เสร็จเถอะพี่กราบ Flipbook PDF


30 downloads 104 Views 713KB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

โครงงานการศึกษาประสิทธิภาพของเจลลีไ่ ฟเบอร์จากกระบองเพชร จัดทำโดย นายวีรยุทธ ยูนุช เลขที่ 16 นางสาวณัฏฐณิชา จิ๋วหนองโพธิ์ เลขที่ 30 นางสาววรัชยา ตระกูลรัมย์ เลขที่ 32 นางสาวธันยารัตน์ ประทีปเมือง เลขที่ 33 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/10 เสนอ คุณครูอารยา บัววัฒน์

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิชาการสื่อสารและการนําเสนอ รหัสวิชา I30202 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒



บทคัดย่อ โครงงานเรื่องเจลลีไ่ ฟเบอร์จากกระบองเพชรเพื่อสุขภาพมีจุดประสงค์เพื่อ(1)ศึกษาประสิทธิภาพ การลดน้าหนักด้วยเจลลีไ่ ฟเบอร์จากกระบองเพชร (2)ประหยัดต้นทุนในการผลิต (3)ศึกษา กระบองเพชรเพื่อนามาลดน้าหนัก ในการทาผลิตภัณฑ์เจลลี้จากกระบองเพชรคณะผูจ้ ดั ทาได้ใช้อุปกรณ์ในการทาโดยประกอบด้วย (1)กระบองเพชร (2)เจลาติน (3)กลิน่ สตอเบอร์ร่ี (4)โดยมีวธิ กี ารทาดังนี้ (1)ใส่น้าเดือดจัด (2)นาผง เจลาตตินมาละลายน้า(3) คนให้เข้ากันจนผงเจลาตินละลาย (4) ใส่น้าเย็นจัด (5)นากระบองเพชรมา เตรียม (6) ใส่กระบองเพชรทีเ่ ตรียมไว้ใส่ไปในผงทีล่ ะลายไว้ (7)ใส่สารแต่งกลิน่ สตอเบอร์รล่ี งไป (8) นาไปแช่ตู้เย็น เพื่อให้เจลลีเ่ ซ็ทตัว จากการศึกษารวบรวมข้อมูลส่วนผสมตต่างๆและวิธกี ารทา รวมถึงความเป็ นมาของวัตถุดบิ ทีใ่ ช้ พบว่า เจลลีไ่ ฟเบอร์จากกระบองเพชรสามารถลดน้าหนักของผูบ้ ริโภคได้และทานง่าย



กิ ตติ กรรมประกาศ โครงงานวิจยั ฉบับนี้สาเร็จอย่างสมบูรณ์ได้ดว้ ยความช่วยเหลืออย่างยิงจาก คุณครูอารยา บัววัฒน์ คุณครูทปี่ รึกษาทีไ่ ด้ให้คาแนะนาปรึกษา และให้ขอ้ มูลต่างๆขอกราบขอบพระคุณอย่างสูง ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณคุณครูโรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒ทีไ่ ด้ให้คาแนะนาตลอดจนตรวจสอบ เครื่องมือทีใ่ ช้ในงานวิจยั อนึ่งผูว้ จิ ยั หวังว่างานวิจยั ฉบับนี้จะมีประโยชน์อยู่ไม่น้อยจึงขอมอบส่วนดีทงั ้ หมดให้แก่เหล่า อาจารย์ทไี่ ด้ประสิทธิ ์ประสาทวิชาจนทาให้ผลงานวิจยั เป็นประโยชน์ต่อต่อผูเ้ กี่ยวข้องและขอมอบ ความกตัญญูกตเวทิตาคุณแด่บดิ ามารดาและผูม้ พี ระคุณทุกท่านตลอดจนเพื่อนๆทีค่ อยให้ความ ช่วยเหลือและให้กาลังใจสาหรับการทางาน คณะผูจ้ ดั ทา



สารบัญ หน้า บทคัดย่อ.................................................................................................................................... ก กิตติกรรมประกาศ...................................................................................................................... ข สารบัญสาร..................................................................................................................................ค สารบัญตาราง..............................................................................................................................ง สารบัญรูปภาพ............................................................................................................................จ บทที่ 1 บทนา..............................................................................................................................1 ทีม่ าและความสาคัญ................................................................................................................1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา......................................................................................................1 ขอบเขตของการศึกษา............................................................................................................1 สมมติฐานของการศึกษา..........................................................................................................2 ตัวแปรทีศ่ กึ ษาค้นคว้า.............................................................................................................2 บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง..........................................................................................................3-6 บทที่ 3 วิธกี ารดาเนินการ..........................................................................................................6-13 บทที่ 4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล......................................................................................................13-15 บทที่ 5 สรุปผล การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ....................................................................16-17 บรรณานุกรม.............................................................................................................................19



สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์เจลลีไ่ ฟเบอร์จากกระบองเพชร.............................13 ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพจากผลิตภัณฑ์เจลลีไ่ ฟเบอร์จากกระบองเพชรและ ประสิทธิภาพเจลลีท่ ั ่วไปตามท้องตลาด........................................................................................13 ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลทั ่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม...................................................................14 ตารางที่ 4 แสดงการวิเคราะห์ผลความพึงพอใจต่อเจลลีไ่ ฟเบอร์...................................................15



สารบัญรูปภาพ หน้า ภาพที่ 1 แสดงขัน้ ตอนการทาขัน้ ที่ 1............................................................................................10 ภาพที่ 2 แสดงขัน้ ตอนการทาขัน้ ที่ 2............................................................................................10 ภาพที่ 3 แสดงขัน้ ตอนการทาขัน้ ที่ 3............................................................................................11 ภาพที่ 4 แสดงขัน้ ตอนการทาขัน้ ที่ 4............................................................................................11 ภาพที่ 5 แสดงขัน้ ตอนการทาขัน้ ที่ 5............................................................................................11 ภาพที่ 6 แสดงขัน้ ตอนการทาขัน้ ที่ 6............................................................................................12 ภาพที่ 7 แสดงขัน้ ตอนการทาขัน้ ที่ 7............................................................................................12 ภาพที่ 8 แสดงขัน้ ตอนการทาขัน้ ที่ 8............................................................................................12 ภาพที่ 9 แสดงภาพสาเร็จของเจลลีไ่ ฟเบอร์...................................................................................12 ภาพที่ 10 แสดงแบบสอบถามความพึงพอใจ.................................................................................18

1

บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน กระบองเพชรทีม่ สี รรพคุณสามารถลดความอ้วนได้นั ่นก็คอื กระบองเพชรพันธุ์ Hoodia Gordonii ทัง้ ยังมีการศึกษาค้นคว้าวิจยั ในกระบองเพชรพันธุ์น้ี จากนักวิทยาศาสตร์และนักวิจยั ทั ่วโลกว่าคุณสมบัติ ในการลดน้าหนักได้ เนื่องจากเป็ นพืชทีใ่ ห้ปริมาณไฟเบอร์สูงมาก จึงมีส่วนสาคัญในการช่วย ควบคุม อาการอยากอาหาร (Appetite Control) และยังมีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษ ทีจ่ ะเข้าไปจับกับโมเลกุลไขมันที ลอยตัวอยู่เหนือกระเพาะอาหาร ทาให้ไขมันไม่สามารถดูดซับเข้าไปทางผนังลาไส้เล็กได้ และจะถูก กาจัดออกจากร่างกาย โดย การขับถ่าย นอกจากนี้ ยังช่วยรักษาระดับน้าตาลในเลือดให้เป็ นปกติ โดย มีกลไกทีท่ าให้อาหาร ดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดได้ชา้ ลง จึงช่วยป้ องกันภาวะน้าตาลในเลือดสูงได้ซ่งึ สามารถช่วยในการต้านอนุมูลอิสระและกระบองเพรชและช่วยส่งเสริมภูมคิ มุ้ กันทีเ่ ลือกนากระบอง เพรชมาทาให้รบั ประทานได้เพราะเราและคนอื่นๆยังไม่รวู้ ่ากระบองเพรชสามารถกินได้

1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.2.1 1.2.2 1.2.3 1.2.4 1.2.5 1.2.6

เพื่อประหยัดต้นทุนในการผลิต เพื่อศึกษาการนากระบองเพรชมาทาให้รบั ประทาน เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของเจลาตินจากกระบองเพรช เพื่อศึกษาสรรพคุณสมุนไพรของกระบองเพรชว่าสามารถนามาประกอบอาหารได้ เพื่อเพิม่ รายได้ให้แก่ตวั เอง เพื่อศึกษาว่ากระบองเพรชสามารถรักษาโรคได้

1.3 ขอบเขตการศึกษา 1.3.1 ศึกษาต้นกระบองเพชรว่ามีประโยชน์อะไรทีเ่ ป็ นสรรพคุณ 1.3.2 ความพึงพอใจกลิน่ ของผลิตภัณฑ์ 1.3.3ผลิตภัณฑ์จากต้นกระบองเพชรช่วยในการควบคุมน้าหนักได้

2

1.4 สมมติ ฐานของการศึกษา 1.4.1 ต้นกระบองเพชรนามาเป็ นผลิตภัณฑ์ควบคุมน้าหนักได้ 1.4.2 ผลิตภัณฑ์จากต้นกระบองเพชรช่วยในการควบคุมน้าหนักได้เทียบเท่ากับผลิตภัณฑ์ควบคุม น้าหนักอื่นๆทีช่ ่วยแก้ปัญหาลดน้าหนักได้

1.5 ตัวแปรที่ศึกษาค้นคว้า 1.5.1 ตัวแปรต้น - ต้นกระบองเพชร 1.5.2 ตัวแปรตาม - ประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาการควบคุมน้าหนัก 1.5.3 ตัวแปรควบคุม - ปริมาณของเจลาติน -รูปร่างและปริมาตรของภาชนะทีบ่ รรจุ - ปริมาณน้า - ปริมาณกระบองเพชร

3

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ความรูท้ ั ่วไปเกี่ยวกับกับต้นกระบองเพชรสายพันธุอ์ ชิ นิ อปซิส กระบองเพชรสายพันธุ์อชิ นิ อปซิส ชื่อวิทยาศาสตร์ Echinopsis sp.อยู่ในวงศ์ Cactaceae มีลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ คือ ลาต้น เป็ นไม้ อวบน้า อายุหลายปี กลุ่มกระบองเพชรลาต้นทางกลมสีเขีย มี 10-20 พู สามารถแตกหน่อใหม่จากตุ่ม เนินหนามได้ ใบเป็ นใบลดรูปเป็ นหนาม เรียงเวียนรอบตุ่มเนินหนาม มี 6-8 หนามต่อหนึ่งตุ่ม หนาม กลางชี้ตรงขนาดใหญ่กว่าหนามข้างเล็กน้อย สขาวปลายสีน้าตาลแดงดอกเป็ นดอกเดีย่ วดอกสีขาว หรือชมพู ก้านดอกยาวกลีบดอกซ้อนกันหลายชัน้ บานในเวลากลางคืนการปลูกเลี้ยงและการใช้ ประโยชน์การปลูกเลี้ยงควรปลูกดินร่วมระบายน้าต้องการน้าน้อยถึงปานกลางแสงแดดจัน การ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด โดยผูจ้ ดั ทาได้ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้องเพื่อเป็ นพืน้ ฐานและ สนับสนุนแนวคิดในการทาโครงงานดังนี้

หัวข้อที่ศึกษามีดงั นี้ 1.กระบองเพรช 2.เจลาติน 3.สีแต่งกลิน่

กระบองเพชร 1.สายพันธุ์ของกระบองเพชร กระบองเพชรส่วนมากจะไม่มใี บ เพราะใบกลายเป็ นเป็นหนามแทน แต่บางพันธุ์อาจมีใบขนาดเล็ก แทงขึน้ บริเวณตุ่มหนาม มีลกั ษณะแบ่งได้ 2 แบบ คือ หนามกลาง และหนามข้างหนามกระบองเพชร จะแทงขึน้ บนตุ่มหนามมีลกั ษณะเป็ นแท่งหนามยาว ขนาดเล็ก แข็งแรง และแหลมคม หนึ่งตุ่มหนาม อาจมีหนามได้มากกว่า 5 เส้น แต่บางสายพันธุ์หนามทีข่ น้ึ อาจมีลกั ษณะเป็ นขนเล็กๆ คล้ายขนสัตว์ ไม่แข็ง ปลายอาจงอเป็ นตะขอ หนามทีแ่ ทงออกมีได้หลากหลายสี อาทิ สีขาว สีแดง สีสม้ สีน้าตาล สี เหลือง และสีดา บางพันธุส์ ามารถเปลีย่ นสีได้ตามลักษณะภูมอิ ากาศ และอายุของลาต้น

4 คล้ายต้นกระบองเพชรโดยทั ่วไปและ เป็ นพืชอวบน้า (succulent) ซึง่ เป็ นลักษณะทีส่ าคัญของพืช ใน บริเวณทีม่ คี วามแห้งแล้วกันดาร จึงมีการสะสมน้าไว้ในส่วนของต้น ราก และใบ จัดอยู่ใน กลุ่มพืชใบ เลี้ยงคู่ Hoodia Gordonii กระบองเพชร มีหลายชนิด พบในทะเลทรายและบางชนิดอยู่ตามป่ าธรรมชาติ หรือสภาพแวดล้อม ทั ่วไป แต่ส่วนใหญ่จะพบตามทะเลทรายมากกว่า แต่มเี พียง 2 สายพันธ์ทนี่ ิยมนามาใช้สรรพคุณทาง ยา คือ 1. สายพันธ์ Hoodia Gordonii 2. สายพันธ์ Opuntia ficus – indica แต่ทมี่ ผี ลงานการศึกษาค้นคว้าวิจยั ในปัจจุบนั คือ สายพันธ์ Hoodia Gordoniihttps://sites.google.com/site/cactusxplant/laksna-khxng-tn-krabxng-phech 2. สรรพคุณของกระบองเพรช 2.1 ช่วยลดการดูดซึมไขมันเข้าสูร่ ่างกาย 2.2 ช่วยควบคุมอาการอยากอาหาร ลดน้าหนัก 2.3 ไฟเบอร์คุณภาพสูง 2.4 กรดอะมิโน , บี3 , ไฟเบอร์ ช่วยลดโคเลสเตอรอล LDL , ไตรกลีเซอไรด์ ต่อต้านอนุมูลอิสระ 2.5 ควบคุมน้าตาลในกระแสเลือด https://www.disthai.com/16488246 https://th.wikipedaia.org/wiki/กระบองเพชร

เจลาติ น โปรตีนชนิดหนึ่งทีเ่ กิดจากการสลายคอลลาเจนด้วยกรด หรือด่าง มีลกั ษณะเป็ นผงสีน้าตาลอ่อน สามารถสกัดได้จากกระดูกหรือหนังสัตว์ เช่น วัว ควาย หมู เมื่อนาผงเจลลาตินมาอุ่นด้วยน้าที่ อุณหภูม ิ ประมาณ 32°C มันจะหลอมกลายเป็ นของเหลวหนืด ของเหลวจะเซตตัวกลายเป็ นเจล ลักษณะคล้ายเยลลี่ ส่วนประกอบในอาหารไร้สไี ร้รสได้มาจากคอลลาเจนเป็ นโปรตีนเกือบทัง้ หมด คล้ายอัลบูมนิ ทีล่ ะลายน้าได้ ซึง่ ได้มาจากการต้มหนังเนื้อเยื่อของสัตว์ กระดูก ผิวหนัง และเส้นเอ็น ของสัตว์ เช่น วัว ควาย ไก่ หมู และปลา ในเจลาตินมีกรดอะมิโนอยู่สองชนิดเป็ นสารทีร่ ่างกายมนุษย์ ใช้สร้างคอลลาเจน จากข้อมูลพบว่าในผลิตภัณฑ์ทมี่ สี ่วนผสมทีใ่ ช้สารเพิม่ ความข้นจากเจลาติน

5

1. ประเภทของเจลลาติน 1.1 เจลาตินแบบแผ่น 1.2 ผงเจลาติน 1.3 แคปซูลเจลาติน (แคปซูลยา) 2. ประโยชน์ของเจลาตินต่อสุขภาพ 2.1 เจลาตินช่วยสร้างและรักษาเนื้อเยื่อของร่างการให้แข็งแรง 2.2 เจลาตินช่วยเพิม่ คอลลาเจนให้ผวิ ดูอ่อนเยาว์ ลดริว้ รอย ร่องลึกต่างๆ 2.3 อุดมไปด้วยกรดกลูตามิกช่วยย่อยอาหารโดยกระตุ้นการผลิตน้าย่อย 2.4 ช่วยให้อาหารเคลื่อนผ่านระบบย่อยอาหาร 2.5 ไลซีนในเจลาตินช่วยเสริมสร้างกระดูก และป้ องกันการสูญเสียกระดูก 3. ผลข้างเคียงของเจลาติน เจลาตินนัน้ สามารถรับประทานได้อย่างปลอดภัยและไม่เป็ นอันตรายร้ายแรง แต่บางกรณีกอ็ าจทา ให้เกิดผลข้างเคียงเป็ นความผิดปกติ อย่างอาการท้องอืด ไม่สบายท้อง เรอ หรือแสบร้อนกลางอก รวมถึงผลข้างเคียงในเด็ก ทารก ผูท้ ตี่ งั ้ ครรภ์ หรือผูท้ กี่ าลังให้นมบุตรทีย่ งั ไม่แน่ชดั คนในกลุ่มนี้จงึ ควร ปรึกษาแพทย์ก่อนใช้เพื่อรักษาโรค https://amprohealth.com/magazine/gelatin/ https://www.watkhopinthong.ac.th https://www.foodnetworksolution.com

สารแต่งกลิ่ นบลูเบอร์รี่-ราสเบอร์รี่ 1.ลักษณะทั ่วไป บลูเบอรืรเ่ี ป็ นพืชผลไม้เมืองหนาว บลูเบอร์รส่ี ดทีส่ ามารถซื้อได้ในประเทศไทยจึงมีราคาสูงมาก ไม่ คุม้ ทีจ่ ะนามาทาไอศกรีม บลูเบอร์รก่ี ระป๋ องก็มสี ่วนผสมของน้าแป้ งอยู่มาก ไม่เหมาะทีจ่ ะนามาเติม ปัญหาของบลูเบอร์รม่ี รี สเปรีย้ วจัด จะใส่ในปริมาณมากก้ไม่ได้เพราะจะทาให้ไอศกรีมเปรีย้ วมากแต่ถ้า ใส่น้อยกลิน่ จะไม่ชดั เจน จึงจาเป็ นทีต่ ้องเติมกลิน่ ลงไปช่วยเติมเต้มความหอม https://missicecream.com/product/128/bb

6 กลิน่ ผสมอาหารราสเบอร์ร่ี มีกลิน่ ทีห่ อมหวาน เหมือนราสเบอร์รธ่ี รรมชาติ ใช้เพิม่ กลิน่ ในสินค้าได้ มากมายหลายอย่าง ตัวอย่าง เช่น คุ๊กกี้ เค้ก เครื่องดื่ม อืน่ ๆตามทีต่ ้องการ และมีกลิน่ หลากหลาย เฉดให้ลูกค้าเลือกมีทงั ้ แบบของเหลว และแบบผง ซึ่งทุกกลิน่ ผ่านการคัดเลือกมาอย่างดี ทัง้ นี้เรายังมี บริการทาเฉดกลิน่ ตามทีล่ ูกค้าต้องการได้อกี ด้วย http://www.flavorseasoning.com/product-detail.php?id=91126 2.ประโยชน์ของสารแต่งกลิน่ กลิน่ ผสมอาหารบลูเบอรี่ เป็ นกลิน่ ทีม่ คี วามหวานซ่อนเปรีย้ ว กลิน่ นี้เหมาะสาหรับไอศกรีม ท้อปปิ้ ง เครื่องดื่ม และอาหารของหวานอื่น ๆ ช่วยเพิม่ ความหอมชัดเจนน่ารับประทานให้กบั ผลิตภัณฑ์ มาก ยิง่ ขึน้ http://www.flavorseasoning.com/product-detail.php?id=96243 3.ข้อควรระวัง หากใช้แล้วเกิดอาการควรหยุดใช้และปรึกษาแพทย์/ควรเจือจางก่อนนามาสัมผัสผิว โดยตรง/เด็ก,ผูป้ ่ วย,สตรีมคี รรภ์และระหว่างให้นมบุตรควรปรึษาแพทย์ก่อนใช้ https://buytropicalif.com

บทที่ 3 วิ ธีดาเนิ นการทดลอง การศึกษาค้นคว้าเรื่อง การศึกษาประสิทธิภาพของเจลลีไ่ ฟเบอร์จากกระบองเพชร เป็ นการศึกษา ค้นคว้าทีม่ ุ่งศึกษาเกี่ยวกับการศึกษาประสิทธิภาพของเจลลีไ่ ฟเบอร์จากกระบองเพชร 7 ด้านดังนี้ 1) ด้านความปลอดภัยของกระบองเพชร 2) ด้านกลิน่ ของกระบองเพชร 3) ด้านรสชาติ 4) ด้านความ สะอาดของวัตถุดบิ จากกระบองเพชร 5) ด้านความสวยงามของผลิตภัณฑ์ 6) ด้านผลลัพธ์ของเจลลีไ่ ฟ เบอร์จากกระบองเพชร 7) ด้านภาพรวมของผลิตภัณฑ์ ศึกษาเกี่ยวกับความต้องการและความพึงพอใจในเจลลีจ่ ากกระบองเพชร โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล การประเมินความพึงพอใจจากความคิดเห็นของนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน 7

นวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา ๒ สังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 ทางแก้ไข ปรับปรุงพัฒนาในจุดบกพร่องของเจลลีไ่ ฟเบอร์จากกระบองเพชร เพื่อให้เจลลีไ่ ฟเบอร์จาก กระบองเพชรทีจ่ ดั ทามีคณ ุ ภาพมากทีส่ ุดทาการศึกษาค้นคว้าโดยมีวธิ กี ารและขัน้ ตอนตามลาดับ ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 5. สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ 6. วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ

1. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากรทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้าได้แก่ นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน นวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒ สังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร จานวน 63 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า วิธกี ารสร้างเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าครัง้ นี้ผศู้ กึ ษาได้ใช้แบบสอบถามทีผ่ ศู้ กึ ษาจัดทาขึน้ เป็ น เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลซึง่ ผูศ้ กึ ษาได้ได้สร้างแบบสอบถามให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ องค์การศึกษาและขอบเขตของการศึกษาซึ่งประกอบด้วยคาถาม 2 ส่วนดังนี้ ส่วนที่ 1 เป็ น แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลปัจจัย ด้านบุคคลของผูต้ อบแบบสอบถามมีมเี ษณะแบบสอบถามปลาย ปิ ด (Close Ended Respmonsequestion) ส่วนที่ 2 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพของเจลลีไ่ ฟ เบอร์จากกระบองเพชรตามความเห็นของได้แก่ นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนนวมินท ราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒ สังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร มี ลักษณะคาถามเป็ นคาถามมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับตามวิธขี องลิเคิรท์ (Likert) คือ น้อยทีส่ ุด น้อยปานกลาง มาก และมากทีส่ ุด โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนและเกณฑ์การให้คะแนน และเกณฑ์การจัดระดับ ดังนี้ 8

ระดับความคิดเห็น น้อยทีส่ ุด น้อย ปานกลาง มาก มากทีส่ ุด

ค่าน้าหนักคะแนนของตัวเลือกตอบ กาหนดค่าเท่ากับ 1 คะแนน กาหนดค่าเท่ากับ 2 คะแนน กาหนดค่าเท่ากับ 3 คะแนน กาหนดค่าเท่ากับ 4 คะแนน กาหนดค่าเท่ากับ 5 คะแนน

เกณฑ์ในการแปลความหมายค่าร้อยละของคะแนนระดับความเห็นเพื่อจัดระดับคะแนนการศึกษา สภาพการดาเนินกิจกรรมต่างๆกาหนดเป็ นช่วงคะแนนดังต่อไปนี้ ช่วงคะแนนร้อยละ 80 คะแนนขึน้ ไป = ดีมาก ช่วงคะแนนร้อยละ 70-79 คะแนน = ดี ช่วงคะแนนร้อยละ 60-69 คะแนน = ปานกลาง ช่วงคะแนนร้อยละ 50-59 คะแนน = พอใช้ ช่วงคะแนนร้อยละ 40-49 คะแนน = ปรับปรุง

3.เก็บรวบรวมข้อมูล ในการดาเนินการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลในครัง้ นี้ผศู้ กึ ษาได้ดาเนินการตามลาดับขัน้ ตอน ดังนี้ ขอความร่วมมือจากนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒ สังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร ในการทาแบบสอบถามเพื่อ การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรทางสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัด ผูศ้ กึ ษานาแบบสอบถามไปแจกด้วยตนเองทัง้ หมดในระหว่างวันที่ 10 พฤศจิกายน – 15 พฤศจิกายน 2565 จานวน 63 ชุด ชุดเมื่อถึงกาหนดวันนัดหมายผูศ้ กึ ษาไปขอรับและแบบสอบถามคืนตนเองพร้อมตรวจสอบถูกต้อง ความเรียบร้อยความสมบูรณ์ของข้อมูลในการตอบแบบสอบถามในแต่ละชุดและจานวนข้อมูลทีไ่ ด้รบั จานวน 50 ชุด ผูศ้ กึ ษานาแบบสอบถามหรือข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมในแต่ละสถานศึกษาเพื่อนาไปวิเคราะห์และแปลผล ข้อมูล 9

4.การวิ เคราะห์ขอ้ มูล ผูศ้ กึ ษาค้นคว้าดาเนินการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิตใิ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลตามลาดับและผูศ้ กึ ษา ค้นคว้านาข้อมูลมาประมวลผลและวิเคราะห์ดว้ ยโปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิตโิ ดยใช้สถิตวิ เิ คราะห์ ดังนี้ การวิเคราะห์ขอ้ มูลตอนที่ 1 สถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถามโดยใช้ความถีร่ อ้ ยละ ตอนที่ 2 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเจลลีจ่ ากกระบองเพชร จาแนกตามสถานภาพ ได้แก่ นักเรียน ครู/อาจารย์ บุคคลทั ่วไป และเพศ ได้แก่ ชาย หญิง

5. สถิ ติที่ใช้ในการวิ เคราะห์ การวิเคราะห์ขอ้ มูลผูศ้ กึ ษาค้นคว้าได้วเิ คราะห์และประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปด้วย ระบบคอมพิวเตอร์สถิตทิ ใี่ ช้ คือ สถิตพิ รรณนาการหาค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานการหา ค่าความถี่โดยวิธนี ับคานวณ สูตรการหาค่าร้อยละ =

𝑋 𝑥 100 N

6.วัสดุอปุ กรณ์และเครื่องมือ 6.1. อุปกรณ์และเครื่องมือหลักทีต่ ้องใช้ ชนิ ดอุปกรณ์ จานวน หม้อ 1 ใบ ทัพพี 1 อัน ช้อนตวง 1 อัน ถ้วยตวง 1 อัน ถุงบรรจุภณ ั ฑ์ 1 แพ็ค

10

ชนิ ดอุปกรณ์ ผงกระบองเพชร ผงเจลลาติน ถุงใส่ผลิตภัณฑ์

จานวน 1 กล่อง 1 กล่อง 1 แพ็ค

วิ ธีการทดลอง 1. ใส่น้าเดือดจัด 1 ถ้วยตวง 2. นาผงเจลาติน 100 กรัม 3. คนให้เข้ากันจนผงเจลาตินละลาย 4. ใส่น้าเย็นจัด 1 ถ้วยตวง 5. นากระบองเพชรมาเตรียม 6. ใส่กระบองเพชรทีเ่ ตรียมไว้ใส่ไปในผงทีล่ ะลายไว้ 7. ใส่สารแต่งกลิน่ ลงไป 1 ฝา 8. นาไปแช่ตู้เย็น 4 ชั ่วโมง เพื่อให้เจลลีเ่ ซ็ทตัว

วิ ธีการทดลอง 1. ใส่น้าเดือดจัด 1 ถ้วยตวง

2. นาผงเจลาติน 100 กรัม

11

3. คนให้เข้ากันจนผงเจลาตินละลาย

4. ใส่น้าเย็นจัด 1 ถ้วยตวง

5. นากระบองเพชรมาเตรียมไว้

12

6. ใส่กระบองเพชรทีเ่ ตรียมไว้ใส่ไปในผงทีล่ ะลายไว้

6. ใส่สารแต่งกลิน่ ลงไป 1 ฝา

8. นาไปแช่ตู้เย็น 4 ชั ่วโมง แล้วนาออกมา

13

ผลการทดลอง 1. ผลการศึกษาเจลลีจ่ ากกระบองเพชร ได้แก่ กระบองเพชร และ ผงวุน้ ตารางที่ 1 ลักษณะทางกายภาพของเจลลีจ่ ากกระบองเพชร เจลลีจ่ าก กระบองเพชร กระบองเพชร ผงเจลาติน

สี

กลิน่

รสชาติ

ใส แดง

ไม่ม ี หอม

ขม หวาน

ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์เจลลีจ่ ากกระบองเพชรกับเจลลีท่ ั ่วไป ตามท้องตลาด ประสิทธิภาพ ชนิดผลิตภัณฑ์เจลลี่ เจลลีจ่ ากกระบองเพชร

ก่อนใช้ผลิตภัณฑ์

หลังใช้ผลิตภัณฑ์

กินบ่อย กินไม่หยุด

คุมหิวได้ ไม่กนิ บ่อย คุมน้าหนัก

กินบ่อย กินไม่หยุด เจลลีห่ าได้ท ั ่วไป

เพิม่ น้าหนักได้เร็ว

14

บทที่ 4 ผลการทดลอง การศึกษาการค้นคว้าการทาเจลลีจ่ ากต้นกระบองเพชรซึง่ เป็ นพืชทีผ่ คู้ นไม่ค่อยจะรับประทานกันและมั กมองข้ามมันและไม่ได้มองถึงประโยชน์ของมันคณะผูจ้ ดั ทาจึงนาพืชนี้มาแปรรูปเพื่อนามาเพิม่ มูลค่ พิม่ รายได้ให้แกjคนในชุมชนการศึกษทาการคน้คว้าครัง้ นี้เป็ นการศึกษาและรวบรวมข้อมมูลเพื่อนามา จัดเป็ โครงงานประเภทการแปรรูปสินค้าโดยภายหลังจากทีท่ าผลิตภัณฑ์เสร็จสมบูรณ์แล้วทางคณะผูจ้ ั ดทาจึงได้นาผลิตภัณฑ์มาให้นักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒ได้ทดล องรับประทานและทาแบบประเมิณความพึงพอใจต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์และร่วมกันเสนอข้อเสนอ แนะการค้นคว้าครัง้ นี้มนี ักเรียนจานวนทัง้ หมด 63 คนได้รบั แบบประเมิณกลับคืนมาจานวน 63 ชุด คิดเป็ นร้อยละ 100 ในการสรุปผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล มีหวั ข้อ ดังต่อไปนี้ 1.วิเคราะห์ขอ้ มูลทั ่วไปของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา2 2. วิเคราะห์คะแนนความพึงพอใจต่อเจลลีจ่ ากต้นกระบองเพชรของนักเรียนและบุคลากร ภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒

4.1 วิ เคราะห์ขอ้ มูลทัวไปของนั ่ กเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียน นวมินทราชิ นทู ิ ศสตรีวิทยา๒ ตารางที่ 1 ข้อมูลทั ่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม รายการ เพศ

ข้อมูลส่วนตัว ชาย หญิง รวม

จานวน 32 29 61

ร้อยละ 52.4% 47.5% 100

15

จากตารางที่ 1 พบว่าข้อมูลบพืน้ ฐานของนักเรียนบุคลากรภาย ภายในโรงเรียนดังนี้ 1.เพศ ผูท้ าแบบสอบถามส่วนมากเป็ นเพศชาย ร้อยละ52.4 รองลงมา คือ เพศหญิงร้อยละ47.5 4.2 การวิเคราะห์ผลความพึงพอใจจต่อเจลลีไ่ ฟเบอร์จากกระบองเพชร ระดับความพึงพอใจ ลาดับ

รายการประเมิน

1

ประสิทธิภาพใน ผลิตภัณฑ์ บรรจุภณ ั ฑ์หนาแน่น แพ็กเกจสวยงาม การส่งสินค้า น้าหนักลงจากเดิม ผลข้างเคียงหลัง รับประทาน คุมน้าหนัก รสชาติ การให้คาแนะนา ราคา

2 3 4 5 6 7 8 9 10

ดีมาก ดี (5) (4) 23

29

ปาน พอใช้ ปรับปรุง ร้อยละ แปลผล กลาง (2) (1) (3) 10 1 105.2 มากทีส่ ุด

14 19 19 12 5

26 28 25 27 4

20 12 17 21 1

2 2 2 2 1

1 52

95.6 99.2 100 93.6 39.2

29 28 24 19

30 29 25 22

3 6 12 22

1 2 -

-

70.4 มาก 109.6 มากทีส่ ุด 104 มากทีส่ ุด 119.6 มากทีส่ ุด

มากทีส่ ุด มากทีส่ ุด มากทีส่ ุด มากทีส่ ุด น้อยมาก

เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงคะแนนร้อยละ 80 คะแนนขึน้ ไป = ดีมาก ช่วงคะแนนร้อยละ 70-79 คะแนน = ดี ช่วงคะแนนร้อยละ 60-69 คะแนน = ปานกลาง ช่วงคะแนนร้อยละ 50-59 คะแนน = พอใช้ ช่วงคะแนนร้อยละ 40-49 คะแนน = ปรับปรุง 16

บทที่5 สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ การศึกษาค้นคว้าการทาเจลลีไ่ ฟเบอร์จากกระบองเพชร มีวตั ถุประสงค์ 5 ข้อ ดังนี้ (1)นาวัสดุทไี่ ม่ ค่อยมีคนนามาใช้มายกระดับขึน้ เพื่อตอบโจทย์คนทีต่ ้องการลดน้าหนัก(2)เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของ กระบองเพชร(3)เพื่อประหยัดต้นทุนในการผลิต(4)เพื่อศึกษากระบองเพชรทีส่ ามารถนามาทาเป็ นเจล ลีไ่ ฟเบอร์ลดน้าหนักได้(5)เพื่อนาวัสดุธรรมชาติมาใช้ประโยชนืแทนการนาสารเคมีมาใช้ และสามารถ ประมวลผลได้ ดังนี้ กลุ่มเป้ าหมายทีเ่ ราใช้ในการศึกษาครัง้ นี้ ทุกเพศและทุกวัยและบุคคลทีม่ นี ้าหนักเกิน เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการศึกษาคือ แบบสอบถามความคิดเห็นความพึงพอใจในการรับประทานเจลลีไ่ ฟเบอร์ แบบสอบถามคือ Google from ซึ่งเรานัน้ ให้สแกน QR Code โดยมีคาถามสารวจจานวน 10 ข้อ การ วิเคราะห์ขอ้ มูลผูศ้ กึ ษาได้วเิ คราะห์ขอ้ มูล โดยใช้สถิตทิ ใี่ ช้ในการศึกษาครัง้ นี้คอื การหาร้อยละ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน

สรุปผลการทดลอง จากการศึกษาทดลองการทาเจลลีไ่ ฟเบอร์สามารถสรุปผลการทดลงอได้ว่าเจลลีไ่ ฟเบอร์ กระบองเพชรจะมีลกั ษณะเมื่อรับประทานไปแล้วเนื้อสัมผัสจะเนียนนุ่มละเอียดอ่อนและมีรสชาติทไี่ ม่ หวานมากจนเกินไปและมีกลิน่ ทีห่ อมจากสีแต่งกลิน่ ทีไ่ ม่เป็ นอันตรายและอีกทัง้ ยังทิ้งกลิน่ ของ กระบองเพชรไว้อยู่ เห็นผลได้ชดั กับคนทีม่ นี ้าหนักตัวจานวนมากโดยเมื่อรับประทานไปแล้วมีน้าหนัก ทีล่ ดลง แต่มสี าหรับบางกลุ่มทีร่ บั ประทานเข้าไปแล้วน้าหนักไม่ลดลงหรือมีน้าหนักทีเ่ ท่าเดิม

อภิ ปราย จากการศึกษาค้นคว้าเรื่องการทาเจลลีไ่ ฟเบอร์จากกระบองเพชร ตามคามคิดเห็นจากนักเรียนและ บุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒ สามารถอภิปรายได้ดงั นี้ จากการสอบามความคิดเห็นความพึงพอใจของบุคคลทีม่ นี ้าหนักเกินในเรื่องการทาเจลลีไ่ ฟเบอร์ กระบองเพชรพบว่าอยู่ในระดับดีมาก 17

ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลจากผลการสารวจมีขอ้ เสนอแนะดังนี้ 1. ควรปรับปรุงเรื่องของกระบองเพชรใหม่ว่ามีกระบองเพชรพันธุไ์ หนทีม่ สี ารทีช่ ่วยลดน้าหนักได้อกี บ้าง 2. ศึกษาเพิม่ เติมเกี่ยวกับวัตถุดบิ อื่นเพิม่ เติมทีส่ ามารถนามาทาเป็ นผลิตภัณฑ์ได้เพื่อให้เกิดความ หลากหลาย

18

19

บรรณานุกรม คีตรัน์ เนียรพิณกรณ์.(2552).ราสเบอรีแ่ ละบลูเบอรี.่ กรุงเทพฯ:Feel Good. ภวพล ศุภนันทนานนท์.(2562).Cactus.กรุงเทพฯ:บ้านและสวน. สรดิษ มธุรตรัย.(2560).พิมพ์ครัง้ ที่ 3.กรุงเทพฯ:อินเตอร์เนชัลเนล วินเทจ.บจก. สายพันธ์ของกระบองเพชร HoodiaGordonii .สืบค้น 2 ธันวาคม 2565,จาก; https://sites.google.com/site/cactusxplant/laksna-khxng-tn-krabxng-phech สรรพคุณของกระบองเพรช.สืบค้น 2 ธันวาคม 2565.จาก;https://www.disthai.com/16488246 และ https://th.wikipedaia.org/wiki/กระบองเพชร ผลข้างเคียงของเจลาติน.สืบค้น 2 ธันวาคม 2565.จาก;https://amprohealth.com/magazine/gelatin/ , https://www.watkhopinthong.ac.th ,https://www.foodnetworksolution.com ลักษณะทั ่วไปของสารแต่งกลิน่ บลูเบอร์ร.่ี สืบค้น 2 ธันวาคม 2565.จาก; https://missicecream.com/product/128/bb เฉดกลิน่ ของสารแต่งกลิน่ .สืบค้น 2 ธันวาคม 2565.จาก;http://www.flavorseasoning.com/productdetail.php?id=91126 ประโยชน์ขอสารแต่กลิน่ .สืบค้น 2 ธันวาคม 2565.จาก;http://www.flavorseasoning.com/productdetail.php?id=96243 ข้อควรระวัง.สืบค้น 2 ธันวาคม 2565.จาก https://buytropicalif.com

20

ประวัตผิ ศู้ กึ ษาค้นคว้า ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปี เกิด ทีอ่ ยู่ปัจจุบนั 10510 ตาแหน่งหน้าทีก่ ารงาน สถานทีศ่ กึ ษาปัจจุบนั มัธยมเขต 2 ประวัตกิ ารศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา

นายวีรยุทธ ยูนุช 19 ตุลาคม 2548 39 ประชาร่วมใจ 21 แขวงทรายกองดินใต้ เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒ โรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา

โรงเรียนพิทยาพัฒศึกษา โรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒

21

ประวัติผ้ศู กึ ษาค้นคว้า ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปี เกิด ทีอ่ ยู่ปัจจุบนั ตาแหน่งหน้าทีก่ ารงาน สถานทีศ่ กึ ษาปัจจุบนั มัธยมเขต 2 ประวัตกิ ารศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา

นางสาวณัฏฐณิชา จิว๋ หนองโพธิ ์ 24 สิงหาคม 2548 248 ไมตรีจติ 7 เขตคลองสามวา แขวงสามวาตะวันออก กรุงเทพฯ 10510 นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒ โรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา

โรงเรียนวัดลากระดาน โรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒

22

ประวัตผิ ศู้ กึ ษาค้นคว้า ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปี เกิด ทีอ่ ยู่ปัจจุบนั ตาแน่งหน้าทีก่ ารงาน สถานทีศ่ กึ ษาปัจจุบนั มัธยมศึกษาเขต 2 ประวัตกิ ารศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา

นางสาวธันยารัตน์ ประทีปเมือง 27 พฤศจิกายน 2549 1/2 ซ.นิมติ ใหม่37 เขตคลองสามวา เเขวงสามวาตะวันออก กรุงเทพฯ 10510 นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา ๒ โรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา ๒ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาเขต

โรงเรียนสารสาสน์วเิ ทศนิมติ ใหม่ โรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา ๒

23

ประวัตผิ ศู้ กึ ษาค้นคว้า ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปี เกิด ทีอ่ ยู่ปัจจุบนั ตาแหน่งหน้าทีก่ ารงาน สถานทีศ่ กึ ษาปัจจุบนั มัธยมเขต 2 ประวัตกิ ารศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา

นางสาววรัชยา ตระกูลรัมย์ 12 เมษายน 2548 8/16 ม.4 ตาบลบึงคาพร้อย อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150 นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒ โรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา

โรงเรียนวัดลากระดาน โรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา๒

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.