แผนการจัดการเรียนรู้ สพฐ จริง Flipbook PDF

แผนการจัดการเรียนรู้ สพฐ จริง

103 downloads 105 Views

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

1

สารบัญ หัวข้อ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ - มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด - สาระสาคัญ - จุดประสงค์การเรียนรู้ - สาระการเรียนรู้ - การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ - การวัดและประเมินผล - บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ - แบบประเมินผลการเรียนรู้ - ใบความรู้ - ใบกิจกรรม - ใบกิจกรรม (เฉลย)

หน้า 2 14 17 26 28 28 28 28 28 29 31 32 33 35 39 41 42

2

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่างๆในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงานการเปลี่ยนแปลงแทนที่ใน ระบบนิเวศความหมายของประชากรปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทาง ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมรวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชัน้

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.3

1. อธิบายปฏิสัมพันธ์ของ องค์ประกอบของ ระบบนิเวศที่ได้จากการ สารวจ

 ระบบนิเวศประกอบด้วยองค์ประกอบที่มีชีวิต เช่น พืช สัตว์ จุลินทรีย์ และ องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต เช่น แสง น้า อุณหภูมิ แร่ธาตุ แก๊ส องค์ประกอบ เหล่านี้มีปฏิสัมพันธ์กัน เช่น พืชต้องการแสง น้า และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ในการสร้างอาหาร สัตว์ต้องการอาหาร และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ในการดารงชีวิต เช่น อุณหภูมิ ความชื้น องค์ประกอบทั้งสองส่วนนี้ จะต้อง มีความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม ระบบนิเวศจึงจะสามารถคงอยู่ต่อไปได้

2. อธิบายรูปแบบ ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต รูปแบบต่างๆในแหล่งที่ อยู่เดียวกันที่ได้จากการ สารวจ

 สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่างๆ เช่น ภาวะพึ่งพากัน ภาวะอิงอาศัย ภาวะเหยื่อกับผู้ล่า ภาวะปรสิต  สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยู่ร่วมกันในแหล่งที่อยู่เดียวกัน ในช่วงเวลา เดียวกัน เรียกว่า ประชากร  กลุ่มสิ่งมีชีวิตประกอบด้วยประชากรของสิง่ มีชีวิตหลายๆ ชนิด อาศัยอยู่ ร่วมกันในแหล่งที่อยู่เดียวกัน

3. สร้างแบบจาลองในการ  กลุ่มสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบ่งตามหน้าที่ได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้ผลิต อธิบายการถ่ายทอด ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ สิ่งมีชีวิตทั้ง 3 กลุ่มนี้ พลังงานในสายใยอาหาร มีความสัมพันธ์กัน ผู้ผลิตเป็นสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารได้เอง โดยกระบวนการ 4. อธิบายความสัมพันธ์ของ สังเคราะห์ด้วยแสง ผู้บริโภคเป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง และ ผู้ผลิต ผู้บริโภค และ ต้องกินผู้ผลิตหรือสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร เมื่อผู้ผลิตและผู้บริโภคตายลง ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ใน จะถูกย่อยโดยผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ ซึ่งจะเปลี่ยนสารอินทรีย์เป็นสาร ระบบนิเวศ อนินทรีย์กลับคืนสู่สิ่งแวดล้อม ทาให้เกิดการหมุนเวียนสารเป็นวัฏจักร 5. อธิบายการสะสมสารพิษ จานวนผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์จะต้องมีความเหมาะสม ในสิ่งมีชีวิตในโซ่อาหาร จึงทาให้กลุ่มสิง่ มีชีวติ อยู่ได้อย่างสมดุล

3

ชัน้

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

6. ตระหนักถึงความสัมพันธ์  พลังงานถูกถ่ายทอดจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคลาดับต่างๆ รวมทั้งผู้ย่อยสลาย ของสิ่งมีชีวิต และ สารอินทรีย์ในรูปแบบสายใยอาหารที่ประกอบด้วย โซ่อาหารหลายโซ่ สิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศ ที่สัมพันธ์กัน ในการถ่ายทอดพลังงานในโซ่อาหาร พลังงานที่ถูกถ่ายทอดไป โดยไม่ทาลายสมดุลของ จะลดลงเรือ่ ยๆ ตามลาดับของการบริโภค ระบบนิเวศ  การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ อาจทาให้มีสารพิษสะสมอยู่ในสิ่งมีชีวิตได้ จนอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และทาลายสมดุลในระบบนิเวศ ดังนั้น การดูแลรักษาระบบนิเวศให้เกิดความสมดุล และคงอยู่ตลอดไปจึงเป็น สิ่งสาคัญ

สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชัน้

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.3

1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม โดย ใช้แบบจาลอง

 ลัก ษณะทางพั น ธุก รรมของสิ่ ง มี ชีวิ ต สามารถถ่ า ยทอดจากรุ่ น หนึ่ ง ไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้โดยมียีนเป็นหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม  โครโมโซมประกอบด้ ว ยดี เ อ็ น เอ และโปรตี น ขดอยู่ ใ นนิ ว เคลี ย ส ยีน ดี เ อ็ น เอ และโครโมโซมมี ค วามสั ม พั นธ์ กั น โดยบางส่ ว นของ ดีเอ็นเอทาหน้าที่เป็นยีนที่กาหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิต  สิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซม 2 ชุด โครโมโซมที่เป็นคู่กันมีการเรียงลาดับของ ยีนบนโครโมโซมเหมือนกัน เรียกว่า ฮอมอโลกัสโครโมโซม ยีนหนึ่ง ที่ อยู่ บ นคู่ ฮ อมอโลกั ส โครโมโซมอาจมี รู ป แบบแตกต่ า งกั น เรี ย ก แต่ล ะรูปแบบของยีนที่แตกต่างกันนี้ว่า แอลลีล ซึ่งการเข้าคู่กันของ แอลลีลต่างๆ อาจส่งผลทาให้สิ่งมีชีวิตมีลักษณะที่แตกต่างกันได้  สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีจานวนโครโมโซมคงที่ มนุษย์มีจานวนโครโมโซม 23 คู่ เป็ น ออโตโซม 22 คู่ และโครโมโซมเพศ 1 คู่ เพศหญิ ง มีโครโมโซมเพศเป็น XX เพศชายมีโครโมโซมเพศเป็น XY

2. อธิบายการถ่ายทอดลักษณะ

 เมนเดลได้ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่วชนิดหนึ่ง

4

ชัน้

ตัวชี้วัด ทางพันธุกรรมจากการผสม โดยพิจารณาลักษณะเดียวที่ แอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่าง สมบูรณ์ 3. อธิบายการเกิดจีโนไทป์และ ฟีโนไทป์ของลูกและคานวณ อัตราส่วนการเกิดจีโนไทป์และ ฟีโนไทป์ของรุ่นลูก

สาระการเรียนรู้แกนกลาง





4. อธิบายความแตกต่างของ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและ ไมโอซิส

 



5. บอกได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของยีน หรือโครโมโซมอาจทาให้เกิดโรค ทางพันธุกรรมพร้อมทั้งยกตัวอย่าง โรคทางพันธุกรรม 6. ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ เรื่อง โรคทางพันธุกรรม โดยรู้ว่า ก่อนแต่งงานควรปรึกษาแพทย์ เพื่อตรวจและวินิจฉัยภาวะเสี่ยง ของลูกที่อาจเกิดโรคทาง พันธุกรรม





และนามาสู่หลักการพื้นฐานของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของ สิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซมเป็น 2 ชุด ยีนแต่ละตาแหน่งบนฮอมอโลกัส โครโมโซมมี 2 แอลลีล โดยแอลลีลหนึ่งมาจากพ่อ และอีกแอลลีล มาจากแม่ ซึ่งอาจมีรูปแบบเดียวกัน หรือแตกต่างกัน แอลลีลที่แตกต่าง กันนี้ แอลลีลหนึ่งอาจมีการแสดงออกข่มอีกแอลลีลหนึ่งได้ เรียก แอลลีลนั้นว่าเป็นแอลลีลเด่น ส่วนแอลลีลที่ถูกข่มอย่างสมบูรณ์ เรียกว่าเป็นแอลลีลด้อย เมื่อมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ แอลลีลที่เป็นคู่กันในแต่ละฮอมอโลกัส โครโมโซมจะแยกจากกันไปยังเซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์ โดยแต่ละ เซลล์สืบพันธุ์จะได้รับเพียง 1 แอลลีล และจะเข้าคู่กับแอลลีลที่ตาแหน่ง เดียวกันของอีกเซลล์สืบพันธุ์หนึ่ง เมื่อเกิดการปฏิสนธิจนเกิดเป็นจีโนไทป์ และแสดงฟีโนไทป์ในรุ่นลูก การแบ่งเซลล์ของสิง่ มีชีวิตมี 2 แบบ คือ ไมโทซิสและไมโอซิส ไมโทซิสเป็นการแบ่งเซลล์เพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ร่างกาย ผลจากการแบ่ง จะได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์ ที่มีลักษณะและจานวนโครโมโซมเหมือน เซลล์ตั้งต้น ไมโอซิสเป็นการแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สบื พันธุ์ ผลจากการแบ่งจะได้ เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ ที่มีจานวนโครโมโซมเป็นครึง่ หนึ่งของเซลล์ตั้งต้น เมื่อเกิดการปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์ ลูกจะได้รับการถ่ายทอด โครโมโซมชุดหนึ่งจากพ่อและอีกชุดหนึ่งจากแม่ จึงเป็นผลให้รุ่นลูก มีจานวนโครโมโซมเท่ากับพ่อแม่และจะคงที่ในทุกๆรุ่น การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซมส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต เช่น โรคธาลัสซีเมียเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของยีน กลุ่มอาการดาวน์เกิดจากจากการเปลี่ยนแปลง จานวนโครโมโซม โรคทางพันธุกรรมสามารถถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูกได้ ดังนั้น ก่อนแต่งงานและมีบุตร จึงควรป้องกันโดยการตรวจและวินิจฉัยภาวะ เสี่ยงจากการถ่ายทอดโรคทางพันธุกรรม

5

ชัน้

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

7. อธิบายการใช้ประโยชน์จาก  มนุษย์เปลี่ยนแปลงพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติเพื่อให้ได้ สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม และ สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะตามต้องการ เรียกสิ่งมีชีวิตนี้ว่า สิ่งมีชีวิตดัดแปร ผลกระทบที่อาจมีต่อมนุษย์และ พันธุกรรม สิ่งแวดล้อมโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวม  ในปัจจุบันมนุษย์มีการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมเป็น ได้ จานวนมาก เช่น การผลิตอาหาร การผลิตยารักษาโรค การเกษตร 8.ตระหนักถึงประโยชน์และ อย่างไรก็ตาม สังคมยังมีความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบของสิ่งมีชีวิต ผลกระทบของสิง่ มีชีวิตดัดแปร ดัดแปรพันธุกรรมที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ซึ่งยังทาการติดตาม พันธุกรรมที่อาจมีต่อมนุษย์และ ศึกษาผลกระทบดังกล่าว สิ่งแวดล้อม โดยการเผยแพร่ ความรู้ที่ได้จากการโต้แย้ง ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีข้อมูล สนับสนุน 9. เปรียบเทียบความหลากหลายทาง  ความหลากหลายทางชีวภาพมี 3 ระดับ ได้แก่ ความหลากหลายของ ชีวภาพในระดับชนิดสิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศ ความหลากหลายของชนิดสิ่งมีชีวิต และความหลากหลาย ในระบบนิเวศต่างๆ ทางพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพนี้มีความสาคัญต่อ 10. อธิบายความสาคัญของความ การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทาง หลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อ ชีวภาพสูงจะรักษาสมดุลได้ดีกว่าระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทาง การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ชีวภาพต่ากว่า นอกจากนี้ ความหลากหลายทางชีวภาพ และต่อมนุษย์ ยังมีความสาคัญต่อมนุษย์ในด้านต่างๆ เช่น ใช้เป็นอาหาร ยารักษาโรค 11. แสดงความตระหนักในคุณค่า วัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่างๆ ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของทุกคนในการดูแล และความสาคัญของความ รักษาความหลากหลายทางชีวภาพให้คงอยู่ หลากหลายทางชีวภาพ โดยมี ส่วนร่วมในการดูแลรักษาความ หลากหลายทางชีวภาพ

6

สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชัน้ ม.3

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1. ระบุสมบัติทางกายภาพและการใช้  พอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม เป็นวัสดุที่ใช้มากในชีวิตประจาวัน ประโยชน์วัสดุประเภทพอลิเมอร์  พอลิเมอร์เป็นสารประกอบโมเลกุลใหญ่ที่เกิดจากโมเลกุลจานวนมาก เซรามิก และวัสดุผสม โดย รวมตัวกันทางเคมี เช่น พลาสติก ยาง เส้นใย ซึ่งเป็นพอลิเมอร์ที่มี ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และ สมบัติแตกต่างกัน โดยพลาสติกเป็นพอลิเมอร์ที่ขึ้นรูปเป็นรูปทรงต่างๆ สารสนเทศ ได้ ยางยืดหยุ่นได้ ส่วนเส้นใยเป็นพอลิเมอร์ ที่สามารถดึงเป็นเส้นยาว 2. ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ ได้ พอลิเมอร์จงึ ใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน วัสดุประเภท พอลิเมอร์ เซรามิก  เซรามิกเป็นวัสดุที่ผลิตจากดิน หิน ทราย และแร่ธาตุต่างๆ และวัสดุผสม โดยเสนอแนะ จากธรรมชาติ และส่วนมากจะผ่านการเผาที่อุณหภูมิสูง เพื่อให้ได้ แนวทางการใช้วัสดุอย่างประหยัด เนื้อสารที่แข็งแรง เซรามิกสามารถทาเป็นรูปทรงต่างๆ ได้ สมบัติทั่วไป และคุ้มค่า ของเซรามิกจะแข็ง ทนต่อการสึกกร่อน และเปราะ สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้ เช่น ภาชนะที่เป็นเครื่องปั้นดินเผา ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์  วัสดุผสมเป็นวัสดุที่เกิดจากวัสดุตั้งแต่ 2 ประเภท ที่มีสมบัติแตกต่างกัน เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น เช่น เสื้อกันฝนบางชนิดเป็นวัสดุผสม ระหว่างผ้ากับยาง คอนกรีตเสริมเหล็กเป็นวัสดุผสมระหว่างคอนกรีต กับเหล็ก  วัสดุบางชนิดสลายตัวยาก เช่น พลาสติก การใช้วัสดุอย่างฟุ่มเฟือยและ ไม่ระมัดระวังอาจก่อปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม 3. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมถึง  การเกิดปฏิกิริยาเคมีหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารเป็น การจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอม การเปลี่ยนแปลงที่ ทาให้เกิดสารใหม่ โดยสารที่เข้าทาปฏิกิริยา เมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใช้ เรียกว่า สารตั้งต้น สารใหม่ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา เรียกว่า ผลิตภัณฑ์ แบบจาลองและสมการข้อความ การเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถเขียนแทนได้ด้วยสมการข้อความ  การเกิดปฏิกิริยาเคมี อะตอมของสารตั้งต้นจะมีการจัดเรียงตัวใหม่ได้ เป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งมีสมบัติแตกต่างจากสารตั้งต้น โดยอะตอมแต่ละชนิด ก่อนและหลังเกิดปฏิกิริยาเคมีมีจานวนเท่ากัน 4. อธิบายกฎทรงมวล โดยใช้  เมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี มวลรวมของสารตั้งต้นเท่ากับมวลรวมของ หลักฐานเชิงประจักษ์ ผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นไปตามกฎทรงมวล 5. วิเคราะห์ปฏิกิริยาดูดความร้อนและ ปฏิกิริยาคายความร้อน จากการ

 เมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี มีการถ่ายโอนความร้อนควบคู่ไปกับการจัดเรียง

7

ชัน้

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนของ ปฏิกิริยา

ตัวใหม่ของอะตอมของสาร ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนความร้อน จากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ระบบเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน ปฏิกิริยาที่มี การถ่ายโอนความร้อนจากระบบออกสู่สิ่งแวดล้อมเป็นปฏิกิริยา คายความร้อน โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการวัดอุณหภูมิ เช่น เทอร์มอมิเตอร์ หัววัดที่สามารถตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของ อุณหภูมิได้อย่างต่อเนื่อง

6. อธิ บายปฏิ กิ ริ ยาการเกิ ดสนิ มของ  ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจาวันมีหลายชนิด เช่น ปฏิกิริยาการเผาไหม้ เหล็ กปฏิ กิ ริ ยาของกรดกั บโลหะ การเกิดสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏิกิริยาของกรดกับเบส ปฏิ กิ ริ ย าของกรดกั บ เบส และ ปฏิกิรยิ าของเบสกับโลหะ การเกิดฝนกรด การสังเคราะห์ด้วยแสง ปฏิกิริยา ปฏิ กิ ริ ยาของเบสกั บโลหะ โดยใช้ เคมีสามารถเขียนแทนได้ด้วยสมการข้อความ ซึ่งแสดงชื่อของสารตั้งต้นและ หลักฐานเชิ งประจั กษ์ และอธิ บาย ผลิตภัณฑ์ เช่น เชื้อเพลิง + ออกซิเจน → คาร์บอนไดออกไซด์ + น้า ปฏิกิริยาการเผาไหม้ การเกิดฝนกรด  ปฏิกิริยาการเผาไหม้เป็นปฏิกิริยาระหว่างสารกับออกซิเจน สารที่ การสั ง เคราะห์ ด้ ว ยแสง โดยใช้ เกิดปฏิกิรยิ าการเผาไหม้ส่วนใหญ่เป็นสารประกอบที่มีคาร์บอนและ ส า ร ส น เ ท ศ ร ว ม ทั้ ง เ ขี ย น ไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ ซึ่งถ้าเกิดการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์จะได้ สมการข้ อ ความแสดงปฏิ กิ ริ ย า ผลิตภัณฑ์เป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน้า ดังกล่าว  การเกิดสนิมเหล็กเกิดจากปฏิกิริยาเคมีระหว่างเหล็ก น้า และ ออกซิเจน ได้ผลิตภัณฑ์เป็นสนิมของเหล็ก  ปฏิกิริยาการเผาไหม้และการเกิดสนิมของเหล็กเป็นปฏิกิริยาระหว่าง สารต่างๆ กับออกซิเจน  ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ กรดทาปฏิกิริยากับโลหะได้หลายชนิด ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของโลหะและแก๊สไฮโดรเจน  ปฏิกิริยาของกรดกับสารประกอบคาร์บอเนตได้ผลิตภัณฑ์เป็น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เกลือของโลหะ และน้า  ปฏิกิริยาของกรดกับเบสได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของโลหะและน้า หรือ อาจได้เพียงเกลือของโลหะ  ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะบางชนิดได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของเบสและ แก๊สไฮโดรเจน  การเกิดฝนกรดเป็นผลจากปฏิกิริยาระหว่างน้าฝนกับออกไซด์ของ ไนโตรเจนหรือออกไซด์ของซัลเฟอร์ ทาให้น้าฝนมีสมบัติเป็นกรด  การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเป็นปฏิกิริยาระหว่าง แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กับน้า โดยมีแสงช่วยในการเกิดปฏิกิริยา ได้ผลิตภัณฑ์เป็นน้าตาลกลูโคสและออกซิเจน

8

ชัน้

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

7. ระบุประโยชน์และโทษของ  ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจาวันมีทั้งประโยชน์และโทษต่อสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ และสิ่งแวดล้อม จึงต้องระมัดระวังผลจากปฏิกิริยาเคมี ตลอดจน สิ่งแวดล้อม และยกตัวอย่างวิธี รู้จักวิธปี ้องกันและแก้ปัญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่พบ ป้องกันและแก้ปัญหาจากปฏิกิริยา ในชีวิตประจาวัน เคมีที่พบในชีวิตประจาวันจากการ  ความรู้เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน สืบค้นข้อมูล และสามารถบูรณาการกับคณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ 8. ออกแบบวิธีแก้ปัญหาใน วิศวกรรมศาสตร์ เพื่อใช้ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพตามต้องการ ชีวิตประจาวันโดยใช้ความรู้ หรืออาจสร้างนวัตกรรมเพื่อป้องกันและแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี โดยบูรณา ปฏิกิริยาเคมี เช่น การเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนอันเนื่องมาจาก การวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ปฏิกิริยาเคมี การเพิ่มปริมาณผลผลิต เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชัน้ ม.3

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง  เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าครบวงจรจะมีกระแสไฟฟ้าออกจากขั้วบวก ความต่างศักย์กระแสไฟฟ้า และ ผ่านวงจรไฟฟ้าไปยัง ขั้วลบของแหล่งกาเนิดไฟฟ้า ซึ่งวัดค่าได้จาก ความต้านทาน และคานวณ แอมมิเตอร์ ปริมาณที่เกี่ยวข้องโดยใช้สมการ  ค่าที่บอกความแตกต่างของพลังงานไฟฟ้าต่อหน่วยประจุระหว่างจุด V = IR จากหลักฐานเชิงประจักษ์ 2 จุด เรียกว่าความต่างศักย์ ซึ่งวัดค่าได้จากโวลต์มิเตอร์ 2. เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง  ขนาดของกระแสไฟฟ้ามีค่าแปรผันตรงกับความต่างศักย์ระหว่างปลาย กระแสไฟฟ้าและความต่าง ทั้งสองของตัวนา โดยอัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์และ ศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้ามีค่าคงที่ เรียกค่าคงที่นี้ว่า ความต้านทาน 3. ใช้โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ในการ วัดปริมาณทางไฟฟ้า

9

ชัน้

ตัวชี้วัด 4. วิเคราะห์ความต่างศักย์ไฟฟ้าและ กระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าเมื่อต่อ ตัวต้านทานหลายตัวแบบอนุกรม และแบบขนานจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ 5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดง การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม และขนาน 6. บรรยายการทางานของชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรจาก ข้อมูลที่รวบรวมได้ 7. เขียนแผนภาพและต่อชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรไฟฟ้า

8. อธิบายและคานวณพลังงานไฟฟ้า โดยใช้สมการ W = Pt รวมทั้ง คานวณค่าไฟฟ้าขอเครื่องใช้ไฟฟ้า ในบ้าน 9. ตระหนักในคุณค่าของการเลือกใช้ เครื่องไฟฟ้า โดยนาเสนอวิธีการใช้ เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและ ปลอดภัย

สาระการเรียนรู้แกนกลาง  ในวงจรไฟฟ้าประกอบด้วยแหล่งกาเนิดไฟฟ้า สายฟ้า และอุปกรณ์ ไฟฟ้า โดยอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละชิ้นมีความต้านทานในการต่อ ตัวต้านทานหลายตัว มีทั้งต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน  การต่อตัวต้านทานหลายตัวแบบอนุกรมในวงจรไฟฟ้า ความต่างศักย์ ที่คร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวมีค่าเท่ากับผลรวมของความต่างศักย์ ที่คร่อมตัวต้านทานแต่ละตัว โดยกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทาน แต่ละตัวมีค่าเท่ากัน  การต่อตั วต้านทานหลายตัวแบบขนานในวงจรไฟฟ้า กระแสไฟฟ้ า ที่ผ่ านวงจรมี ค่า เท่า กับ ผลรวมของกระแสไฟฟ้า ที่ ผ่า นตั ว ต้า นทาน แต่ละตัว โดยความต่างศักย์ที่คร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวมีค่าเท่ากัน  ชิ้ น ส่ ว นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ มี ห ลายชนิ ด เช่ น ตั ว ต้ า นทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ ตัวเก็บประจุ โดยชิ้นส่วนแต่ละชนิดทาหน้าที่แตกต่าง กันเพื่อให้วงจรทางานได้ตามต้องการ  ตัวต้านทานทาหน้าที่ควบคุมปริมาณกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า ไดโอด ทาหน้าที่ให้กระแสไฟฟ้าผ่านทางเดียว ทรานซิส เตอร์ทาหน้าที่เป็น สวิ ต ช์ ปิ ด หรื อ เปิ ด วงจรไฟฟ้ า และควบคุ ม ปริ ม าณกระแสไฟฟ้ า ตัวเก็บประจุทาหน้าที่เก็บและคายประจุไฟฟ้า  เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์หลายชนิด ที่ทางานร่วมกัน การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์โดยเลือกใช้ชนิ้ ส่วน อิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมตามหน้าที่ของชิ้นส่วนนั้นๆ จะสามารถ ทาให้วงจรไฟฟ้าทางานได้ตามต้องการ  เครื่องใช้ไฟฟ้าจะมีค่ากาลังไฟฟ้าและความต่างศักย์กากับไว้ กาลังไฟฟ้ามีหน่วยเป็นวัตต์ ความต่างศักย์มีหน่วยเป็นโวลต์ ค่าไฟฟ้า ส่วนใหญ่คิดจากพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ทั้งหมด ซึ่งหาได้จากผลคูณของ กาลังไฟฟ้าในหน่วยกิโลวัตต์กับเวลาในหน่วยชั่วโมง พลังงานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นกิโลวัตต์ ชั่วโมง หรือหน่วย  วงจรไฟฟ้าในบ้านมีการต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบขนานเพื่อให้ ความต่างศักย์เท่ากัน ในชีวิตประจาวันจะต้องเลือกใช้เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ที่มีความต่างศักย์และกาลังไฟฟ้าให้เหมาะกับการใช้งาน และการใช้ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าต้องใช้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และ ประหยัด

10

ชัน้

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

10. สร้างแบบจาลองที่อธิบายการ เกิดคลื่น และบรรยาย ส่วนประกอบของคลื่น

 คลื่นเกิดจากการส่งผ่านพลังงานโดยอาศัยตัวกลางและไม่อาศัย ตัวกลาง ในคลื่นกล พลังงานจะถูกถ่ายโอนผ่านตัวกลางโดยอนุภาค ของตัวกลางไม่เคลื่อนที่ไปกับคลื่น คลื่นที่แผ่ออกมาจากแหล่งกาเนิด คลื่นอย่างต่อเนื่องและมีรูปแบบที่ซ้ากันบรรยายได้ด้วยความยาวคลื่น ความถี่ แอมพลิจูด 11. อธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและ  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นที่ไม่อาศัยตัวกลางในการเคลือ่ นที่มีความถี่ สเปกตรัม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ต่อเนื่องเป็นช่วงกว้างมาก เคลื่อนที่ในสุญญากาศด้วยอัตราเร็วเท่ากัน จากข้อมูลที่รวบรวมได้ แต่จะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วต่างกันในตัวกลางอื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 12. ตระหนักถึงประโยชน์และ แบ่งออกเป็นช่วงความถี่ต่างๆเรียกว่า สเปกตรัมของ อันตรายจาก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แต่ละช่วงความถี่มีชื่อเรียกต่างกัน ได้แก่ คลื่นวิทยุ โดยนาเสนอการใช้ประโยชน์ ไมโครเวฟ อินฟราเรด แสงที่มองเห็น อัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ และ ในด้านต่างๆ และอันตรายจาก รังสีแกมมา ซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  เลเซอร์เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นเดียวเป็นลาแสงขนาน ในชีวิตประจาวัน และมีความเข้มสูง นาไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น ด้านการสื่อสาร มีการใช้เลเซอร์สาหรับส่งสารสนเทศผ่านเส้นใยนาแสง โดยอาศัย หลักการสะท้อนกลับหมดของแสงด้านการแพทย์ใช้ในการผ่าตัด  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านอกจากจะสามารถนาไปใช้ประโยชน์แล้ว ยังมี โทษต่อมนุษย์ด้วย เช่น ถ้ามนุษย์ได้รับรังสีอัลตราไวโอเลตมากเกินไป อาจจะทาให้เกิดมะเร็งผิวหนัง หรือถ้าได้รังสีแกมมาซึ่งเป็น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูง และสามารถทะลุผ่านเซลล์และ อวัยวะได้ อาจทาลายเนื้อเยื่อหรืออาจทาให้เสียชีวิตได้เมื่อได้รับ รังสีแกมมาในปริมาณสูง 13. ออกแบบการทดลองและ ดาเนินการทดลองด้วยวิธี ที่เหมาะสมในการอธิบาย กฎการสะท้อนของแสง 14. เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ ของแสง แสดงการเกิดภาพจาก กระจกเงา

 เมื่อแสงตกกระทบวัตถุจะเกิดการสะท้อนซึ่งเป็นไปตามกฎการสะท้อน ของแสงโดยรังสีตกกระทบเส้นแนวฉาก รังสีสะท้อนอยู่ในระนาบ เดียวกัน และมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน ภาพจากกระจกเงา เกิดจากรังสีสะท้อนตัดกันหรือต่อแนวรังสีสะท้อนให้ตัดกัน โดย ถ้ารังสีสะท้อนตัดกันจริงจะเกิดภาพจริง แต่ถ้าต่อแนวรังสีสะท้อน ให้ไปตัดกัน จะเกิดภาพเสมือน

11

ชัน้

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

15. อธิบายการหักเหของแสงเมื่อผ่าน  เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางโปร่งใสที่แตกต่างกัน เช่น อากาศและน้า ตัวกลางโปร่งใสที่แตกต่างกัน อากาศและ แก้วจะเกิดการหักเห หรืออาจเกิดการสะท้อนกลับหมด และอธิบายการกระจายแสงของ ในตัวกลางทีแ่ สงตกกระทบ การหักเหของแสงผ่านเลนส์ทาให้เกิด แสงขาว เมื่อผ่านปริซึมจาก ภาพที่มีชนิดและขนาดต่างๆ หลักฐานเชิงประจักษ์  แสงขาวประกอบด้วยแสงสีต่างๆ เมื่อแสงขาวผ่านปริซึมจะเกิดการ 16. เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของ กระจายแสงเป็นแสงสีต่างๆ เรียกว่า สเปกตรัมของแสงขาว แสงแสดงการเกิดภาพจาก เมื่อเคลื่อนที่ในตัวกลางใดๆ ทีไ่ ม่ใช่อากาศ จะมีอัตราเร็วต่างกัน เลนส์บาง จึงมีการหักเหต่างกัน 17. อธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับ แสง และการทางานของ ทัศนอุปกรณ์จากข้อมูลที่ รวบรวมได้ 18. เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ ของแสง แสดงการเกิดภาพของ ทัศนอุปกรณ์และเลนส์ตา

 การสะท้อนและการหักเหของแสงนาไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ ที่เกี่ยวกับแสง เช่น รุ้ง มิราจ และอธิบายการทางานของทัศนอุปกรณ์ เช่น แว่นขยาย กระจกโค้งจราจร กล้องโทรทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ และแว่นสายตา  ในการมองวัตถุ เลนส์ตาจะถูกปรับโฟกัส เพื่อให้เกิดภาพชัดที่จอตา ความบกพร่องทางสายตา เช่น สายตาสั้น และสายตายาว เป็นเพราะ ตาแหน่งที่เกิดภาพไม่ได้อยู่ที่จอตาพอดี จึงต้องใช้เลนส์ในการแก้ไข เพื่อช่วยให้มองเห็นเหมือนคนสายตาปกติ โดยคนสายตาสั้นใช้เลนส์เว้า ส่วนคนสายตายาวใช้เลนส์นูน

19. อธิบายผลของความสว่างที่มีต่อ  ความสว่างของแสงมีผลต่อดวงตามนุษย์ การใช้สายตา ดวงตาจากข้อมูลที่ได้จาก ในสภาพแวดล้อมที่มีความสว่างไม่เหมาะสมจะเป็นอันตรายต่อดวงตา การสืบค้น เช่น การดูวัตถุในที่มีความสว่างมากหรือน้อยเกินไป การจ้อง 20. วัดความสว่างของแสงโดยใช้ ดูหน้าจอภาพเป็นเวลานาน ความสว่างบนพื้นที่รับแสงมีหน่วยเป็นลักซ์ อุปกรณ์ วัดความสว่างของแสง ความรู้เกี่ยวกับความสว่างสามารถนามาใช้จัดความสว่างให้เหมาะสม 21. ตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่อง กับการทากิจกรรมต่างๆ เช่น การจัดความสว่างที่เหมาะสมสาหรับ ความสว่างของแสงที่มีต่อดวงตา การอ่านหนังสือ โดยวิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหา และเสนอแนะการจัดความสว่าง ให้เหมาะสมในการทากิจกรรม ต่างๆ

12

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศ

ชัน้

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.3

1. อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์ รอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วง จากสมการ F = (Gm1m2)/r2

 ในระบบสุริยะมีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางโดยมีดาวเคราะห์และบริวาร ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และอื่นๆ เช่น วัตถุ คอยเปอร์โคจรอยู่โดยรอบ ซึ่งดาวเคราะห์ และวัตถุเหล่านี้โคจรรอบ ดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วง แรงโน้มถ่วงเป็นแรงดึงดูดระหว่างวัตถุ สองวัตถุ โดยเป็นสัดส่วนกับผลคูณของทั้งสอง และเป็นสัดส่วนผกผัน กับกาลังสองของระยะทางระหว่างวัตถุทั้งสอง แสดงได้โดยสมการ F = (Gm1m2)/r2 เมื่อ F แทนแรงโน้มถ่วงระหว่างมวลทั้งสอง G แทน ค่านิจโน้มถ่วงสากล m1 แทนมวลของวัตถุแรก m2 แทนมวลของวัตถุ ที่สอง และ r แทนระยะห่างระหว่างวัตถุทั้งสอง  การที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในลักษณะที่แกนโลกเอียงกับ แนวตั้งฉากของระนาบทางโคจร ทาให้ส่วนต่างๆ บนโลกได้รับปริมาณ แสงจากดวงอาทิตย์แตกต่างกันในรอบปี เกิดเป็นฤดู กลางวันกลางคืน ยาวไม่เท่ากัน และตาแหน่งการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ที่ขอบฟ้า และเส้นทางการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์เปลี่ยนไปในรอบปี ซึ่งส่งผล ต่อการดารงชีวิต

2. สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิด ฤดู และการเคลื่อนที่ปรากฏของ ดวงอาทิตย์

3. สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิด ข้างขึ้นข้างแรม การเปลี่ยนแปลง เวลาการขึ้นและตกของดวงจันทร์ และการเกิดน้าขึ้นน้าลง

 ดวงจันทร์โคจรรอบโลก โลกและดวงจันทร์โคจรรอบดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์รับแสงจากดวงอาทิตย์ครึ่งดวงตลอดเวลา เมื่อดวงจันทร์ โคจรรอบโลกได้หันส่วนสว่างมายังโลกแตกต่างกัน จึงทาให้คนบนโลก สังเกตส่วนสว่างของดวงจันทร์แตกต่างไปในแต่ละวันเกิดเป็นข้างขึ้น ข้างแรม  ดวงจันทร์โคจรรอบโลกในทิศทางเดียวกันกับที่โลกหมุนรอบตัวเอง จึงทาให้เห็น ดวงจันทร์ขึ้นช้าไปประมาณวันละ 50 นาที  แรงโน้มถ่วงที่ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์กระทาต่อโลก ทาให้เกิด ปรากฏการณ์น้าขึ้นน้าลง ซึ่งส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลก วันที่น้ามีระดับการขึ้นสูงสุดและลงต่าสุดเรียก วันน้าเกิด ส่วนวันที่ ระดับน้ามีการขึ้นและลงน้อยเรียก วันน้าตาย โดยวันน้าเกิด น้าตาย มีความสัมพันธ์กับข้างขึ้นข้างแรม

13

ชัน้

ตัวชี้วัด 4. อธิบายการใช้ประโยชน์ของ เทคโนโลยีอวกาศ และยกตัวอย่าง ความก้าวหน้าของโครงการสารวจ อวกาศจากข้อมูลที่รวบรวมได้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง  เทคโนโลยีอวกาศได้มีบทบาทต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน มากมาย มนุษย์ได้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศ เช่น ระบบ นาทางด้วยดาวเทียม (GNSS) การติดตามพายุ สถานการณ์ไฟป่า ดาวเทียมช่วยภัยแล้ง การตรวจคราบน้ามันในทะเล  โครงการสารวจอวกาศต่างๆ ได้พัฒนาเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจ ต่อโลก ระบบสุริยะและเอกภพมากขึ้นเป็นลาดับ ตัวอย่างโครงการ สารวจอวกาศ เช่น การสารวจสิง่ มีชีวิตนอกโลก การสารวจ ดาวเคราะห์นอกระบบสุรยิ ะ การสารวจดาวอังคาร และบริวารอื่น ของดวงอาทิตย์

14

คาอธิบายรายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เวลา 120 ชั่วโมง/ปี

ศึกษาเกี่ยวกับระบบนิเวศ องค์ประกอบของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ การถ่ า ยทอดพลั ง งานในระบบนิ เ วศ พั น ธุ ก รรม โครโมโซม ดี เ อ็ น เอ และยี น การถ่ า ยทอดลั ก ษณะ ทางพั น ธุ ก รรม การแบ่ ง เซลล์ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต ความผิ ด ปกติ ท างพั น ธุ ก รรม การดั ด แปรทางพั น ธุ กรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ วัสดุในชีวิตประจาวัน สมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์พอลิเมอร์ เซรามิก และวั ส ดุ ผ สม ผลกระทบจากการใช้ วั ส ดุ ป ระเภทพอลิ เ มอร์ เซรามิ ก และวั ส ดุ ผ สม ปฏิ กิ ริ ย าเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมี ประเภทของปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน ศึกษา วิเคราะห์ ปริมาณทาง ไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้า ความต่า งศั ก ย์ ความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งกระแสไฟฟ้ า กั บความต่ า งศั ก ย์ กฎของโอห์ ม ความต้านทาน ตัวต้านทาน การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและแบบขนาน ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย ไดโอด ทรานซิสเตอร์ ตัว เก็บประจุ วงจรรวม การต่อวงจรอิ เล็ กทรอนิกส์ พลั ง งานไฟฟ้าและกาลัง ไฟฟ้ า การคานวณค่าไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าในบ้าน อุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด และปลอดภั ย การเกิ ด คลื่ น ส่ ว นประกอบของคลื่ น คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า สเปกตรั ม คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า ประโยชน์ แ ละการป้ อ งกั น อั น ตรายจากคลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า การสะท้ อ นของแสงบนกระจกเงาราบ การสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้ง การหักเหของแสงผ่านเลนส์ การทดลองการหักเหของแสง การเกิดภาพ จากเลนส์บาง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง เช่น รุ้ง มิราจ และการทางานของทัศนอุปกรณ์ เช่น แว่นขยาย กระจกโค้ ง จราจร การมองเห็ น วั ต ถุ ความสว่ า งของแสง การโคจรของดาวเคราะห์ ร อบดวงอาทิ ต ย์ การเกิดฤดูกาล การเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ การเกิดข้างขึ้นข้างแรม การเกิดน้าขึ้นน้าลง น้าเป็น น้าตาย เทคโนโลยีอวกาศ กล้องโทรทรรศน์ ดาวเทียมและยานอวกาศ นักบินอวกาศ โครงการสารวจอวกาศ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสัง เกต การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และการสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไ ปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม ตัวชี้วัด ว 1.1 ม.3/1 ว 1.1 ม.3/2 ว 1.1 ม.3/3 ว 1.1 ม.3/4

อธิบายปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศที่ได้จากการสารวจ อธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบต่างๆ ในแหล่งที่อยู่เดียวกันที่ได้ จากการสารวจ สร้างแบบจาลองในการอธิบายการถ่ายทอดพลังงานในสายใยอาหาร อธิบายความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศ

15 ว 1.3 ม.3/2 ว 1.3 ม.3/3 ว 1.3 ม.3/4 ว 1.3 ม.3/5 ว 1.3 ม.3/6 ว 1.3 ม.3/7 ว 1.3 ม.3/8 ว 1.3 ม.3/9 ว 1.3 ม.3/10 ว 1.3 ม.3/11 ว 2.1 ม.3/1 ว 2.1 ม.3/2 ว 2.1 ม.3/3 ว 2.1 ม.3/4 ว 2.1 ม.3/5 ว 2.1 ม.3/6

ว 2.1 ม.3/7 ว 2.1 ม.3/8 ว 2.3 ม.3/1 ว 2.3 ม.3/2 ว 2.3 ม.3/3 ว 2.3 ม.3/4

อธิบายการถ่า ยทอดลัก ษณะทางพันธุก รรมจากการผสมโดยพิจ ารณาลั กษณะเดี ยวที่ แอลลีล เด่นข่ ม แอลลีลด้อยอย่างสมบูรณ์ อธิบายการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกและคานวณอัตราส่วนการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก อธิบายความแตกต่างของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส บอกได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซม อาจทาให้เกิดโรคทางพันธุกรรม พร้อมทั้งยกตัวอย่าง โรคทางพันธุกรรม ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้เรื่องโรคทางพันธุกรรม โดยรู้ว่าก่อนแต่งงานควรปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจ และวินิจฉัยภาวะเสี่ยงของลูกที่อาจเกิดโรคทางพันธุกรรม อธิบายการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม และผลกระทบที่อาจมีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ ตระหนักถึง ประโยชน์และผลกระทบของสิ่ง มีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่อาจมีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม โดยการเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีข้อมูลสนับสนุน เปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพในระดับชนิดสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศต่างๆ อธิบายความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศและต่อมนุษย์ แสดงความตระหนักในคุณค่าและความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีส่วนร่วมในการดูแล รักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ระบุสมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม โดยใช้หลักฐาน เชิงประจักษ์ และสารสนเทศ ตระหนัก ถึง คุ ณค่า ของการใช้วั ส ดุ ประเภทพอลิ เมอร์ เซรามิก และวัส ดุผ สม โดยเสนอแนะแนวทาง การใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมถึงการจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใช้แบบจาลอง และสมการข้อความ อธิบายกฎทรงมวล โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์ปฏิกิริยาดูดความร้อน และปฏิกิริยาคายความร้อน จากการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนของ ปฏิกิริยา อธิบายปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏิกิริยาของกรดกับเบส และปฏิกิริยา ของเบสกั บ โลหะ โดยใช้ ห ลั ก ฐานเชิ ง ประจั ก ษ์ และอธิ บ ายปฏิ กิ ริ ย าการเผาไหม้ การเกิ ด ฝนกรด การสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้สารสนเทศ รวมทั้งเขียนสมการข้อความแสดง ปฏิกิริยาดังกล่าว ระบุประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่ง มีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และยกตัวอย่างวิธีป้องกันและ แก้ปัญหาจากปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจาวันจากการสืบค้นข้อมูล ออกแบบวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี โดยบูร ณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ วิเคราะห์ ค วามสัม พันธ์ร ะหว่างความต่างศัก ย์กระแสไฟฟ้า และความต้ านทาน และค านวณปริมาณ ที่เกี่ยวข้องโดยใช้สมการ V = IR จากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า ใช้โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ในการวัดปริมาณทางไฟฟ้า วิเคราะห์ความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าเมื่อต่อตัวต้านทานหลายตัวแบบอนุกรมและ แบบขนานจากหลักฐานเชิงประจักษ์

16 ว 2.3 ม.3/5 ว 2.3 ม.3/6 ว 2.3 ม.3/7 ว 2.3 ม.3/8 ว 2.3 ม.3/9 ว 2.3 ม.3/10 ว 2.3 ม.3/11 ว 2.3 ม.3/12 ว 2.3 ม.3/13 ว 2.3 ม.3/14 ว 2.3 ม.3/15 ว 2.3 ม.3/16 ว 2.3 ม.3/17 ว 2.3 ม.3/18 ว 2.3 ม.3/19 ว 2.3 ม.3/20 ว 2.3 ม.3/21 ว 3.1 ม.3/1 ว 3.1 ม.3/2 ว 3.1 ม.3/3 ว 3.1 ม.3/4

รวม 50 ตัวชี้วัด

เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดงการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและขนาน บรรยายการทางานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรจากข้อมูลที่รวบรวมได้ เขียนแผนภาพและต่อชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรไฟฟ้า อธิบายและคานวณพลังงานไฟฟ้าโดยใช้สมการ W = Pt รวมทั้งคานวณค่าไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน ตระหนักในคุณค่าของการเลือกใช้เครื่องไฟฟ้า โดยนาเสนอวิธีการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและ ปลอดภัย สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดคลื่นและบรรยายส่วนประกอบของคลื่น อธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ตระหนักถึงประโยชน์และอันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยนาเสนอการใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ และ อันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน ออกแบบการทดลองและดาเนินการทดลอง ด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายกฎการสะท้อนของแสง เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสง แสดงการเกิดภาพจากกระจกเงา อธิบายการหักเหของแสงเมื่อผ่านตัวกลางโปร่งใสที่แตกต่างกัน และอธิบายการกระจายแสงของแสงขาว เมื่อผ่านปริซึมจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสงแสดงการเกิดภาพจากเลนส์บาง อธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง และการทางานของทัศนอุปกรณ์จากข้อมูลที่รวบรวมได้ เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสง แสดงการเกิดภาพของทัศนอุปกรณ์และเลนส์ตา อธิบายผลของความสว่างที่มีต่อดวงตาจากข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น วัดความสว่างของแสงโดยใช้อุปกรณ์วัดความสว่างของแสง ตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่องความสว่างของแสงที่ มีต่อดวงตา โดยวิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหาและ เสนอแนะการจัดความสว่างให้เหมาะสมในการทากิจกรรมต่างๆ อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วงจากสมการ F = (Gm1m2)/r2 สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดฤดู และการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดข้างขึ้นข้างแรม การเปลี่ยนแปลงเวลาการขึ้นและตกของดวงจันทร์ และ การเกิดน้าขึ้นน้าลง อธิบายการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ และยกตัวอย่างความก้าวหน้าของโครงการสารวจอวกาศ จากข้อมูลที่รวบรวมได้

17

โครงสร้างรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 ลาดับที่ 1.

ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ระบบนิเวศ

มาตรฐานการ เรียนรู้/ ตัวชี้วัด ว 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6

สาระสาคัญ ระบบนิเวศประกอบด้วยองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตและ องค์ประกอบที่มชี ีวิตซึ่งมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ ตัวอย่างปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบที่มีชีวิตกับ องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต เช่น ต้นไม้ต้องการน้า แสง ธาตุ อาหาร และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ตัวอย่างปฏิสัมพันธ์ ระหว่างองค์ประกอบที่มีชีวิตกับองค์ประกอบที่มีชีวิต เช่น กวางกินหญ้า เสือกินกวาง แร้งกินซากเสือที่ตายแล้ว และ จุลินทรีย์จะย่อยสลายซากเสือให้กลายเป็นสารอินทรีย์ กลับคืนสู่ธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมีอยู่หลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิด ต่างก็มีรูปแบบความสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน ความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศอาจทาให้สิ่งมีชีวิตบางชนิด ได้ประโยชน์ เสียประโยชน์ หรือไม่มีผลต่อการดารงชีวิต ของสิ่งมีชีวิตนั้น สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน โดยมีการถ่ายทอดพลังงานในรูปของโซ่อาหารและสายใย อาหาร ซึ่งโซ่อาหารมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตในบริเวณ เดียวกันที่มีการถ่ายทอดพลังงานผ่านการกินต่อกัน เป็นทอดๆ เริ่มจากสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิต และสายใยอาหาร เป็นการถ่ายทอดพลังงานผ่านการกินที่ซับซ้อนมากขึ้น ในระบบนิเวศจะมีการถ่ายทอดพลังงานเกิดขึ้นพร้อมกับ การหมุนเวียนสาร และในระบบหนึ่งประกอบด้วย องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตและองค์ประกอบที่มีชีวิต ซึ่งมีความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม ระบบนิเวศจึงจะอยู่ใน สภาวะสมดุล

เวลา (ชั่วโมง) 12

18

ลาดับที่ 2.

ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ พันธุกรรม

มาตรฐานการ เรียนรู้/ ตัวชี้วัด ว 1.3 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.3/11

สาระสาคัญ ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตสามารถถ่ายทอด จากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้ โดยมียีนเป็นหน่วยควบคุม ลักษณะทางพันธุกรรม โดยยีนเป็นส่วนหนึ่งของสายดีเอ็นเอ และดีเอ็นเอจะขดกันเป็นโครโมโซมอยู่ภายในนิวเคลียสของ เซลล์ สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะมีจานวนโครโมโซมเท่ากัน และอาจมีจานวนโครโมโซมเท่าหรือไม่เท่ากับสิง่ มีชีวิต ต่างชนิดกัน ซึ่งโครโมโซมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ โครโมโซมร่างกายและโครโมโซมเพศ และสิง่ มีชีวิตที่มี โครโมโซม 2 ชุด อยู่กันเป็นคู่และมีการเรียงลาดับยีน บนโครโมโซมเหมือนกัน เรียกว่า ฮอมอโลกัสโครโมโซม เมลเดลเป็นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์ ศึกษาการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของต้นถั่วลันเตา พบว่า ผลการผสมพันธุ์ถั่วลันเตาที่มีลักษณะต่างกันในรุ่นพ่อแม่ ได้ลูกที่ปรากฏลักษณะเด่นในทุกรุ่น และลักษณะด้อยจะมี โอกาสปรากฏในแต่ละรุ่นน้อยกว่า นามาสู่หลักการพื้นฐาน การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม นอกจากนี้ เมนเดล ได้สันนิษฐานว่า ยีนแต่ละตาแหน่งบนฮอมอโลกัสโครโมโซม มี 2 แอลลีล จะแยกออกจากกันเมื่อมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ หลังปฏิสนธิแอลลีลจะกลับมาเข้าคู่กันอย่างอิสระ โดย แอลลีลหนึ่งได้รับมาจากพ่อ และอีกแอลลีลหนึ่งได้รับมาจาก แม่ ซึ่งอาจมีรูปแบบเดียวกันหรือแตกต่างกัน โดยแอลลีล ที่ต่างกัน จะมีแอลลีลหนึ่งสามารถข่มอีกแอลลีลหนึ่งได้ เรียกแอลลีลที่ข่มอีกแอลลีลหนึ่งว่า แอลลีลเด่น ทาให้ สิ่งมีชีวิตแสดงลักษณะเด่น ส่วนแอลลีลที่ถูกข่ม เรียกว่า แอลลีลด้อย สิ่งมีชีวิตทุกชนิดล้วนมีการแบ่งเซลล์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเป็นการแบ่งเซลล์เพื่อเพิ่มจานวน เซลล์ร่างกาย ได้เซลล์ใหม่จานวน 2 เซลล์ ซึ่งแต่ละเซลล์มี จานวนโครโมโซมเหมือนเซลล์ตั้งต้น และการแบ่งเซลล์แบบ ไมโอซิสเป็นการแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สบื พันธุ์ ได้เซลล์ ใหม่จานวน 4 เซลล์ ซึ่งแต่ละเซลล์จะมีจานวนโครโมโซม เป็นครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม

เวลา (ชั่วโมง) 24

19

ลาดับที่

ชื่อหน่วยการ เรียนรู้

มาตรฐานการ เรียนรู้/ ตัวชี้วัด

สาระสาคัญ การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซมก่อให้เกิด โรคทางพันธุกรรม เช่น โรคธาลัสซีเมียเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของยีน กลุ่มอาการดาวน์เป็นกลุ่มอาการเกิด จากการเปลี่ยนแปลงจานวนของโครโมโซม กลุ่มอาการ คริดูชาเป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับ รูปร่างโครโมโซม นอกจากนั้น โรคทางพันธุกรรมสามารถ ถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูกได้ ดังนั้น เพื่อป้องกันความเสี่ยง จากการถ่ายทอดโรคทางพันธุกรรม จึงควรตรวจและ วินิจฉัยภาวะเสี่ยงจากการถ่ายทอดโรคทางพันธุกรรม ก่อนแต่งงานหรือในระหว่างตั้งครรภ์ สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม คือ สิ่งมีชีวิตที่มี การเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมโดยมนุษย์ซึ่งอาศัยความรู้ ทางพันธุวิศวกรรม ซึ่งเป็นกระบวนการที่นอกเหนือไปจาก การเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ การสร้างสิ่งมีชีวิตดัดแปร พันธุกรรมทาได้โดยการถ่ายทอดยีนที่มีลักษณะที่ต้องการ จากสิ่งมีชีวิตหนึ่งเข้าไปอยู่ในดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตอีกชนิด หนึ่ง ทาให้สิ่งมีชีวิตที่ได้รับยีนแสดงลักษณะตามที่ต้องการ และลักษณะดังกล่าวสามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกและหลาน ต่อไปได้ โดยมนุษย์ใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปร พันธุกรรมในด้านต่างๆ เช่น การผลิตอาหาร ด้านการแพทย์ ด้านการเกษตร ด้านอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม สังคมก็ยัง มีความกังวลเกี่ยวความปลอดภัยในการบริโภคและ ผลกระทบของสิง่ มีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม ดังนั้น จึงควรศึกษาและติดตามผลกระทบต่อไป ความหลากหลายทางชีวภาพแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ความหลากหลายทางระบบนิเวศ ความหลากหลาย ของชนิดสิ่งมีชีวิต และความหลากหลายทางพันธุกรรม ซึ่ง ความหลากหลายทางชีวภาพในแต่ละพื้นที่จะแตกต่างกัน บางพื้นที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง บางพื้นที่มี ความหลากหลายทางชีวภาพต่า ซึ่งความหลากหลาย ทางชีวภาพมีความสาคัญต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ และมีความสาคัญต่อมนุษย์ ดังนั้น จึงควรร่วมกันดูแลรักษา ความหลากหลายทางชีวภาพโดยการร่วมกันอนุรักษ์ พันธุ์สัตว์ ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและรู้คุณค่า

เวลา (ชั่วโมง)

20

ลาดับที่ 3.

ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ วัสดุใน ชีวิตประจาวัน

มาตรฐานการ เรียนรู้/ สาระสาคัญ ตัวชี้วัด ว 2.1 พอลิเมอร์เป็นสารประกอบโมเลกุลใหญ่ที่เกิดจาก ม.3/1 โมเลกุลจานวนมากรวมตัวกันทางเคมี เช่น พลาสติกเป็น ม.3/2 พอลิเมอร์ที่สามารถขึ้นรูปเป็นรูปทรงต่าง ๆ ได้ ยางเป็น พอลิเมอร์ที่สามารถยืดหยุ่นได้ และเส้นใยเป็นพอลิเมอร์ ที่สามารถดึงเป็นเส้นยาวได้ จึงถูกนามาใช้ประโยชน์ ได้แตกต่างกัน เซรามิกเป็นวัสดุที่ผลิตจากดิน หิน ทราย และแร่ธาตุ ต่างๆ จากธรรมชาติ และส่วนมากจะผ่านการเผาที่อุณหภูมิ สูงเพื่อให้ได้เนื้อสารที่แข็งแรง เซรามิกสามารถทาเป็น รูปทรงต่างๆ ได้ มีลักษณะแข็ง ทนต่อการสึกกร่อน และ เปราะ จึงสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น ภาชนะที่เป็น เครื่องปั้นดินเผา ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ วัสดุผสมเป็นวัสดุที่เกิดจากวัสดุตั้งแต่ 2 ประเภท ที่มีสมบัติต่างกัน เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น เช่น เสื้อกันฝนบางชนิดเป็นวัสดุผสมระหว่างผ้ากับยาง คอนกรีต เสริมเหล็กเป็นวัสดุผสมระหว่างคอนกรีตกับเหล็ก ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ทาจาก วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม ส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากผลิตภัณฑ์เหล่านี้ย่อยสลายยาก จึงเกิดการสะสมและตกค้างอยู่ในสิง่ แวดล้อม ยากต่อการ กาจัด หากนาไปเผาจะก่อให้เกิดควันพิษ เมื่อสูดดมจะเป็น อันตรายต่อร่างกาย หากนาไปฝังดินก็จะทาให้ ดินเสื่อมสภาพ ส่งผลให้สภาพแวดล้อมปนเปื้อนสารเคมี เพื่อลดปัญหาจึงควรเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมต่อการใช้งาน และง่ายต่อการกาจัดหรือนากลับมาใช้ใหม่ เพื่อลดปริมาณ ขยะซึ่งเป็นสาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม

เวลา (ชั่วโมง) 11

21

ลาดับที่ 4.

ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ปฏิกิริยาเคมี

มาตรฐานการ เรียนรู้/ ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8

สาระสาคัญ ปฏิกิริยาเคมีหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร ทาให้เกิดสารใหม่ โดยสารที่เข้าทาปฏิกิริยาเรียกว่า สารตั้งต้น และสารที่เกิดขึ้นใหม่ เรียกว่า ผลิตภัณฑ์ ที่มีสมบัติแตกต่างไปจากสารตั้งต้น เนื่องจากมีการจัดเรียง อะตอมใหม่ของสารตั้งต้นขณะเกิดปฏิกิริยา ซึ่งการ เกิดปฏิกิริยาเคมีดังกล่าวสามารถเขียนได้เป็นสมการ ข้อความที่แสดงถึงจานวนอะตอมแต่ละชนิดก่อนและหลัง การทาปฏิกิริยาเคมีจะมีจานวนเท่ากันและมวลรวมของ สารตั้งต้นจะเท่ากับมวลรวมของผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นไปตาม กฎทรงมวล ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีการถ่ายโอนความร้อน ควบคู่ไปกับการจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมของสาร แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนความร้อนจาก สิ่งแวดล้อมเข้าสู่ระบบ เรียกว่า ปฏิกิริยาดูดความร้อน และ ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนความร้อนจากระบบออกสู่ สิ่งแวดล้อม เรียกว่า ปฏิกิริยาคายความร้อน ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันมีหลายชนิด เช่น ปฏิกิริยาการเผาไหม้เป็นปฏิกิริยาระหว่างสารกับออกซิเจน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสารประกอบที่มีคาร์บอนและไฮโดรเจน เป็นองค์ประกอบ การเกิดสนิมเหล็กเกิดจากปฏิกิริยาเคมี ระหว่างเหล็ก น้า และออกซิเจน ได้ผลิตภัณฑ์เป็นสนิมของ เหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะจะได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือ ของโลหะกับแก๊สไฮโดรเจน ปฏิกิริยาของกรดกับ สารประกอบคาร์บอเนตจะได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ เกลือของโลหะ และน้า ปฏิกิริยาของ กรดกับเบสจะได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของโลหะและน้า ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะบางชนิดจะได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือ ของเบสและแก๊สไฮโดรเจน การเกิดฝนกรดเกิดจากปฏิกิริยา ระหว่างน้าฝนกับออกไซด์ของไนโตรเจน หรือออกไซด์ของ ซัลเฟอร์ ทาให้ได้น้าฝนที่มีสมบัติเป็นกรด การสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืชเป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่าง แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กับน้า โดยมีแสงเป็นปัจจัยที่ทาให้ เกิดปฏิกิริยา และได้ผลิตภัณฑ์เป็นน้าตาลกลูโคสและ แก๊สออกซิเจน ความรู้เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีสามารถนาไปประยุกต์

เวลา (ชั่วโมง) 13

22

ลาดับที่

5.

ชื่อหน่วยการ เรียนรู้

ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์

มาตรฐานการ เรียนรู้/ ตัวชี้วัด

ว 2.3 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9

สาระสาคัญ ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน และสามารถบูรณาการกับ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อใช้ ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพตามต้องการ หรืออาจสร้าง นวัตกรรมเพื่อป้องกันและแก้ปัญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี เช่น การเปลี่ยนแปลง พลังงานความร้อนอันเนื่องมาจากปฏิกิริยาเคมี การเพิ่มปริมาณผลผลิต กระแสไฟฟ้าเกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า โดยกระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดที่มีค วามต่างศักย์สูง กว่า ไปยัง จุดที่มีค วามต่างศักย์ต่ากว่า ค่ากระแสไฟฟ้าสามารถ วัดได้โดยการต่อแอมมิเตอร์เข้าไปในวงจร และค่าความ ต่างศักย์สามารถวัดได้โดยการต่อโวลต์มิเตอร์เข้าไปในวงจร ในวงจรไฟฟ้าใดๆ เมื่อมีความต่างศักย์ตกคร่อมอุปกรณ์ ไฟฟ้าหรือมีความต่างศักย์ระหว่างจุด 2 จุด บนตัวนาโลหะ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือตัวนาโลหะนั้น ด้วย โดยความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความ ต่างศักย์เป็นไปตามกฎของโอห์มที่กล่าวว่า กระแสไฟฟ้า ในตัวนาโลหะจะแปรผันตรงกับความต่างศักย์ระหว่าง ปลายทั้ง 2 ข้างของตัวนานั้น ตามสมการ V = IR ตัวต้านทานเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีหน้าที่หลัก ในการควบคุมปริมาณกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ ในวงจรไฟฟ้าให้เหมาะสมกับการใช้งาน โดยการนาตัว ต้านทานมากกว่า 1 ตัว มาต่อรวมกันในวงจรไฟฟ้าเพื่อให้ได้ ความต้านทานรวมหรือความต้านทานสมมูลตามที่ต้องการ สามารถต่อได้ 2 วิธี คือ การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม เป็นการนาตัวต้านทานหลายๆ ตัวมาเรียงต่อกันโดยขาข้าง หนึ่งต่อกับขาอีกข้างหนึ่งของตัวต้านทานอีกตัวหนึ่งไปเรื่อยๆ ทาให้ความต้านทานสมมูลเท่ากับผลรวมของความต้านทาน ของตัวต้านทานแต่ละตัว และการต่อตัวต้านทานแบบขนาน เป็นการนาตัวต้านทานหลายๆ ตัวมาเรียงต่อกันโดยรวบ ปลายของตัวต้านทานแต่ละตัวไว้ที่จุดเดียวกันทั้งสองข้าง ทาให้ส่วนกลับของความต้านทานสมมูลเท่ากับผลรวมของ ส่วนกลับของความต้านทานของตัวต้านทานแต่ละตัว ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่สาคัญอย่าง หนึ่ง ในวงจรไฟฟ้า โดยมีหน้าที่หลักแตกต่างกันไป

เวลา (ชั่วโมง)

20

23

ลาดับที่

ชื่อหน่วยการ เรียนรู้

มาตรฐานการ เรียนรู้/ ตัวชี้วัด

สาระสาคัญ ตามความต้องการในการใช้ง าน เช่น ไดโอด จะยอมให้ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ทางเดียวและกั้นการไหล ในทิศ ทางตรงกันข้าม ทรานซิส เตอร์ ทาหน้าที่เป็นสวิตช์ ปิดหรือเปิดวงจรไฟฟ้าและควบคุมปริมาณกระแสไฟฟ้า ตัวเก็บประจุทาหน้าที่เก็บและคายประจุไฟฟ้า พลัง งานที่ ได้รั บจากแหล่ งก าเนิดไฟฟ้ าแล้วท าให้ประจุ ไฟฟ้าเคลื่อนที่ เรียกว่า พลังงานไฟฟ้า และงานที่ประจุไฟฟ้า ทาได้ใน 1 หน่วยเวลาหรือพลังงานไฟฟ้าที่เครื่องใช้ไฟฟ้าใช้ ใน 1 หน่วยเวลาหรืออัตราการใช้พลังงานไฟฟ้า เรียกว่า กาลังไฟฟ้า การค านวณค่ าไฟฟ้ า ที่ ใ ช้ ใ นบ้ า นเรื อ นจะค านวณจาก พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปในแต่ละเดือนในหน่วย กิโลวัตต์ ชั่ วโมง (kW h) หรือ หน่วย (unit) โดยค่าไฟฟ้าที่ผู้ให้บริการหรือ ทางการไฟฟ้าเรียกเก็บจะประกอบด้วยค่าไฟฟ้าฐาน ค่าไฟฟ้า ผันแปร และค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม ไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้านเรือนส่วนใหญ่จะมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ การส่ ง พลั ง งานไฟฟ้ า เข้ าบ้ านจะส่ ง ผ่ านสายมี ศั ก ย์ (สาย L) และสายกลาง (สาย N) แล้วผ่านแผงควบคุมไฟฟ้า ก่อนจะแยกไปตามเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าต่ างๆ ภายในบ้ าน ซึ่ ง มี การต่อวงจรแบบขนาน ไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งซึ่งสามารถส่งไปตามสายไฟ ได้อย่างรวดเร็ว และพลังงานไฟฟ้ายังสามารถเปลี่ยนรูปไปเป็น พลังงานอื่นได้มากมาย แต่พลังงานไฟฟ้าก็มีโทษเช่ นกันหาก ผู้ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า ปราศจากความรู้ ใ นการใช้ ง านที่ ถู ก ต้ อ งและ เหมาะสม และการผลิตพลังงานไฟฟ้าต้องอาศัยพลังงานจาก แหล่งต่ างๆ จึงจ าเป็นต้องช่วยกั นประหยัดการใช้พลังงาน ไฟฟ้าและเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้าให้เหมาะสมกับการใช้งานเพื่อ ไม่ให้กระทบกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

เวลา (ชั่วโมง)

24

ลาดับที่

ชื่อหน่วยการ เรียนรู้

6.

คลื่น

7.

แสง

มาตรฐานการ เรียนรู้/ สาระสาคัญ ตัวชี้วัด ว 2.3 คลื่นกลเป็นคลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ม.3/10 เช่น คลื่นผิวน้า คลื่นแผ่นดินไหว ในคลื่นกล พลังงาน ม.3/11 จะถูกถ่ายโอนผ่านตัวกลางโดยอนุภาคของตัวกลาง ม.3/12 ไม่เคลือ่ นที่ไปกับคลื่น คลื่นที่แผ่ออกมาจากแหล่งกาเนิด คลื่นอย่างต่อเนื่องและมีรูปแบบที่ซ้ากัน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นที่ไม่อาศัยตัวกลาง ในการเคลื่อนที่ จัดเป็นคลื่นตามขวาง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทุกความถี่สามารถนามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันอย่าง กว้างขวาง แต่ในทานองเดียวกัน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ก็สามารถก่อให้เกิดโทษได้ จึงควรศึกษาการนาไปใช้ ให้เกิดประโยชน์และรู้จักการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ว 2.3 การสะท้อนของแสงบนกระจกเงาราบทาให้เกิดภาพเสมือน ม.3/13 หัวตั้งที่มีขนาดเท่ากับวัตถุ แต่ภาพจะกลับด้านจากซ้ายเป็นขวา ม.3/14 และขวาเป็นซ้าย ส่วนการสะท้อนของแสงบนกระจกเงานูนทาให้ ม.3/15 เกิดภาพเสมือนหัวตั้งที่มีขนาดเล็กกว่าวัตถุ ส่วนการสะท้อนของ ม.3/16 แสงบนกระจกเงาเว้าสามารถเกิดภาพได้หลายแบบขึ้นอยู่กับ ม.3/17 ระยะระหว่างวัตถุกับกระจก ม.3/18 การหักเหของแสงเกิดจากการที่ความเร็วของแสงเปลี่ยนไป ม.3/19 เมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน แสงจะเบนมากหรือน้อย ม.3/20 ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นและดรรชนีหักเหของตัวกลาง ม.3/21 การหักเหของแสงผ่านเลนส์เว้าทาให้เกิดภาพได้หลายแบบ ขึ้นอยู่กับระยะระหว่างวัตถุกับเลนส์ และการหักเหของแสงผ่าน เลนส์นูนทาให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ การสะท้อนและการหักเหของแสงนาไปใช้อธิบาย ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง เช่น รุ้ง มิราจ และอธิบาย การทางานของทัศนอุปกรณ์ เช่น แว่นสายตา แว่นขยาย กระจกโค้งจราจร กล้องโทรทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ ความบกพร่องทางสายตา เช่น สายตาสั้น สายตายาว เป็นเพราะตาแหน่งที่เกิดภาพไม่ได้อยู่ที่จอตาพอดี จึงต้องใช้ เลนส์ในการแก้ไขเพื่อช่วยให้มองเห็นเหมือนคนสายตาปกติ โดยคนสายตาสั้นใช้เลนส์เว้า ส่วนคนสายตายาวใช้เลนส์นูน ความสว่างของแสงมีผลต่อดวงตามนุษย์ การใช้สายตาใน สภาพแวดล้อมที่มีความสว่างไม่เหมาะสมจะเป็นอันตรายต่อ ดวงตา เช่น การดูวัตถุในที่มีความสว่างมากหรือน้อยเกินไป

เวลา (ชั่วโมง) 6

18

25

ลาดับที่ 8.

มาตรฐานการ เรียนรู้/ ตัวชี้วัด ปฏิสัมพันธ์ใน ว 3.1 ระบบสุริยะและ ม.3/1 เทคโนโลยีอวกาศ ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ชื่อหน่วยการ เรียนรู้

สาระสาคัญ ระบบสุริยะมีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางโดยมี ดาวเคราะห์และบริวาร ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และอื่นๆ โคจรอยูโ่ ดยรอบ ซึ่งวัตถุเหล่านี้จะโคจร รอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วง ซึ่งแรงโน้มถ่วงเป็น แรงดึงดูดระหว่างวัตถุสองวัตถุ โดยเป็นสัดส่วนกับผลคูณ ของมวลทั้งสอง และเป็นสัดส่วนผกผันกับกาลังสองของ ระยะทางระหว่างวัตถุทั้งสอง การที่โลกโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ในลักษณะที่แกนโลกเอียงกับแนวตั้งฉากของ ระนาบทางโคจรทาให้ส่วนต่างๆ บนโลกได้รับปริมาณแสง จากดวงอาทิตย์แตกต่างกันในรอบปี เกิดเป็นฤดูกาลและ ยังทาให้กลางวันและกลางคืนยาวนานไม่เท่ากัน ส่วนการ หมุนรอบตัวเองของโลกทาให้เราสังเกตเห็นการเคลื่อนที่ ปรากฏของดวงอาทิตย์จากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก ซึ่งปรากฏการณ์นี้เรียกว่า การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ ส่วนดวงจันทร์โคจรรอบโลกในทิศทางเดียวกันกับที่โลก หมุนรอบตัวเอง จึงทาให้เห็นดวงจันทร์ขึ้นช้าไปประมาณวัน ละ 50 นาที และเนื่องจากดวงจันทร์ใช้เวลาหมุนรอบตัวเอง เท่ากับเวลาที่ใช้ในการโคจรรอบโลก ทาให้ดวงจันทร์หันด้าน เดียวเข้าหาโลก เมื่อดวงจันทร์โคจรรอบโลกจะหันส่วนสว่าง มายังโลก ทาให้เราสังเกตเห็นส่วนสว่างของดวงจันทร์ แตกต่างกันในแต่ละวัน เกิดเป็นข้างขึ้นข้างแรมหรือวิถีจันทร์ ผลของความแตกต่างของแรงโน้มถ่วงที่ดวงอาทิตย์และดวง จันทร์กระทาต่อโลกทาให้เกิดปรากฏการณ์น้าขึ้นน้าลง วันที่ น้ามีระดับการขึ้นสูงสุดและลงต่าสุดเรียกว่า วันน้าเกิด ส่วน วันที่ระดับน้ามีการขึ้นและลงน้อยเรียกว่า วันน้าตาย โดยวัน น้าเกิด และวันน้าตายมีความสัมพันธ์กับข้างขึ้นข้างแรม เทคโนโลยีอวกาศเป็นการนาความรู้และวิธีการต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ให้เหมาะสมใน การศึกษาทางดาราศาสตร์และอวกาศ ตลอดจนนามา ประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติและการ ดารงชีวิตของมนุษย์ ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาเทคโนโลยี อวกาศมีหลายอย่าง เช่น กล้องโทรทัศน์ กระสวยอวกาศ ดาวเทียม ยานอวกาศ

เวลา (ชั่วโมง) 16

26

โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 หน่วยการ เรียนรู้ที่

1

2

ชื่อหน่วยการเรียนรู้/แผนการจัดการเรียนรู้

เวลา ชั่วโมง

ระบบนิเวศ แผนที่ 1 องค์ประกอบของระบบนิเวศ กิจกรรมที่ 1 เรื่อง ระบบนิเวศจาลอง

12 3

แผนที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศกิจกรรมที่ ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ แผนที่ 3 โซ่อาหารและสายใยอาหาร แบบจาลองการถ่ายทอดพลังงานในสายใยอาหาร แผนที่ 4 สมดุลระบบนิเวศ ผังมโนทัศน์ เรื่อง ระบบนิเวศ

3

พันธุกรรม แผนที่ 1 โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน

16 4

แบบจาลองโครโมโซม แผนที่ 2 การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล ใบงานที่ 2.1 เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล แผนที่ 3 การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม แบบจาลองยีนบนโครโมโซม แผนที่ 4 การแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต แผนที่ 5 ความผิดปกติทางพันธุกรรม

4 2

4 4 3 4

ใบงานที่ 2.3 เรื่อง โรคทางพันธุกรรม

แผนที่ 6 สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม แผนที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพ ผังมโนทัศน์ เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ

4 2

27

หน่วยการ เรียนรู้ที่

3

4

ชื่อหน่วยการเรียนรู้/แผนการจัดการเรียนรู้

เวลา ชั่วโมง

วัสดุในชีวิตประจาวัน แผนที่ 1 พอลิเมอร์ ผังมโนทัศน์ เรื่อง พอลิเมอร์

11 4

แผนที่ 2 เซรามิก ใบงานที่ 3.1 เรื่อง เซรามิก แผนที่ 3 วัสดุผสม ผังมโนทัศน์ เรื่อง วัสดุผสม แผนที่ 4 ผลกระทบจากการใช้ประโยชน์วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม

2

ปฏิกิริยาเคมี แผนที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี ใบงานที่ 4.1 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร แผนที่ 2 การเขียนสมการเคมี ใบงานที่ 4.2 เรื่อง สมการเคมี

แผนที่ 3 ประเภทของปฏิกิริยาเคมี แผนที่ 4 ชนิดของปฏิกิริยาเคมี แผนที่ 5 ประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมี ผังมโนทัศน์ เรื่อง ปฏิกริ ิยาเคมี

2 3 13 3 3 2 3 2

28

แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบนิเวศ เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ผู้สอน นายชัชพงศ์ ไพรัช

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เวลา 1 ชั่วโมง โรงเรียน ครูผู้ช่วยวิทยา

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว 1.1 เข้ า ใจความหลากหลายของระบบนิ เ วศ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสิ่ ง ไม่ มี ชี วิ ต กั บ สิ่ง มีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่ง มีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลัง งาน การ เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้ งนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ว 1.1 ม.3/2 อธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบต่าง ๆ ใน แหล่งที่อยู่เดียวกัน ที่ได้จากการสารวจ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายรูปแบบความสัมพันธ์สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบต่าง ๆ ได้ (K) 2. สืบค้นและจาแนกรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตได้ (P) 3. มีความสามัคคี ช่วยเหลือในการทางานกลุ่มร่วมกัน มีความมุ่งมั่นในการทางาน (A) 3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด สิ่ง มี ชีวิ ตในระบบนิ เวศมี อยู่ หลายชนิด ซึ่ ง แต่ล ะชนิด ต่า งก็ มีรู ปแบบความสั มพั นธ์ ที่แ ตกต่า งกั น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศอาจทาให้สิ่งมีชีวิตบางชนิดได้รับประโยชน์หรือเสียประโยชน์ หรือไม่มีผลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตนั้นเลย 4. สาระการเรียนรู้ - สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาวะพึ่งพากัน ภาวะอิงอาศัย ภาวะ เหยื่อกับผู้ล่า ภาวะปรสิต - สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยู่ร่วมกันในแหล่งที่อยู่เดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกัน เรียกว่า ประชากร

29

- กลุ่มสิ่งมีชีวิตประกอบด้วยประชากรของสิ่งมีชีวิตหลาย ๆ ชนิด อาศัยอยู่ร่วมกันในแหล่งที่อยู่ เดียวกัน 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (1) ความสามารถในการสื่อสาร - การอธิบาย การเขียน การตอบคาถาม (2) ความสามารถในการคิด - การสังเกต การสารวจ การคิดวิเคราะห์ การสร้างคาอธิบาย การอภิปราย การสื่อความหมาย การทากิจกรรมโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบค้นโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ใช้รูปแบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Engagement) 10 นาที 1. ครูทักทายและกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยให้ดูภาพที่ครูถือโชว์หน้าชั้นเรียน ให้นักเรียนได้ชมและกระตุ้นนักเรียนด้วยคาถามว่าในระบบนิเวศ หนึ่ง ๆ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน นอกจากจะมีปฏิสัมพันธ์กัน ในด้านการกินต่อกันเป็นทอด ๆ แล้ว นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตจะมี ความสัมพันธ์กันในรูปแบบใดอีกบ้าง และมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) 2. จากนั้นครูเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรม สิ่งมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างไร ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา (Exploration) 20 นาที (1) นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดาเนินกิจกรรม ครูตรวจสอบความเข้าใจ จากการอ่านโดยใช้คาถามว่า ดังต่อไปนี้ - กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับเรื่องอะไร (ปฏิสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน) - กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อะไร (สืบค้นข้อมูลและอธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน) - วิธีดาเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (อภิปรายและสืบค้นข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละคู่ จาแนกคู่สิ่งมีชีวิตตามเกณฑ์ และอภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธ์แต่ ละลักษณะ) - นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (รวบรวมข้อมูลจากการสืบค้นและการ อภิปรายลักษณะความสัมพันธ์ของคู่สิ่งมีชีวิตแต่ละคู่) (2) นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม จากนั้นนักเรียนส่งตัวแทนรับใบกิจกรรม เรื่อง สิ่งมีชีวิตอยู่ ร่วมกันอย่างไร (3) ครูอธิบายขั้นตอนในการทากิจกรรมให้นักเรียนฟัง เพื่อให้นักเรียนเข้าใจมากยิ่งขึ้น

30

(4) นักเรียนแต่ละกลุ่มเริ่มทากิจกรรม ครูสังเกตการทางานของนักเรียน ค่อยแนะนาในการ หาคาตอบความสัมพันธ์แต่ละแบบเมื่อนักเรียนมีข้อสงสัย (5) เน้นให้นักเรียนสืบค้นเพิ่มเติม วิเคราะห์ และหาหลักฐาน เพื่อสนับสนุนแนวความคิด เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปแบบต่าง ๆ เพิ่มเติม ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 10 นาที (1) นักเรียนนาเสนอผลการทากิจกรรม ตอบคาถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของ กิจกรรมโดยใช้คาถามท้ายกิจกรรมเป็นแนวทาง เพื่อให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า ในธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่อยู่ร่วมกันมีความสัมพันธ์กันในลักษณะต่าง ๆ สิ่งมีชีวิตบางชนิดได้ประโยชน์ บาง ชนิดเสียประโยชน์ และบางชนิดไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ (2) นักเรียนอ่านเนื้อหาจากหนังสือเรียนและใบความรู้ เกี่ยวกับรูปแบบของความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และครูอาจจะใช้คาถามเพิ่มเติมดังนี้ - ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแบบใดที่เป็นประโยชน์ต่อระบบนิเวศ เพราะเหตุใด (นักเรียน ตอบตามความเข้าใจและประสบการณ์เดิม ครูพยายามกระตุ้นให้นักเรียนตอบให้ครบทุกแบบ เช่น ภาวะปรสิตและการล่าเหยื่อจะช่วยควบคุมจานวนประชากรของสิ่งมีชีวิตบางชนิดให้มีจานวน เหมาะสมไม่มากหรือน้อยเกินไปในธรรมชาติ ภาวะอิงอาศัยและภาวะพึ่งพากันสามารถทาให้ ประชากรของสิ่งมีชีวิตเพิ่มจานวนประชากรได้ดี ทาให้เพิ่มแหล่งอาหารให้กับสิ่งมีชีวิตที่บริโภค สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นเป็นอาหาร) - ยกตัวอย่างคู่สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบต่าง ๆ (คาตอบขึ้นอยู่กับข้อมูล ที่มาจากการสืบค้นหรือจากประสบการณ์เดิมของนักเรียน) จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า สิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกันจะมีปฏิสัมพันธ์กันในรูปแบบต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น - ภาวะพึง่ พากัน เป็นภาวะที่สิ่งมีชีวิตสองชนิดมาอยู่ร่วมกันแล้ว สิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดจะได้ ประโยชน์ร่วมกัน - ภาวะอิงอาศัย เป็นภาวะที่สิ่งมีชีวิตสองชนิดมาอยู่ร่วมกันแล้ว สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ โดยที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งไม่เสียประโยชน์และไม่ได้ประโยชน์ - ภาวะปรสิต เป็นภาวะที่สิ่งมีชีวิตสองชนิดมาอยู่ร่วมกันแล้ว สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ (ปรสิต) สิ่งมีชีวิตหนึ่งเสียประโยชน์ (ผู้ถูกอาศัย) - การล่าเหยื่อ เป็นภาวะที่สิ่งมีชีวิตสองชนิดมาอยู่ร่วมกันแล้ว สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ (ผู้ ล่า) สิ่งมีชีวิตหนึ่งเสียประโยชน์ (เหยื่อ) ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration) 10 นาที 1. ครูแจกคิวอาร์โค้ด (QR Code) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสแกนคิวอาร์โค้ด (QR Code) เพื่อเล่นเกม พร้อมทั้งตอบคาถาม โดยขึ้นกับความคิดเห็นของนักเรียนแต่ละกลุ่ม ดังนี้

31

- รูปที่ 1 จากรูปเป็นความสัมพันธ์รูปแบบอะไร (แนวคาตอบ ภาวะพึ่งพากัน) - รูปที่ 2 จากรูปเป็นความสัมพันธ์รูปแบบอะไร (แนวคาตอบ ภาวะอิงอาศัย) - รูปที่ 3 จากรูปเป็นความสัมพันธ์รูปแบบอะไร (แนวคาตอบ ภาวะปรสิต) - รูปที่ 4 จากรูปเป็นความสัมพันธ์รูปแบบอะไร (แนวคาตอบ ภาวะการล่าเหยื่อ) ขั้นสรุป นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ซึ่งควรได้ข้อสรุป ร่วมกันว่า “ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศล้วนมีความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตทั้งทางตรงและ ทางอ้อม ซึ่ง สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมีอยู่หลายชนิดแต่ละชนิดต่างมีรูปแบบความสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน เช่น ภาวะอิง อาศัย ภาวะพึ่งพากัน ภาวะปรสิต ภาวะการล่าเหยื่อ ภาวะการแก่ง แย่ง แข่งขัน และภาวะการได้ ประโยชน์ร่วมกัน” ขั้นที่ 5 ประเมิน (Evaluation) 10 นาที 1. ครูตรวจใบกิจกรรม เรื่อง สิ่งมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างไร 2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม 3. ครูประเมินด้านคุณธรรม และด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการทากิจกรรม ของนักเรียน 7. สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรื่อง ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2. ใบกิจกรรม เรื่อง สิ่งมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างไร 3. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.3 4. คิวอาร์โค้ด (QR Code) 5. อินเทอร์เน็ต

32

8. การวัดผลและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้

วิธีการวัดผล

เครื่องมือ

1.ด้านความรู้ (K) นักเรียนสามารถอธิบาย รูปแบบความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกันได้

- การตอบคาถาม - แบบสังเกต ในชั้นเรียน การตอบคาถาม

3.ด้านคุณลักษณะ(A) 1. มีความสามัคคี ช่วยเหลือในการทางาน กลุ่มร่วมกัน 2. มีความมุ่งมั่นในการ ทางาน

- สังเกตด้าน คุณธรรมขณะ ทากิจกรรม

เกณฑ์การประเมิน

ผู้ ประเมิน

- คะแนนการตอบคาถามอยู่ใน ครูผู้สอน ระดับคุณภาพตั้งแต่พอใช้ขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 80 ได้ 3 คะแนน ร้อยละ 50 – 75 ได้ 2 คะแนน ต่ากว่าร้อยละ 50 ได้ 1 คะแนน 2.ด้านทักษะ/ - สังเกตทักษะ - แบบประเมิน - คะแนนทักษะกระบวนการ ครูผู้สอน กระบวนการ (P) กระบวนการทาง ด้านทักษะ ทางวิทยาศาสตร์ในการทา นักเรียนสามารถสืบค้น วิทยาศาสตร์ กระบวนการทาง กิจกรรม ข้อมูลและจาแนกรูปแบบ ในการทากิจกรรม วิทยาศาสตร์ ระดับดี ได้ 3 คะแนน ความสัมพันธ์ระหว่าง ในการทากิจกรรม ระดับพอใช้ ได้ 2 คะแนน สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตที่อยู่ ระดับควรปรับปรุง ได้ 1 ร่วมกันได้ คะแนน

- แบบประเมิน ด้านคุณธรรม

- คะแนนแบบประเมินด้าน คุณธรรม ประจาสม่าเสมอ ได้ 3 คะแนน ค่อนข้างจะสม่าเสมอ ได้ 2 คะแนน ค่อนข้างน้อย ได้ 1 คะแนน

ครูผู้สอน

33

9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ผลการแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................(ผู้สอน) (นายชัชพงศ์ ไพรัช) วันที่.........เดือน…….................พ.ศ. ..............

34

ความคิดเห็นจากผู้บังคับบัญชา

ความคิดเห็นจากผู้บริหารสถานศึกษา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.......................................ผู้บริหารสถานศึกษา (…………………………………..) ……......./.............../.............

35

แบบประเมินผลการเรียนรู้ คาชี้แจง

ที่

แบบสังเกตการตอบคาถาม ทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนนพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติดังนี้ ระดับ 3 หมายถึง แสดงพฤติกรรมให้เห็นมาก ระดับ 2 หมายถึง แสดงพฤติกรรมให้เห็นปานกลาง ระดับ 1 หมายถึง แสดงพฤติกรรมให้เห็นน้อย

พฤติกรรม สนใจและ ตอบคาถาม ตอบคาถาม รวม การประเมินผล ตั้งใจฟัง ได้ตรง อย่าง คะแนน ระดับคะแนน คาถาม ประเด็น สม่าเสมอ ชื่อ-สกุล 3 2 1 3 2 1 3 2 1 9 ผ่าน ไม่ผ่าน

หมายเหตุ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑ์การประเมิน 8 - 9 = ดี 6 - 7 = ปานกลาง 4 - 5 = พอใช้ ต่ากว่า 4 = ไม่ผ่าน ลงชื่อ………………………………………………….ผู้ประเมิน (นายชัชพงศ์ ไพรัช) วันที่.........เดือน…….................พ.ศ. ..............

36

แบบประเมินด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการทากิจกรรม คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนนพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เกณฑ์การประเมินมีดังนี้ 3 หมายถึง ดี 2 หมายถึง พอใช้ 1 หมายถึง ควรปรับปรุง

ที่

การสังเกต

ชื่อ-สกุล 3

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

2

1

สิ่งที่ประเมิน การจาแนก การตีความหมาย ประเภท ข้อมูลและลงข้อสรุป 3 2 1 3 2 1

รวมคะแนน

37

เกณฑ์การประเมิน ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) การสังเกต ใช้ประสาทสัมผัสในการ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ได้ด้วยตนเองโดยไม่เพิ่มเติม ความคิดเห็น การจาแนกประเภท สามารถจัดกลุ่ม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ออกเป็น 6 ประเภทได้อย่าง ถูกต้องด้วยตนเอง

ระดับความสามารถ พอใช้ (2) ใช้ประสาทสัมผัสในการ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ได้โดยการชี้แนะของครูหรือ ผู้อื่น สามารถจัดกลุ่ม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ออกเป็น 6 ประเภทโดยการ ชี้แนะของครูหรือผู้อื่น

ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) การตีความหมาย ตีความหมายจากการทา ข้อมูลและลง กิจกรรมและลงข้อสรุปได้ว่า ข้อสรุป ความสัมพันธ์ของสิง่ มีชีวิต มีความแตกต่างกัน โดยใช้ ข้อมูลที่รวบรวมได้จาก การสังเกตด้วยตนเอง

ระดับความสามารถ พอใช้ (2) ตีความหมายจากการทา กิจกรรมและลงข้อสรุปได้ว่า ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต มีความแตกต่างกัน โดยใช้ ข้อมูลที่รวบรวม ได้จากการ ชี้แนะของครูหรือผู้อื่น

ควรปรับปรุง (1) ไม่สามารถใช้ประสาทสัมผัส ในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยว กับความสัมพันธ์ของ สิ่งมีชีวิต ถึงแม้จะได้รับ คาแนะนาจากครูหรือผู้อื่น ไม่สามารถจัดกลุ่ม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ออกเป็น 6 ประเภทได้อย่าง ถูกต้อง ถึงแม้จะได้รับ คาแนะนาจากครูหรือผู้อื่น

ควรปรับปรุง (1) ไม่สามารถตีความหมายจาก การทากิจกรรมและลง ข้อสรุปได้ว่าความสัมพันธ์ ของสิ่งมีชีวิต มีความ แตกต่างกัน โดยใช้ ข้อมูลที่รวบรวมได้ ถึงแม้จะ ได้รับคาแนะนาจากครูหรือ ผู้อื่น

ลงชื่อ…………………………………………….ผู้ประเมิน (นายชัชพงศ์ ไพรัช) วันที่.........เดือน…….................พ.ศ. ..............

38

แบบประเมินด้านคุณธรรม ชื่อผู้ประเมิน/กลุ่มประเมิน…………………………………………………………………………………………………………………… ชื่อกลุ่มรับการประเมิน………………………………………………………………………………………………………………………… ประเมินผลครั้งที่………………………………..วัน………………เดือน…………………………………พ.ศ. ……………………….. เรื่อง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนนพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ ลักษณะ/พฤติกรรมบ่งชี้ มีความสามัคคี มีความมุ่งมั่น ที่ ชื่อ-สกุล ช่วยเหลือในการทางานกลุ่ม ในการทางาน 4 3 2 1 4 3 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ● ● ● ●

รวม คะแนน 1

เกณฑ์ให้คะแนนจากการประเมินด้านคุณธรรม คือ เกณฑ์การให้คะแนน 4 คะแนน เมื่อนักเรียนแสดงพฤติกรรมตามที่ต้องการเป็นประจาสม่าเสมอ เกณฑ์การให้คะแนน 3 คะแนน เมื่อนักเรียนแสดงพฤติกรรมตามที่ต้องการค่อนข้างจะสม่าเสมอ เกณฑ์การให้คะแนน 2 คะแนน เมื่อนักเรียนแสดงพฤติกรรมตามที่ต้องการค่อนข้างน้อย เกณฑ์การให้คะแนน 1 คะแนน เมื่อนักเรียนแสดงพฤติกรรมตามที่ต้องการน้อย

ลงชื่อ…………………………………………….ผู้ประเมิน (นายชัชพงศ์ ไพรัช) วันที่.........เดือน…….................พ.ศ. ..............

39

40

41

ใบกิจกรรม เรื่อง สิ่งมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างไร จุดประสงค์…………………………………………………………………………………………………………………..………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ผลการทากิจกรรม คู่สิ่งมีชีวิต วัวกับนกเอี้ยง กาฝากกับมะม่วง เสือโคร่งกับกวางดาว กล้วยไม้ป่ากับต้นยางนา หมัดกับสุนัข ปลาเหาฉลามกับปลาฉลาม ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล ตั๊กแตนตาข้าวกับแมลงปอ

สิ่งมีชีวิตตัวที่ 1

สิ่งมีชีวิตตัวที่ 2

ลักษณะความสัมพันธ์

คาถามท้ายกิจกรรม 1. ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่กาหนดให้มีกี่กลุ่ม และสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มมีความสัมพันธ์กัน อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………… 2. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………

42

เฉลย ใบกิจกรรม เรื่อง สิ่งมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างไร จุดประสงค์

สืบค้นข้อมูลและอธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน

ผลการทากิจกรรม คู่สิ่งมีชีวิต วัวกับนกเอี้ยง กาฝากกับมะม่วง เสือโคร่งกับกวางดาว กล้วยไม้ป่ากับต้นยางนา หมัดกับสุนัข ปลาเหาฉลามกับปลาฉลาม ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล ตั๊กแตนตาข้าวกับแมลงปอ

สิ่งมีชีวิตตัวที่ 1 วัว + กาฝาก + เสือโคร่ง + กล้วยไม้ป่า + หมัด + ปลาเหาฉลาม + ปลาการ์ตูน + ตั๊กแตนตาข้าว +

สิ่งมีชีวิตตัวที่ 2 นกเอี้ยง + มะม่วง กวางดาว ต้นยางนา 0 สุนัข ปลาฉลาม 0 ดอกไม้ทะเล + แมลงปอ -

ลักษณะความสัมพันธ์ (+ , +) (+ , -) (+ , -) (+ , 0) (+ , -) (+ , 0) (+ , +) (+ , -)

คาถามท้ายกิจกรรม 1. ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่กาหนดให้มีกี่กลุ่ม และสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มมีความสัมพันธ์กัน อย่างไร แนวคาตอบ ความสัมพันธ์มีทั้งหมด 3 แบบ ได้แก่ - แบบที่ 1 คือ สิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดได้ประโยชน์ทั้งคู่ (+ , +) - แบบที่ 2 คือ สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ และสิ่งมีชีวิตหนึ่งไม่เสียหรือได้ประโยชน์ (+ , 0) - แบบที่ 3 คือ สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ และสิ่งมีชีวิตหนึ่งเสียประโยชน์ (+ , -) 2. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร แนวคาตอบ ความสัมพันธ์มีทั้งหมด 5 แบบ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ลักษณะการอยู่ร่วมกัน ภาวะพึ่งพากัน ภาวะอิงอาศัย การล่าเหยื่อ ภาวะปรสิต ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน

ผลที่เกิดขึ้นกับสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดได้ประโยชน์ทั้งคู่ (+ , +) สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ และสิ่งมีชีวิตหนึ่งไม่เสียหรือได้ประโยชน์ (+ , 0) สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ และสิ่งมีชีวิตหนึ่งเสียประโยชน์ (+ , -) สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ และสิ่งมีชีวิตหนึ่งเสียประโยชน์ (+ , -) สิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดได้ประโยชน์ทั้งคู่ (+ , +)

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.