรายเดือน ๓. รับเงินบำานาญ ให้รับเปนรายเดือน ๔. รับเงินบำาเหน็จดำารงชีพ ให้เฉพาะผู้รับเงินบำานาญรับเปนเงินก้อน ๓ ครั้ง ๕. มีสิทธิเบิกสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร และเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษา พยาบาลให้เฉพาะผู้รับเงินเบี้ยหวัด หรือผู้รับเงินบำานาญ ๖. มีสิทธิกู้เงินกับสถาบันการเงินโดยนำาสิทธิในบำาเหน็จตกทอดเปนหลักทรัพย์ประกัน การกู้เงิน


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๕ ข้อเปรียบเทียบของก�รเลือกรับเงินบำ�เหน็จหรือเงินบำ�น�ญ ก�รขอรับเงินบำ�เหน็จ ๑. ได้รับเงินเปนก้อน สามารถนำาไปประกอบอาชีพส่วนตัวหรือฝากสถาบันการเงิน ธนาคาร สหกรณ์ออมทรัพย์ หรือนำาไปลงทุนในด้านอื่น ๆ ๒. เงินบำาเหน็จ จะได้รับเต็มตามจำานวนเวลาราชการที่รับราชการอยู่ เช่น มีเวลาราชการ ๔๐ ปี ก็จะได้รับเท่ากับ ๔๐ เท่าของเงินเดือนเดือนสุดท้าย ๓. ไม่ต้องเปนกังวลที่จะต้องมารับเงินทุกเดือน ๔. ไม่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาเล่าเรียนบุตรและเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการ รักษาพยาบาล และเงินบำาเหน็จดำารงชีพ ๕. เมื่อเสียชีวิต ทายาทไม่มีสิทธิได้รับเงินช่วยพิเศษและเงินบำาเหน็จตกทอด ก�รขอรับเงินบำ�น�ญ ๑. ถือว่ามีรายได้ที่แน่นอนมั่นคงเปนรายเดือนทุกเดือน ๒. มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาเล่าเรียนบุตรและเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการ รักษาพยาบาล ๓. มีสิทธิได้รับบำาเหน็จดำารงชีพ ๔. มีสิทธิกู้เงินกับสถาบันการเงินโดยนำาสิทธิในบำาเหน็จตกทอดเปนหลักทรัพย์ประกันการกู้เงิน ๕. เมื่อมีการปรับบัญชีเงินเดือนคราวใด ก็อาจจะได้รับการพิจารณาเพิ่มเงินช่วยค่าครองชีพให้ ๖. เมื่อกลับเข้ารับราชการใหม่ สามารถนำาเวลาราชการครั้งแรกก่อนออกรับบำานาญมารวมกับ เวลาราชการในครั้งหลังเพื่อคำานวณบำาเหน็จบำานาญได้ ๗. เมื่อเสียชีวิต ทายาทมีสิทธิได้รับเงินช่วยพิเศษเท่ากับเงินบำานาญรวมเงินช่วยค่าครองชีพ เบี้ยหวัดบำานาญ จำานวน ๓ เดือน และเงินบำาเหน็จตกทอดเท่ากับ ๓๐ เท่าของเงินบำานาญ รายเดือนรวมเงินช่วยค่าครองชีพเบี้ยหวัดบำานาญ หักด้วยเงินบำาเหน็จดำารงชีพ ก�รเปลี่ยนแปลงก�รขอรับบำ�เหน็จบำ�น�ญ จากระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการขอรับและการจ่ายบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ พ.ศ.๒๕๒๗ หมวด ๓ การสั่งจ่ายบำาเหน็จบำานาญ ข้อ ๑๗ วรรคสี่ เมื่อผู้มีสิทธิรับบำาเหน็จบำานาญ ได้รับเงินบำาเหน็จ หรือบำานาญ จากส่วนราชการผู้เบิกแล้ว จะขอเปลี่ยนแปลงความประสงค์


๖ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ในการขอรับบำาเหน็จหรือบำานาญอีกไม่ได้นั้น มีความหมายว่า แม้จะมีการสั่งจ่ายบำาเหน็จหรือบำานาญ ให้แล้ว หากผู้มีสิทธิยังไม่ได้รับเงินจากส่วนราชการผู้เบิก ก็ยังสามารถขอเปลี่ยนแปลงความประสงค์ได้ แต่ถ้าหากได้รับเงินบำาเหน็จหรือบำานาญจากส่วนราชการผู้เบิกไปแล้ว จะขอเปลี่ยนแปลง ความประสงค์อีกไม่ได้ ก�รนับอ�ยุบุคคลเกษียณอ�ยุร�ชก�ร ปจจุบันได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในส่วนที่เกี่ยวกับการ นับอายุบุคคลโดยบัญญัติวิธีนับอายุของบุคคลไว้เปนเรื่องเฉพาะ ตามมาตรา ๑๖ ซึ่งบัญญัติ ว่า “การนับอายุของบุคคลให้เริ่มนับแต่วันเกิด... ฯลฯ” (มีผลใช้บังคับตามกฎหมายเมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๓๕) ดังนั้น บุคคลซึ่งเกิดในวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๙๗ จะมีอายุครบ ๖๐ ปีบริบูรณ์ ในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ และบุคคลผู้นั้นจะพ้นจากราชการ เมื่อสิ้นปีงบประมาณที่ข้าราชการ ผู้นั้นมีอายุครบ ๖๐ ปีบริบูรณ์ ตามกฎหมายว่าด้วยบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ ในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ หลักเกณฑ์ที่จะมีสิทธิได้รับเบี้ยหวัดบำ�เหน็จบำ�น�ญ ก�รนับเวล�ร�ชก�ร การนับเวลาราชการสำาหรับคำานวณบำาเหน็จบำานาญ ให้รวมถึงผู้รับเบี้ยหวัด บำาเหน็จ บำานาญปกติ และบำาเหน็จตกทอดของข้าราชการประจำา หรือทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัดถึงแก่ความตาย มีหลักเกณฑ์ และวิธีการ ดังนี้ ๑. เวล�ร�ชก�รปกติ คือ เวลาที่เริ่มเข้ารับราชการจนถึงเวลาก่อนออกจากราชการ ๑.๑ เริ่มนับตั้งแต่วันเข้ารับราชการและรับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือน ๑.๒ ผู้ที่เข้ารับราชการก่อนอายุ ๑๘ ปีบริบูรณ์ เริ่มนับเวลาตั้งแต่วันที่มีอายุครบ ๑๘ ปีบริบูรณ์ ๑.๓ ผู้ที่ขึ้นทะเบียนทหารกองประจำาการ ให้มีสิทธินับเวลาตั้งแต่วันขึ้นทะเบียนทหาร กองประจำาการ ๑.๔ ผู้ที่ทางราชการคัดเลือกให้ไปดูงานหรือศึกษาวิชาในต่างประเทศ ให้นับเวลาราชการ ระหว่างนั้นเหมือนเต็มเวลาราชการ ๑.๕ ผู้ที่รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือน ซึ่งทางราชการสั่งให้ไปทำาการ ใด ๆ ตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา ให้นับเวลาราชการระหว่างนั้นเหมือนเต็มเวลา ราชการ ๑.๖ กรณีผู้รับเบี้ยหวัด ให้นับเวลาราชการ ๑ ใน ๔ ของเวลาที่มีสิทธิรับเบี้ยหวัด


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๗ ๒. เวล�ร�ชก�รทวีคูณ คือ เวลาที่กฎหมายให้นับเพิ่มอีก ๑ เท่า ของเวลาที่ปฏิบัติหน้าที่ หรือรับราชการตามปกติ แบ่งออกเปน ดังนี้ ๒.๑ เวลาทำาหน้าที่ตามที่กระทรวงกลาโหมกำาหนด - เวลาระหว่างที่มีการรบ หรือการสงคราม - เวลาระหว่างที่มีการปราบปรามการจลาจล - เวลาระหว่างที่มีพระบรมราชโองการ ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน - เวลาระหว่างที่สั่งให้เปนนักดำาเรือดำานำ้า ให้นับเวลาที่ปฏิบัติการตามสั่งเปนทวีคูณ แม้ว่าระยะเวลาดังกล่าวนั้นจะไม่ได้รับ เงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงินเดือนก็ตาม ๒.๒ เวลาที่มีการประกาศใช้กฎอัยการศึกในเขตพื้นที่ใด ให้คณะรัฐมนตรีมีอำานาจ พิจารณาให้ข้าราชการ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในเขตที่ได้มีการประกาศกฎอัยการศึกนั้น ได้รับการนับเวลา ราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ในระหว่างนั้นเปนทวีคูณได้ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกำาหนด หลักเกณฑ์ การพิจารณาตามความจำาเปนของสถานการณ์ โดยคำานึงถึงความยากลำาบากและการเสี่ยงอันตราย ๓. ก�รตัดเวล�ร�ชก�ร ๓.๑ เวลาที่ไม่ได้รับเงินเดือนด้วยเหตุใด ๆ เช่น ปวย ลา ขาด พักราชการ ให้ตัดเวลา ระหว่างนั้นออกหรือถูกสั่งพักราชการโดยได้รับเงินเดือนไม่เต็มอัตรา เช่น ได้ ๑ ใน ๒ หรือ ๑ ใน ๓ หรือ ๑ ใน ๔ ให้ตัดเวลาราชการออกตามส่วนที่ไม่มีสิทธิได้รับเงินเดือน ๓.๒ ผู้ที่มีสิทธิได้นับเวลาราชการเปนทวีคูณ กรณีประกาศกฎอัยการศึก ถ้าไม่มา ปฏิบัติราชการ ในระหว่างประกาศกฎอัยการศึกด้วยเหตุใดก็ตามไม่มีสิทธิได้นับเวลาทวีคูณ ในระหว่างนั้น ๔. วิธีก�รนับเวล�ร�ชก�ร ๔.๑ นับตามพระราชบัญญัติบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ พ.ศ.๒๔๙๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม - ให้นับแต่จำานวนปี เศษของปีถ้าถึงครึ่งปีให้นับเปนหนึ่งปี - สำาหรับเดือนให้นับ ๑๒ เดือนเปน ๑ ปี - สำาหรับวันมีรวมกันหลายระยะให้นับ ๓๐ วันเปน ๑ เดือน ผู้กลับเข้ารับราชการใหม่ให้นับเวลาราชการสำาหรับคำานวณบำาเหน็จบำานาญตาม พระราชบัญญัติกองทุนบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ พ.ศ.๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเติม


๘ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๔.๒ นับตามพระราชบัญญัติกองทุนบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ พ.ศ.๒๕๓๙ - ออกจากราชการแล้วกลับเข้ารับราชการใหม่ ตั้งแต่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๔๐ นับเวลาตอนก่อนออกจากราชการรวมกับเวลาราชการตอนกลับเข้ารับราชการใหม่ เว้นถูกปลดออก หรือไล่ออกจากราชการและไม่มีสิทธิรับเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญตอนก่อนออกจากราชการ - รับบำาเหน็จไปแล้ว คืนบำาเหน็จพร้อมดอกเบี้ย ตามอัตราเงินฝากประจำาธนาคาร ออมสิน นับเวลาตอนก่อนออกจากราชการรวมกับเวลาราชการตอนกลับเข้ารับราชการใหม่ - งดรับบำานาญ นับเวลาราชการตอนก่อนออกจากราชการรวมกับเวลาราชการ ตอนกลับเข้ารับราชการใหม่ - ขอรับบำานาญ มีหนังสือแจ้งหน่วยที่กลับเข้ารับราชการใหม่ภายใน ๓๐ วัน จะนับ เวลาราชการต่อเนื่องไม่ได้ - กรณีเงินเดือนใหม่เท่าหรือมากกว่าเงินเดือนเดิม งดจ่ายบำานาญ - กรณีเงินเดือนใหม่น้อยกว่าเงินเดือนเดิม ให้รับบำานาญเท่ากับผลต่างของ เงินเดือนใหม่และเงินเดือนเดิม ให้ส่วนราชการที่ผู้นั้นกลับเข้ารับราชการใหม่แจ้งไปยังหน่วยที่ผู้รับ บำานาญอยู่เพื่อให้งดหรือลดการจ่ายบำานาญ - การนับเวลาราชการเพื่อให้เกิดสิทธิ ให้นับจำานวนปี เศษของปีถึงครึ่งปีให้นับเปน ๑ ปี - นับเวลาเพื่อคำานวณจำานวนบำาเหน็จบำานาญ ให้นับจำานวนปี รวมทั้งเศษของปีด้วย การนับเศษของปีซึ่งเปนเดือนหรือวันให้คำานวณตามวิธีการจ่ายเงินเดือน การขอรับบําเหน็จ บํานาญ ตองทํายังไงครับ


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๙ เงินเดือนสำ�หรับคำ�นวณเบี้ยหวัดบำ�เหน็จบำ�น�ญ เงินเดือนเดือนสุดท้�ย ที่นำามาคำานวณเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ ได้แก่ เงินเดือนที่ได้รับจาก เงินงบประมาณประเภทเงินเดือนเดือนสุดท้ายที่ออกจากราชการ รวมทั้งเงินเพิ่มพิเศษรายเดือน สำาหรับค่าวิชาและ/หรือเงินเพิ่มการเลื่อนฐานะและ/หรือสำาหรับประจำาตำาแหน่งที่ต้องฝาอันตราย เปนปกติและ/หรือสำาหรับการสู้รบและ/หรือสำาหรับการปราบปรามผู้กระทำาความผิดแต่ไม่รวม เงินเพิ่มอย่างอื่น ๆ ก�รเตรียมตัวของข้�ร�ชก�รทห�รเมื่อจะออกจ�กร�ชก�ร ข้าราชการทหารที่รับราชการและมีความประสงค์จะขอลาออกจากราชการก่อนเกษียณ อายุราชการ หรือเมื่อใกล้จะเกษียณอายุราชการซึ่งจะมีสิทธิได้รับ เบี้ยหวัด บำาเหน็จ บำานาญ (ตามข้อ บังคับกระทรวงกลาโหมว่าด้วยเงินเบี้ยหวัด พ.ศ.๒๔๙๕ พระราชบัญญัติบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ พ.ศ.๒๔๙๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติกองทุนบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ พ.ศ.๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเติม และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง) ดังนั้น เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการ ดำาเนินการยื่นเรื่องขอรับเบี้ยหวัด บำาเหน็จ บำานาญ ควรจะมีการตรวจสอบความถูกต้องของสมุดประวัติ รับราชการของตนเองล่วงหน้าก่อน ส่วนร�ชก�รที่จะต้องติดต่อยื่นเรื่องขอรับเบี้ยหวัดบำ�เหน็จบำ�น�ญ ข้าราชการทหารจะมีสังกัดขณะที่รับราชการ และสังกัดเมื่อออกจากราชการแล้ว แต่ละคน จะมีสังกัดแตกต่างกันออกไปซึ่งได้แก่ สังกัด สำานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม สำานักงานรัฐมนตรี กรมราชองครักษ์ กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และจังหวัดทหารบก โดยผู้มีสิทธิขอรับเบี้ยหวัด บำาเหน็จบำานาญ สามารถไปติดต่อหน่วยงานต้นสังกัดได้ดังต่อไปนี้ ๑. สังกัดของผู้ที่รับร�ชก�ร ข้าราชการทหารซึ่งออกจากราชการเนื่องจากลาออก ให้ออก เกษียณอายุมีความประสงค์ จะยื่นเรื่องขอรับเบี้ยหวัด บำาเหน็จ บำานาญ ให้ติดต่อส่วนราชการที่ข้าราชการทหารผู้นั้นสังกัด ๒. สังกัดของผู้ที่ออกจ�กร�ชก�รแล้ว ข้าราชการทหารผู้ซึ่งออกจากราชการไปแล้ว และรับเบี้ยหวัด หากต้องการยื่นขอทำา เรื่องย้ายประเภทเพื่อรับบำาเหน็จบำานาญให้ไปติดต่อส่วนราชการที่สังกัดตามที่ได้ระบุไว้ในคำาสั่งออก จากราชการ เพื่อยื่นเรื่องขอรับบำาเหน็จบำานาญ


๑๐ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ก�รยื่นเรื่องต่อเจ้�หน้�ที่ เพื่อขอรับเบี้ยหวัดบำ�เหน็จบำ�น�ญ เมื่อผู้ที่จะออกจากราชการได้รับทราบคำาสั่งแล้ว ให้ไปติดต่อกับส่วนราชการที่ตนเองสังกัด เพื่อยื่นเรื่องขอรับเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญกับเจ้าหน้าที่ สำาหรับผู้ที่เกษียณอายุราชการสามารถ ยื่นขอล่วงหน้าได้ ๘ เดือน ก่อนเกษียณอายุราชการ ในปจจุบันการขอรับเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ เปนระบบโครงการจ่ายตรงโดยกระทรวงการคลังจะโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝาก ตามที่ท่านได้แจ้งไว้ ก�รติดต�มเรื่องก�รรับเงินเบี้ยหวัดบำ�เหน็จบำ�น�ญในส่วนภูมิภ�ค ข้าราชการทหารที่ในส่วนภูมิภาคที่ยื่นเรื่องขอรับเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญกับหน่วยต้นสังกัดแล้ว เมื่อต้องการติดตามเรื่องการพิจารณาอนุมัติสั่งจ่ายเงินให้ติดต่อกับสำานักงานคลังเขตที่หน่วย ต้นสังกัดตั้งอยู่ ก�รฌ�ปนกิจสงเคร�ะห์ กรณีผู้ที่จะออกจากราชการเปนสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ทหาร (สสอท.) สหกรณ์สมาชิกของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย (สส.ชสอ.) กองทัพบก กองทัพเรือ หรือกองทัพอากาศ ต้องไปติดต่อเจ้าหน้าที่ก่อนออกจากราชการ ดังนี้ ๑. สมาชิก สสอท. และ สส.ชสอ. ติดต่อที่สหกรณ์ออมทรัพย์ต้นสังกัด ซึ่งเปนศูนย์ประสานงาน ของ สสอท. และ สส.ชสอ.


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๑๑ ๒. สมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์กองทัพบก ติดต่อเจ้าหน้าที่แผนกฌาปนกิจ กองการสงเคราะห์ กรมสวัสดิการทหารบก ในบริเวณวัดโสมนัสวรวิหาร ๓. สมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์กองทัพเรือ ติดต่อเจ้าหน้าที่แผนกฌาปนกิจ กองการสงเคราะห์ กรมสวัสดิการทหารเรือ ท่าราชวรดิฐ ๔. สมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์กองทัพอากาศ ติดต่อเจ้าหน้าที่แผนกฌาปนกิจ กองการ สงเคราะห์กรมสวัสดิการทหารอากาศ ในบริเวณวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร ทั้งนี้ เพื่อยืนยันสถานภาพการเปนสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์ และยื่นคำาร้องขอให้ธนาคาร หักเงินบำานาญจากบัญชีเงินฝากเพื่อชำาระเปนเงินสงเคราะห์จัดการศพ ก�รสหกรณ์ออมทรัพย์ สป. การปฏิบัติสำาหรับข้าราชการที่เปนสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ สป. จำากัด ที่เกษียณอายุราชการ หรือลาออกจากราชการ มีดังนี้ ๑. กรณีที่ต้องเกษียณอายุราชการ หรือลาออกจากราชการ สมาชิกก็ยังสามารถเปนสมาชิก ของสหกรณ์ฯ ต่อได้ โดยแจ้งให้สหกรณ์ฯ ทราบ ทั้งนี้หน่วยที่สมาชิกสังกัดอยู่ควรตรวจสอบหนี้สิน กับสหกรณ์ฯ ก่อน เนื่องจากเมื่อสมาชิกเกษียณอายุราชการหรือลาออกจากราชการ สหกรณ์ฯ ไม่สามารถเรียกเก็บเงินงวดชำาระหนี้และค่าหุ้น โดยวิธีหักจากเงินเบี้ยหวัดบำานาญได้ สมาชิก ต้องนำาส่งค่าหุ้น และเงินงวดชำาระหนี้ด้วยตนเองที่สหกรณ์ฯ หรือโอนเงินผ่านทางธนาคารทหารไทย จำากัด (มหาชน) สาขาใดก็ได้ เข้าบัญชีสหกรณ์ออมทรัพย์ สป. จำากัด เลขที่บัญชี ๐๓๙-๒-๒๓๑๕๓-๖ ธนาคารทหารไทย จำากัด (มหาชน) สาขากระทรวงกลาโหม ๒. หากยังคงเปนสมาชิกสหกรณ์ฯ ต่อไป สมาชิกมีสิทธิฝากเงินหรือกู้เงินกับสหกรณ์ได้ เช่นเดิม แต่การกู้เงินสมาชิกมีสิทธิกู้เงินได้ภายในจำานวนไม่เกินร้อยละ ๙๐ ของค่าหุ้นทั้งหมดหรือ เงินฝากในสหกรณ์ฯ ที่เปนหลักประกันไม่เกินร้อยละ ๘๐ ของเงินฝากที่มีอยู่ในสหกรณ์ฯ ๓. สมาชิกสามารถงดชำาระค่าหุ้นรายเดือนได้หากมีหนี้สินไม่เกินกว่าค่าหุ้น ๔. สมาชิกที่โอนเงินมายังสหกรณ์ฯ เพื่อชำาระค่าหุ้นหรือชำาระหนี้เงินกู้หรือฝากเงินให้โทรศัพท์ แจ้งสหกรณ์ฯ ทุกครั้ง และส่งใบโอนเงินหรือโทรสารใบโอนเงินให้สหกรณ์ฯ ด้วย


กรมการเงินกลาโหม บริการทันใจ ซื่อสัตยโปรงใส ทันสมัยสามัคคี


หมวด ๒ การปฏิบัติของขาราชการทหาร หลังออกจากราชการ


๑๔ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๑. หน้�ที่ของผู้รับบำ�เหน็จบำ�น�ญ ๑. ต้องปฏิบัติตามกฎข้อบังคับ คำาสั่ง และแบบธรรมเนียมทหารเมื่อสังกัดหน่วยใด ให้หัวหน้า หน่วยนั้นเปนผู้บังคับบัญชาโดยตรง ๒. ถ้าเข้ารับราชการในกระทรวงทบวงกรมอื่น ต้องรายงานต่อผู้บังคับบัญชาต้นสังกัด ให้ทราบว่าเข้ารับราชการตำาแหน่งใด เปนข้าราชการประเภทใดมีสิทธิได้รับบำาเหน็จบำานาญหรือไม่ รับเงินเดือนเท่าใด หรือได้เลื่อนชั้นเงินเดือนหรือออกจากราชการทั้งนี้ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วัน ที่ได้มีกรณีนั้น ๆ และผู้บังคับบัญชาต้องเสนอรายงานตามลำาดับจนถึงหน่วยที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงกลาโหมทราบ และให้เจ้าหน้าที่ส่งเรื่องไปยังเจ้าหน้าที่เสมียนตรา และให้เจ้าหน้าที่ เสมียนตราส่งเจ้าหน้าที่การเงิน ๓. ในกรณีที่ข้าราชการบำาเหน็จบำานาญเปนนายทหารนอกราชการ จะต้องไปรายงานตนเอง ยังที่ว่าการหน่วยต้นสังกัดโดยเร็วที่สุด เมื่อมีราชการสงคราม หรือประกาศระดมพล หรือประกาศใช้ กฎอัยการศึกในเขตท้องที่ซึ่งตนตั้งภูมิลำาเนาอยู่ แม้จะไม่ได้รับคำาสั่งเรียกร้องประการใดก็ตาม ๒. ก�รทำ�บัตรประจำ�ตัวผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำ�น�ญ * ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ ทางสำานักงานปลัด กระทรวงกลาโหม กรมการเงินกลาโหมจะออกบัตรประจำาตัว ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญให้ทุกคน บัตรประจำาตัวผู้รับเงิน บำานาญให้ใช้ได้ตลอดชีพ ส่วนบัตรประจำาตัวผู้รับเงินเบี้ยหวัด ให้ใช้ได้จนถึงวันครบกำาหนดย้ายประเภท ติดต่อขอทำาบัตร รับเงินได้ที่กองเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ กรมการเงินกลาโหม อาคารบริการ สำานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (ศรีสมาน) โทร. ๐ ๒๕๐๑ ๖๘๖๕ ศาลาว่าการกลาโหม โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๖๘๑๑ * ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญทางกองทัพบก ขอทำาบัตร บัตรประจำ�ตัว ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำ�น�ญ รับเงินได้ที่ กรมการเงินทหารบก (โทร. ๐ ๒๒๙๗ ๘๒๙๔ - ๗) * ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญทางกองทัพเรือ ขอทำาบัตรรับเงินได้ที่ กรมการเงินทหารเรือ (โทร. ๐ ๒๔๗๕ ๔๕๖๓) * ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญทางกองทัพอากาศ ขอทำาบัตรรับเงินได้ที่ กรมการเงินทหารอากาศ (โทร. ๐ ๒๕๓๔ ๒๑๒๙ - ๓)


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๑๕ * ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญทางหน่วยเบิกจ่ายในส่วนภูมิภาค ขอทำาบัตรรับเงินได้ที่หน่วย เบิกจ่ายเงินนั้น ๆ ๓. ก�รทำ�บัตรผ่�นเข้� - ออก กระทรวงกล�โหม ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญทางกรมการเงินกลาโหม ที่มีความประสงค์จะทำาบัตรผ่านเข้า - ออก กระทรวงกลาโหม เพื่อใช้ในการติดต่อขอรับเงินหรือติดต่อกับกองเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ กรมการเงินกลาโหม ให้นำาบัตรประจำาตัวผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญไปติดต่อกับกองรักษา ความปลอดภัย สำานักนโยบายและแผนกลาโหม เพื่อขอทำาบัตรผ่านดังกล่าวในเดือนมีนาคมของทุกปี ๔. ก�รทำ�บัตรประจำ�ตัวข้�ร�ชก�รบำ�เหน็จบำ�น�ญ ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ ต้องมีบัตรประจำาตัวสำาหรับแสดงตนในโอกาสต่าง ๆ ตามข้อบังคับ กระทรวงกลาโหมว่าด้วยบัตรประจำาตัว พ.ศ.๒๕๓๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ส่วนร�ชก�รที่จัดทำ�บัตรประจำ�ตัว ๑. ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ สังกัด สำานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ติดต่อขอมีบัตรประจำาตัว ได้ที่กองบริการกำาลังพล สำานักงานกำาลังพล กรมเสมียนตรา ๒. ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ สังกัด กองทัพบก ติดต่อขอมีบัตรประจำาตัวได้ที่กรมสารบรรณ ทหารบก ๓. ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ สังกัด จังหวัดทหารบก ติดต่อขอมีบัตรประจำาตัวได้ที่ จังหวัด ทหารบกที่ตนสังกัด ๔. ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ สังกัด กองทัพเรือ ติดต่อขอมีบัตรประจำาตัวได้ที่ กรมกำาลังพล ทหารเรือ ๕. ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ สังกัด กองทัพอากาศ ติดต่อขอมีบัตรประจำาตัวได้ที่ กรมกำาลังพล ทหารอากาศ ๖. ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ สังกัด กองบัญชาการกองทัพไทย ติดต่อขอมีบัตรประจำาตัวได้ที่ กรมการเงินทหาร สำาหรับผู้ที่มีอายุเกิน ๗๐ ปีขึ้นไป ในวันที่มีบัตรอยู่ให้ใช้ได้ตลอดชีพ


๑๖ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๕. ก�รแต่งเครื่องแบบทห�รของผู้ออกจ�กร�ชก�ร นายทหารสัญญาบัตรที่ออกจากราชการแล้วมีสิทธิแต่งเครื่องแบบทหารได้ทุกโอกาส นายทหารประทวนนอกประจำาการแต่งเครื่องแบบทหารได้เฉพาะในโอกาสถูกเรียกระดมพล และถูก เรียกเข้ารับราชการทหาร และนายทหารประทวนนอกประจำาการที่ได้รับเหรียญกล้าหาญและเหรียญ ชัยสมรภูมิ แต่งเครื่องแบบทหารได้เฉพาะในโอกาสที่ได้รับเชิญไปร่วมพิธี รัฐพิธีงานต่าง ๆ ของทหาร งานซึ่งเกี่ยวกับราชการ และงานพิธีอันมีเกียรติทั่ว ๆ ไป ตามที่กำาหนดไว้ในพระราชบัญญัติเครื่องแบบ ทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๗ และกฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติเครื่องแบบทหาร ดังนี้ ๑. ทหารบก แต่งเครื่องแบบทหารบก ใช้เครื่องหมายเหล่าครั้งสุดท้ายติดที่คอเสื้อข้างขวา และติดอักษร นก แทนเครื่องหมายสังกัดที่คอเสื้อข้างซ้าย สำาหรับนายทหารสัญญาบัตรชั้นพันเอก ซึ่งเทียบเท่าพลจัตวา นายพลและจอมพล ใช้เครื่องหมายโลหะสีทองรูปคทาไขว้ประกอบกับช่อชัยพฤกษ์ ติดที่คอเสื้อข้างขวา และติดอักษร นก แทนเครื่องหมายสังกัดที่คอเสื้อข้างซ้าย (ขณะนี้อยู่ระหว่าง ดำาเนินการแก้ไขกฎกระทรวง ซึ่ง รมว.กห. ได้กรุณาอนุมัติเมื่อ ๑๐ พ.ย.๖๐ ให้ใช้เพื่อพลางระหว่าง ดำาเนินการแก้ไขกฎกระทรวง) ๒. ทหารเรือ แต่งเครื่องแบบทหารเรือ ใช้เครื่องหมายยศพรรค เหล่า เช่นเดียวกับ ทหารประจำาการ เว้นแต่ ๒.๑ นายทหารสัญญาบัตร มีรูปสมอทำาด้วยโลหะสีเงินประดับที่กึ่งกลางอินทรธนู ทั้ง ๒ ข้าง หรือเหนือเครื่องหมายยศที่แขนเสื้อทั้ง ๒ ข้าง ๒.๒ พันจ่า มีรูปสมอทำาด้วยโลหะสีทองประดับบนอินทรธนูทั้ง ๒ ข้างแทนเครื่องหมายเหล่า ๒.๓ จ่าและพลทหาร ปกรูปสมอภายใต้พระมหามงกุฎไม่มีรัศมีเหนือเครื่องหมายเหล่า ๓. ทหารอากาศ แต่งเครื่องแบบทหารอากาศ ใช้เครื่องหมายสังกัดซึ่งประจำาอยู่ก่อนออก จากประจำาการครั้งสุดท้าย ติดที่คอเสื้อข้างขวา และใช้เครื่องหมายทำาด้วยโลหะสีทองเปนรูป วงช่อชัยพฤกษ์ ๒ ข้าง ข้างละ ๙ ใบ รูปวงกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒.๕ ซม. ภายในวงช่อชัยพฤกษ์ มีรูปปีกนก ๒ ปีก ติดที่คอเสื้อข้างซ้าย ๖. ก�รยื่นเรื่องขอเบิกเงินสวัสดิก�รเกี่ยวกับก�รศึกษ�ของบุตร ๖.๑ ผู้มีสิทธิรับเงินเบี้ยหวัด/บำานาญปกติ/บำานาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ/ยื่นเรื่องขอรับ


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๑๗ แต่ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม และบุตรซึ่งบิดามารดาได้ยกให้เปนบุตรบุญธรรมของผู้อื่น ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรได้เพียงคนที่หนึ่งถึงคนที่สาม การนับลำาดับบุตร ให้นับเรียงตามลำาดับการเกิดก่อนหลัง ทั้งนี้ ไม่ว่าเปนบุตรที่เกิดจากการสมรสครั้งใด หรืออยู่ในอำานาจปกครองของตนหรือไม่ ผู้มีสิทธิผู้ใดมีบุตรเกินสามคน และต่อมาบุตรคนหนึ่งคนใดในจำานวนสามคนนั้นตายลง ก ่อนมีอายุครบ ๒๕ ปีบริบูรณ์ ก็ให้ผู้นั้นมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร เพิ่มขึ้นอีกเท่ากับจำานวนบุตรที่ตายนั้น โดยให้นับบุตรคนที่อยู่ในลำาดับถัดไปก่อน ๖.๔ การจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร ให้เปนไปตามหลักเกณฑ์ประเภท และอัตรา ดังนี้ ž สถานศึกษาของทางราชการ ในหลักสูตรระดับไม่สูงกว่าอนุปริญญา หรือเทียบเท่า และหลักสูตรนั้นแยกต่างหากจากหลักสูตรปริญญาตรี ให้ได้รับเงินบำารุงการศึกษาเต็มจำานวน ที่จ่ายไปจริง แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินประเภทและอัตราที่กระทรวงการคลังกำาหนด ž สถานศึกษาของทางราชการ ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี ให้ได้รับเงินบำารุงการศึกษา เต็มจำานวนที่ได้จ่ายไปจริง แต่ทั้งนี้ต้องเปนไปตามประเภทและไม่เกินอัตราที่กระทรวงการคลังกำาหนด ž สถานศึกษาของเอกชน ในหลักสูตรระดับไม่สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบ เท่า ให้ได้รับค่าเล่าเรียนเต็มจำานวนที่จ่ายไปจริง แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินประเภทและอัตราที่กระทรวงการ คลังกำาหนด ž สถานศึกษาของเอกชน ในหลักสูตรระดับสูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือ เทียบเท่า แต่ไม่สูงกว่าอนุปริญญาหรือเทียบเท่า และหลักสูตรนั้นแยกต่างหากจากหลักสูตรปริญญาตรี ให้ได้รับเงินค่าเล่าเรียนตามประเภทและอัตราที่กระทรวงการคลังกำาหนด แต่ทั้งนี้ ต้องไม่เกิน เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรที่หน่วยเบิกจ่ายเงินเบี้ย หวัดบำานาญ ๖.๒ หลักฐานที่จะต้องนำาไปแสดงต่อเจ้าหน้าที่ มีดังนี้ * บัตรประจำาตัวผู้รับเงินเบี้ยหวัด บำานาญ * ทะเบียนสมรส * ทะเบียนการรับรองบุตร * ทะเบียนบ้าน ๖.๓ บุตร หมายความว่า บุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งมีอายุไม่เกิน ๒๕ ปี ในวันที่ ๑ พฤษภาคม ของทุกปี


๑๘ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ครึ่งหนึ่งของจำานวนเงินที่ได้จ่ายไปจริง ž สถานศึกษาของเอกชน ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี ให้ได้รับเงินค่าเล่าเรียน ครึ่งหนึ่งของจำานวนที่ได้จ่ายไปจริง แต่ทั้งนี้ ต้องเปนไปตามประเภทและไม่เกินอัตราที่กระทรวงการ คลังกำาหนด ๖.๕ ผู้มีสิทธิรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการ เกี่ยวกับการศึกษาของบุตร ได้เพียงคนที่หนึ่งถึงคนที่สาม (การนับลำาดับบุตรคนที่หนึ่งถึงคนที่สาม ให้ นับเรียงตามลำาดับ การเกิดก่อนหลัง ทั้งนี้ไม่ว่าเปนบุตรที่เกิดจากการสมรสครั้งใด หรืออยู่ในอำานาจ ปกครองของตนหรือไม่) ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการการศึกษาของบุตรผู้ใดมีบุตรเกินสามคน ถ้าบุตรคนหนึ่ง คนใดในจำานวนสามคนตาย กายพิการจนไม่สามารถเล่าเรียนได้ หรือเปนคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถที่มิได้ศึกษาในสถานศึกษาที่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษา ของบุตร วิกลจริต หรือจิตฟนเฟอนไม่สมประกอบ ก่อนอายุครบยี่สิบห้าปีบริบูรณ์ ก็ให้ผู้นั้น มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรเพิ่มขึ้นอีกเท่าจำานวนบุตรที่ตาย การพิการ หรือ เปนคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ วิกลจริตหรือจิตฟนเฟอนไม่สมประกอบนั้น โดยให้นับบุตรคนที่อยู่ในลำาดับถัดไปก่อน ๖.๖ วิธีการและสถานที่เบิก ผู้รับเบี้ยหวัดบำานาญจะต้องชำาระเงินค่าบำารุงการศึกษา หรือ เงินค่าเล่าเรียนของบุตรต่อสถานที่ศึกษาแล้วจึงนำาใบเสร็จรับเงินมาเบิกกับหน่วยเบิกจ่ายเงิน เบี้ยหวัดบำานาญที่ตนเองขอรับเงินอยู่ ทั้งนี้ จะต้องดำาเนินการขอเบิกภายในระยะเวลา ๑ ปี นับแต่ วันเปดภาคเรียนของแต่ละภาค ๖.๗ เอกสารการยื่นขอเบิก ž แบบฟอร์มขอเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (แบบ ๗๒๒๓) ž เอกสารที่แนบ ได้แก่ ใบเสร็จรับเงิน และใบรับรองจากสถานศึกษา ๗. ก�รยื่นเรื่องขอเบิกเงินสวัสดิก�รเกี่ยวกับก�รรักษ�พย�บ�ล ๑. ผู้มีสิทธิขอเบิกเงินสวัสดิการ คือผู้รับเบี้ยหวัด บำานาญปกติ และบำานาญพิเศษ เหตุทุพพลภาพรวมทั้งบุคคลในครอบครัว ได้แก่ บิดา มารดา คู่สมรส บุตร ๒. หลักฐานที่จะต้องนำาไปแสดงต่อเจ้าหน้าที่ มีดังนี้


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๑๙ * บัตรประจำาตัวผู้รับเงิน เบี้ยหวัด บำานาญ * ทะเบียนสมรส * ทะเบียนการรับรองบุตร * ทะเบียนบ้าน ๓. บุคคลในครอบครัว ๓.๑ บิดา มารดา ที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้มีสิทธิ (ไม่รวมถึง บิดา มารดา ของคู่สมรส) ๓.๒ คู่สมรส ที่ได้จดทะเบียนสมรสกันถูกต้องตามกฎหมายแต่ถ้าคู่สมรสทั้งฝาย สามีและภรรยาต่างเปนข้าราชการหรือลูกจ้างประจำาของทางราชการด้วยกัน ถ้าฝายใดฝายหนึ่ง เจ็บปวยก็จะต้องใช้สิทธิขอรับเงินค่ารักษาพยาบาลของตนเอง จะให้อีกฝายหนึ่งเปนผู้ใช้สิทธิไม่ได้ ๓.๓ บุตรชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ (๒๐ ปีบริบูรณ์) หรือบรรลุ นิติภาวะแล้ว แต่เปนคนไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถที่อยู่ในปกครองของ บิดา มารดา ซึ่งเปนผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล แต่ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม หรือบุตรซึ่งยกให้เปนบุตรบุญธรรมของผู้อื่นแล้ว ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลมีสิทธิรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ ค่ารักษาพยาบาล สำาหรับบุตรได้เพียงคนที่ ๑ ถึงคนที่ ๓ โดยนับเรียงลำาดับการเกิดก่อนหลัง ไม่ว่า จะเปนบุตรที่เกิดจากการสมรสครั้งใด (ซึ่งเปนไปตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการ รักษาพยาบาล ๒๕๕๓ ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗ ตอนที่ ๒๓ ก ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๓ ซึ่งมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำาหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศราชกิจจานุเบกษาเปนต้นไป) * การนับลำาดับบุตรคนที่หนึ่งถึงสามนี้ หากบุตรคนใดเสียชีวิตก่อนอายุ ๒๐ ปีบริบูรณ์ ก็ให้ผู้นั้นมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการสำาหรับบุตรเพิ่มขึ้นอีกเท่ากับจำานวนบุตรที่ตาย โดยนับบุตร ที่อยู่ในลำาดับถัดไปก่อน แต่บุตรที่ไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถหากถึงแก่ความตาย หลังจากบรรลุนิติภาวะแล้ว บุตรที่อยู่ในลำาดับต่อไป แทนที่ไม่ได้ * ในกรณีมีบุตรที่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการ เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลยังไม่ถึงสามคน ถ้าต่อมา มีบุตรแฝดซึ่งทำาให้มีจำานวนบุตรเกินสามคน ก็ให้มี สิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล


๒๐ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ให้ผู้รับบำานาญไปรักษาพยาบาลที่สถานพยาบาลของ เอกชน ให้เบิกค่ารักษาพยาบาลได้ตามหลักเกณฑ์ และ อัตราที่กระทรวงการคลังกำาหนด ๔.๔ การตรวจสุขภาพประจำาปี ให้ตรวจ ตามปีงบประมาณปีละ ๑ ครั้ง ค่าตรวจสุขภาพประจำาปี เบิกได้ เฉพาะตัวผู้รับเบี้ยหวัดบำานาญ (บุคคลใน ครอบครัวไม่มีสิทธิเบิก) * ผู้มีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัว หากได้รับค่าสินไหมทดแทนจากผู้อื่นแล้วไม่มีสิทธิได้รับเงิน สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล เว้นแต่ค่าสินไหมทดแทนนั้น ตำ่ากว่าเงินสวัสดิการที่ผู้มีสิทธิจะได้รับตาม พระราชกฤษฎีกานี้ ก็ให้ใช้สิทธิเฉพาะส่วนที่ขาดอยู่ ๔. สถานพยาบาลของทางราชการ ผู้เข้ารับการรักษาพยาบาลจะเบิกค่ารักษาพยาบาล ทั้งประเภทคนไข้ใน และคนไข้นอก ได้เต็มจำานวนเท่าที่จ่ายไปจริง เว้นแต่ ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำาบัดรักษาโรค รวมทั้งค่าซ่อมแซมเบิกได้ ตามที่ กระทรวงการคลังกำาหนด ค่าห้อง ค่าอาหาร เบิกได้ ตามที่กระทรวงการคลังกำาหนด ดังนี้ ๔.๑ ค่าเตียงสามัญและค่าอาหารให้เบิกเท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินวันละ ๔๐๐ บาท โดยไม่จำากัดจำานวนวัน ๔.๒ ค่าห้องพิเศษและค่าอาหาร ให้เบิกเท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินวันละ ๑,๐๐๐ บาท เปนระยะเวลาติดต่อกันครั้งละไม่เกิน ๑๓ วัน ส่วนที่เกินกว่านั้นผู้มีสิทธิจะต้องรับภาระเอง เว้นแต่กรณีที่คณะกรรมการแพทย์ที่ผู้อำานวยการสถานพยาบาลแต่งตั้งวินิจฉัยว่าจำาเปนต้องรักษาเกิน ๑๓ วัน ให้เบิกค่าห้องและค่าอาหารได้ตามจำานวนวันที่คณะกรรมการแพทย์วินิจฉัยและ ออกหนังสือรับรองให้ เพื่อใช้ประกอบการเบิกจ่าย ๔.๓ ผู้เข้ารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของเอกชน ซึ่งทางราชการ ส่งไปตรวจกรณีพิเศษ ในกรณีที่เปนการเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการ ซึ่งสถานพยาบาลไม่สามารถให้บริการได้ และสถานพยาบาลทางราชการได้มีหนังสือรับรองฯ


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๒๑ ๕. สถานพยาบาลเอกชนในกรณีที่ผู้มีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเข้ารับการรักษาพยาบาล ในสถานพยาบาลของเอกชน ทั้งกรณีเข้ารับการรักษาพยาบาลด้วยตนเองหรือโดยการส่งตัวให้ เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนหากได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ผู้ทำาการ รักษาว่าเปนผู้ปวยฉุกเฉินวิกฤตหรือผู้ปวยฉุกเฉินเร่งด่วน ตามเกณฑ์การคัดแยกผู้ปวยฉุกเฉิน ที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติกำาหนดผู้มีสิทธิมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษา พยาบาลตามประกาศฯ จนกว่าจะได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ผู้ทำาการรักษาว่าผู้มีสิทธิหรือบุคคล ในครอบครัวพ้นขีดอันตรายแล้ว โดยให้มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาล ดังนี้ ๕.๑ ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำาบัดรักษาโรค รวมทั้งค่าซ่อมแซม ค่าห้อง และค่าอาหาร ให้เบิกได้เช่นเดียวกับผู้ที่เข้ารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของทางราชการ ๕.๒ ค่ารักษาพยาบาลประเภทอื่น ๆ ให้เบิกได้ครึ่งหนึ่งของจำานวนที่ได้จ่ายไปจริง แต่ต้องไม่เกิน ๘,๐๐๐ บาท ๖. วิธีการและสถานที่เบิก กรณีไม่สามารถเบิกตรงกับกรมบัญชีกลาง ๖.๑ กรณีผู้ปวยนอกของสถานพยาบาลของทางราชการ ที่ไม่ได้ทำาระบบเบิกจ่ายตรง กับทางโรงพยาบาล จำาต้องจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลไปก่อนแล้วนำาใบเสร็จรับเงินมาเบิกกับ หน่วยงานผู้เบิกเบี้ยหวัดบำานาญ ๖.๒ กรณีผู้ปวยในของสถานพยาบาลของทางราชการ (คนไข้ใน) ให้ติดต่อขอหนังสือ รับรองการมีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลกับหน่วยงานผู้เบิกเบี้ยหวัดบำานาญแล้วนำาส่งให้กับสถาน พยาบาลของทางราชการที่ตนเข้ารับการรักษาพยาบาล ๖.๓ กรณีผู้ปวยในของสถานพยาบาลเอกชน จะต้องเปนกรณีที่ผู้มีสิทธิหรือบุคคล ในครอบครัวเจ็บปวยฉุกเฉินตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราค่ารักษา พยาบาลประเภทผู้ปวยนอกหรือผู้ปวยใน สถานพยาบาลของเอกชน กรณีเจ็บปวยฉุกเฉิน ๖.๔ กรณีผู้ปวยนอก (คนไข้นอก) ของสถานพยาบาลเอกชนไม่สามารถนำาหลักฐาน การรับเงินของสถานพยาบาลนั้น มาเบิกกับทางราชการได้ ๗. ระยะเวลาเบิกค่ารักษาพยาบาลคนไข้นอก ๗.๑ จะต้องดำาเนินการเบิกภายใน ๑ ปี นับถัดจากวันที่ปรากฏในหลักฐานการรับเงินของ สถานพยาบาล ๗.๒ การขอเบิกค่ารักษาพยาบาลกรณีตรวจสุขภาพประจำาปี ให้ยื่นคำาขอภายใน ๑ ปี นับถัดจากวันที่ปรากฏในหลักฐานการรับเงินของสถานพยาบาล


๒๒ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๘. เอกสารขอเบิก ๘.๑ แบบฟอร์มขอเบิกค่ารักษาพยาบาล (แบบ ๗๑๓๑) ๘.๒ เอกสารการขอเบิก เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบรับรองจากโรงพยาบาล ๙. การยื่นเรื่องขอหนังสือรับรองการมีสิทธิรับเงินค่ารักษาพยาบาล (ผู้มีสิทธิหรือบุคคล ในครอบครัวไม่สามารถเบิกจ่ายในระบบเบิกจ่ายตรงได้) กรณี เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการ ประเภทผู้ปวยใน จะต้องนำาหลักฐานมาแสดงต่อเจ้าหน้าที่เพื่อขอหนังสือรับรอง ดังนี้ ๙.๑ ใบรับรองแพทย์ของสถานพยาบาลซึ่งได้รับรองว่า ผู้มีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัว ได้เข้ารับการรักษาพยาบาลเปนผู้ปวยภายในตั้งแต่วันที่เท่าใด ๙.๒ ให้ผู้มีสิทธิลงลายมือชื่อในคำาขอรับรองการมีสิทธิรับเงินค่ารักษาพยาบาล ด้วยตนเอง หากไม่สามารถมาติดต่อขอหนังสือรับรองการมีสิทธิเองได้เนื่องจากรักษาตัวอยู่ใน โรงพยาบาล จะให้บุคคลในครอบครัว เช่น สามี ภรรยา หรือบุตร หรือบุคคลผู้ใกล้ชิดมายื่นขอแทนได้ โดยจะต้องนำาบัตรประจำาตัวผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญของผู้มีสิทธิ และบัตรประจำาตัวของผู้มายื่นแทน มาแสดงต่อเจ้าหน้าที่ ๙.๓ บัตรประจำาตัวผู้รับเบี้ยหวัด บำานาญ ที่ยังไม่หมดอายุ ๙.๔ ในกรณีที่ผู้เจ็บปวยเปนบุคคลในครอบครัวของผู้มีสิทธิก็ให้นำาทะเบียนบ้าน ทะเบียน สมรส หรือทะเบียนรับรองบุตรมาด้วย


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๒๓ ๙.๕ เลขประจำาตัวประชาชนของผู้รับเบี้ยหวัด บำานาญ และของทายาทที่มีสิทธิเบิกค่า รักษาพยาบาล ซึ่งเปนผู้ปวยใน และใช้สถานพยาบาลของรัฐบาล ๑๐. กรณีผู้มีสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาล ไม่อาจยื่นหนังสือรับรองการมีสิทธิรับเงินค่ารักษา พยาบาลต่อสถานพยาบาลได้ทันก่อนออกจากสถานพยาบาล และได้ชำาระเงินต่อสถานพยาบาลไปก่อน ให้นำาใบเสร็จค่ารักษาพยาบาลยื่นต่อส่วนราชการผู้เบิกเงินเบี้ยหวัดบำานาญ เพื่อขอทำาความตกลง กับกระทรวงการคลัง ๑๑. การขอรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล กรณีเข้ารับการรักษาพยาบาลใน สถานพยาบาลของทางราชการ ประเภทผู้ปวยภายใน ผู้มีสิทธิจะจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลไปก่อน หรือนำาใบเสร็จรับเงินมาขอเบิกได้ในกรณีดังต่อไปนี้ ๑๑.๑ กรณีที่สถานพยาบาลไม ่มียา เลือด และส ่วนประกอบของเลือด หรือ สารทดแทนนำ้ายา หรืออาหารทางเส้นเลือด ออกซิเจน อวัยวะเทียม และอุปกรณ์ในการบำาบัด รักษาโรคจำาหน่าย หรือไม่อาจให้การตรวจทางห้องทดลอง หรือเอกซเรย์แก่ผู้เข้ารับการรักษาพยาบาลได้ เมื่อแพทย์ผู้ตรวจรักษาหรือหัวหน้าสถานพยาบาลของสถานพยาบาลแห่งนั้นลงลายมือชื่อรับรอง ตามแบบที่กระทรวงการคลังกำาหนดแล้ว ก็ให้ผู้เข้ารับการรักษาพยาบาลซื้อหรือรับการตรวจ ทางห้องทดลองหรือเอกซเรย์ จากสถานที่อื่นซึ่งอยู่ในประเทศไทยแล้วนำามาเบิกตามหลักเกณฑ์ ในข้อ ๔ ๑๑.๒ กรณีออกจากราชการของผู้มีสิทธิ ได้รับเบี้ยหวัดบำานาญและอยู่ในระหว่างการพิจารณา สั่งจ่ายเงินเบี้ยหวัดบำานาญ ๑๑.๓ ผู้ที่ถูกสั่งพักราชการ หรือให้ออก จากราชการไว้ก่อน เมื่อคดีหรือกรณีถึงที่สุด ถ้าปรากฏ ว่า ผู้นั้นได้รับเงินเดือนในระหว่างถูกสั่งพักราชการหรือ ในระหว่างถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน


๒๔ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๑๒. กรณีเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการประเภทผู้ปวย ภายนอก หรือเข้ารักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนประเภทผู้ปวยใน ให้ผู้มีสิทธิ ยื่นขอเบิกเงินสวัสดิการพร้อมใบเสร็จรับเงิน ภายในระยะเวลา ๑ ปีนับถัดจากวันที่ปรากฏ ในหลักฐานการรับเงิน หากพ้นกำาหนดเวลาดังกล่าวให้ถือว่าผู้มีสิทธิหมดสิทธิในการขอรับเงิน เกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลในครั้งนั้น เว้นแต่ จะเปนกรณี ตามข้อ ๑๑.๒ และ ๑๑.๓ ให้นำามาเบิก ได้ตามสิทธิภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่รับทราบการถือจ่ายเบี้ยหวัดบำานาญ หรือ วันที่รับทราบคดี หรือกรณีถึงที่สุด ๑๓. การเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลในกรณีพิเศษ ๑๓.๑ ผู้มีสิทธิได้ประกันสุขภาพ ประกันอุบัติเหตุ หรือประกันชีวิตไว้กับบริษัท ประกันภัย โดยทำาประกันเปนการส่วนตัว เมื่อชำาระเงินค่ารักษาพยาบาลแก่สถานพยาบาล แล้วนำาใบเสร็จรับเงินต้นฉบับตัวจริงไปขอรับเงินทดแทนจากบริษัทประกันภัย ให้นำาสำาเนา ใบเสร็จรับเงินค่ารักษาพยาบาลนั้นมาเบิกเงินสวัสดิการตามสิทธิได้โดยให้บริษัทประกันภัย ลงชื่อรับรองสำาเนาถูกต้อง และเขียนกำากับว่า “ใบเสร็จตัวจริงได้เบิกจากบริษัทประกันแล้ว” ลงชื่อเจ้าหน้าที่และตำาแหน่งผู้ลงชื่อรับรองพร้อมประทับตราบริษัทประกันภัย ๑๓.๒ กรณีผู้มีสิทธิเปนผู้ประสบภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ เมื่อได้รับค ่าเสียหายเบื้องต้นเกี่ยวกับค ่ารักษาพยาบาลจากกองทุนทดแทนผู้ประสบภัย หรือ จากบริษัทประกันภัยทางหนึ่งทางใดแล้ว ถ้าได้รับตำ่ากว่าสิทธิที่จะได้รับ ให้ยื่นขอรับส่วนที่ขาดได้ โดยให้ผู้มีสิทธิใช้สำาเนาใบเสร็จรับเงินซึ่งกองทุนทดแทนได้ออกและรับรองการจ่ายเงินค่าเสียหาย เบื้องต้นเปนหลักฐานในการยื่นขอเบิกเงินสวัสดิการเฉพาะส่วนที่ยังขาดอยู่ได้ ๑๓.๓ กรณีผู้มีสิทธิ หรือบุคคลในครอบครัว ของผู้นั้นได้รับค่าสินไหมทดแทนสำาหรับค่ารักษาพยาบาล จากผู้อื่นแล้ว ผู้นั้นไม่มีสิทธิที่จะได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาล เว้นแต ่ค ่าสินไหมทดแทนสำาหรับ ค ่ารักษาพยาบาลที่ได้รับนั้นตำ่ากว ่าสิทธิที่จะได้รับเงิน สวัสดิการ ก็ให้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเฉพาะส่วนที่ขาดอยู่


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๒๕ ๑๐. ก�รโอนเงินเบี้ยหวัดบำ�น�ญไปรับเงินท�งหน่วยเบิกจ่�ยอื่น การโอนเงินเบี้ยหวัดบำานาญไปรับเงินทางหน่วยเบิกจ่ายอื่น ๆ ให้แจ้งความประสงค์ได้ที่หน่วย เบิก พร้อมด้วยหลักฐานดังนี้ ๑. บัตรประจำาตัวผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ ๒. คำาร้องขอโอนเงินเบี้ยหวัดบำานาญ โครงก�รจ่�ยตรงค่�รักษ�พย�บ�ล ๑. ผู้ที่เกษียณอายุราชการ หรือผู้ที่ลาออกจากราชการตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ กรมบัญชี กลางจะเปนผู้ดำาเนินการจัดทำาข้อมูลให้แก่ผู้ที่เกษียณอายุราชการ หรือ ผู้ที่ลาออกจากราชการ และ บุคคลในครอบครัวที่มีสิทธิเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาล ตั้งแต่วันที่ลาออกจากราชการ และเปนผู้รับเงิน เบี้ยหวัดบำานาญ ๒. กรณีสมรสใหม่ หรือมีบุตรที่เกิดใหม่ที่มีสิทธิเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาล ให้ผู้รับเงิน เบี้ยหวัดบำานาญ แจ้งส่วนราชการที่เปนผู้เบิกเงินเบี้ยหวัดบำานาญทราบ พร้อมหลักฐานสำาเนาใบสำาคัญ การสมรส หรือสูติบัตรของบุตรที่เกิดใหม่ที่มีสิทธิ หรือสำาเนาทะเบียนการรับรองบุตรที่มีสิทธิ ๘. ก�รรับเงินสวัสดิก�รผ่�นธน�ค�รทห�รไทย จำ�กัด (มห�ชน) กรมการเงินกลาโหม จะจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลและการศึกษาของบุตร ผ่านธนาคารทหารไทย จำากัด (มหาชน) เท่านั้น ๙. ก�รขอเปลี่ยนแปลงบัญชีเงินฝ�กธน�ค�ร ผู้รับเงินเบี้ยหวัด บำานาญ มีความประสงค์จะขอเปลี่ยนธนาคาร หรือขอเปลี่ยนสาขาธนาคาร ที่ขอรับเงินให้นำาเอกสารไปติดต่อส่วนราชการผู้เบิก ดังนี้ ๑. บัตรประจำาตัวผู้รับเบี้ยหวัด บำานาญ ๒. สำาเนาบัญชีเงินฝากธนาคาร ฉบับใหม่ จำานวน ๑ ฉบับ และยังไม่ต้องปดบัญชีเงินฝาก ธนาคารเดิม


กรมการเงินกลาโหม บริการทันใจ ซื่อสัตยโปรงใส ทันสมัยสามัคคี


หมวด ๓ การปฏิบัติของทายาท เมื่อขาราชการทหาร หรือ ผูรับเบี้ยหวัดบํานาญเสียชีวิต


๒๘ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๑. สิทธิของท�ย�ท เมื่อข้าราชการทหาร หรือผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญเสียชีวิต โดยไม่ได้เกิดจากการประพฤติชั่ว อย่างร้ายแรงของตนเอง ทางราชการจะจ่ายเงินให้แก่ทายาทหรือบุคคลที่ระบุเจตนาไว้ ได้แก่ เงินช่วยพิเศษ เงินบำาเหน็จตกทอด และเงินค้างจ่ายอื่น (ถ้ามี) และหากข้าราชการทหารเสียชีวิตจาก การปฏิบัติหน้าที่ราชการ ทายาทยังมีสิทธิได้รับบำานาญพิเศษอีกด้วย ๒. ก�รดำ�เนินก�รของท�ย�ท เมื่อข้�ร�ชก�รทห�ร หรือผู้รับเงินเบี้ยหวัด บำ�น�ญเสียชีวิต เมื่อข้าราชการทหาร หรือผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญเสียชีวิต ทายาทผู้มีสิทธิจะต้องดำาเนินการ แจ้งการเสียชีวิต ของข้าราชการทหาร หรือผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ เพื่อระงับการจ่ายเงิน โดยให้ ติดต่อกับส่วนราชการ ดังนี้ ข้าราชการทหาร ให้ทายาทติดต่อส่วนราชการที่ข้าราชการทหารผู้เสียชีวิตสังกัดอยู่ ขณะรับราชการ ผู้รับเบี้ยหวัดบำานาญ ให้ทายาทติดต่อส่วนราชการที่ทำาการเบิกจ่ายเบี้ยหวัดบำานาญ ดังนี้ * ผู้ที่รับเงินทางกรมการเงินกลาโหม แจ้งที่ กองเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ กรมการเงินกลาโหม * ผู้ที่รับเงินทางกรมการเงินทหาร แจ้งที่ กรมการเงินทหาร * ผู้ที่รับเงินทางกรมการเงินทหารบก แจ้งที่ กรมการเงินทหารบก * ผู้ที่รับเงินทางกรมการเงินทหารเรือ แจ้งที่ กรมการเงินทหารเรือ * ผู้ที่รับเงินทางกรมการเงินทหารอากาศ แจ้งที่ กรมการเงินทหารอากาศ * ผู้ที่รับเงินทางส่วนภูมิภาค แจ้งที่ หน่วยเบิกจ่ายเงินในจังหวัดนั้น ๆ หลักฐ�นที่ต้องนำ�ไปยื่นต่อเจ้�หน้�ที่ ๑. สำาเนาใบมรณบัตร พร้อมฉบับจริง ๒. บัตรประจำาตัวผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ ส่วนราชการที่รับแจ้งการเสียชีวิต จะคำานวณเงินเดือนหรือเงินเบี้ยหวัดบำานาญที่รับเกิน ซึ่งทายาทจะต้องส่งเงินคืน และออกหนังสือรับรองการมีสิทธิรับเงินเดือนหรือเงินเบี้ยหวัด บำานาญ เงินช่วยค่าครองชีพ และเงินค้างจ่ายอื่น ๆ


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๒๙ ๓. ส่วนร�ชก�รที่ท�ย�ทจะต้องติดต่อยื่นเรื่องขอรับเงินบำ�เหน็จตกทอด เมื่อข้าราชการทหาร หรือผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญเสียชีวิต ทายาทต้องยื่นเรื่องขอรับ บำาเหน็จตกทอดและเงินที่มีสิทธิต่าง ๆ ต่อส่วนราชการ ดังนี้ ข้าราชการทหาร ให้ทายาทติดต่อส่วนราชการที่ข้าราชการทหารเสียชีวิตสังกัดอยู่ ขณะรับราชการ ผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ ทางสำานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ให้ทายาทติดต่อส่วนราชการ ดังนี้ ๓.๑ ผู้รับเบี้ยหวัดบำานาญ ยศนายพลขึ้นไป ติดต่อกรมเสมียนตรา สำานักงานปลัด กระทรวงกลาโหม ๓.๒ ผู้รับเบี้ยหวัดบำานาญที่ได้รับยศสูงขึ้นเปนกรณีพิเศษ ยศพลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี กรณีลาออกจากราชการก่อนเกษียณอายุราชการ ติดต่อส่วนราชการที่สังกัดตามคำาสั่งให้ออกจาก ส่วนราชการ ๓.๓ ผู้รับเบี้ยหวัดบำานาญ ยศตำ่ากว่านายพล ติดต่อส่วนราชการที่สังกัด ตามคำาสั่งให้ออก จากส่วนราชการ ก�รดำ�เนินก�รของท�ย�ท เมื่อข้�ร�ชก�รทห�ร หรือผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำ�น�ญเสียชีวิต เมื่อข้าราชการทหาร หรือผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญเสียชีวิต ทายาทผู้มีสิทธิจะต้องดำาเนินการแจ้งการเสียชีวิต ของข้าราชการ ทหาร หรือผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ เพื่อระงับการจ่ายเงิน โดยให้ติดต่อกับส่วนราชการ ดังนี้ ข้าราชการทหาร ให้ทายาทติดต่อส่วนราชการที่ข้าราชการทหารผู้เสียชีวิตสังกัดอยู่ขณะรับราชการ ผู้รับเบี้ยหวัดบำานาญ ให้ทายาทติดต่อส่วนราชการที่ทำาการเบิกจ่ายเบี้ยหวัดบำานาญ ดังนี้ * ผู้ที่รับเงินทางกรมการเงินกลาโหม แจ้งที่ กองเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ กรมการเงินกลาโหม * ผู้ที่รับเงินทางกรมการเงินทหาร แจ้งที่ กรมการเงินทหาร * ผู้ที่รับเงินทางกรมการเงินทหารบก แจ้งที่ กรมการเงินทหารบก * ผู้ที่รับเงินทางกรมการเงินทหารเรือ แจ้งที่ กรมการเงินทหารเรือ * ผู้ที่รับเงินทางกรมการเงินทหารอากาศ แจ้งที่ กรมการเงินทหารอากาศ * ผู้ที่รับเงินทางส่วนภูมิภาค แจ้งที่ หน่วยเบิกจ่ายเงินในจังหวัดนั้น ๆ


๓๐ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ก�รแจ้งสถ�นที่ขอรับบำ�เหน็จตกทอดของท�ย�ท ทายาทของข้าราชการทหาร หรือผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำานาญ ซึ่งมีสิทธิรับบำาเหน็จตกทอด สามารถแจ้งความประสงค์ขอรับเงินบำาเหน็จตกทอดได้ทั้งในส่วนกลาง หรือส่วนภูมิภาค ๔. เงินที่ท�ย�ทจะได้รับเมื่อข้�ร�ชก�ร หรือผู้รับเงินเบี้ยหวัดบำ�น�ญเสียชีวิต ๑. ข้าราชการทหารเสียชีวิต ทายาทจะมีสิทธิได้รับ ๑.๑. เงินบำาเหน็จตกทอด ๑.๒. บำานาญพิเศษ (ถ้ามี) ๑.๓. เงินเดือนค้างจ่ายจนถึงวันเสียชีวิต ๑.๔. เงินช่วยพิเศษจำานวน ๓ เท่าของเงินเดือน รวมเงินเพิ่มต่าง ๆ ๑.๕. เงินค่าการศึกษาของบุตรค้างจ่าย ๑.๖. เงินค่ารักษาพยาบาลค้างจ่าย ๒. ผู้รับเงินเบี้ยหวัดเสียชีวิต ทายาทจะมีสิทธิได้รับ ๒.๑. เงินบำาเหน็จตกทอด ๒.๒. เบี้ยหวัดค้างจ่ายจนถึงวันเสียชีวิต ๒.๓. เงินช่วยพิเศษ จำานวน ๓ เท่าของเงินเบี้ยหวัดรวมเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับ เบี้ยหวัดบำานาญ (ถ้ามี) ๒.๔. เงินค่าการศึกษาของบุตรค้างจ่าย ๒.๕. เงินค่ารักษาพยาบาลค้างจ่าย ๓. ผู้รับเงินบำานาญเสียชีวิต ทายาทจะมีสิทธิได้รับ ๓.๑. บำาเหน็จตกทอด จำานวน ๓๐ เท่าของบำานาญรวมเงินช่วยค่าครองชีพเบี้ยหวัดบำานาญ หักด้วยบำาเหน็จดำารงชีพ กรณีรับบำาเหน็จดำารงชีพไปแล้ว หักด้วยเงินกู้คงเหลือ กรณีใช้สิทธิกู้เงินกับ สถาบันการเงินโดยนำาสิทธิในบำาเหน็จตกทอดเปนหลักทรัพย์ประกันการกู้เงิน ๓.๒. บำานาญค้างจ่ายจนถึงวันเสียชีวิต ๓.๓. เงินช่วยพิเศษ จำานวน ๓ เท่าของเงินบำานาญรวมเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับ เบี้ยหวัดบำานาญ (ถ้ามี) ๓.๔. เงินค่าการศึกษาของบุตรค้างจ่าย ๓.๕. เงินค่ารักษาพยาบาลค้างจ่าย


หมวด ๔ สาระนารู สาระนารู


๓๒ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๑. ก�รคืนเครื่องร�ชอิสริย�ภรณ์ การคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์เปนหน้าที่ของผู้ได้รับพระราชทานฯ ต้องกระทำาตามข้อบัญญัติที่ กำาหนดไว้ตามพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ โดยส่วนราชการที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่ติดตามเรียก คืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ซึ่งตามพระราชบัญญัติ ได้ระบุกรณีที่จะต้องคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไว้ ๓ กรณี คือ ๑. คืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นรอง เมื่อผู้ได้รับพระราชทานฯ ได้รับพระราชทาน เครื่องราชฯ ชั้นสูง (ช้างเผือก, มงกุฎไทย) ไม่ต้องคืนประกาศนียบัตรกำากับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒. คืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุกชั้นที่ได้รับ เมื่อผู้ได้รับพระราชทานฯ ถึงแก่กรรม โดยให้ทายาท เปนผู้ส่งคืน (ช้างเผือก, มงกุฎไทย) ภายในกำาหนด ๓๐ วัน หากไม่สามารถนำาส่งคืนได้ จะต้องชดใช้แทน เปนเงิน แต่ไม่ต้องคืนประกาศนียบัตรกำากับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๓. คืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นรอง เมื่อทรงพระกรุณาให้เรียกคืน ต้องคืนประกาศนียบัตร กำากับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ การคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในกรณีใด ๆ ตามที่กล่าวมาข้างต้น ถ้าผู้ได้รับพระราชทานฯ ไม่สามารถนำาเครื่องราชอิสริยาภรณ์มาคืน ก็สามารถชดใช้เงินแทนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามราคา ที่สำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้แจ้งให้ส่วนราชการต่าง ๆ ทราบ ซึ่งจะมีการปรับราคาตามมติ คณะรัฐมนตรีทุก ๓ ปี ๒. สิทธิพิเศษของข้�ร�ชก�รทห�รที่เกษียณอ�ยุ ก่อนที่ข้าราชการทหารจะเกษียณอายุราชการนั้น จะได้รับสิทธิพิเศษ ดังนี้ ๑. ได้รับอนุญาตให้ลาพักราชการก่อนวันครบเกษียณได้ ๓ เดือน โดยไม่นับเปนวันลา และมิต้องถูกตัดเงินเดือนเพื่อให้โอกาสในการเตรียมการเกี่ยวกับเรื่องส่วนตัว เช่น ที่อยู่อาศัย การเตรียมการในเรื่องการรับบำาเหน็จบำานาญ ตามหนังสือกระทรวงกลาโหม ที่ ๑๙๒๕/๐๕ ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๐๕ เรื่อง อนุญาตให้ข้าราชการลาพักเพื่อรอการปลด ๒. ได้รับการประกาศเกียรติคุณ ตามระเบียบกระทรวงกลาโหม ว่าด้วยประกาศเกียรติคุณ ของผู้รับราชการจนครบเกษียณอายุ พ.ศ.๒๕๒๑


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๓๓ ๓. ก�รแจ้งก�รต�ย ๑. ผู้แจ้ง ž คนตายในบ้าน เปนหน้าที่ของเจ้าบ้านหรือผู้พบเห็น หรือผู้ได้รับมอบหมายจาก เจ้าบ้านเปนผู้แจ้ง ž คนตายนอกบ้าน เปนหน้าที่ของบุคคลที่ไปกับผู้ตายหรือผู้พบศพ เปนผู้แจ้ง ž คนตายในต่างประเทศ เปนหน้าที่ของบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือผู้รู้เห็นการตาย เปนผู้แจ้ง ๒. กำ�หนดเวล�ก�รแจ้งต�ย ž ต้องแจ้งการตายภายใน ๒๔ ชั่วโมง นับแต่เวลาตาย หรือเวลาที่พบศพ ๓. สถ�นที่แจ้งต�ย ž คนตายในเขตเทศบาลให้แจ้งที่สำานักทะเบียนท้องถิ่นซึ่งตั้งอยู่ ณ สำานักงานเทศบาลนั้น ž คนตายนอกเขตเทศบาลให้แจ้งที่สำานักทะเบียนตำาบล ที่ว่าการอำาเภอ หรือสำานักงาน ทะเบียนที่ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง เช่น เขตกรมทหาร เปนต้น ž คนตายในเขตกรุงเทพมหานคร ให้แจ้งที่สำานักทะเบียนท้องถิ่นซึ่งตั้งอยู่ที่สำานักงานเขต ž คนตายในต่างประเทศให้แจ้งการตายที่สถานกงสุลหรือสถานทูตไทย ณ ประเทศนั้น ๔. หลักฐ�นที่ต้องนำ�ไปแสดง กรณีคนต�ยในบ้�น ž บัตรประจำาตัวประชาชนของเจ้าบ้านหรือผู้แจ้ง และผู้ตาย ž สำาเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่ผู้ตายมีชื่ออยู่ ž หนังสือรับรองการตาย ถ้าผู้ตายมีผู้รักษาพยาบาลโดยอาชีพ กรณีที่นายทะเบียน สงสัยว่าอาจเปนการตายด้วยโรคติดต่ออันตราย หรือตายโดยผิดธรรมดา อาจชะลอการออกมรณบัตร ไว้ก่อนจนกว่าจะได้รับความเห็นชอบจากเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ตามกฎหมาย ว่าด้วยโรคติดต่ออันตรายหรือพนักงาน ฝายปกครอง หรือตำารวจ กรณีคนต�ยนอกบ้�น ž บัตรประจำาตัวประชาชนของผู้ที่ไปกับผู้ตาย หรือผู้พบเห็นผู้ตายซึ่งเปนผู้แจ้ง ž สำาเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน


๓๔ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ กรณีคนต�ยที่โรงพย�บ�ลซึ่งอยู่นอกท้องที่ที่ผู้ต�ยมีภูมิลำ�เน�อยู่ ž ต้องนำาหนังสือรับรองการตายจากโรงพยาบาลไปแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้ง ที่โรงพยาบาลตั้งอยู่ เพื่อขอให้ออกใบมรณบัตร กรณีคนต�ยผิดธรรมช�ติต้องมีหนังสือรับรองจ�กสถ�บันนิติเวช ž สำาเนาบันทึกประจำาวันจากสถานีตำารวจ ž ต้องนำาใบมรณบัตรพร้อมด้วยหลักฐานที่จะต้องแสดงกรณีคนตายในบ้านหรือกรณีตาย นอกบ้านไปแสดงต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งที่ผู้ตายมีภูมิลำาเนา ๕. ก�รเตรียมข้อมูลเพื่อแจ้งก�รต�ย นอกจากจะเตรียมหลักฐานที่ต้องนำาไปแสดงแล้ว ผู้แจ้งจะต้องทราบและเตรียมข้อมูลเพื่อ แจ้งการตายดังต่อไปนี้ ž ชื่อตัว ชื่อสกุล สัญชาติ เพศ ของผู้ตาย ž ตายเมื่อวัน เดือน ปีใด ž ที่อยู่ของผู้ตายและสถานที่ตาย บ้านเลขที่ หมู่ที่ ตรอกซอย ถนน ตำาบลหรือแขวง อำาเภอหรือเขต จังหวัด ž สาเหตุที่ตาย ž ชื่อตัว ชื่อสกุล และสัญชาติของบิดามารดาผู้ตาย ž ศพของผู้คนตายจะดำาเนินการอย่างไร (เก็บ ฝง เผา) ที่ไหน เมื่อไร (ถ้ารู้) ๖. ค่�ธรรมเนียม ž การแจ้งตายไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมใด ๆ ๗. ก�รแจ้งก�รต�ยเกินกำ�หนดเวล� ž ผู้แจ้งต้องไปยื่นคำาร้องแจ้งการตายต่อนายทะเบียนอำาเภอ หรือนายทะเบียนท้องถิ่น พร้อมหลักฐานที่ต้องนำาไปแสดง รวมทั้งข้อมูลที่จะต้องทราบเช่นเดียวกับการแจ้งตายภายในกำาหนดเวลา ž นายทะเบียนดำาเนินการสอบสวนพยานหลักฐาน เมื่อเห็นว่าไม่มีเจตนาแอบแฝง นายทะเบียนผู้รับแจ้งจะออกใบมรณบัตรให้โดยหมายเหตุมุมด้านขวาของมรณบัตรด้วยสีแดง “แจ้งการตายเกินกำาหนด” และจำาหน่ายชื่อออกจากทะเบียนบ้านโดย ประทับตราว่า “ตาย” สีแดงไว้หน้าชื่อผู้ตายแล้วคืนสำาเนาทะเบียนบ้านให้เจ้าบ้านหรือผู้แจ้ง


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๓๕ ๘. โทษของก�รไม่แจ้งต�ยภ�ยในกำ�หนดเวล� การแจ้งตายเกินกำาหนดเวลาย่อมมีความผิดและเสียค่าปรับไม่เกิน ๒๐๐ บาท ๔. ก�รขอพระร�ชท�นนำ้�หลวงอ�บศพ พระร�ชท�นเพลิงศพ และหีบเพลิง หลักเกณฑ์ในก�รขอพระร�ชท�นเพลิงศพ ผู้มีสิทธิได้รับพระราชทานนำ้าหลวง เพลิงหลวง และหีบเพลิง ต้องมีตำาแหน ่งชั้นและยศ ดังต่อไปนี้ ๑. พระสมณศักดิ์ ตั้งแต่ชั้น “พระครูสัญญาบัตร” ขึ้นไปและพระภิกษุ สามเณรเปรียญธรรม ๙ ประโยค ๒. พระราชวงศ์ ตั้งแต่ชั้น “หม่อมเจ้า” ขึ้นไป ๓. ผู้ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ ๔. ข้าราชการพลเรือนตั้งแต่ระดับ ๓ ขึ้นไป ๕. ข้าราชการฝายทหาร ตำารวจ ยศชั้นร้อยตรี ขึ้นไป ๖. ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตั้งแต่ “เบญจมติเรกคุณาภรณ์” (บ.ภ.) และ “เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย” (บ.ม.) ขึ้นไป ๗. ผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ “จุลจอมเกล้า” (จ.จ.) หรือ “ตรา สืบตระกูล” (ต.จ.) ขึ้นไป ๘. ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ “รัตนาภรณ์” รัชกาลปจจุบัน ๙. ประธานองค์กรต่าง ๆ ที่กำาหนดในรัฐธรรมนูญ และรัฐมนตรีที่ถึงแก่กรรมในขณะดำารง ตำาแหน่ง ๑๐. บิดาและมารดาของผู้ดำารงตำาแหน่งองคมนตรี นายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา ประธาน สภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานองค์กรต่าง ๆ ที่กำาหนดในรัฐธรรมนูญ และรัฐมนตรี ที่ถึงแก่กรรมในขณะบุตรดำารงตำาแหน่ง ๑๑.สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่ถึงแก่กรรม ในขณะดำารงตำาแหน่ง ๑๒.ผู้ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เปนกรณีพิเศษ หลักเกณฑ์ในก�รขอพระร�ชท�นเพลิงศพ และดินฝงศพ เป็นกรณีพิเศษ ผู้ที่สมควรได้รับการพิจารณาในการขอพระราชทานเพลิงศพและดินฝงศพเปนกรณีพิเศษ ควรอยู่ในหลักเกณฑ์ ดังนี้


๓๖ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๑. ผู้ที่เนื่องในราชสกุล ชั้น “หม่อมราชวงศ์” และ “หม่อมหลวง” ๒. ผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญราชรุจี เหรียญกล้าหาญ และเหรียญชัยสมรภูมิ ๓. บิดามารดาของข้าราชการดังนี้ - ข้าราชการระดับ ๖ ขึ้นไป - ข้าราชการตามระบบจำาแนกประเภทตำาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำานาญการขึ้นไป - ข้าราชการตามระบบจำาแนกประเภทตำาแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำานาญงานขึ้นไป ๔. บิดามารดาของผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ “ตริตาภรณ์ช้างเผือก” (ต.ช.) ขึ้นไป ๕. บิดามารดาของข้าราชการฝายทหาร ตำารวจ ชั้นยศตั้งแต่ พันโท นาวาโท นาวาอากาศโท และพันตำารวจโทขึ้นไป ๖. พนักงานรัฐวิสาหกิจระดับสูง ๗. บิดามารดาของพระสมณศักดิ์ ตั้งแต่ชั้น “พระครูสัญญาบัตร” ขึ้นไป ๘. ผู้ปฏิบัติหน้าที่ดังต่อไปนี้ ที่ถึงแก่กรรมในขณะดำารงตำาแหน่ง - กำานัน ผู้ใหญ่บ้าน - นายกสภาองค์การบริหารส่วนตำาบล และสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำาบล - นายกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด และสมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัด - นายกเทศมนตรี และสมาชิกสภาเทศบาล - สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร และสมาชิกสภาเขตกรุงเทพมหานคร - นายกเมืองพัทยา และสมาชิกสภาเมืองพัทยา ๙. ผู้บริจาคทรัพย์สินเพื่อการกุศลคิดเปนมูลค่าไม่น้อยกว่า ๕๐๐,๐๐๐ บาท ๑๐. ผู้ที่บริจาคร่างกายหรืออวัยวะแก่สภากาชาดไทย โรงพยาบาลของรัฐ หรือสถานศึกษา เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ ๑๑. ข้าราชการ ทหาร ตำารวจ ชั้นยศตำ่ากว่าสัญญาบัตรที่เสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ ๑๒. ผู้ที่ทำาประโยชน์ให้กับสังคมและประเทศชาติ หม�ยเหตุ : บุคคลผู้ทำ�ล�ยชีพตนเองและผู้ต้องอ�ญ�แผ่นดิน ไม่พระร�ชท�น นำ้�หลวง เพลิงศพ ดินฝงศพ และเครื่องเกียรติยศประกอบศพ


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๓๗ ๑. ก�รขอพระร�ชท�นเพลิงศพ ๑.๑ การขอพระราชทานเพลิงศพ เจ้าภาพ หรือทายาท ผู้ประสงค์ขอพระราชทานเพลิงศพ จะต้องทำาหนังสือแจ้งไปยังกระทรวงเจ้าสังกัดของผู้ถึงแก่กรรม เพื่อให้เจ้าสังกัดทำาเรื่องเสนอ เลขาธิการพระราชวัง โดยระบุ ๑.๑.๑ ชื่อ ตำาแหน่ง ชั้น ยศ ของผู้ถึงแก่กรรม ๑.๑.๒ ถึงแก่กรรมด้วยโรคอะไร ที่ไหน เมื่อใด ๑.๑.๓ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อะไรบ้าง ๑.๑.๔ มีความประสงค์จะขอรับพระราชทานเครื่องเกียรติยศประกอบศพอย่างใดบ้าง ๑.๑.๕ ประกอบการฌาปนกิจที่วัดไหน จังหวัดไหน วันเวลาใด ๑.๒ การขอพระราชทานเพลิงศพเปนกรณีพิเศษ เจ้าภาพ หรือทายาทผู้ประสงค์ ขอพระราชทานเพลิงศพกรณีพิเศษ ต้องทำาหนังสือถึงเลขาธิการพระราชวัง โดยระบุ ๑.๒.๑ ชื่อ - สกุล และประวัติโดยย่อของผู้ถึงแก่กรรม ๑.๒.๒ ถึงแก่กรรมด้วยโรคอะไร ที่ไหน เมื่อใด ๑.๒.๓ ระบุคุณงามความดีที่เปนประโยชน์แก่ประเทศชาติ หรือคุณสมบัติตาม หลักเกณฑ์การพิจารณาการขอพระราชทานเพลิงศพเปนกรณีพิเศษ ๑.๒.๔ ระบุ วัน เวลา สถานที่ที่จะประกอบการฌาปนกิจ หลักฐ�นที่ต้องนำ�ม�แสดง ในก�รขอพระร�ชท�นเพลิงศพเป็นกรณีพิเศษ มีดังนี้ ž ใบมรณบัตรของผู้ถึงแก่กรรม ž ทะเบียนบ้านของทายาทของผู้ถึงแก่กรรม ž บัตรประจำาตัวประชาชน หรือบัตรข้าราชการของทายาทของผู้ถึงแก่กรรม ž หนังสือรับรองจากหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ใบอนุโมทนาบัตร ใบประกาศเหรียญกล้าหาญ หรือเหรียญชัยสมรภูมิ ทั้งนี้ ต้องนำาเอกสารต้นฉบับและสำาเนาแนบมาพร้อมกับหนังสือด้วย ๑.๓ ติดต่อวัดเพื่อเตรียมการพระราชทานเพลิงศพ การพระราชทานเพลิงศพนั้น จะต้องไม่ตรงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และวันเฉลิมฉลองสิริราชสมบัติ พระราชพิธีฉัตรมงคล (และตามประเพณีนิยม ไม่มีการเผาศพในวันศุกร์)


๓๘ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ การพระราชทานเพลิงศพที่เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส หากมีพระราชประสงค์ที่จะทรงกำาหนดการเสด็จพระราชดำาเนินไปพระราชทานเพลิงศพตรงกับ วันที่มีผู้ขอรายใดกำาหนดไว้แล้ว เจ้าภาพผู้ขอนั้นจะต้องเลื่อนไปโดยไม่มีข้อแม้ทั้งสิ้น ผู้มีสิทธิได้รับพระราชทานเพลิง ถ้าจะพระราชทานเพลิงศพในต่างจังหวัด ทางสำานัก พระราชวังจะได้จัดหีบเพลิงให้เจ้าสังกัดหรือเจ้าภาพรับไปปฏิบัติ กรณีพระราชทานในกรุงเทพมหานคร และเขตปริมณฑลใกล้กรุงเทพฯ ในระยะทางไม่เกิน ๕๐ กิโลเมตร สำานักพระราชวังจะจัดเจ้าพนักงานเชิญเพลิงหลวงไปพระราชทานโดยรถยนต์หลวง ทั้งนี้ เจ้าภาพไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้นในการพระราชทานเพลิงศพ ในกรณีที่เจ้าภาพศพมีความประสงค์จะถวายเงินเนื่องจากได้รับพระบรมราชานุเคราะห์ สามารถสมทบทุนในองค์กรการกุศล ในพระบรมราชูปถัมภ์ อาทิ มูลนิธิอานันทมหิดล หรือกองทุน โรงเรียนพระตำาหนักสวนกุหลาบ ฯลฯ โดยให้นำาเงินหรือเช็คส่งมอบเลขาธิการพระราชวัง พร้อมทั้ง แจ้งความประสงค์ในการมอบ เพื่อสำานักพระราชวังจะได้ดำาเนินการต่อไป สำาหรับเครื่องประกอบเกียรติยศ ได้แก่ หีบ โกศ ฉัตรตั้งนั้น ทางสำานักพระราชวัง จะได้เชิญไปประกอบ และแต่งตั้งไว้มีกำาหนดเพียง ๗ วัน เมื่อพ้นไปแล้วเจ้าภาพหรือทายาท ยังไม่กำาหนดพระราชทานเพลิง ถ้าทางราชการมีความจำาเปนก็จะถอนส่วนประกอบลองนอกของหีบ โกศ ไปใช้ในราชการต่อไป อนึ่ง สำานักพระราชวังได้มีคำาสั่งให้กองพระราชพิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องการศพของ ผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องเกียรติยศประกอบศพชั้นโกศ เมื่อวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๓๘ ไว้ดังนี้ กองพระร�ชพิธี เนื่องจากในปจจุบันผู้ที่ถึงแก่กรรมได้รับพระราชทานเกียรติยศประกอบศพชั้นสูงในระดับ พระราชทานโกศ แต่ทายาทได้รับคำาสั่งจากผู้ที่ถึงแก่กรรมว่า มีความประสงค์ให้บรรจุลงหีบแล้ว ขอพระราชทานตั้งโกศประกอบเกียรติยศ ครั้นถึงกำาหนดการขอพระราชทานเพลิงศพ ทางเจ้าหน้าที่กองพระราชพิธี ไม่ยินยอมให้ตั้งโกศบนจิตกาธานโดยปราศจากร่างของผู้ถึงแก่กรรม เลขาธิการพระราชวังได้ปรึกษากับผู้รู้พิจารณาว่าควรที่จะยินยอมให้ตั้งโกศตามเกียรติยศของผู้ตาย บนจิตกาธานได้ ในกรณีที่ศพของผู้ตายบรรจุหีบโดยนำาหีบใส่ไว้ในเตาเผาก่อนถึงเวลาพิธีการ โดยเหตุผลที่ว่าโกศเปนเครื่องแสดงเกียรติยศของผู้ตายและเปนเครื่องหมายแห่งผลของการ ที่ได้ปฏิบัติราชการ หรือการที่ได้ทำาประโยชน์ให้กับบ้านเมืองมาตลอดจึงไม่มีความจำาเปนที่จะต้องมี ร่างของผู้ตายอยู่ในนั้น ให้ถือปฏิบัติตั้งแต่บัดนี้เปนต้นไป


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๓๙ ข้อแนะนำาการปฏิบัติเกี่ยวกับการพระราชทานหีบเพลิงไปพระราชทานเพลิงศพ ยังต่างจังหวัด (ระยะทางห่างจากสำานักพระราชวังเกิน ๕๐ กิโลเมตร) ตามระเบียบที่สำานักพระราชวังได้วางไว้ เมื่อกระทรวงเจ้าสังกัด ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือเจ้าภาพ แล้วแต่กรณี ได้มีหนังสือแจ้งมายังสำานักพระราชวังเพื่อขอพระราชทานเพลิงศพ หากศพนั้นอยู่ในเกณฑ์ ที่จะได้รับพระราชทานเพลิง สำานักพระราชวังจะได้มีหมายรับสั่งแจ้งให้เจ้าภาพเพื่อทราบ จากนั้น เจ้าภาพหรือเจ้าหน้าที่ของจังหวัดแล้วแต่กรณีไปขอรับหีบเพลิงพระราชทานได้ที่กองพระราชพิธี สำานักพระราชวัง เมื่อได้รับหีบเพลิงพระราชทานไปแล้วต้องปฏิบัติตามลำาดับขั้นตอน ดังนี้ ๑. เชิญหีบเพลิงพระราชทานไปวางที่ศาลากลางจังหวัด อำาเภอ หน่วยราชการที่สังกัด ในท้องที่หรือที่บ้านเจ้าภาพแล้วแต่กรณี โดยตั้งไว้ในที่อันสมควรและควรมีพานรองรับหีบเพลิง พระราชทานนั้นด้วย ๒. เมื่อถึงกำาหนดวันที่ขอพระราชทานเพลิงศพ ทางจังหวัด อำาเภอหรือเจ้าภาพแล้วแต่กรณี จะต้องจัดบุคคลที่รับราชการแต่งเครื่องแบบปกติขาวไว้ทุกข์ เพื่อเชิญหีบเพลิงพระราชทานพร้อม ด้วยพานรอง (หนึ่งหีบต่อหนึ่งคน) ไปยังเมรุที่จะประกอบพิธี และก่อนที่จะเชิญขึ้นไปตั้งบนเมรุ นั้น ควรยกศพขึ้นตั้งเมรุเรียบร้อยเสียก่อนแล้วจึงเชิญพานหีบเพลิงพระราชทานขึ้นไปตั้งไว้บนโตะ ทางด้านศีรษะศพ (บนโตะที่ตั้งหีบเพลิงพระราชทานนั้นจะต้องมีผ้าปูให้เรียบร้อย และห้ามมิให้ นำาสิ่งหนึ่งสิ่งใดวางร่วมอยู่ด้วยเปนอันขาด) เมื่อเชิญพานหีบเพลิงพระราชทานวางเรียบร้อยแล้ว ให้ผู้เชิญคำานับเคารพศพหนึ่งครั้ง แล้วจึงลงจากเมรุ ๓. ขณะที่เชิญพานหีบเพลิงพระราชทานไปนั้น ผู้เชิญจะต้องระมัดระวังกิริยาโดยอยู่ ในอาการสำารวมไม่พูดคุยกับผู้ใด ไม่ต้องทำาความเคารพผู้ใดและไม่เชิญหีบเพลิงพระราชทาน เดินตามหลังผู้หนึ่งผู้ใดเปนอันขาด ๔. ระหว่างที่การเชิญหีบเพลิงพระราชทานไปสู่เมรุนั้น ประชาชนที่มาร่วมงานควรนั่งอยู่ใน ความสงบโดยมิต้องยืนขึ้น ไม่ต้องทำาความเคารพและไม่มีการบรรเลงเพลงอย่างใดทั้งสิ้น เพราะยัง ไม่ถึงขึ้นตอนของพิธีการ ผู้เชิญมิใช่ผู้แทนพระองค์ เปนการปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ๕. ผู้ที่ตั้งแถวรอรับการเชิญหีบเพลิงพระราชทานไปสู่เมรุ ควรเปนเจ้าภาพงาน การแต่งกาย ควรแต่งไว้ทุกข์ตามประเพณีนิยม ในกรณีที่เปนข้าราชการแต่งเครื่องแบบปกติขาว ไว้ทุกข์ ๖. เมื่อถึงกำาหนดเวลาพระราชทานเพลิง ให้เจ้าภาพเชิญแขกผู้มีอาวุโสสูงสุดในที่นั้น เปนประธานประกอบพิธีพระราชทานเพลิง (ผู้มีอาวุโสสูงสุดนั้น หมายถึง อาวุโสทั้งด้านคุณวุฒิ และด้านวัยวุฒิ ทั้งนี้ หากมีพระราชวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปหรือราชสกุลที่มีเกียรติใน ราชการซึ่งผู้วายชนม์หรือทายาทอยู่ใต้บังคับบัญชา หรือเปนผู้ที่เคารพนับถือสมควรเชิญบุคคลนั้น เปนประธาน)


๔๐ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๗. ในระยะเวลาก่อนที่เจ้าภาพเชิญผู้มีอาวุโสสูงสุดขึ้นเปนประธานประกอบพิธีพระราชทาน เพลิงนั้นให้ผู้ที่เชิญหีบเพลิงพระราชทานขึ้นไปรออยู่ ณ โตะวางหีบเพลิงพระราชทานบนเมรุก่อน เมื่อผู้เปนประธานทอดผ้าไตรบังสุกุล และพระภิกษุได้ชักผ้าบังสุกุลแล้ว ให้ผู้ที่เชิญหีบเพลิงพระราชทาน แก้ห่อหีบเพลิงพระราชทานออก จากนั้นผู้เปนประธานปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้ เปดฝาหีบเพลิงพระราชทาน หยิบเทียนชนวนในหีบเพลิงพระราชทานมอบให้ผู้ที่เชิญหีบเพลิงพระราชทานไว้ หยิบกลักไม้ขีดในหีบเพลิงพระราชทานจุดไฟ ต่อเทียนชนวนที่ผู้ที่เชิญหีบเพลิง พระราชทานถือไว้ รอจนเทียนลุกไหม้ดีแล้ว ถวายบังคม (ไหว้) หนึ่งครั้ง ก่อนหยิบธูป ดอกไม้จันทน์ และเทียนพระราชทาน (จำานวน ๑ ชุด) ในหีบเพลิงพระราชทาน จุดไฟหลวงจากเทียนชนวนแล้ววางไว้ใต้กลางฐานที่ตั้งศพ จากนั้น ก้าวเท้าถอยหลังหนึ่งก้าว คำานับเคารพศพหนึ่งครั้งแล้วลงจากเมรุ เปนอันเสร็จพิธี หม�ยเหตุ : ๑. สำาหรับศพที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานผ้าไตรทอดถวายพระบังสุกุลด้วยนั้น ผู้เปนประธานต้องถวายบังคม (ไหว้) หนึ่งครั้ง ก่อนหยิบผ้าจากเจ้าหน้าที่ผู้เชิญแล้วทอดผ้าตามพิธี ต่อไป ๒. ในกรณีที่เจ้าภาพประสงค์ให้มีการอ่าน หมายรับสั่ง เพื่อแสดงถึงการได้รับพระราชทานเพลิงศพ ประวัติผู้วายชนม์ เพื่อประกาศเกียรติคุณ และคำาสำานึกในพระมหากรุณาธิคุณในงานพระราชทานเพลิง ศพนั้น ให้อ่านเรียงลำาดับตามที่กล่าวมา ทั้งนี้ หากจะอ่านเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ หรือไม่อ่านเลย ก็ได้ขึ้นอยู่กับความประสงค์และความสะดวกของเจ้าภาพเปนสำาคัญ ส่วนการลงท้ายคำาอ่าน สามารถ อ่านชื่อบุคคลผู้เปนทายาททั้งหมดหรือจะออกชื่อแต่เจ้าภาพก็ย่อมกระทำาได้ ๓. ทางสำานักพระราชวังได้ออกคำาสั่ง ห้ามเจ้าหน้าที่ของสำานักพระราชวังเชิญหีบเพลิง ไปปฏิบัติ


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๔๑ ๕. ก�รจัดกองทห�รเกียรติยศ ตามข้อบังคับกระทรวงกลาโหม ว่าด้วยการจัดกองทหารเกียรติยศ พ.ศ.๒๕๒๘ กำาหนดไว้ว่า ศพทหารซึ่งเสียชีวิตในขณะประจำาการ ให้จัดเมื่อเวลาเผาหรือฝง ตามลัทธิศาสนาของผู้เสียชีวิต แต่ให้งดจัดสำาหรับศพทหารซึ่งเสียชีวิต เนื่องจากตนเองกระทำาความผิดหรือประพฤติชั่ว กองทห�รเกียรติยศสำ�หรับศพทห�รเมื่อเวล�เผ�หรือฝง ให้จัดกำ�ลังดังนี้ สำาหรับศพนายทหารชั้นนายพัน นายนาวา หรือนายเรืออากาศ ให้จัดกำาลัง ๑ กองร้อย ถือปนเล็กล้วนมีแตรเดี่ยวและแตรวง (ถ้ามี) สำาหรับศพนายทหารชั้นนายร้อย นายเรือ หรือนายเรืออากาศ ให้จัดกำาลังกึ่งกองร้อย ถือปนเล็กล้วน มีแตรเดี่ยว สำาหรับศพนายทหารประทวน และศพนักเรียนทหาร ซึ่งเมื่อสำาเร็จการศึกษาแล้ว จะได้เปน นายทหารสัญญาบัตร ให้จัดกำาลัง ๑ หมวด ถือปนเล็กล้วน มีแตรเดี่ยว สำาหรับศพพลทหาร และศพนักเรียนทหาร ซึ่งเมื่อสำาเร็จการศึกษาแล้ว จะได้เปน นายทหารประทวน ให้จัดกำาลัง ๑ หมู่ ถือปนเล็กล้วน มีแตรเดี่ยว ผู้ใดมีความประสงค์จะขอให้จัดกองทหารเกียรติยศ ให้ทำาหนังสือขอไปยังกรมสารบรรณทหารบก กรมสารบรรณทหารเรือ กรมสารบรรณทหารอากาศ แล้วแต่กรณี การจัดกองทหารเกียรติยศเปนพิเศษนอกจากที่กล่าวแล้วแก่ผู้ใด โอกาสใด กำาลังเท่าใด และแต่งเครื่องแบบอย่างใด กระทรวงกลาโหมก็ได้สั่งเปนครั้งคราว หรือตามที่ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ และผู้บัญชาการทหารอากาศพิจารณาสั่งการตามที่เห็น สมควร


๔๒ คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๖. ก�รฌ�ปนกิจสงเคร�ะห์ หลังจากที่ทายาทของข้าราชการบำานาญซึ่งถึงแก่กรรมได้จัดเตรียมงานเกี่ยวกับพิธีศพแล้ว หากผู้ถึงแก่กรรมเปนสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์ของเหล่าทัพใด ก็เปนหน้าที่ของทายาทหรือบุคคล ซึ่งสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์ (ผู้ตาย) ระบุตัวให้เปนผู้รับเงินสงเคราะห์จะต้องเตรียมการเพื่อขอรับ สิทธิจากหน่วยงานฌาปนกิจสงเคราะห์ของเหล่าทัพนั้นต่อไป โดยเตรียมหลักฐานและเอกสารต่าง ๆ ประกอบการดำาเนินการดังต่อไปนี้ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ทหาร (สสอท.) สหกรณ์สมาชิกชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ แห่งประเทศไทย (สส.ชสอ.) ติดต่อขอรับสิทธิที่สหกรณ์ออมทรัพย์ต้นสังกัด ซึ่งเปนศูนย์ประสานงาน ของ สสอท. และ สส.ชสอ. หรือติดต่อที่สำานักงานของ สสอท. และ สส.ชสอ. โดยตรง พร้อมเอกสาร ดังต่อไปนี้ ๑. หนังสือตอบรับการเข้าเปนสมาชิก ๒. สำาเนาทะเบียนบ้าน ๓. มรณบัตร ๔. บัตรประจำาตัวประชาชน หรือบัตรประจำาตัวผู้รับเงิน สม�ชิกฌ�ปนกิจสงเคร�ะห์กองทัพบก ติดต่อขอรับสิทธิกับเจ้าหน้าที่แผนกสมาชิก กองการฌาปนกิจ กรมสวัสดิการทหารบก ในบริเวณวัดโสมนัสวรวิหาร (หลังสนามมวยราชดำาเนิน) พร้อมเอกสารดังต่อไปนี้ ๑. หนังสือตอบรับการเข้าเปนสมาชิก ๒. สำาเนาทะเบียนบ้าน ๓. มรณบัตร ๔. บัตรประจำาตัวผู้รับเงิน (ถ่ายทั้งด้านหน้า - ด้านหลัง) พร้อมกับสำาเนาอย่างละ ๒ ชุด สม�ชิกฌ�ปนกิจสงเคร�ะห์กองทัพเรือ ติดต่อขอรับสิทธิกับเจ้าหน้าที่แผนกฌาปนกิจ กองการสงเคราะห์ กรมสวัสดิการทหารเรือ (ฐานทัพเรือกรุงเทพฯ) พร้อมเอกสารต่อไปนี้ ๑. หนังสือตอบรับการเข้าเปนสมาชิก ๒. สำาเนาทะเบียนบ้าน ๓. มรณบัตร ๔. บัตรประจำาตัวของทายาท หรือผู้มีสิทธิรับเงินสงเคราะห์ (ถ่ายทั้งด้านหน้า - ด้านหลัง) ๕. นายทหารสัญญาบัตร ๑ คน เพื่อเปนกรรมการร่วม พร้อมกับสำาเนาอย่างละ ๔ ชุด หากประสงค์จะขอพระราชทานนำ้าอาบศพต้องไปติดต่อก่อนเวลา ๑๒.๐๐ น. เจ้าหน้าที่จะได้ นำาไปติดต่อกับทางกองพระราชพิธี สำานักพระราชวังในพระบรมมหาราชวังต่อไป


คูมือ ขาราชการทหารที่ออกจากราชการ ๔๓ สมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์กองทัพอากาศ ติดต่อขอรับสิทธิกับเจ้าหน้าที่แผนกฌาปนกิจ กองการสงเคราะห์ กรมสวัสดิการทหารอากาศ ในบริเวณวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน พร้อมเอกสารต่อไปนี้ ๑. หนังสือตอบรับการเข้าเปนสมาชิกฯ ๒. สำาเนาทะเบียนบ้าน ๓. มรณบัตร ๔. บัตรประจำาตัวผู้รับเงิน (ถ่ายทั้งด้านหน้า - ด้านหลัง) ๕. นายทหารสัญญาบัตร ๒ คน สำาหรับคำ้าประกันการรับเงินพร้อมกับสำาเนาอย่างละ ๕ ชุด ก�รติดต่อกับฌ�ปนสถ�นและสุส�นของวัด สถานที่ประกอบการฌาปนกิจศพนั้นมีอยู่โดยทั่วไปทั้งในเขตกรุงเทพมหานคร และต่างจังหวัด ข้าราชการทหารส่วนมากมักจะสมัครเข้าเปนสมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห์ของแต่ละเหล่าทัพ เมื่อถึงแก่กรรมลงสามีหรือภริยา บุตร ธิดา ญาติพี่น้อง จึงมักจะใช้บริการทางฌาปนกิจสถาน ของเหล่าทัพที่ข้าราชการทหาร หรือผู้รับเบี้ยหวัดบำานาญซึ่งผู้ถึงแก่กรรมสังกัดอยู่ เพื่อเปนความ สะดวกแด่ท่าน สามารถติดต่อฌาปนกิจสถานของแต่ละเหล่าทัพได้ ดังนี้ ฌ�ปนสถ�นของเหล่�ทัพ กองทัพบก ž วัดโสมนัสวรวิหาร ถนนพะเนียง แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบ กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๐๐ โทร. ๐ ๒๒๘๑ ๑๐๖๑ ž วัดอาวุธวิกสิตาราม ถนนจรัญสนิทวงศ์ ๗๒ แขวงบางพลัด เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร โทร. ๐ ๒๔๓๕ ๑๗๕๒ - ๓ ž วัดศิริพงษ์ธรรมนิมิต ๖๙/๑ หมู่ ๖ แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร โทร. ๐ ๒๕๑๙ ๘๓๘๓ กองทัพเรือ ž วัดเครือวัลย์วรวิหาร ถนนอรุณอัมรินทร์ แขวงวัดอรุณฯ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร โทร. ๐ ๒๔๖๕ ๑๐๑๓ กองทัพอ�ก�ศ ž วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร โทร. ๐ ๒๕๒๑ ๑๕๗๑ หม�ยเหตุ : หม�ยเลขโทรศัพท์อ�จเปลี่ยนแปลงจ�กเดิมได้ สอบถ�มหม�ยเลขโทรศัพท์ ๑๑๓๓


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.