Story Transcript
รายงานผลการดาเนินงาน โรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
เกณฑ์การตรวจสอบ ข้อที่ ๙ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ทบ ี่ ูรณาการ คุณธรรม อัตลักษณ์หรือตามกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โดยผ่านโครงงานคุณธรรมและกิจกรรมอืน ่ ๆ
โรงเรียนวัดหนองอ้อ(ธรรมธรใยประชาสามัคคี) ตาบลหนองอ้อ อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี สานักงานเขตพื้นทีก ่ ารศึกษาราชบุรี เขต ๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานเกณฑ์การตรวจข้อที่ ๙
ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ บี ูรณาการ คุณธรรมอัตลักษณ์ หรือตามกรอบแนวคิดโรงเรียน คุณธรรม สพฐ. โดยผ่ านโครงงานคุณธรรมและกิจกรรมอื่นๆ เอกสารหลักฐาน ประกอบ
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่บรู ณาการคุณธรรมอัตลักษณ์ 1. แผนการจัดประสบการณ์ เรื่ องเศรษฐกิจพอเพียง ระดับอนุบาล 2 2.แผนการจัดประสบการณ์ เรื่ อง เศรษฐกิจพอเพียง ระดับอนุบาล 3 3.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาภาษาไทย ด้ านความรับผิดชอบ 4.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริ ตและความรับผิดชอบ 5.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ด้ านความพอเพียง 6.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาภาษาอังกฤษ ด้ านความรับผิดชอบและอุดมการณ์คณ ุ ธรรม 7.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาภาษาไทย ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริ ตและความพอเพียง 8.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ ด้ านอุดมการณ์คณ ุ ธรรม 9.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาภาษาอังกฤษ ด้ านความรับผิดชอบ 10.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริ ตและอุดมการณ์คณ ุ ธรรม 11.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาภาษาไทย ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริ ต 12.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาภาษาไทย ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริ ตและความรับผิดชอบ 13.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ ด้ านความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สจุ ริ ต และความพอเพียง 14.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ด้ านความรับผิดชอบ 15.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ด้ านความพอเพียง 16.แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาภาษาอังกฤษ ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริ ต
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ ี ๒ หน่ วยการเรียนรู้ท่ ี ๔ ตามหา รายวิชา ภาษาไทย เรื่อง การอ่ านออกเสียง ภาคเรียนที่ ๑
๑๕ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เวลา ๒ ชั่วโมง ชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ ๑
๑.มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ ท ๑.๑ ใช้ กระบวนการอ่านสร้ างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ ตดั สินใจ แก้ ปัญหาในการ ดาเนินชีวิตและมีนิสยั รักการอ่าน ตัวชีว้ ัด ท ๑.๑ ป๑/๑. อ่านออกเสียงคา คาคล้ องจอง และข้ อความสันๆ ้ ป๑/๔. เล่าเรื่ องย่อจากเรื่ องที่อา่ น ป๑/๕. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อา่ น ป๑/๘. มีมารยาท ในการอ่าน ๒. จุดประสงค์ การเรียนรู้ ๑. อ่านออกเสียงคาจากเรื่ องได้ K ๒. อ่านสะกดคาจากเรื่ องได้ P ๓. มีความใฝ่ เรี ยนรู้ A ๓. สาระสาคัญ การอ่านเป็ นการสร้ างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ ตดั สินใจ แก้ ปัญหาในการดาเนินชีวิต และ ช่วยให้ นกั เรี ยนมีนิสยั รักการอ่าน ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร - มีความรู้ความเข้ าใจและสามารถสื่อสารกับครูและเพื่อนได้ อย่างถูกต้ องเหมาะสม ๒. ความสามารถในการคิด - คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้ างสรรค์ สร้ างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา - ใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาไทยตัดสินใจแก้ปัญหา - คิดตัดสินใจโดยคานึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - นากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม - ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - เลือกใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูลเพื่อพัฒนาตนเองด้านการเรียนรู้ ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ ด้านความรู้ (Knowledge : K) ๑. อ่านออกเสียงคาจากเรื่องได้ ๕.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process : P) ๑. อ่านสะกดคาจากเรือ่ งได้ ๕.๓ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude : A) ๑. มีความใฝ่เรียนรู้ ๖.จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ๖.๑ ทักษะของคนในศตวรรษที่ ๒๑ คือการเรียนรู้ ๓R X ๘C Reading (อ่านออก) (W) Riting (เขียนได้) (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีมและภาวะผู้นา (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communication, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ทักษะการเปลี่ยนแปลง (Change) ๖.๒ ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ของคนในศตวรรษที่ ๒๑ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility) ๖.๓ คุณลักษณะของคนในศตวรรษที่ ๒๑ คุณลักษณะด้านการทางาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นา คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นาตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ ความเคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ ความสานึกพลเมือง ๗. การบูรณาการ โครงการสถานศึกษาพอเพียง โครงการโรงเรียนคุณธรรม อาเซียนศึกษา คุณธรรม ค่านิยม ๑๒ ประการ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม อื่น ๆ (ระบุ).................................................................................................................. ๘. ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน/ร่องรอยแสดงความรู้) กิจกรรมการอ่านออกเสียงบทเรียน เรื่อง ตามหา ๙. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ ๑ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ครูสนทนากับนักเรียนให้นักเรียนดูภาพจากบทเรียน เรื่อง ตามหา หน้า ๓๕ - ๓๖ ขั้นที่ ๒ สารวจค้นหา นักเรียนตอบว่าภาพจากบทเรียนนี้เกี่ยวกับอะไร เนื้อเรื่องควรจะเป็นอย่างไร ขั้นที่ ๓ หาความหมาย ครูอ่านบทเรียนเรื่อง ตามหา ให้นักเรียนฟัง ให้นักเรียนอ่านตามครูพร้อมกัน นักเรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกันฝึกอ่านบทเรียน เรื่อง ตามหา นักเรียนคนใดอ่านไม่คล่อง เพื่อนในกลุ่มคอยช่วยเหลือให้ คาแนะนา ถ้าคานั้นเพื่อนในกลุ่มอ่านไม่ได้ครูคอยให้คาแนะนาเพิ่มเติม (แทรกคุณธรรมเรื่องความรับผิดชอบ ตามกรอบแนว คิดคุณธรรม ๕ ประการ)
ขั้นที่ ๔ ความคิดรวบยอด ครูและนักเรียนร่วมกันเล่าเรื่องจากการอ่านบทเรียน นักเรียนร่วมกันตอบว่าจากบทเรียนมี ละครใดบ้าง นักเรียนอยากเป็นตัวละครใดในเรื่อง เพราะเหตุใด ขั้นที่ ๕ ทดสอบและนาไปใช้ นักเรียนทดสอบการอ่านออกเสียงบทเรียนเป็นรายบุคคล ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่อง ตามหา จากหนังสือแบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ทักษะภาษา ชั้น ป.๑ เล่ม ๑ หน้า ๕๙ - ๖๐ ๑๐. สื่อการสอน ๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้น ป.๑ ๒. หนังสือแบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทยทักษะภาษา ชั้น ป.๑ เล่ม ๑ ๑๑. แหล่งเรียนรู้ในหรือนอกสถานที่ ๑. ห้องสมุดโรงเรียน ๑๒. การวัดและประเมินผล - สังเกตพฤติกรรมการอ่าน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ - ประเมินการตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐
ตัว
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 จานวนนับ 21 ถึง 100 เรื่อง การนับทีละ 10 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 17 ชั่วโมง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาววาสนา อินทร์แก้ว
มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1: เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลที่เกิดขึ้น จากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และการนาไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.1/1:บอกจานวนของสิ่งต่าง ๆ แสดงสิ่งต่าง ๆ ตามจานวนที่กาหนด และอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลข ไทย แสดงจานวนนับไม่เกิน 100 และ 0 สาระสาคัญ การนับสิ่งต่างๆ อาจนับทีละ 10 ดังนี้ 1 สิบ (หรือสิบ) 2 สิบ (หรือยี่สิบ) 3 สิบ 4 สิบ 5 สิบ 6 สิบ 7 สิบ 8 สิบ 9 สิบ 10 สิบ (หรือหนึ่งร้อย) จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับการนับทีละ 10 ได้ 2. อ่านและเขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจานวน 10 20 30 ... 100 ได้ สาระการเรียนรู้ การนับทีละ 10 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 3. ความสามารถในการให้เหตุผล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทางาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ครูสนทนากับนักเรียน เรื่องการใช้จานวนนับเพื่อบอกปริมาณของสิ่งต่าง ๆ เช่น ทาอย่างไรเราจะรู้วา่ เรามีสมุดอยู่กี่เล่ม (ใช้การ นับ) ทาอย่างไรจึงจะรู้ว่าในห้องเรียนเรามีนักเรียนกี่คน (ใช้การนับ) ครูอธิบายว่าเราใช้การนับเพื่อบอกปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ทบทวนจานวนนับ 1 ถึง 20 โดยครูชูบัตรภาพมัดไม้ไอศกรีม ทีละ 1 บัตร แล้วให้นักเรียนบอกจานวนในบัตรภาพ เช่น 9 10 15 20
ขั้นสอน ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน แจกไม้ไอศกรีมให้กลุ่มละ 100 อัน ให้นักเรียนในกลุ่มช่วยกันนับไม้ไอศกรีมและมัด ด้วยยางรัด มัดละ 10 อัน จะได้กลุ่มละกี่มัด (10 มัด) จากนั้นครูหยิบมัดไม้ขึ้นมา 1 มัด แล้วถามว่า “ไม้ 1 มัด มีกี่อัน” (10 อัน หรือ 1 สิบ) ครูชูไม้ 2 มัด แล้วแนะนาว่า ไม้ 2 มัด มี 2 สิบ หรือ “ยี่สิบ” ครูชูไม้ 3 มัด แล้วแนะนาว่า ไม้ 3 มัด มี 3 สิบ หรือ “สามสิบ” จัดกิจกรรมทานองเดียวกัน โดยครูชูมัดไม้แสดงจานวน 40 50 60 70 80 90 ให้นักเรียนบอกจานวน และออกมาเขียนเป็น ตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทยบนกระดาน ครูแนะนาการอ่านพร้อมเขียนเป็นตัวหนังสือ ดังนี้
บัตรภาพ
ตัวเลขฮินดู ตัวเลขไทย อารบิก
ตัวหนังสือ
10
๑๐
สิบ
20
๑๐
ยี่สิบ
30
๓๐
สามสิบ
40
๔๐
สี่สิบ
50
๕๐
ห้าสิบ
60
๖๐
หกสิบ
70
๗๐
เจ็ดสิบ
80
๘๐
แปดสิบ
90
๙๐
เก้าสิบ
ค ครูบอกจานวน แล้วให้นักเรียนแสดงบัตรภาพตามที่ครูบอก เช่น 70 80 40 30 100 ครูแนะนาว่า 10 20 30 ... 100 เป็นการนับเพิ่มทีละ 10 ตามลาดับ ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 2 การนับทีละ 10 เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน เฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 2 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ -สิบ ยี่สิบ สามสิบ ... หนึ่งร้อย เป็นการนับเพิ่มทีละสิบตามลาดับ -ตัวเลขฮินดูอารบิก 10 20 30 ... 100 ตัวเลขไทย ๑๐ ๒๐ ๓๐ ... ๑๐๐ เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแสดงจานวน เขียนเป็น ตัวหนังสือ อ่านว่า สิบ ยี่สิบ สามสิบ ... หนึ่งร้อย ตามลาดับ สื่อการเรียนรู้ ไม้ไอศกรีม มัดละ 10 อัน กลุ่มละ 10 มัด (จานวนกลุ่มละ 100 อัน) ยางรัด บัตรภาพมัดไม้ไอศกรีมแสดงจานวน ใบงานที่ 2 การนับทีละ 10 การสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม 1. คุณธรรมในเรื่อง ความมีระเบียบวินัย ดังนี้ : ขณะจัดการเรียนการสอนครูได้เน้นย้าให้นักเรียนควบคุมตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอย่างมีระเบียบ มีความตั้งใจ เล่าเรียนอย่างสม่าเสมอ มีการเตรียมตัวอ่านบทเรียนมาก่อนที่จะถึงเวลาเรียนและทบทวนบทเรียนทุกครั้งภายหลังจากการเรียน มีการ เตรียมอุปกรณ์การเรียนอย่างครบถ้วนและพร้อมสาหรับการใช้อยู่ตลอดเวลา รักษาร่างกาย เสื้อผ้า และเครื่องใช้ให้สะอาด เป็นระเบียบ เรียบร้อย พูดจาให้ไพเราะ มีกิริยาที่สุภาพอ่อนโยน มีการประพฤติปฏิบัติที่ถูกต้องตามกาลเทศะ และรู้จักควบคุมอารมณ์และจิตใจให้ อยู่ในกรอบที่ดีงาม 2. คุณธรรมในเรื่อง ความรับผิดชอบ ในขั้น : การสอน ดังนี้ : ครูมุ่งเน้นให้นักเรียนปฏิบัติหน้าที่ของตนเองในการทาใบงานที่ครูมอบหมายให้ ให้สาเร็จเรียบร้อยด้วยดี และพยายามปรับปรุง งานและวิธีปฏิบัติงานให้ดีขึ้น และมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสานึกได้อยู่เสมอในการปฏิบัติงาน เอาใจใส่ติดตามผล ไม่ทอดทิ้ง ยอม รับผิดชอบผลของหน้าที่การงานที่ตนเองกระทาทั้งดีไม่ดี ไม่ปัดความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนแก่ผู้อื่น และครูอธิบายเกี่ยวกับความ รับผิดชอบในการศึกษาเล่าเรียนเพิ่มเติม ดังนี้ ความรับผิดชอบในการศึกษาเล่าเรียน หมายถึง การที่นักเรียนศึกษาเล่าเรียนจนประสบความสาเร็จ ตามความมุง่ หมาย ด้วยความ ขยันหมั่นเพียร อดทน เข้าห้องเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงตามเวลาที่กาหนด เมื่อมีปัญหาหรือไม่เข้าใจในบทเรียนก็พยายาม ศึกษาค้นคว้า ซักถามอาจารย์ให้เข้าใจ เมื่อทาแบบฝึกหัดผิดก็ยอมรับว่าผิดแล้วพยายามแก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้องด้วยตนเองอยู่เสมอ มี ผลการเรียนผ่านทุกวิชาในทุกภาคเรียน
3. คุณธรรมในเรื่อง ความตรงต่อเวลา ในขั้น : การสอน ดังนี้ : ครูมุ่งเน้นให้นักเรียนเป็นคนที่มีความตรงต่อเวลาในทุกครั้งที่มีการนัดหมายหรือมีการกาหนดส่งงาน ต่างๆ เช่น เมื่อครูให้นักเรียนทาใบงานและกาหนดระยะเวลาส่งงาน นักเรียนควรส่งงานให้ตรงกาหนด ครูชี้แนะการพัฒนา ตนเองให้เป็นคนตรงต่อเวลาว่าเราสามารถทาได้โดยการที่เรารู้จกั แบ่งเวลาให้เหมาะสมกับกิจกรรมต่างๆ เป็นการจัดระเบียบ ให้กับชีวิต สาหรับในการทางานหรือการเรียนก็คือ การพยายามทางานหรือส่งงานให้เสร็จก่อนเวลาเพื่อให้มีเวลาตรวจทานและ ส่งงานให้ตรงตามกาหนด รวมถึงหาก
นัดหมายกับผู้ใดควรที่จะเผื่อเวลาในการเดินทาง เพื่อไปให้ ถงึ จุดหมายก่อนเวลาสักเล็กน้ อย เพื่อจะได้ ไม่ต้องเร่ง รี บ รวมถึงมีเวลาเตรี ยมความพร้ อมให้ กบั ตนเอง การที่เราเป็ นคนตรงต่อเวลานัน้ จะช่วยให้ เราเป็ นคนที่ขยัน ขันแข็ง เอาการเอางาน มีความกระตือรื อร้ น รักที่จะเรี ยนรู้อยู่เสมอ ช่วยให้ เราไม่เฉื่อยชา ทันสมัย มีชีวิตชีวา เป็ น คนมีวินยั สามารถจัดการกับงานหรื อสิ่งที่ผ่านเข้ ามาได้ อย่างเป็ นระเบียบ จึงทาให้ เป็ นคนที่ประสบความสาเร็จ มี ความก้ าวหน้ าในชีวิต รวมถึงเป็ นคนน่าเชื่อถือ และผู้อื่นให้ ความไว้ วางใจแก่เรา สิ่งเหล่านี ้เป็ นประโยชน์สว่ นหนึง่ ของการตรงต่อเวลา ที่สาคัญเหนืออื่นใดคือจะช่วยให้ เราสามารถจัดการกับชีวิตของเราได้ อย่างราบรื่ นและมี ความสุข 4. คุณธรรมในเรื่อง ความซื่อสัตย์ ในขั้น : การสอน ดังนี้ : ครูมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความประพฤติตรงทั้งต่อเวลา และต่อหน้าที่ มีความจริงใจปลอดจากความรูส้ ึก ลาเอียง หรืออคติ ไม่ใช้เล่ห์กลคดโกงทั้งทางตรงและทางอ้อม รับรู้หน้าที่ของตนเอง ปฏิบัติอย่างเต็มที่และถูกต้อง เช่น ในขณะที่ครู ให้นักเรียนทาใบงาน ให้นักเรียนฝึกทาด้วยตนเองอย่างเต็มความสามารถ หากยังทาไม่ได้ให้ขอคาแนะนาจากเพื่อนผู้รู้หรือจากครูให้ ช่วยอธิบายอีกครั้ง นักเรียนไม่ควรลอกเพื่อน หรือให้ใครทาให้ เพราะถ้านักเรียนทาอย่างนั้นถือว่านักเรียนไม่มีความซื่อสัตย์ทั้งต่อ ตนเองและต่อผู้อื่น กลายเป็นคนไม่ดีโกหกตัวเองและผู้อื่น ไม่น่าเชื่อถือ ครูชี้แนะว่าการพัฒนาตนเองเพื่อให้มีคุณภาพ โดยเน้นปฏิบัติ เป็นคนมีนิสัยซื่อสัตย์สุจริต จะเป็นการสร้างคุณค่าให้ตนเองและเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม สภาพโดยส่วนรวมของสังคมจะดีขึ้น ประเทศจะพัฒนาเต็มที่ และสังคมจะมีแต่ความสงบสุข ดังนั้นเรามาสร้างนิสัยซื่อสัตย์ตั้งแต่วันนี้เพื่อเป็นคนดีและมีคุณค่า
การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่ต้องการวัด 1. ด้ านความรู้ 2. ด้ านทักษะ กระบวนการ 3. ด้ านคุณลักษณะ ที่พงึ ประสงค์
วิธีวัด ตรวจใบงานที่ 2 สังเกตพฤติกรรมด้ าน ทักษะกระบวนการ สังเกตพฤติกรรม ด้ านคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์
เครื่ องมือวัด ใบงานที่ 2 แบบสังเกตพฤติกรรม ด้ านทักษะกระบวนการ แบบสังเกตพฤติกรรม ด้ านคุณลักษณะ ที่พงึ ประสงค์
เกณฑ์ การประเมิน ผ่ านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึน้ ไป นักเรี ยนได้ คะแนนระดับ พอใช้ ขนึ ้ ไป นักเรี ยนได้ คะแนนระดับ ปานกลางขึน้ ไปถือว่ าผ่ าน เกณฑ์
แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ของเล่นและของใช้ (1) วันที่ 1 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2564
รหัสวิชา ว11101 ปีการศึกษา 2564 เวลา 1 ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวธนิดา สกุลจุมจัง
1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึด เหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2. ตัวชี้วัดชั้นปี อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่ใช้ทาวัตถุซึ่งทาจากวัสดุชนิดเดียว หรือหลายชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.1 ป. 1/1) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สังเกตและอธิบายของเล่นและของใช้ได้ (K) 2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกีย่ วกับวิทยาศาสตร์ (A) 4. ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A) 5. สื่อสารและนาความรู้เรือ่ งของเล่นและของใช้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ (P) การเรียนรู้ที่บูรณาการ 1. หลักธรรม คุณธรรม จริยธรรม เรื่อง วิธีการแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 2. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ความพอประมาณ 4. สาระสาคัญ สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราแบ่งเป็นของเล่นและของใช้ โดยของเล่นเป็นสิ่งที่ทาให้ผู้เล่นได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน เช่น ตุ๊กตา หุ่นยนต์ และลูกโป่ง และของใช้เป็นสิ่งของสาหรับใช้งาน เช่น จอบ สายยาง และกระถาง เครื่องมือที่สร้างขึ้นได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 1. นักเรียนมีทักษะความสามารถตามสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2. นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. นักเรียนมีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ด้านคุณลักษณะ/เจตคติ (A) 1. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ 2. นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับเนื้อหาอย่างเหมาะสม 3. การมีส่วนร่วมในการทางานกลุ่ม
5. สาระการเรียนรู้ ลักษณะของของเล่นและของใช้ 6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (ทาเครื่องหมาย √ หน้าข้อ) [ ] 1. มีความสามารถในการสื่อสาร [ ] 2. มีความสามารถในการคิด [ ] 3. มีความสามารถในการแก้ปัญหา [ ] 4. มีความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต [ ] 5. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ทาเครื่องหมาย √ หน้าข้อ) [ ] 1. รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ [ ] 2. ซื่อสัตย์สุจริต [ ] 3. มีวินัย [ ] 4. ใฝ่เรียนรู้ [ ] 5. อยูอ่ ย่างพอเพียง [ ] 6. มุง่ มัน่ ในการทางาน [ ]7. รักความเป็นไทย [ ] 8. มีจิตสาธารณะ 8. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ทาเครื่องหมาย √ หน้าข้อ) [ ] 1. การสังเกต [ ] 2. การวัด [ ] 3. การจาแนกประเภท [ ] 4. การใช้จานวน [ ] 5. การจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล [ ] 6. การลงความเห็นจากข้อมูล [ ] 7. การพยากรณ์ [ ] 8. การตั้งสมมติฐาน [ ] 9. การกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ [ ] 10. การกาหนดและควบคุมตัวแปร [ ] 11. การทดลอง [ ] 12. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป [ ] 13. การสร้างแบบจาลอง [ ] 14. การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปชกับสเปชและ เสปชกับเวลา 9. ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (ทาเครื่องหมาย √ หน้าข้อ) [ ] 1. ด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา [ ] 2. ด้านการสื่อสารสนเทศและการรูเ้ ท่าทันสื่อ [ ] 3. ด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีมและภาวะผู้นา [ ] 4. ด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม [ ] 5. ด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร [ ] 6. ด้านการทางาน การเรียนรู้ และการ พึ่งตนเอง ชิ้นงานหรือภาระงาน ทายภาพของเล่นและของใช้
10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูดาเนินการทดสอบก่อนเรียนโดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐานของ นักเรียน ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 1) ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยการถามคาถามดังต่อไปนี้ – สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราแบ่งเป็นอะไรบ้าง (แนวคาตอบ สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราแบ่งเป็นของเล่นและของใช้) 2) นักเรียนร่วมกันตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคาตอบ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง ของเล่นและของใช้ ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ร่วมกับแบบกลับด้าน ชั้นเรียน (flipped classroom) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับของเล่นและของใช้ ที่ครูมอบหมายให้ไป เรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานาเสนอข้อมูลหน้าห้องเรียน (2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทาภาระงานที่ได้รบั มอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึกของนักเรียน และถาม คาถามเกี่ยวกับภาระงาน ดังนี้ – ของเล่นใช้เพื่อทาอะไร (แนวคาตอบ ใช้เล่นเพื่อให้เกิดความเพลิดเพลิน) – ของใช้ใช้เพื่อทาอะไร (แนวคาตอบ ใช้ทางานเพื่อให้งานเสร็จ) (3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคาถามที่นักเรียนสงสัยจากการทาภาระงานอย่างน้อยคนละ 1 คาถาม ซึ่งครูให้ นักเรียนเตรียมมาล่วงหน้า และให้นักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความคิดเห็น (4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ของเล่นเป็นสิ่งที่ช่วยให้เรา เพลิดเพลินและสนุกสนาน ส่วนของใช้เป็นสิ่งของสาหรับใช้ทางาน 2) ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) (1) ครูให้นักเรียนศึกษาเกีย่ วกับของเล่นและของใช้ จากหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่าสิ่งของต่างๆ รอบตัวเราแบ่งเป็นของเล่นและของใช้ ของเล่นเป็นสิ่งที่ช่วยให้ผู้เล่นได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ส่วนของใช้เป็น สิ่งของสาหรับใช้งาน (2) ครูเตรียมบัตรภาพของเล่นและของใช้ต่างๆ มาให้นักเรียนลองทายภาพของเล่นและของใช้โดยปฏิบัติกิจกรรมตาม ขั้นตอน ดังนี้ – จัดนักเรียนเป็น 2 แถว หาตัวแทนถือบัตรภาพ 1 คน โดยให้ยกขึ้นทีละแผ่นให้เพื่อนดู เพียงครู่หนึ่งแล้วเก็บลง – เพื่อนคนแรกของแต่ละแถวบอกว่าสิ่งที่เห็นเป็นของเล่นหรือของใช้ ใครตอบได้ก่อนและถูกต้องจะได้เก็บบัตรภาพไว้ – เปลี่ยนให้คนที่ 2 ทากิจกรรม และเปลี่ยนไปจนหมดแถว – แถวที่ได้บัตรภาพมากทีส่ ุดเป็นฝ่ายชนะ
ตัวอย่างบัตรภาพ
รถบรรทุกจาลอง
ลูกแก้ ว
หม้อ
ลูกบอล
ถุงเท้า
ว่าว
หน้ากาก
รองเท้ า
แก้วน้า
หมอน
โต๊ะ
ตุ๊กตา
(3) ครูคอยแนะนาช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียนทุก คนซักถามเมื่อมีปัญหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกจิ กรรม โดยใช้แนวคาถาม เช่น – ของเล่นที่นักเรียนเห็นมีอะไรบ้าง (แนวคาตอบ รถบรรทุกจาลอง ลูกแก้ว ว่าว หน้ากาก ลูกบอล และตุ๊กตา) – ของใช้ที่นักเรียนเห็นมีอะไรบ้าง (แนวคาตอบ ถุงเท้า แก้วน้า หมอน หม้อ โต๊ะ และรองเท้า)
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกจิ กรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราแบ่งเป็นของ เล่นและของใช้ 4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูเชื่อมโยงความรู้เข้ากับบูรณาการอาเซียน โดยอธิบายถึงประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีลูกข่างเป็นของเล่น ได้แก่ ไทย เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย และลาว
ตัวอย่างลูกข่าง (2) ครูให้นักเรียนลองสังเกตสิ่งของต่างๆ ในบริเวณบ้าน แล้วจาแนกออกเป็นของเล่นหรือของใช้ และวาดภาพ ระบายสีสิ่งของต่างๆ ที่สังเกตให้สวยงาม พร้อมทั้งนับจานวนว่าของเล่นมีจานวนเท่าใด และของใช้มีจานวนเท่าใด 5) ขั้นประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ (2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง (3) นักเรียนและครูร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและการนาความรูท้ ี่ได้ไปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยการให้ตอบคาถาม เช่น – สิ่งที่ช่วยให้ผู้เล่นได้รับความสนุกสนานและเพลิดเพลินเรียกว่าอะไร – สิ่งที่มีไว้สาหรับใช้งานเรียกว่าอะไร(แทรกคุณธรรม ความพอเพียง โดยทาพอประมาณให้เหมาะสมกับตนเอง ไม่ฟุ้งเฟ้อและฝึก ตนเองให้จักความพอดี พอเหมาะ ถ้าไม่พอดี ไม่พอเหมาะก็จะเกิดความทุจริตในใจได้) ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับของเล่นและของใช้ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิด หรือผังมโนทัศน์
11. สื่อการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 2. บัตรภาพสิ่งของต่างๆ เช่น รถบรรทุกจาลอง ถุงเท้า แก้วน้า ลูกแก้ว ว่าว หมอน หม้อ หน้ากาก โต๊ะ ลูกบอล รองเท้า และตุ๊กตา 3. ดินสอ 1 แท่ง 4. กระดาษ 1 แผ่น 5. สีไม้/สีเทียน 1 กล่อง 6. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 7. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 8. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 9. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 12. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) 1. 2. 3.
ซักถามความรู้เรื่อง ของเล่นและ ของใช้ ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน ทดสอบก่อนเรียนโดยใช้ แบบทดสอบก่อนเรียน
1.
2.
ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวิทยาศาสตร์ (A) ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 1. ประเมินทักษะการคิดโดยการ เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและ สังเกตการทางานกลุ่ม ใช้แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินพฤติกรรมในการ ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคล เป็นรายบุคคลโดยการสังเกตและ หรือรายกลุ่มโดยการสังเกต ใช้แบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ การทางานกลุ่ม
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการตามกรอบแนวคิดคุณธรรม สพฐ. รหัสวิชา อ 12101 ภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 15 Fruit เรื่อง Thai Fruits เวลา 1 ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวกนกพิชญ์ ดวงธนู 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ต 1.1 ป. 2/3 เลือก/ระบุภาพหรือสัญลักษณ์ตรงตามความหมายของกลุ่มคา และประโยคที่ฟัง ต 1.2 มีทักษะในการสื่อสารทางภาษา แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและแสดงความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ ต 1.2 ป. 2/5 บอกความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ใกล้ตัว หรือกิจกรรมต่าง ๆ ตามแบบที่ฟัง 2. สาระสาคัญ การเลือกภาพหรือสัญลักษณ์ให้ตรงตามความหมายของกลุ่มคา และประโยคเกี่ยวกับผลไม้ของไทยที่ฟังแล้วบอกความรู้สึก และคุณค่าของผลไม้ของไทยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ฟังแล้วออกเสียง และบอกความหมายของคาศัพท์ และประโยคเกี่ยวกับผลไม้ของไทย ได้ถูกต้อง (P) 3.2 อ่านและเขียนคาศัพท์ และประโยคเกี่ยวกับผลไม้ของไทยได้ถูกต้อง (K) 3.3 สนทนาเกี่ยวกับความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบและบอกคุณค่าของผลไม้ของไทยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (P,A) 4. สาระการเรียนรู้ ภาพและความหมายของกลุ่มคา ประโยค เกี่ยวกับผลไม้ของไทยและการบอกความรูส้ ึก คุณค่าของผลไม้ของไทยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง ดังนี้ 4.1 Content : Thai fruits 4.2 Vocabulary : Thai fruits: durian, mangosteen, orange, pine apple, tamarind, pomelo, jack fruit 4.3 Function: Talking about Thai fruits 4.4 Dialogue: 1. A : What Thai fruit do you like? B : I like pomeloes. 2. A : Do you like pomeloes? B : Yes, I do, / No, I don’t.
5. สมรรถนะสาคัญ ความสามารถในการสื่อสาร 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่อย่างพอเพียง 7. ภาระงาน/ชิ้นงาน 7.1 ภาระงาน 7.1.1 ฟังแล้วออกเสียง และบอกความหมายของคาศัพท์ และประโยคเกี่ยวกับผลไม้ของไทย 7.1.2 อ่านและเขียนคาศัพท์เกี่ยวกับผลไม้ของไทยเป็นภาษาอังกฤษ 7.1.3 สนทนาบอกความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบ และบอกคุณค่าเกี่ยวกับผลไม้ของไทย 7.2 ชิ้นงาน 7.2.1 ใบงานที่ 1 เรื่อง Vocabulary about Thai fruits 7.2.2 ใบงานที่ 2 เรื่อง Mind mapping of Thai fruits 7.2.3 ใบงานที่ 3 เรื่อง I like Thai fruits 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (Warm up) 8.1.1 ผู้เรียนทบทวนคาศัพท์เกี่ยวกับผลไม้ที่ผู้เรียนรู้จัก โดยให้ผู้เรียนบอกคาศัพท์เป็นภาษาอังกฤษ และสะกดคาศัพท์พร้อมกัน เพื่อสารวจความรูเ้ ดิมเกี่ยวกับชื่อผลไม้เป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นเงื่อนไขความรู้ของผู้เรียน 8.1.2 ครูนาเสนอแผนภูมิเพลง coconut ครูร้องเพลงให้ผู้เรียนฟังแล้วให้ผู้เรียนร้องตาม และแสดงท่าทางประกอบเพลง เป็นการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ซึ่งเป็นภูมิคุ้มกันของครูในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ 8.1.3 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยการสนทนากับผู้เรียนเป็นภาษาไทยถึงเนื้อหาของเพลงที่ร้องว่า เป็นชื่อของ ผลไม้ของไทย คือ มะพร้าวซึ่งมีประโยชน์มากมาย และให้ผู้เรียนบอกประโยชน์ของมะพร้าว แล้วบอกว่าใครชอบ หรือไม่ชอบมะพร้าวบ้าง จากนั้นครูโยงให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญของการเรียนรู้ เรื่อง ผลไม้ของไทยเป็นภาษา อังกฤษ เพื่อสามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้ว่าชื่อผลไม้ของไทยเป็นภาษาอังกฤษเรียกว่าอะไรบ้าง การสนทนาเกี่ยวกับประโยชน์ของมะพร้าว เป็นการสารวจความรูเ้ ดิมของผู้เรียนว่ารูว้ ่า คุณค่าทางสารอาหารหรือไม่ และประโยชน์อื่น ๆ เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันของครู และการ ให้ผู้เรียนรู้แนวทางการเรียนรู้เกี่ยวกับ เรื่องผลไม้ของไทย เป็นความมีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกัน
มีความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษทั้งเก่ง ปานกลาง และอ่อน เพื่อให้ผู้เรียนได้ช่วยเหลือกันระหว่างปฏิบัติงานกลุ่มเป็นการ ส่งเสริมให้เกิดคุณธรรมความเอื้ออาทรต่อกัน และเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในการสอนของครูให้บรรลุตามจุดประสงค์ ผู้เรียนแต่ละ กลุ่มเลือกประธาน เลขานุการ และวางแผนการปฏิบัติกิจกรรมอย่างรอบคอบ โดยแบ่งหน้าที่การ ทางานให้สมาชิกภายในกลุ่ม ตามความสามารถของแต่ละบุคคล โดยคุณครูพูดสอนสอดแทรกให้ผู้เรียนได้ทราบว่ากิจกรรมการทางานกลุ่ม เป็น การฝึกให้ผู้เรียนพอประมาณในการทางานได้เหมาะสมกับความสามารถของตนเอง 8.2 ขั้นการสอน (Presentation) 8.2.1 ผู้เรียนบอกว่าชื่อผลไม้ของไทยที่ผู้เรียนรู้จักเป็นภาษาไทย เช่น มะม่วง ขนุน ทุเรียน เป็นต้น เป็นการสารวจ ความรู้เดิมของผู้เรียนเกี่ยวกับชื่อผลไม้เป็นเงื่อนไขความ พอประมาณกับความรู้เดิมของผู้เรียนและสมเหตุสมผลกับความสามารถ ของผู้เรียน 8.2.2 ครูยกภาพผลไม้ขึ้น 1 ภาพ แล้วยกตัวอย่างการถามและตอบคาถาม จากภาพ เช่น T : What is it in this picture? (ภาพนี้เป็นภาพอะไร) ครูยกภาพมังคุดขึ้น SS : Fruit./ ผลไม้ T : What do you call this fruit in Thai? (ภาษาไทยเรียกว่าอะไร) SS : มังคุด. T : Good. In English, it is a mangosteen. Repeat after me twice, please. “Mangosteen” (ภาษาอังกฤษ คือ mangosteen ให้ผู้เรียนอ่านตามครู 2 เที่ยว) SS : Mangosteen, Mangosteen ครูมีความพอเพียง พอประมาณในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้เหมาะสม กับความสนใจและวัยของผู้เรียน 8.2.3 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเลือกบัตรภาพผลไม้ที่กลุ่มตนเองชอบ 1 บัตรภาพแล้วร่วมกันศึกษาคาอ่านจาก Dictionary หรือ ปรึกษาครู แล้วแต่ละกลุ่มฝึกออกเสียงคาศัพท์ของภาพร่วมกันภายในกลุ่ม แล้วพูดสอนสอดแทรกว่าการทา กิจกรรมดังกล่าว เป็นการปลุกฝังด้านความรับผิดชอบตามคาสั่งที่ได้รับมอบหมาย และการปลูกฝังคุณธรรม ความมีน้าใจของผู้เรียนเก่ง ช่วยเหลือผู้เรียนอ่อนในการอ่านออกเสียง 8.2.4 แต่ละกลุ่มอ่านคาศัพท์ชื่อผลไม้ตามบัตรภาพของกลุ่มตนเองแล้วให้กลุ่มอื่นๆ ออกเสียงตาม 2 ครั้ง ทาสลับกัน จนครบทุกกลุ่ม โดยครูคอยแนะนาการออกเสียงให้ถูกต้อง และสอนสอดแทรกให้นักเรียนได้รู้ว่าการทากิจกรรมดังกล่าวเป็นการปลูกฝังด้านความรับผิดชอบ และอุดมการณ์คุณธรรมการมีมารยาทที่ดีในการฟัง ฝึกสมาธิในการฟัง และเป็นการให้ความรู้การออกเสียง คาศัพท์ที่ถูกต้องแก่ผู้เรียน
8.2.5 ครูติดบัตรภาพผลไม้ทุกภาพบนกระดานดา จากนั้นยกบัตรคาชื่อผลไม้ให้ผู้เรียนฝึกสะกดคาทีละคาพร้อมกันทั้งชั้น เช่น T : Look at this word, how do you spell it? Please spell together twice. (ภาพมังคุด) SS : m-a-n-g-o-s-t-e-e-n, mangosteen m-a-n-g-o-s-t-e-e-n, mangosteen T : Well done. Now, I want a volunteer to stick this word with its picture on the board. (ครูขออาสาสมัคร 1 คน ไปติดบัตรคานี้ให้ตรงกับบัตรภาพของคาศัพท์คานี้) SS : I can. (ผู้เรียนอาสาสมัครนาบัตรคาไปติดไว้ใต้บัตรภาพที่ตรงกับคาศัพท์) ครูและผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเช่นนี้ไปจนครบทุกคา และสอนสอดแทรกว่าการฝึกให้ผู้เรียนอ่านออกเสียงและฝึกการสะกดคาศัพท์ เป็นการให้ความรู้แก่ผู้เรียน และ ฝึกให้ผู้เรียนเกิดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ และเกิดมิติทางสังคม คือ ผู้เรียนช่วยเหลือซึ่งกันและกันในขณะที่ออกสียงและสะกด คาศัพท์ 8.3 ขั้นฝึก (Practice) 8.3.1 ครูนาบัตรคาที่ติดใต้บัตรภาพออก แล้วผู้เรียนอาสาสมัครชี้ภาพในบัตร ภาพบน กระดานให้เพื่อนในชั้นเรียน ช่วยกันออกเสียงและสะกดคาศัพท์พร้อมกันทั้งชั้น ครูชมเชย ช่วยเหลือ และแก้ไขเมื่อผู้เรียนออกเสียงผิด หรือสะกดผิด กิจกรรมในขั้นนี้เป็นการเน้นย้าความรูเ้ รื่องการออกเสียงคาศัพท์และ การสะกดคาศัพท์ที่ถูกต้องให้แก่ผู้เรียน 8.3.2 ผู้เรียนแต่ละคนรับใบงานที่ 1 เรื่อง Vocabulary about Thai fruits เพื่อทากิจกรรมเขียนคาศัพท์เกี่ยวกับ ผลไม้ แล้วผู้เรียนจับคู่เปรียบเทียบคาตอบกันภายในกลุ่ม ถ้า คาตอบไม่ตรงกัน ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น หลังจากนั้นผู้เรียน และครูร่วมกันเฉลยคาตอบพร้อมกันทั้งชั้น คุณสอนสอดแทรกเพิ่มเติมว่าการทากิจกรรมข้างต้นเป็นการฝึก คุณธรรมความรับผิดชอบและเกิดมิติทางสังคมในการทางานร่วมกันและยอมรับเหตุผลซึ่งกันและกัน และเกิดความรู้ในการ เขียนคาศัพท์ 8.3.3 ผู้เรียนรับใบงานที่ 2 เรื่อง Mind mapping of Thai fruits โดยทากิจกรรมเขียนคาศัพท์เกี่ยวกับผลไม้ที่ เรียนมาแล้ว วาดภาพผลไม้ และระบายสีตามความจริงหรือตามความชอบ เพื่อส่งครูในชั่วโมงเรียนต่อไป คุณครูสอน สอดแทรกว่าการทากิจกรรมดังกล่าว เป็นการฝึกให้ผู้เรียนได้ฝึกคุณธรรมความรับผิดชอบ และเป็นภูมิคุ้มกันให้ผู้เรียน คือให้ผู้เรียนมีความรู้ที่จะสามารถนาความรูเ้ กี่ยวกับคาศัพท์ไปใช้ในการเรียนบทต่อไป 8.3.4 ครูยกบัตรภาพขนุน แล้วยกตัวอย่างบทสนทนาถามตอบเกี่ยวกับผลไม้ไทยที่ ชอบ ดังนี้ T : What Thai fruit do you like? I like jack fruits. และให้ผู้เรียนทั้งชั้นฝึกพูดประโยคคาถาม และคาตอบ ด้วยการพูดตามครู โดยครูจะชี้ที่ บัตรภาพทีละบัตร และฝึกพูดจนครบทุกภาพ เช่น T: What Thai fruit do you like? SS: What Thai fruit do you like? T: I like mangoes. (ชี้บัตรภาพมะม่วง) SS: I like mangoes.
T:
Do you like mangoes? SS: Do you like mangoes? T: Yes, I do. / No, I do not. SS: Yes, I do. / No, I do not. etc. คุณครูสอนสอดแทรกเพิ่มเติมว่าการทากิจกรรมดังกล่าว เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้การถามคาถาม และ การตอบคาถาม ทาให้เกิดความรู้และทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ 8.4 ขั้นนาไปใช้ (Production) 8.4.1 สุ่มผู้เรียน 3–5 คู่ ยืนขึ้นสนทนาให้เพื่อนๆ ในชั้นเรียนฟังโดยกาหนดเวลา คู่ละ 2 นาที ดังตัวอย่างประโยค เช่น S1: What Thai fruit do you like? S2: I like durians. Do you like durians? S1: Yes, I do. S2: What Thai fruit do you like? S2: I like pomeloes. Do you like pomeloes? S1: No, I do not. คุณครูสอนสอดแทรกว่ากิจกรรมนี้เป็นการฝึกทักษะภาษาอังกฤษ ฝึกความมั่นใจ และฝึกให้ผู้เรียนรู้จัก การวางแผน มีความรับผิดชอบในการฝึกซ้อม และฝึกเป็นผู้ฟังที่ดี 8.5 ขั้นสรุป (Wrap up) 8.5.1 ผู้เรียนทากิจกรรมในใบงานที่ 3 เรื่อง I like Thai fruits โดยครูกาหนดเวลาทากิจกรรม 10 นาที การกาหนดเวลา ให้ผู้เรียนทางานเป็นการฝึกให้ผู้เรียนมีความพอประมาณกับเวลา และรู้จักการวางแผนในการทางาน เป็นภูมิคุ้มกันในตัวของผู้เรียน มี ความรู้และทักษะในการใช้ภาษา มีความรอบคอบในการทางาน และมีคุณธรรมความรับผิดชอบ 8.5.2 ผู้เรียนร่วมตอบคาถาม / แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคาถาม “ถ้าผู้เรียนมีความจาเป็นที่จะเลือกบริโภคผลไม้ ผู้เรียน จะพิจารณาเลือกผลไม้เพื่อบริโภคตามหลักหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร” (ความพอประมาณกับรายได้หาง่ายมีใน ท้องถิ่น มีคุณประโยชน์ต่อสุขภาพความมีเหตุผลในการเลือกชนิดของผลไม้) 9. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 9.1 เพลง coconut 9.2 บัตรคา 9.3 บัตรภาพ 9.4 ใบงานที่ 1 เรื่อง Vocabulary about Thai fruits 9.5 ใบงานที่ 2 เรื่อง Mind mapping of Thai fruits 9.6 ใบงานที่ 3 เรื่อง I like Thai fruits
10. การวัดผลและประเมินผล รายการวัดและประเมินผล 1. ฟังแล้วออกเสียงและบอก ความหมายของคาศัพท์ และประโยค เกี่ยวกับผลไม้ของไทยได้ถูกต้อง
วิธีการ -สังเกตการออกเสียง -ตรวจใบงานที่ 1
2. อ่านและเขียนคาศัพท์ และประโยค เกี่ยวกับผลไม้ของไทยได้ถูกต้อง -สังเกตการณ์ อ่านออกเสียง -ตรวจใบงานที่ 2 3. สนทนาเกี่ยวกับความรู้สึกชอบ หรือไม่ชอบและบอกคุณค่าของผลไม้ ของไทยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ -ตรวจใบงานที่ 3 พอเพียง -สังเกต เศรษฐกิจพอเพียง
การสนทนา การสนทนา
เครื่องมือ -แบบประเมินพฤติกรรม การเรียน
เกณฑ์การประเมิน -ผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพดี
-ใบงานที่ 1
-ตอบถูกต้อง 7 ข้อขึ้นไป
-แบบประเมินพฤติกรรม การเรียน
-ผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพดี
-ใบงานที่ 2
-ใบงานที่ 3 -แบบประเมินพฤติกรรม การเรียน
ขึ้นไป
ขึ้นไป -ผ่านเกณฑ์เขียนถูก 5 คาขึ้นไป -ผ่านเกณฑ์เขียนถูก 3 ข้อขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพดีขึ้นไป
เพลง Coconut หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 15 เรื่ อง Fruit แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 1 เรื่ อง Thai fruits ชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 2 C –O – C – O – N – U – T C –O – C – O – N – U – T COCONUT COCONUT
Oh……..
บัตรคา ประกอบหน่วยการเรียนรู้ที่ 15 เรื่อง Fruit แผนการจัดการเรียนรู้เรือ่ ง Thai fruits ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
durian
mangosteen
orange
pineapple
tamarind
pomelo jack fruit
แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน สิ่งที่วัด 1. ออกเสียงและบอกความหมายของคาศัพท์ชื่อผลไม้ของไทย 2. การอ่านประโยคถามตอบเกี่ยวกับผลไม้ของ 3. การเขียนประโยคถามตอบบอกความรูส้ ึกต่อผลไม้ของไทย 4. เลือกบริโภคผลไม้ของไทยได้เหมาะสมกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คะแนนรวม 1-4 คะแนน ระดับคุณภาพ 1 = ปรับปรุง คะแนนรวม 5-8 คะแนน ระดับคุณภาพ 2 = ปานกลาง คะแนนรวม 9-12 คะแนน ระดับคุณภาพ 3 = ดี เลขที่ ชื่อ – สกุล
ออกเสียง/ บอก ความหมาย 3
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
ด.ช.กิตติพศ เวคะวาทยา นนท์ ด.ช.ประติกร พวงน้อย ด.ช.จิรายุ เงาะอาศัย ด.ช.มัญชุภาพ แสงฮวด ด.ช.เผ่าราบ หล้าพุฒิ ด.ช.วีรภาพ เอี่ยมโบราณ ด.ช.ธีทัต ประดิษฐ์พงษ์ ด.ช.ปกรณ์ ด.ญ.วรพิชชา แคล้วเครือ ด.ญ.ดุจดาว แสงเป่า ด.ญ.พัชรีพร นาคงาม ด.ญ.อรนิดา อ่วมสน ด.ญ.รัชนก พวงน้อย
พฤติกรรมที่ต้องสังเกต อ่าน เขียน เลือก ประโยค ประโยค บริโภค ฯ ถามตอบ 3
3
3
2
2
2
2
2 2 3 2 3 2 3 3 3 2 2 2
2 2 3 2 2 2 3 3 3 2 2 2
2 2 3 2 2 2 3 3 3 2 2 2
3 2 3 2 3 2 3 3 3 2 2 2
รวม 12
ผลการ ประเมิน (ระดับ คุณภาพ)
(คะแน น) 8 ปานกลาง 9 8 12 8 10 8 12 12 12 8 8 8
ดี ปานกลาง ดี ปานกลาง ดี ปานกลาง ดี ดี ดี ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
เลขที่ ชื่อ – สกุล
ออกเสียง/ บอก ความหมาย 3
14 15 16 17 18
ด.ญ.ณัฐนาถ กุลชร ด.ญ.ปนัดดา ตันตระกูล ด.ญ.สุรีรัตน์ แก่นแก้ว ด.ญ.พิณณภา ด.ญ.ชญาดา แซ่ลิ้ม
3 2 2 2 3
ลงชื่อ
พฤติกรรมที่ต้องสังเกต อ่าน เขียน เลือก ประโยค ประโยค บริโภค ฯ ถามตอบ 3
3
3
3 2 2 2 3
3 2 2 2 3
3 2 2 2 3
กนกพิชญ์ ดวงธนู ผู้ประเมิน ( นางสาวกนกพิชญ์ ดวงธนู)
รวม 12
ผลการ ประเมิน (ระดับ คุณภาพ)
(คะแ นน) 12 ดี 8 ปานกลาง 8 ปานกลาง 8 ปานกลาง 12 ดี
องค์ประกอบ การประเมิน ออกเสียงและบอก ความหมายของ คาศัพท์ชื่อผลไม้ของ ไทย การอ่านประโยคถาม ตอบเกี่ยวกับผลไม้ของ
3
เกณฑ์การประเมิน / น้าหนักคะแนน 2
ปศพ.
1
ออกเสียงคาศัพท์ได้ ถูกต้อง
ออกเสียงคาศัพท์ ได้ ถูกต้อง 4-5 คา
ออกเสียงคาศัพท์ ได้น้อย กว่า 4 คา
3
อ่านได้ถูกต้อง
อ่านได้ถูกต้อง
อ่านผิดบ้างไม่
3
ทุกคา ชัดเจน และ คล่องแคล่ว การเขียนประโยคถาม เขียนประโยคถาม ตอบบอกความรู้สึกต่อ ตอบบอกความรู้สึก ผลไม้ของไทย ต่อผลไม้ของไทยได้ ถูกต้องทุกประโยค เลือกบริโภคผลไม้ของ ไทยได้เหมาะสมกับ หลัก
คะแนนรวม
บอกชื่อผลไม้ในการ บริโภคพร้อมให้ เหตุผลประกอบได้ ถูกต้องอย่างน้อย 3 เหตุผล
ชัดเจน แต่ไม่คล่องแคล่ว ชัดเจน ไม่คล่องแคล่ว เขียนประโยคถามตอบ บอกความรู้สึกต่อผลไม้ ของไทยได้ถูกต้อง 3-4 ข้อ บอกชื่อผลไม้ในการ บริโภคพร้อมให้เหตุผล ประกอบได้ถูกต้องอย่าง น้อย 1-2 เหตุผล
เขียนประโยคถามตอบ บอกความรู้สึกต่อผลไม้ ของไทยได้ถูกต้องน้อย กว่า 3 ข้อ บอกชื่อผลไม้ในการ บริโภคแต่ไม่สามารถยก เหตุผลประกอบได้
รวม
เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการเรียน เกณฑ์การตัดสินผลคะแนน คะแนนเต็ม 12 คะแนน เกณฑ์ผ่านอยู่ในระดับดีขึ้นไป การแปลความหมายของคะแนน : ช่วงคะแนน : ผลการประเมิน 9 – 12 ความสามารถด้านการอ่านออกเสียงอยู่ในระดับดี 5–8 ความสามารถด้านการอ่านออกเสียงอยู่ในระดับปานกลาง 1–4 ความสามารถด้านการอ่านออกเสียงอยู่ในระดับปรับปรุง
3
3
12