แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ Flipbook PDF

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ ป.๒

110 downloads 115 Views 3MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

ตารางกาหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ เวลา ๑๐ ชั่วโมง จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรี ยนอ่านแจกลูกสะกดคาได้ ๒. นักเรี ยนบอกความหมายของคาได้ ๓. นักเรี ยนอ่านแจกลูกสะกดคาได้ ๔. นักเรี ยนอ่านออกเสี ยงเนื้อหาในบทเรี ยนได้ ๕. นักเรี ยนตอบคาถามจากเรื่ องที่อ่านได้ ๖. นักเรี ยนบอกเนื้อหาสาระในบทเรี ยนได้ ๗. วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นในบทเรี ยนได้ ๘. นำข้อคิดจำกเรื่ องมำใช้ในชีวิตประจำวันได้ ๙. นักเรี ยนอ่านแจกลูกสะกดคาได้ ๑๐. นาคาไปใช้ได้ถูกต้องตามสถานการณ์ ๑๑. บอกควำมหมำยของคำวิเศษณ์ได้ ๑๒. ใช้คาวิเศษณ์ได้ ๑๒. บอกรู ป และประสมคาด้วยสระออได้ ๑๓. อภิปรายแสดงความคิดเห็นร่ วมกันในหัวข้อ ที่ครู กาหนด ๑๔. เขียนข้อสรุ ปสั้น ๆ และอ่านร่ ายงาน หน้าชั้นเรี ยนได้ ๑๖. วาดภาพประกอบลาดับเหตุการณ์และ ตั้งชื่อเรื่ องได้ ๑๗. เขียนแผนภาพโครงเรื่ องและเล่าเรื่ องได้ ๑๘. ร้องเล่นและแสดงท่าทางประกอบได้

สาระการเรียนรู้

• • • • • • • • •

รักพ่อ รักแม่ รู ้จกั คา นาเรื่ อง อ่านออกเสี ยง การอ่านคิด วิเคราะห์ คาขายกริ ยา ( วิเศษณ์) คาที่ใช้สระ ออ การพูดแสดงความ คิดเห็น การเขียนแผนภาพ โครงเรื่ อง อ่านคล่อง ร้องเล่น ชวนทา ชวนคิด

๑๐ ช.ม ๑๐ ๒ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ หัวข้ อเรื่ อง รู้จักคา นาเรื่ อง วันที่ .......................................

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๑๐ ชั่วโมง เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้ใช้ แผน ................................

สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนาไปใช้ ตัดสิ นใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ๑. สาระสาคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด การเรี ยนรู ้คา ผูเ้ รี ยนต้องเรี ยนรู ้ท้ งั ในด้านองค์ประกอบ หลักการอ่านแจกลูก สะกดคา ความหมายและหลักการใช้ จึงจะสามารถนาคาไปใช้ได้ถูกต้องตามสถานการณ์ ๑.๒ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่ อสาร - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๒ อธิบายความหมายของคาและข้อความที่อ่าน ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรี ยนอ่านแจกลูกสะกดคาได้ ๓.๒ นักเรี ยนบอกความหมายของคาได้ ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ รักความเป็ นไทย ๔.๒ ใฝ่ เรี ยนรู ้ ๔.๓ มีจิตสาธารณะ

๔.๔ มีวินยั ๔.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ การอ่านออกเสี ยงและการบอกวามหมายของคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ที่ประกอบด้วยคาพื้นฐานเพิ่มจาก ป. ๑ ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ รู ้จกั คำนำเรื่ อง ๏ กำรบอกควำมหมำยของคำ ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ กำรทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน ๖.๒ กำรทำใบงำน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ครู ช้ ีแจงลาดับขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ จุดประสงค์ และสิ่ งที่ นักเรี ยนต้องเตรี ยม ในชัว่ โมงนี้ให้นกั เรี ยนรับทราบ ๗.๒ นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน บทที่ ๙ เรื่ องรักพ่อ รักแม่ ( ท้ายแผน ) จานวน ๑๕ ข้อ เสร็ จแล้วครู ตรวจสอบและประกาศผลเป็ นคะแนนตามจานวนข้อที่ทาถูก โดยที่ยงั ไม่ตอ้ งเฉลย ๗.๓ ครู ใช้บตั รรู ปภาพชูแสดงให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้คา และความหมายของคาว่า “ ฝิ่ น จุก ทอ กอด นัง่ หนู ชาวนา ชาวเขา ชาวไร่ แผนที่ ผ้าไหม ทหาร ตารวจ เจ็บป่ วย งานฝี มือ รับประทาน ” โดยถามให้นกั เรี ยนแข่งขันกันตอบ ๗.๔ ครู ชูบตั รรู ปภาพขึ้นให้นกั เรี ยนบอกคาที่ตรงกับรู ปภาพที่ครู ชูข้ ึน โดยสุ่ ม ให้บอกทีละคน คนละ ๓ คา จากนั้นครู เขียนเหล่านี้บนกระดานดา นักเรี ยนอ่านแจกลูก สะกดคาพร้อมกัน ๗.๕ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๑ ( ท้ายแผน ) ชุด เขียนคาที่กาหนดให้ให้ตรงกับ รู ปภาพ จากนั้นนาส่ งครู ครู เฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง

๘. สื่ อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. แบบทดสอบก่อนเรี ยน ๒. รู ปภาพ ๓. ใบงาน ชุดที่ ๑ ๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล ๕. แบบกรอกคะแนนแบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน ๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน

วิธีการวัดและประเมินผล

เครื่ องมือวัดผลและ ประเมินผล

• ด้านความรู ้ความเข้าใจ - การทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน - การตอบคาถาม - การทาใบงาน • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์

- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน - สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม กิจกรรม

- แบบทดสอบก่อนเรี ยน - ใบงาน ชุดที่ ๑ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล

• ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่ วมสนทนา

- ประเมินการร่ วมสนทนา

แบบประเมินผลงานรายบุคคล

- แบบประเมินผลงานรายบุคคล

๑๐. เกณฑ์ ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการทาใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทาได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทาได้ถูก ๑๒ – ๑๕ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๘ – ๑๑ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๗ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๘ ขึ้นไป

การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน

รักความเป็ นไทย

ใฝ่ เรียนรู้

มีจิตสาธารณะ

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

ดี (๒) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก

เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน พอใช้ (๑) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก มีความเสี ยสละเพื่อ ส่ วนรวมเป็ นบางครั้ง ไม่เอาเปรี ยบไม่เห็นแก่ ตัว ไม่ค่อยช่วยเหลือ หมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง เกือบทุกครั้ง ทาใบงาน ได้สะอาดเรี ยบร้อย ไม่ ค่อยทันเวลา

ปรับปรุ ง (๐) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุ ขเป็ นบางครั้ง

กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก ไม่ค่อยเสี ยสละเพื่อ มีความเสี ยสละเพื่อ ส่วนรวม ชอบเอา ส่วนรวม ไม่เอาเปรี ยบ เปรี ยบคนอื่น ค่อนข้าง ไม่เห็นแก่ตวั ช่วยเหลือ เห็นแก่ตวั ไม่ค่อย หมู่คณะได้เป็ นอย่างดี ช่วยเหลือหมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง การกระทาที่ไม่ถูกต้อง ทุกครั้งทาใบงานได้ เป็ นบางครั้งทาใบงาน สะอาดเรี ยบร้อยและ ไม่ค่อยสะอาดเรี ยบร้อย ถูกต้องและทันเวลา และไม่ค่อยทันเวลา ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ที่ราคาค่อนข้างแพงและ คุม้ ค่าใช้จนหมดแล้ว ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้ไม่ ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้จนหมด ค่อยซื้อใหม่ หมดแล้วซื้อใหม่

แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ ๙

ชี้แจง ให้นกั เรี ยนกาเครื่ องหมาย  ทับตัวอักษรหน้าข้อที่ถูกต้อง

๑.

รู ปภาพนี้ตรงกับคาใด ก. ชาวเขา ค. ชาวไร่

ข. ชาวนา

๒.

รู ปภาพนี้ตรงกับคาใด ก. เย็บผ้า ข. ทอผ้า ค. ตัดผ้า

๓.

รู ปภาพนี้ตรงกับคาใด ก. ทหาร ข. ตารวจ ค. ชาวนา

๔.

เราจะพบสัตว์ชนิดนี้ได้ที่ใด

ก. ตามไร่ นา ค. ในน้ า ๕. สมบัติ ตรงกับรู ปภาพใด

ก.

ข. ในตูเ้ ย็น

ข.

ค. ๖. ภูผาเตรี ยมอะไรช่วยแม่ ก. เสื้ อผ้า ข. จัดอาหาร ค. จัดอุปกรณ์ทางาน ๗. เกิดเหตุการณ์ใดขึ้นกับพลายขอน ก. ตกน้ า ข. ตกหลุมลึก ค. โดนคนทาร้าย ๘. ในหลวงทรงกรางานหนักเพื่อใคร ก. พระราชินี ข. ประชาชน ค. พระราชโอรส ๙. ในหลวงทรงคิดค้นเกี่ยวกับอะไรเพื่อลดปัญหาน้ ามันแพง ก. การใช้พลังงานก๊าซจากพืช ข. ปรับลดราคาน้ ามันให้ถูกลง ค. ใช้น้ าแทนน้ ามัน

๑๐. พระราชินี ทรงทาการใดเพื่อเสริ มรายได้ให้กบั ประชาชน ก. ตั้งโรงทานขึ้น ข. ตั้งศูนย์ฝึกอาชีพ ค. ตั้งกองทุนเงินล้าน ๑๑. คาว่า “ ฤทธิ์” อ่านอย่างไร ก. รึ ด ข. ริ ด ค. ริ ด – ทิ ๑๒. คาว่า “ ฤๅษี” อ่านอย่างไร ก. รึ – สี ข. ระ – สี ค. รื อ – สี ๑๓. คาว่า “ ร้อน” ตรงข้ามกับคาใด ก. หนาว ข. เย็น ค. อบอ้าว ๑๔. “ มืด” ตรงข้ามกับคาใด ก. แจ้ง ข. ครึ้ ม ค. สว่าง ๑๕. คาใดคล้องจองกับคาว่า “หัวเราะ” ก. ยิงฟัน ข. เยาะเย้ย ค. ดีใจ

ใบงาน ชุดที่ ๑ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนนาคาที่กาหนดให้เขียนให้ตรงกับรู ปภาพ แผนที่ ทหาร ชาวไร่ ผ้าไหม ฝิ่ น ชาวเขา จุก นัง่ กอด หนู ทอ ชาวนา รับประทาน ตารวจ เจ็บป่ วย งานฝี มือ

๑.

๒.

๓.

๕.

๖.

๗.

๙.

๑๐.

๔.

๘.

๑๑.

๑๒.

๑๕.

๑๓.

๑๔.

๑๖.

ที่มาของรูปภาพ : สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พืน้ ฐำน . หนังสื อเรี ยน รำยวิชำพืน้ ฐำน ชุดภำษำเพื่อชีวิต ภำษำพำที , พิมพ์ ครั้ งที่ ๑. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลำดพร้ ำว, ๒๕๕๔

คาที่ตรงกับรู ปภาพ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖.

.............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. ..............................................

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ

การทาแบบทดสอบก่อนเรียน

การทาใบงาน ชุดที่ ๑









๑๐

๑๕

๑๐

๓๕

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ๒ หมายถึง ๑ หมายถึง

ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป ลงชื่ อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )

๓๐ – ๓๕ = ๓ ๒๐ – ๒๙ = ๒ ๑๐ – ๑๙ = ๑

ผ่ าน / ไม่ ผ่าน

มีจิตสาธารณะ



ใฝ่ เรียนรู้

รักความเป็ นไทย

ชื่ อ – สกุล

รวม

เลข ที่

แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๑ รู้จักคา นาเรื่ อง ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ หัวข้ อเรื่ อง รู้จักคา นาเรื่ อง วันที่ .......................................

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๑๐ ชั่วโมง เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้ใช้ แผน ................................

สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนาไปใช้ ตัดสิ นใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ๑. สาระสาคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด การเรี ยนรู ้คา ผูเ้ รี ยนต้องเรี ยนรู ้ท้ งั ในด้านองค์ประกอบ หลักการอ่านแจกลูก สะกดคา ความหมายและหลักการใช้ จึงจะสามารถนาคาไปใช้ได้ถูกต้องตามสถานการณ์ ๑.๒ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่ อสาร - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๒ อธิบายความหมายของคาและข้อความที่อ่าน ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรี ยนอ่านแจกลูกสะกดคาได้ ๓.๒ นักเรี ยนบอกความหมายของคาได้ ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ รักความเป็ นไทย ๔.๒ ใฝ่ เรี ยนรู ้ ๔.๓ มีจิตสาธารณะ

๔.๔ มีวินยั ๔.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ การอ่านออกเสี ยงและการบอกวามหมายของคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ที่ประกอบด้วยคาพื้นฐานเพิ่มจาก ป. ๑ ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ รู ้จกั คำนำเรื่ อง ๏ กำรบอกควำมหมำยของคำ ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และแบบประเมินผลงำน ๖.๒ กำรทำใบงำน ชุดที่ ๒ – ๓ ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ทบทวนคาที่เรี ยนในชัว่ โมงที่แล้วด้วยการให้นกั เรี ยนนาใบงานชุดที่ ๑ มาร่ วมกันตรวจสอบและเฉลยอีกครั้ง ๗.๒ แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ – ๕ คน ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันคิด ปริ ศนาคาทายให้ได้คาตอบตรงกับคานาเรื่ อง ในบทเรี ยนที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ โดยทายให้ กลุ่มอื่นช่วยกันหาคาที่เป็ นคาตอบของปริ ศนานั้น กลุ่มละ ๑ คาถาม เช่น “ใครเอ่ย ทางานไม่ได้นงั่ หลังสู ้ฟ้า หน้าสู ้ดิน ” คาตอบก็คือ ชาวนา ๗.๓ แข่งขันกันแสดงท่าประกอบคา ให้แต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมาแสดง ครู กาหนดคาให้ เช่น ครู กาหนดคาว่า “ นัง่ ” ให้ ให้ตวั แทนกลุ่มออกมาแสดงท่าทางนัง่ รวมกันตัดสิ นว่ากลุ่มใดแสดงได้ดีที่สุด สามารถสื่ อความหมายได้เร็ วที่สุด ๗.๔ ครู กาหนดคาใน “ รู ้จกั คานาเรื่ อง” ในบทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ให้ ๑๐ คา ให้นกั เรี ยนเขียนตามคาบอก เสร็ จแล้วครู เขียนเฉลยบนกระดาน นักเรี ยนแลกเปลี่ยนกัน ตรวจสอบความถูกต้อง

๗.๕ นักเรี ยนอ่านคาใหม่ในบทเรี ยน ในหนังสื อเรี ยนหน้า ๑๓๘– ๑๔๐ โดย อ่านทีละกลุ่ม จากนั้นครู สุ่มให้อ่านทีละคน พร้อมทั้งแจกลูกสะกดคา ๗.๕ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๒ ( ท้ายแผน ) ชุด เขียนแจกลูกสะกดคา จากนั้นนาส่ ง ครู ครู เฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง ๗.๖ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๓ ( ท้ายแผน ) ชุด เขียนคาที่เกิดจากการแจกสะกดคา ลูกที่กาหนดให้ เสร็ จแล้วนาส่ งครู ตรวจสอบความถูกต้อง ๘. สื่ อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสื อเรี ยนภาษาไทย ชุด ภาษาพาที ๒. รู ปภาพ ๓. ใบงาน ชุดที่ ๒ – ๓ ๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล ๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน

วิธีการวัดและประเมินผล

เครื่ องมือวัดผลและ ประเมินผล

• ด้านความรู ้ความเข้าใจ - การร่ วมสนทนา - การตอบคาถาม - การทาใบงาน • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์

- สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน

- แบบบันทึกการสังเกต - ใบงาน ชุดที่ ๒ – ๓ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล

- สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม กิจกรรม

- แบบประเมินผลงานรายบุคคล

• ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่ วมสนทนา

- การคิดท่าใบ้ประกอบคา

แบบประเมินผลงานรายบุคคล

๑๐. เกณฑ์ ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการทาใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทาได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการทาใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทาได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป

การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน

รักความเป็ นไทย

ใฝ่ เรียนรู้

มีจิตสาธารณะ

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

ดี (๒) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก

เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน พอใช้ (๑) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก มีความเสี ยสละเพื่อ ส่ วนรวมเป็ นบางครั้ง ไม่เอาเปรี ยบไม่เห็นแก่ ตัว ไม่ค่อยช่วยเหลือ หมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง เกือบทุกครั้ง ทาใบงาน ได้สะอาดเรี ยบร้อย ไม่ ค่อยทันเวลา

ปรับปรุ ง (๐) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุ ขเป็ นบางครั้ง

กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก ไม่ค่อยเสี ยสละเพื่อ มีความเสี ยสละเพื่อ ส่วนรวม ชอบเอา ส่วนรวม ไม่เอาเปรี ยบ เปรี ยบคนอื่น ค่อนข้าง ไม่เห็นแก่ตวั ช่วยเหลือ เห็นแก่ตวั ไม่ค่อย หมู่คณะได้เป็ นอย่างดี ช่วยเหลือหมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง การกระทาที่ไม่ถูกต้อง ทุกครั้งทาใบงานได้ เป็ นบางครั้งทาใบงาน สะอาดเรี ยบร้อยและ ไม่ค่อยสะอาดเรี ยบร้อย ถูกต้องและทันเวลา และไม่ค่อยทันเวลา ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ที่ราคาค่อนข้างแพงและ คุม้ ค่าใช้จนหมดแล้ว ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้ไม่ ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้จนหมด ค่อยซื้อใหม่ หมดแล้วซื้อใหม่

ใบงาน ชุดที่ ๒ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคาที่เกิดจากการแจกลูกสะกดคา ให้ถูกต้อง

พยัญชนะต้น

สระ

ตัวสะกด

ก ส พ ป อ ด ร ล ค ห ย

-อ -อ -อ -อ -อ -อ -อ -อ -อ -อ -อ

บ ด ง บ ม ก ด ง ม บ ด

คา

ชื่ อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............

ใบงาน ชุดที่ ๓ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคาที่เกิดจากการแจกลูกสะกดคาต่อไปนี้ และฝึ กอ่านให้คล่อง ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐.

ชื่ อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ

การทาใบงาน ชุดที่ ๒

การทาใบงาน ชุดที่ ๓

รวม

มีจิตสาธารณะ



ใฝ่ เรียนรู้

รักความเป็ นไทย

ชื่ อ – สกุล









๑๐

๑๐

๑๐

๓๐

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ๒ หมายถึง ๑ หมายถึง

ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป ลงชื่ อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )

๓๐ – ๓๕ = ๓ ๒๐ – ๒๙ = ๒ ๑๐ – ๑๙ = ๑

ผ่ าน / ไม่ ผ่าน

เลข ที่

แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ รู้จักคา นาเรื่ อง ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ หัวข้ อเรื่ อง การอ่านออกเสี ยง วันที่ .......................................

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๑๐ ชั่วโมง เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้ใช้ แผน ................................

สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนาไปใช้ ตัดสิ นใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ๑. สาระสาคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด การอ่านเป็ นพฤติกรรมในการเรี ยนรู ้ที่จาเป็ นสาหรับผูเ้ ริ่ มเรี ยน การอ่าน ออกเสี ยงผูอ้ า่ นต้องรู ้ที่มาและองค์ประกอบของคา จึงจะทาให้อ่านได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ๑.๒ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่ อสาร - ความสามารถในการคิด ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๑ อ่านออกเสี ยงคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรอง ง่ายๆได้ถูกต้อง ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรี ยนอ่านออกเสี ยงเนื้อหาในบทเรี ยนได้ ๓.๒ นักเรี ยนตอบคาถามจากเรื่ องที่อ่านได้ ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ รักความเป็ นไทย ๔.๒ ใฝ่ เรี ยนรู ้

๔.๓ มีจิตสาธารณะ ๔.๔ มีวินยั ๔.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ การอ่านออกเสี ยงและการบอกวามหมายของคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ที่ประกอบด้วยคาพื้นฐานเพิ่มจาก ป. ๑ ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ การอ่านออกเสี ยงบทเรี ยนเรื่ อง “รักพ่อ รักแม่” ๏ กำรตอบคำถำม ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และแบบประเมินผลงำน ๖.๒ กำรทำใบงำน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ทบทวนเนื้อหาที่เรี ยนในชัว่ โมงที่แล้วด้วยการให้นกั เรี ยนนาใบงานชุดที่ ๒ – ๓ มาร่ วมกันตรวจสอบและเฉลยอีกครั้ง ๗.๒ แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ – ๕ คน ให้แต่ละกลุ่มเลือก ประธานกลุ่ม รองประธานกลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ครู อธิบายบทบาทและหน้าที่ของ สมาชิกทุกคนในกลุ่มให้นกั เรี ยนทราบ ๗.๓ ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มอ่านออกเสี ยงเนื้อหาบทเรี ยน จากหนังสื อภาษาไทย ชุด ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ บทที่ ๙ “ รักพ่อ รักแม่” จากหน้า ๑๔๑ ถึง หน้า ๑๔๗ กลุ่มละ ๑ หน้า จากนั้นทุกกลุ่มอ่านพร้อมกันอีกครั้ง ๗.๔ ครู ต้งั คาถามต่อไปนี้ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มตอบ ▪ เหตุใด บทเรี ยนนี้จึงตั้งชื่อว่า “ รักพ่อ รักแม่” ▪ นักเรี ยนเคยแสดงออกว่าตนเองรักพ่อรักแม่อย่างไรบ้าง ▪ ควาญโพ เล่าเรื่ องเกี่ยวกับอะไรให้เด็กๆฟัง

▪ ทุกคนขาเรื่ องใด ในวงกินข้าว ▪ เหตุใด น้ าใสและภูผาจึงสงสารพ่อ ▪ นักเรี ยนได้ขอ้ คิดอย่างไรบ้างจากบทเรี ยนเรื่ องนี้

ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนคาตอบลงในแผ่นกระดาษ จากนั้นส่ งตัวแทนออกมา อ่านคาตอบที่หน้าชั้นเรี ยน ครู ชมเชยกลุ่มที่ตอบได้ดี ๗.๕ รวมกันสนทนาถึงเนื้อหาของเรื่ อง “ รักพ่อ รักแม่” ครู ซกั ถามนักเรี ยนว่า นักเรี ยนได้อะไรบ้างจากการอ่านเรื่ องนี้ ๗.๖ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๔ ( ท้ายแผน ) ชุด ตอบคาถามจากเรื่ องที่อ่าน เสร็ จแล้วครู เฉลยและนาส่ งครู ตรวจสอบความถูกต้อง ๗.๗ นักเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันทาใบงานที่ ๕ ( ท้ายแผน ) ชุดแต่งประโยคจาก คาที่กาหนดให้ เสร็ จแล้วให้สมาชิกแต่ละคนคัดลอกลงในสมุดงานของตนเอง ส่ งตัวแทน อ่านประโยคที่กลุ่มของตนเองแต่งที่หน้าชั้นเรี ยน ๘. สื่ อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ๒. รู ปภาพ ๓. ใบงาน ชุดที่ ๔ – ๕ ๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน

วิธีการวัดและประเมินผล

เครื่ องมือวัดผลและ ประเมินผล

• ด้านความรู ้ความเข้าใจ - การร่ วมสนทนา - การตอบคาถาม - การทาใบงาน • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์

- สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน

- แบบบันทึกการสังเกต - ใบงาน ชุดที่ ๔ – ๕ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล

- สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม กิจกรรม

- แบบประเมินผลงานรายบุคคล

• ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่ วมสนทนา

- การคิดท่าใบ้ประกอบคา

แบบประเมินผลงานรายบุคคล

๑๐. เกณฑ์ ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการอ่าน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี อ่านออกเสี ยงได้ถูกต้อง ชัดเจน ถูกอักขระวิธี ไม่มีคาอ่านผิด ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ อ่านออกเสี ยงได้ถูกต้อง ชัดเจน ถูกอักขระวิธี อ่านผิด ๑ คา ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง อ่านออกเสี ยงได้ถูกต้อง ชัดเจน ถูกอักขระวิธี อ่านผิด ๒ คาขึ้นไป เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการทาใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทาได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป

การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน

รักความเป็ นไทย

ใฝ่ เรียนรู้

มีจิตสาธารณะ

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

ดี (๒) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก

เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน พอใช้ (๑) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก มีความเสี ยสละเพื่อ ส่ วนรวมเป็ นบางครั้ง ไม่เอาเปรี ยบไม่เห็นแก่ ตัว ไม่ค่อยช่วยเหลือ หมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง เกือบทุกครั้ง ทาใบงาน ได้สะอาดเรี ยบร้อย ไม่ ค่อยทันเวลา

ปรับปรุ ง (๐) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุ ขเป็ นบางครั้ง

กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก ไม่ค่อยเสี ยสละเพื่อ มีความเสี ยสละเพื่อ ส่วนรวม ชอบเอา ส่วนรวม ไม่เอาเปรี ยบ เปรี ยบคนอื่น ค่อนข้าง ไม่เห็นแก่ตวั ช่วยเหลือ เห็นแก่ตวั ไม่ค่อย หมู่คณะได้เป็ นอย่างดี ช่วยเหลือหมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง การกระทาที่ไม่ถูกต้อง ทุกครั้งทาใบงานได้ เป็ นบางครั้งทาใบงาน สะอาดเรี ยบร้อยและ ไม่ค่อยสะอาดเรี ยบร้อย ถูกต้องและทันเวลา และไม่ค่อยทันเวลา ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ที่ราคาค่อนข้างแพงและ คุม้ ค่าใช้จนหมดแล้ว ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้ไม่ ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้จนหมด ค่อยซื้อใหม่ หมดแล้วซื้อใหม่

ใบงาน ชุดที่ ๔ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนตอบคาถามต่อไปนี้ ๑. เหตุใด บทเรี ยนนี้จึงตั้งชื่อว่า “ รักพ่อ รักแม่” ๒. ภูผาเตรี ยมอะไรช่วยแม่ ๓. เกิดเหตุการณ์ใดขึ้นกับพลายขอน ๔. ในหลวงทรงเสด็จไปในที่ใดบ้าง ๕. ในหลวงทรงคิดค้นเกี่ยวกับอะไรเพื่อลดปัญหาน้ ามันแพง ๖. ในหลวงทรงสนพระทัย ดูแลในเรื่ องใดมากที่สุด ๗. เหตุใดภูผาจึงคิดว่า ใบโบก ใบบัวจะสบายแล้ว ๘. พระราชินี ทรงทาการใดเพื่อเสริ มรายได้ให้กบั ประชาชน ๙. นักเรี ยนมีวิธีการสร้างรายได้ให้กบั ตนเองหรื อไม่ อย่างไร ๑๐. จากเรื่ อง “ รักพ่อ รักแม่” นักเรี ยนได้ขอ้ คิดอย่างไร

ชื่ อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............

ใบงาน ชุดที่ ๕ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันแต่งประโยคจากกคา ที่กาหนดให้ ๑.

ฝิ่ น

๒.

เจ็บป่ วย

๓.

กอด

๔.

ผ้ าไหม

๕.

แผนที่

๖.

ชาวเขา

๗.

ชาวนา

๘.

ชาวไร่

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ

การทาใบงาน ชุดที่ ๔

การทาใบงาน ชุดที่ ๕

รวม

มีจิตสาธารณะ



ใฝ่ เรียนรู้

รักความเป็ นไทย

ชื่ อ – สกุล









๑๐

๑๐

๑๐

๓๐

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ๒ หมายถึง ๑ หมายถึง

ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป ลงชื่ อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )

๓๐ – ๓๕ = ๓ ๒๐ – ๒๙ = ๒ ๑๐ – ๑๙ = ๑

ผ่ าน / ไม่ ผ่าน

เลข ที่

แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๓ การอ่านออกเสี ยง ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ หัวข้ อเรื่ อง การอ่านคิดวิเคราะห์ วันที่ .......................................

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๑๐ ชั่วโมง เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้ใช้ แผน ................................

สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนาไปใช้ ตัดสิ นใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ๑. สาระสาคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด การวิเคราะห์เรื่ อง เป็ นการพิจารณาเรื่ องราวต่าง ๆ อย่างละเอียดตั้งแต่ตน้ จน จบ เพื่อแยกแยะข้อเท็จจริ งและข้อคิดเห็น มีการใช้เหตุผลในการแยกส่ วนดี ส่ วนบกพร่ อง ของเรื่ องนั้น ๆ การจะย่อความและวิเคราะห์เรื่ องได้ดีนอกจากจะเป็ นคนชอบอ่านแล้วยัง ต้องหมัน่ ฝึ กการย่อความและวิเคราะห์เป็ นประจาด้วย ดังนั้นจะต้องเรี ยนรู ้และนาไปใช้ให้ ถูกต้อง จึงจะถือว่าประสบความสาเร็ จในการเรี ยนภาษา ๑.๒ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๔ ระบุใจความสาคัญและรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๕ แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ อง ที่อ่าน

๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรี ยนบอกเนื้อหำสำระในบทเรี ยนได้ ๓.๒ นักเรี ยนวิเครำะห์และแสดงควำมคิดเห็นในบทเรี ยนได้ ๓.๓ นักเรี ยนนำข้อคิดจำกเรื่ องมำใช้ในชีวิตประจำวันได้ ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ รักความเป็ นไทย ๔.๒ ใฝ่ เรี ยนรู ้ ๔.๓ มีจิตสาธารณะ ๔.๔ มีวินยั ๔.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ การอ่านจับใจความจากสื่ อต่างๆ เช่น ▪ นิทาน ▪ เรื่ องเล่าสั้น ๆ ▪ บทเพลงและบทร้อยกรองง่ายๆ ▪ เรื่ องราวจากบทเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย และกลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้อื่น ▪ ข่าวและเหตุการณ์ประจาวัน ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ การอ่านคิดวิเคราะห์เรื่ อง “ รักพ่อ รักแม่” ๏ กำรแสดงควำมคิดเห็น ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และแบบประเมินผลงำน ๖.๒ กำรทำใบงำน

๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ทบทวนเนื้อหาที่เรี ยนในชัว่ โมงที่แล้วด้วยการให้นกั เรี ยนนาใบงานชุดที่ ๔ – ๕ มาร่ วมกันตรวจสอบและเฉลยอีกครั้ง ๗.๒ แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ – ๕ คน ให้แต่ละกลุ่มเลือก ประธานกลุ่ม รองประธานกลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ครู อธิบายบทบาทและหน้าที่ของ สมาชิกทุกคนในกลุ่มให้นกั เรี ยนทราบ ๗.๒ ครู ทดสอบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของแต่ละกลุ่ม โดยให้อ่าน นิทาน ( ท้ายแผน ) แล้วแต่ละกลุ่มตั้งคาถามให้กลุ่มอื่นตอบแบบปากเปล่า ส่ งตัวแทน ออกมาตอบคาถามที่หน้าชั้นเรี ยน ร่ วมกันชมเชยกลุ่มที่ตอบได้ถูก ๗.๓ ให้นกั เรี ยนอ่านออกเสี ยงเนื้อหาบทเรี ยน จากหนังสื อภาษาไทยชุด ภาษา พาที ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ บทที่ ๙ “ รักพ่อ รักแม่” จากหน้า ๑๔๑ ถึงหน้า ๑๔๗ พร้อมกัน แล้วร่ วมกันสนทนาถึงเนื้อหาของเรื่ อง ๗.๔ ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่ม ร่ วมกันแสดงความคิดเห็นว่า เหตุใดเรื่ องนี้จึงตั้งชื่อ ว่า “ รักพ่อ รักแม่” นักเรี ยนรักพ่อ รักแม่ หรื อไม่ สิ่ งใดที่แสดงออกได้วา่ นักเรี ยนรักพ่อ รักแม่ ให้แต่ละกลุ่มเสนอแนวทาง โดยเขียนแล้วส่ งตัวแทนออกมาอ่านที่หน้าชั้นเรี ยน ๗.๕ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๖ ( ท้ายแผน ) ชุด บอกการกระทาที่แสดงออกว่า รักพ่อ รักแม่ จากนั้นนาส่ งครู ครู เฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง ๗.๖ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๗ ( ท้ายแผน ) ชุด เขียนคาให้ตรงกับข้อความ เสร็ จ แล้วนาส่ งครู ตรวจสอบความถูกต้อง ๘. สื่ อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ๒. นิทาน ๓. ใบงาน ชุดที่ ๖ – ๗ ๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน

วิธีการวัดและประเมินผล

เครื่ องมือวัดผลและ ประเมินผล

• ด้านความรู ้ความเข้าใจ - การร่ วมสนทนา - การตอบคาถาม - การทาใบงาน • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์

- สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน

- แบบบันทึกการสังเกต - ใบงาน ชุดที่ ๖ – ๗ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล

- สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม กิจกรรม

- แบบประเมินผลงานรายบุคคล

• ด้านทักษะกระบวนการคิด การตั้งคาถาม ตอบคาถาม

- สังเกต

นิทาน

๑๐. เกณฑ์ ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการแสดงความคิดเห็น มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี กล้าพูดแสดงความคิดเห็น ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ไม่ค่อยกล้าแสดงความคิดเห็น ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ไม่พูดแสดงความคิดเห็น เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการทาใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทาได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป

การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน

รักความเป็ นไทย

ใฝ่ เรียนรู้

มีจิตสาธารณะ

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

ดี (๒) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก

เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน พอใช้ (๑) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก มีความเสี ยสละเพื่อ ส่ วนรวมเป็ นบางครั้ง ไม่เอาเปรี ยบไม่เห็นแก่ ตัว ไม่ค่อยช่วยเหลือ หมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง เกือบทุกครั้ง ทาใบงาน ได้สะอาดเรี ยบร้อย ไม่ ค่อยทันเวลา

ปรับปรุ ง (๐) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุ ขเป็ นบางครั้ง

กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก ไม่ค่อยเสี ยสละเพื่อ มีความเสี ยสละเพื่อ ส่วนรวม ชอบเอา ส่วนรวม ไม่เอาเปรี ยบ เปรี ยบคนอื่น ค่อนข้าง ไม่เห็นแก่ตวั ช่วยเหลือ เห็นแก่ตวั ไม่ค่อย หมู่คณะได้เป็ นอย่างดี ช่วยเหลือหมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง การกระทาที่ไม่ถูกต้อง ทุกครั้งทาใบงานได้ เป็ นบางครั้งทาใบงาน สะอาดเรี ยบร้อยและ ไม่ค่อยสะอาดเรี ยบร้อย ถูกต้องและทันเวลา และไม่ค่อยทันเวลา ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ที่ราคาค่อนข้างแพงและ คุม้ ค่าใช้จนหมดแล้ว ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้ไม่ ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้จนหมด ค่อยซื้อใหม่ หมดแล้วซื้อใหม่

นิ ทาน เรื่องนกกระจาบกับพระยาหงส์ ว่ากันว่านกที่ตวั เล็กและขี้เหร่ ที่สุดก็คือ นกกระจาบ ส่ วนนกที่ สวยและงามสง่าที่สุดก็คือ หงส์ นกกระจาบตัวหนึ่งทาลังออกไข่อยูบ่ นกอหญ้า ขณะออกไปหากิน กระต่ายป่ าซึ่งอาศัยอยูใ่ นโพรงใกล้ ๆ ก็แอบย่องมาขโมยไข่ของนก กระจาบไปกิน จากเดิมที่มีไข่อยูส่ ามฟอง ถูกขโมยกินไปเสี ยสอง เมื่อ กลับมาถึงรัง นกกระจาบเห็นไข่เหลือเพียงฟองเดียวก็ร้อนใจอย่างยิง่ จึง บินไปฟ้องหงส์ นกกระจาบกล่าวด้วยความขมขื่นว่า “ท่านหงส์เจ้าแห่งนกทั้งปวง ....ได้โปรดช่วยข้าด้วย ข้าช่างเคราะห์ร้ายที่เสี ยลูกไป เพราะเจ้ากระต่าย ป่ าใจร้ายมาขโมยกินไข่ของข้า ท่านโปรดให้ความยุติธรรมแก่ขา้ ด้วยเถิด” หงส์เห็นนกกระจาบตัวเล็กเท่าหัวแม่มือมาจุกจิกกวนใจรู ้สึกเบื่อ เต็มทน จึงปัดไปว่า “นกกระจาบเอ๋ ย....เจ้าไม่รู้หรื อว่าข้ามีงานยุง่ ทั้งวัน เรื่ องเล็กๆ น้อย ๆ แค่น้ ีก็มารบกวน จะให้ขา้ ช่วยเจ้าได้อย่างไร ลูกของใครคนนั้นก็ ต้องดูแลเอาเองสิ ” นกกระจาบเห็นหงส์ไม่แยแส ก็รู้สึกเจ็บใจ “ท่านเป็ นถึงพญาหงส์เจ้าแห่งนก ข้าจึงมาขอพึ่งท่าน แต่ท่านกลับลบหลู่ ดูหมิ่น หาว่าเป็ นเรื่ องเล็ก ต่อไปวันข้างหน้าถ้าเรื่ องกลายเป็ นเรื่ องใหญ่ แล้วท่านจะเสี ยใจภายหลังนะ”

หงส์ทาหู ทวนลม ส่ งเสี ยง อือ อือ อยูใ่ นลาคอ นกกระจาบกลับลังไปด้วยความเสี ยใจ มันตั้งใจว่าจะต้องสั่ง สอนกระต่ายป่ าให้รู้สานึก และเลิกรังแกผูอ้ ื่นเสี ยที ดังนั้นจึงเก็บเศษหญ้า ชิ้นเล็กชิ้นน้อยมาทาเป็ นลูกศร แอบอยูบ่ นกิ่งไม้ คอยจ้องเจ้ากระต่ายป่ าขี้ ขโมย จากนั้นไม่นาน กระต่ายป่ าก็ดอดมาที่รังของนกกระจาบเพื่อหวัง ว่าจะขโมยกินไข่ที่เหลืออีกหนึ่งฟอง นกกระจาบโกรธจัดจึงออกแรง เหนี่ยวลูกศรหญ้าเต็มที่ ลูกศรยิงถูกเข้าที่สะโพกกระต่ายอย่างจัง กระต่าย ป่ าเจ็บปวดมาก กระโดดร้องกรี๊ ดๆและวิ่งเตลิดไปจนถึงริ มทะเล ขณะเดียวกันนั้นเอง สิ งโตตัวใหญ่นอนหลับอยูข่ า้ งโขดหิน กระต่ายป่ าหลับหู หลับตาวิ่งปรู๊ ดผ่านไปบนหัวสิ งโตสิ งโตตกใจจึงนึกว่า อะไรตกใส่ โครมใหญ่จึงผลุนผลันกระโจนลงไปในทะเลอย่างไม่รู้เหนือ รู ้ใต้ มังกรที่กาลังเล่นน้ าเพลิน เห็นสิ งโตกระโจนเข้าใส่ อย่างกะทันหัน จึงคิดว่าสิ งโตจะตะครุ บตนกินเป็ นอาหาร ก็พรวดพราดเหาะขึ้นไปบน ท้องฟ้า บังเอิญผ่านไปทางรังหงส์ จึงชนรังหงส์เข้าอย่างจัง ไข่หงส์ลงมา แตกกระจาย หงส์โกรธจัด จึงต่อว่ามังกรอย่างรุ นแรง “ท่านเป็ นมังกรอยูใ่ นทะเล ข้าเป็ นหงส์อยูบ่ นฟ้า เราต่างไม่เคย ล่วงล้ าก้าวก่ายกัน ท่านรู ้ไหมปี หนึ่งข้าออกไข่เพียงฟองเดียวแล้วทาไม ท่านถึงเหาะขึ้นมาชนรังของข้าจนไข่ตกแตกเช่นนี้”

“เรื่ องนั้นโทษข้าไม่ได้หรอก” มังกรตอบ “วันนี้ ตอนข้ากาลังง่าย น้ าอยูใ่ นทะเล มีสิงโตตัวหนึ่งกระโจนลงไปจะกินข้า ข้าตกใจจึงเหาะ ขึ้นมาบนฟ้า ไม่ได้ต้ งั ใจจะชนรังของท่านหรอก ท่านควรไปถามสิ งโต ต่างหากว่าทาไมถึงกระโจนไปกินข้าในทะเล” สิ งโตอธิบายว่า “ท่านจะมาโทษข้าได้อย่างไรกัน ข้ากาลังนอนอยูท่ ี่ ริ มฝั่งทะเล เจ้ากระต่ายป่ าก็วิ่งปราดเข้ามาเหยียบหัวข้าข้าทั้งเจ็บทั้งตกใจ จึงกระโจนลงไปในทะเลเป็ นความผิดของกระต่ายป่ าต่างหากเล่า” หงส์ไม่รู้จะทาอย่างไรจึงไปหากระต่ายป่ า กระต่ายป่ ากล่าวว่า “เรื่ องนี้ไม่ใช่ความผิดของข้าหรอก เป็ น ความผิดของนกกระจาบต่างหาก ตอนที่ขา้ เดินอยูใ่ นพงหญ้า มันก็เอา ลูกศรมายิงใส่ ข้าเจ็บเหลือเกินไม่รู้จะไปทางไหนดี เลยวิ่งเตลิดไปเหยียบ หัวสิ งโตเข้า ท่านควรไปถามนกกระจาบดูจะดีกว่า” หงส์รุดไปถามนกกระจาบทันที นกกระจาบจึงเชิดหน้าตอบอย่าง เคร่ งขรึ มว่า “ท่านหงส์....เคยดูถูกข้า เห็นว่าข้าตัวเล็กและอ่อนกาลังจึงไม่ แยแสต่อคาพูดของข้า ทั้งยังหาว่าเรื่ องลูกนั้น พ่อแม่ตอ้ งเป็ นคนดูแลเอง แต่วนั นี้ทาไมท่านไม่ดูแลลูกของท่านให้ดี เที่ยวไปตีโพยตีพายเอากับ ผูอ้ ื่น มังกรชนรังของท่านแล้วทาไข่แตกท่านถือเป็ นเรื่ องใหญ่ แต่ กระต่ายป่ ากินไข่ของข้า กลับไม่ใช่เรื่ องใหญ่ นกกระจาบอย่างข้าทารัง อยูบ่ นกอหญ้า มีไข่สามฟองและต้องออกไปหากินทุกวัน แต่ไข่ของท่าน อยูบ่ นต้นไม้สูงมีเพียงฟองเดียวท่านน่าจะดูแลลูกได้ดีกว่าข้านะ อ้อ....อีก อย่าง ข้าเคยบอกแล้วว่าเรื่ องเล็กน้อยไม่จดั การเสี ย ต่อไปข้างหน้าจะ กลายเป็ นเรื่ องใหญ่ก็อย่าเสี ยใจ”

หงส์ได้ยนิ ดังนั้น ก็รู้สึกละอายใจไม่รู้จะทาอย่างไร ได้แต่บินคอตก กลับไป มันสานึกได้วา่ ความจริ งทุกชีวิตก็มีค่าเท่าเทียมกัน ไม่มีใครดีกว่า หรื อด้อยกว่าใคร เมื่อมีผอู ้ ื่นมาขอความช่วยเหลือก็ควรเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ช่วย แก้ปัญหา เพราะไม่แน่วา่ วันหนึ่งปัญหาเดียวกันอาจเกิดขึ้นกับตัวเองบ้าง ก็ได้

นิ ทานเรื่ องนี้ สอนให้รูว้ า่ อย่าดูถูกผูท้ ่ ีตวั เล็กและต้อยต่ ากว่า

ใบงาน ชุดที่ ๖ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนบอกการกระทาที่แสดงว่ารักพ่อ รักแม่ ลงในแผนภาพนี้

การกระทาที่แสดงว่ารักพ่อ รักแม่

ชื่ อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............

ใบงาน ชุดที่ ๗ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคาที่ตรงกับความหมายที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙

ความหมาย คนที่ทาหน้าที่รักษาและป้องกันประเทศ คนที่ทางานหนักหลังสู ้ฟ้า หน้าสู ้ดิน คนที่ทาหน้าที่รักษาความสงบ ปราบปรามโจรผูร้ ้าย สัตว์เล็กๆ ๔ ขาที่ชอบกินพืชผลของชาวไร่ ชาวนา สภาวะที่ร่างกายไม่ปกติ มีอาการทรุ ดโทรม การที่คนสองคนใช้แขนสองข้างเกี่ยวรัดกัน กลุ่มชนที่อาศัยอยูบ่ นเขาบนดอย คนที่มีอาชีพปลูกอ้อย ปอ ส่ งขาย พืชที่ถือว่าเป็ นสิ่ งเสพติดชนิดหนึ่งที่สมัยก่อนคนที่อยู่ บนดอยปลูกกันมาก ๑๐ คาที่ตรงข้ามกับ ตื้น

คา

บท

ชื่ อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............

เฉลยใบงานที่ ๗ ๑. ทหาร ๒. ชาวนา ๓. ตารวจ ๔. หนู ๕. เจ็บป่ วย ๖. กอด ๗. ชาวเขา ๘. ชาวไร่ ๙. ฝิ่ น ๑๐. ลึก

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ

การทาใบงาน ชุดที่ ๖

การทาใบงาน ชุดที่ ๗

รวม

มีจิตสาธารณะ



ใฝ่ เรียนรู้

รักความเป็ นไทย

ชื่ อ – สกุล









๑๐

๑๐

๑๐

๓๐

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ๒ หมายถึง ๑ หมายถึง

ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป ลงชื่ อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )

๓๐ – ๓๕ = ๓ ๒๐ – ๒๙ = ๒ ๑๐ – ๑๙ = ๑

ผ่ าน / ไม่ ผ่าน

เลข ที่

แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๔ การอ่านวิเคราะห์ ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ หัวข้ อเรื่ อง คาขยายกริยา ( วิเศษณ์ ) วันที่ .......................................

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๑๐ ชั่วโมง เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้ใช้ แผน ................................

สาระที่ ๔ หลักภาษา มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของ ภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทย ไว้เป็ นสมบัติของชาติ ๑. สาระสาคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด การเรี ยนรู ้คา นอกจากเรี ยนรู ้เพื่อสื่ อความหมายแล้วยังต้องเรี ยนรู ้ในด้าน ประเภทและชนิดของคา หน้าที่ของคา และนาคานั้นไปใช้ให้ถูกต้องตามบริ บท คา วิเศษณ์หมายถึงคาที่ใช้ขยายคานามและคากริ ยา เพื่อบอกลักษณะรู ปร่ างและอาการของ การกระทาของคานามต่างๆ ๑.๒ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่ อสาร - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๒ / ๒ เรี ยบเรี ยงคาเป็ นประโยคได้ตรงตามเจตนาของ การสื่ อสาร ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรี ยนบอกควำมหมำยของคำวิเศษณ์ได้ ๓.๒ นักเรี ยนใช้คำวิเศษณ์ได้

๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ รักความเป็ นไทย ๔.๒ ใฝ่ เรี ยนรู ้ ๔.๓ มีจิตสาธารณะ ๔.๔ มีวินยั ๔.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ การแต่งประโยค ๏ การเรี ยบเรี ยงประโยคเป็ นข้อความสั้นๆ ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ การอ่านสะกดคา ๏ ควำมหมำยของคำ และกำรนำคำไปใช้ ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และแบบประเมินผลงำน ๖.๒ กำรทำใบงำน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ทบทวนเนื้อหาที่เรี ยนในชัว่ โมงที่แล้วด้วยการให้นกั เรี ยนนาใบงานชุดที่ ๖ – ๗ มาร่ วมกันตรวจสอบและเฉลยอีกครั้ง ๗.๒ ครู ใช้รูปภาพ ต่อไปนี้แสดงให้นกั เรี ยนดู

๑. ๒. ถามนักเรี ยนว่า มีความแตกต่างกันอย่างไร คาตอบที่ตอ้ งการคือ ภาพที่ ๑ เป็ น ชายแก่ ภาพที่ ๒ เป็ นชายหนุ่ม ครู อธิบายความหมายของ “ หนุ่ม” และ “แก่” ว่า

คาสองคานี้ใช้ขยาย คาว่า “ ชาย” บอกให้รู้วา่ ผูช้ ายคนแรกเป็ นชายแก่ ผูช้ ายคนที่ ๒ เป็ น ชายหนุ่ม คาว่า “ หนุ่ม” และ “แก่” เป็ นคาขยาย หรื อเรี ยกว่าคาวิเศษณ์ ๗.๓ ให้นกั เรี ยนทุกคนสังเกตดูสิ่งต่างๆในห้องเรี ยน เช่น กระดาน โต๊ะ เก้าอี้ มีรูปร่ างลักษณะหรื อมีสีใด ให้ทุกคนบอกชื่อสิ่ งของเหล่านั้นพร้อมหาคามาขยายให้ตรง กับความเป็ นจริ ง ๗.๔ ให้นกั เรี ยนแต่ละคนแต่งประโยคเพื่ออธิบายรู ปร่ างลักษณะของเพื่อนที่ ตนเองสนิท เช่น สู ง เตี้ย ผิวดา ผิวขาว อ้วน ผอม เป็ นต้น โดยพูดปากเปล่าทีละคน ครู คอยแนะนาแก้ไขถ้านักเรี ยนใช้คาขยายผิด ๗.๕ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๘ ( ท้ายแผน ) ชุด บอกคาขยายของสิ่ งที่อยูใ่ นรู ปภาพ ที่กาหนดให้ เสร็ จแล้วครู เฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง ๗.๖ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๙ ( ท้ายแผน ) ชุด เขียนคาขยายให้ตรงกับคา ที่กาหนด ให้เสร็ จแล้วนาส่ งครู ตรวจสอบความถูกต้อง ๘. สื่ อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ๒. รู ปภาพ ๓. ใบงาน ชุดที่ ๘ – ๙ ๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน

วิธีการวัดและประเมินผล

เครื่ องมือวัดผลและ ประเมินผล

• ด้านความรู ้ความเข้าใจ - การร่ วมสนทนา - การตอบคาถาม - การทาใบงาน • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์

- สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน

- แบบบันทึกการสังเกต - ใบงาน ชุดที่ ๘ – ๙ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล

- สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม กิจกรรม

- แบบประเมินผลงานรายบุคคล

• ด้านทักษะกระบวนการคิด การแต่งประโยค

- สังเกต

แบบประเมินผลงานรายบุคคล

๑๐. เกณฑ์ ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการใช้คาขยาย มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ใช้คาขยายได้ถูกต้องทั้งหมด ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ใช้คาขยาย ผิด ๑ คา ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ใช้คาผิด ๒ คาขึ้นไป เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๒ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการทาใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทาได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป

การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน

รักความเป็ นไทย

ใฝ่ เรียนรู้

มีจิตสาธารณะ

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

ดี (๒) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก

เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน พอใช้ (๑) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก มีความเสี ยสละเพื่อ ส่ วนรวมเป็ นบางครั้ง ไม่เอาเปรี ยบไม่เห็นแก่ ตัว ไม่ค่อยช่วยเหลือ หมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง เกือบทุกครั้ง ทาใบงาน ได้สะอาดเรี ยบร้อย ไม่ ค่อยทันเวลา

ปรับปรุ ง (๐) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุ ขเป็ นบางครั้ง

กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก ไม่ค่อยเสี ยสละเพื่อ มีความเสี ยสละเพื่อ ส่วนรวม ชอบเอา ส่วนรวม ไม่เอาเปรี ยบ เปรี ยบคนอื่น ค่อนข้าง ไม่เห็นแก่ตวั ช่วยเหลือ เห็นแก่ตวั ไม่ค่อย หมู่คณะได้เป็ นอย่างดี ช่วยเหลือหมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง การกระทาที่ไม่ถูกต้อง ทุกครั้งทาใบงานได้ เป็ นบางครั้งทาใบงาน สะอาดเรี ยบร้อยและ ไม่ค่อยสะอาดเรี ยบร้อย ถูกต้องและทันเวลา และไม่ค่อยทันเวลา ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ที่ราคาค่อนข้างแพงและ คุม้ ค่าใช้จนหมดแล้ว ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้ไม่ ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้จนหมด ค่อยซื้อใหม่ หมดแล้วซื้อใหม่

ใบงาน ชุดที่ ๘ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคาขยายที่ตรงกับรู ปภาพต่อไปนี้

๑.

๒.

๓.

๔.

๕.

๖.

๗.

๘.

๙.

๑๐.

ใช้ คาขยายอธิบายรูปภาพ ๑. ผูช้ าย .........................

๒. นก .............................

๓. ฟัน ............................

๔. วิ่ง ..............................

๕. เสื้ อ ............................

๖. เสื้ อ .............................

๗. น้ า .............................

๘. ต้นไม้ ............................

๙. ตู้ ...............................

๑๐. เด็ก ..............................

ชื่ อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............

ใบงาน ชุดที่ ๙ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคาขยายคาต่อไปนี้ให้ตรงกับความเป็ นจริ ง ตัวอย่าง ไฟ = ร้อน

๑. น้ าแข็ง ........................

๒. ช้าง ......................

๒. มะนาว .......................

๔. กล้วย .....................

๕. ทางาน ........................

๖. น้ าตาล ..................

๗. ปลา ............................

๘. ก๊าซ .......................

๙. สาว ............................

๑๐. ลิง .......................

ชื่ อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ

การทาใบงาน ชุดที่ ๘

การทาใบงาน ชุดที่ ๙









๑๐

๑๐

๑๐

๓๐

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ๒ หมายถึง ๑ หมายถึง

ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป ลงชื่ อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )

๓๐ – ๓๕ = ๓ ๒๐ – ๒๙ = ๒ ๑๐ – ๑๙ = ๑

ผ่ าน / ไม่ ผ่าน

มีจิตสาธารณะ



ใฝ่ เรียนรู้

รักความเป็ นไทย

ชื่ อ – สกุล

รวม

เลข ที่

แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๕ คาขยาย ( คาวิเศษณ์ ) ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ หัวข้ อเรื่ อง คาที่ใช้ สระ ออ วันที่ .......................................

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๑๐ ชั่วโมง เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้ใช้ แผน ................................

สาระที่ ๔ หลักภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของ ภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทย ไว้เป็ นสมบัติของชาติ ๑. สาระสาคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด สระออ เป็ นสระเสียงยาว ถ้ามีตวั สะกด จะใช้สอบแบบ แบบที่หนึ่งคงรู ป สระ ออไว้ แบบที่สองใช้อย่างสระลดรู ป ๑.๒ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่ อสาร - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๒ / ๑ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรี ยนบอกรู ปสระออได้ ๓.๒ นักเรี ยนประสมคำด้วยสระออได้ ๓.๓ นักเรี ยนแจกลูกสะกดที่ประสมด้วยสระออเมื่อมีตวั สะกดได้

๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ รักความเป็ นไทย ๔.๒ ใฝ่ เรี ยนรู ้ ๔.๓ มีจิตสาธารณะ ๔.๔ มีวินยั ๔.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ คาที่ประสมด้วยสระออเมื่อมีตวั สะกด ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และแบบประเมินผลงำน ๖.๒ กำรทำใบงำน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ทบทวนเนื้อหาที่เรี ยนในชัว่ โมงที่แล้วด้วยการให้นกั เรี ยนนาใบงานชุดที่ ๘ – ๙ ที่ทาในชัว่ โมงที่แล้วมาร่ วมกันตรวจสอบและเฉลยอีกครั้ง ๗.๒ แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ – ๕ คน ให้แต่ละกลุ่มเลือก ประธานกลุ่ม รองประธานกลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม จากนั้นให้แต่ละกลุ่มอ่านสังเกตคา ในหนังสื อเรี ยนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษาพาที หน้า ๑๔๘ – ๑๔๙ โดยอ่านแจก ลูกสะกดคาทีละกลุ่ม ๗.๓ ครู กาหนดคาที่ประสมด้วยสระออและมีตวั สะกด ๕ คา โดยเขียนบน กระดานดา ให้นกั เรี ยนฝึ กสังเกตและฝึ กอ่านแจกลูกสะกดคา จากนั้นให้นกั เรี ยนแต่ละ กลุม่ แยกส่ วนประกอบของคา โดยแยกในส่ วน พยัญชนะต้น สระ ตัวสะกดและ วรรณยุกต์ ครู อธิบายเพิม่ เติม คาที่ประสมด้วยสระออถ้ามีตวั สะกดบางคาจะลดรู ป บางคา

ไม่ลดรู ป คาบางคาไม่มีรูปวรรณยุกต์แต่มีเสี ยงวรรณยุกต์ บางคารู ปวรรณยุกต์และเสี ยง วรรณยุกต์ไม่ตรงกัน ให้นกั เรี ยนสังเกตเสี ยงวรรณยุกต์ในแต่ละคา ๗.๔ ครู กาหนดคาที่ประสมด้วยสระออไม่มีมีตวั สะกดและคาที่ประสมด้วย สระอัวมีตวั สะกด โดยเขียนบนกระดานดา ๑๐ คา ให้แต่ละกลุ่มอ่านแจกลูกสะกดคา ๗.๕ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๑๐ ( ท้ายแผน ) ชุด บอกคาที่เกิดจากส่ วนประกอบที่ กาหนดให้จากนั้นนาส่ งครู ครู เฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง ๗.๖ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๑๑ ( ท้ายแผน ) ชุด แจกลูกสะกดคา เสร็ จแล้วนาส่ ง ครู ตรวจสอบความถูกต้อง ๘. สื่ อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ๒. บัตรรู ปสระ ๓. ใบงาน ชุดที่ ๑๐ – ๑๑ ๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล ๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน

วิธีการวัดและประเมินผล

เครื่ องมือวัดผลและ ประเมินผล

• ด้านความรู ้ความเข้าใจ - การร่ วมสนทนา - การตอบคาถาม - การทาใบงาน • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์

- สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน

- แบบบันทึกการสังเกต - ใบงาน ชุดที่ ๑๐ – ๑๑ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล

- สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม กิจกรรม

- แบบประเมินผลงานรายบุคคล

• ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่ วมสนทนา

- การคิดท่าใบ้ประกอบคา

แบบประเมินผลงานรายบุคคล

๑๐. เกณฑ์ ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการอ่านแจกลูกสะกดคา มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี อ่านได้ถูกต้องทุกคา ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ อ่านผิด ๑ คา ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง อ่านผิด ๒ คาขึ้นไป เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการทาใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทาได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป

การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน

รักความเป็ นไทย

ใฝ่ เรียนรู้

มีจิตสาธารณะ

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

ดี (๒) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก

เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน พอใช้ (๑) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก มีความเสี ยสละเพื่อ ส่ วนรวมเป็ นบางครั้ง ไม่เอาเปรี ยบไม่เห็นแก่ ตัว ไม่ค่อยช่วยเหลือ หมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง เกือบทุกครั้ง ทาใบงาน ได้สะอาดเรี ยบร้อย ไม่ ค่อยทันเวลา

ปรับปรุ ง (๐) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุ ขเป็ นบางครั้ง

กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก ไม่ค่อยเสี ยสละเพื่อ มีความเสี ยสละเพื่อ ส่วนรวม ชอบเอา ส่วนรวม ไม่เอาเปรี ยบ เปรี ยบคนอื่น ค่อนข้าง ไม่เห็นแก่ตวั ช่วยเหลือ เห็นแก่ตวั ไม่ค่อย หมู่คณะได้เป็ นอย่างดี ช่วยเหลือหมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง การกระทาที่ไม่ถูกต้อง ทุกครั้งทาใบงานได้ เป็ นบางครั้งทาใบงาน สะอาดเรี ยบร้อยและ ไม่ค่อยสะอาดเรี ยบร้อย ถูกต้องและทันเวลา และไม่ค่อยทันเวลา ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ที่ราคาค่อนข้างแพงและ คุม้ ค่าใช้จนหมดแล้ว ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้ไม่ ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้จนหมด ค่อยซื้อใหม่ หมดแล้วซื้อใหม่

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………… …….……………………………………………………………………………………… ………….………………………………………………………………………………… ……………….…………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. (นางสุ รียม์ าศ แดงวงต์ ) ตาแหน่ง หัวหน้าฝ่ ายวิชาการ วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรื อผู้ที่ได้ รับมอบหมาย …………………………………………………………………………………………… ………….………………………………………………………………………………… …………………….……………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… ………….………………………………………………………………………………… …………………….……………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. ( นายประสงค์ เหนือร้อยเอ็ด ) ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนบ้านหนองกุงศรี โพธิ์ ศรี สมพร วันที่……เดือน……………..พ.ศ……

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน …………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… ปัญหา / อุปสรรค …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… ……………………………….…………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. ( นางสาวกชกร สอนสกุล ) ตาแหน่ง พนักงานราชการ วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

ใบงาน ชุดที่ ๑๐ คาชี้แจง บอกคาที่เกิดจากส่ วนประกอบที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ลาดับ พยัญชนะ

สระ

ตัวสะกด วรรณยุกต์





-อ



-





-อ



-





-อ



-





-อ



-





-อ



-





-อ



-





-อ



-





-อ



-





-อ



-

๑๐



-อ



-

คา

ชื่ อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............

ใบงาน ชุดที่ ๑๑ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคาที่เกิดจากการแจกลูกสะกดคาต่อไปนี้ พร้อมทั้งอ่านแจกลูกสะกดคาให้คล่อง ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐.

ชื่ อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ

การทาใบงาน ชุดที่ ๑๐

การทาใบงาน ชุดที่ ๑๑

รวม

มีจิตสาธารณะ



ใฝ่ เรียนรู้

รักความเป็ นไทย

ชื่ อ – สกุล









๑๐

๑๐

๑๐

๓๐

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ๒ หมายถึง ๑ หมายถึง

ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป ลงชื่ อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )

๓๐ – ๓๕ = ๓ ๒๐ – ๒๙ = ๒ ๑๐ – ๑๙ = ๑

ผ่ าน / ไม่ ผ่าน

เลข ที่

แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ คาที่ใช้ สระออ ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ หัวข้ อเรื่ อง การพูดแสดงความคิดเห็น วันที่ .......................................

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๑๐ ชั่วโมง เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้ใช้ แผน ................................

สาระที่ ๓ ฟัง ดู พูด มาตรฐาน ท ๓ .๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด ความรู ้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและ สร้างสรรค์ ๑. สาระสาคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด การพูดแสดงความคิดเห็น เป็ นการพูดจากความรู ้สึกส่ วนตัวให้ผอู ้ ื่นรับทราบ เพื่อ วิจารณ์ ชี้แนะ แนวทางหรื อแสดงความรู ้สึกที่มีต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง เพื่อนาสู่ การพัฒนา ปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงสิ่ งนั้นให้ดีข้ ึน ๑.๒ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่ อสาร - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๓.๑ ป.๒ / ๕ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู ้สึกจากเรื่ อง ที่ฟังและดู ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑. อภิปรายแสดงความคิดเห็นร่ วมกันในหัวข้อที่ครู กาหนด ๓.๒. เขียนข้อสรุ ปสั้น ๆ และอ่านร่ ายงานหน้าชั้นเรี ยน ๒.๓. วาดภาพประกอบลาดับเหตุการณ์และตั้งชื่อเรื่ อง

๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ รักความเป็ นไทย ๔.๒ ใฝ่ เรี ยนรู ้ ๔.๓ มีจิตสาธารณะ ๔.๔ มีวินยั ๔.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ รายการสาหรับเด็ก ๏ ข่าวและเหตุการณ์ประจาวัน ๏ เพลง ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ การพูดแสดงความคิดเห็น ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และแบบประเมินผลงำน ๖.๒ กำรทำใบงำน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ทบทวนเนื้อหาที่เรี ยนในชัว่ โมงที่แล้วด้วยการให้นกั เรี ยนนาใบงานชุดที่ ๑๐ – ๑๑ ที่ทาในชัว่ โมงที่แล้วมาร่ วมกันตรวจสอบและเฉลยอีกครั้ง ๗.๒. นักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับการที่นกั เรี ยนจะแสดงออกว่าตนเองรักพ่อ รักแม่อย่างไร แล้วครู อธิบายเพิ่มเติมก่อนพูดโยงสู่ บทเรี ยนต่อไป ๗.๓. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุ ปสิ่ งที่ควรทาเพื่อแสดงให้รู้วา่ ตนเองรักพ่อ รักแม่ ส่ งตัวแทนพูดที่หน้าชั้นเรี ยน ๗.๔. นักเรี ยนร่ วมกันตั้งหัวข้อเพื่อร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหัวข้อหรื อ เรื่ องที่ต้ งั นั้น เช่น • สิ่ งใดบ้างที่เราควรทาให้พ่อ แม่ภูมิใจ

• พฤติกรรมเช่นไรจะทาให้พ่อ แม่เสี ยใจ • คนที่ไม่รักพ่อ รักแม่หรื อผูป้ กครองมีพฤติกรรมอย่างไรบ้าง ๗.๖ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๑๒ ( ท้ายแผน ) ชุด เลือกคาเติมลงในช่องว่าง ครู เฉลย และตรวจสอบความถูกต้อง ๗.๗ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๑๓ ( ท้ายแผน ) ชุด ขีดเส้นใต้คาขยาย เสร็ จแล้วครู เฉลย นักเรี ยนแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้อง ๘. สื่ อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ๒. ใบงาน ชุดที่ ๑๒ – ๑๓ ๓. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล ๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน

วิธีการวัดและประเมินผล

เครื่ องมือวัดผลและ ประเมินผล

• ด้านความรู ้ความเข้าใจ - การร่ วมสนทนา - การตอบคาถาม - การทาใบงาน • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์

- สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน

- แบบบันทึกการสังเกต - ใบงาน ชุดที่ ๑๒ – ๑๓ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล

- สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม กิจกรรม

- แบบประเมินผลงานรายบุคคล

• ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่ วมสนทนา

- สังเกต

แบบประเมินผลงานรายบุคคล

๑๐. เกณฑ์ ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการแสดงความคิดเห็น มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี พูดตรงประเด็นให้เหตุผลได้ดีมาก ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ พูดตรงประเด็นให้เหตุผลได้ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง พูดไม่ตรงประเด็นพูดไม่ดี เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการทาใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทาได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป

การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน

รักความเป็ นไทย

ใฝ่ เรียนรู้

มีจิตสาธารณะ

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

ดี (๒) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก

เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน พอใช้ (๑) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก มีความเสี ยสละเพื่อ ส่ วนรวมเป็ นบางครั้ง ไม่เอาเปรี ยบไม่เห็นแก่ ตัว ไม่ค่อยช่วยเหลือ หมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง เกือบทุกครั้ง ทาใบงาน ได้สะอาดเรี ยบร้อย ไม่ ค่อยทันเวลา

ปรับปรุ ง (๐) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุ ขเป็ นบางครั้ง

กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก ไม่ค่อยเสี ยสละเพื่อ มีความเสี ยสละเพื่อ ส่วนรวม ชอบเอา ส่วนรวม ไม่เอาเปรี ยบ เปรี ยบคนอื่น ค่อนข้าง ไม่เห็นแก่ตวั ช่วยเหลือ เห็นแก่ตวั ไม่ค่อย หมู่คณะได้เป็ นอย่างดี ช่วยเหลือหมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง การกระทาที่ไม่ถูกต้อง ทุกครั้งทาใบงานได้ เป็ นบางครั้งทาใบงาน สะอาดเรี ยบร้อยและ ไม่ค่อยสะอาดเรี ยบร้อย ถูกต้องและทันเวลา และไม่ค่อยทันเวลา ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ที่ราคาค่อนข้างแพงและ คุม้ ค่าใช้จนหมดแล้ว ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้ไม่ ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้จนหมด ค่อยซื้อใหม่ หมดแล้วซื้อใหม่

ใบงาน ชุดที่ ๑๒ คาชี้แจง เลือกคาที่กาหนดให้เติมในช่องว่างให้ถูกต้อง

ฝนเทียม พลังงานก๊าซ

หลุมลึก

หนู

กลับบ้ าน

รับประทาน

โถมเข้ า

เหนื่อย

แผนที่

ในหลวง

๑. โรงเรี ยนเลิกแล้ว ภูผารี บ……………………………… ๒. ภูผาตะโกนสุ ดเสี ยง………………………….…กอดพ่อ ๓. ครอบครัวของน้ าใสจะมา…………………อาหารเย็นด้วย ๔. พลายขอนเกิดพลาดตก…………………......................... ๕. ทั้งพ่อและลุงโพเกือบได้กิน………………แทนข้าว ๖. พ่อทางานหนักและ……….……จริ งๆ ๗. พระเจ้าอยูห่ วั หรื อ…….………….ทรงงานหนักยิง่ กว่า ๘. พระองค์ทรงคิดวิธีทา………………ที่เราเรี ยกว่าฝนหลวง ๙. พระองค์ทรงคิดค้น ...........................จากพืช ๑๐. ในหลวงทรงศึกษา.......................... อย่างละเอียด ชื่ อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............

ใบงาน ชุดที่ ๑๓ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนขีดเส้นใต้คาที่ใช้เป็ นคาขยายในประโยคที่ กาหนดให้ต่อไปนี้ ๑. ในหลวงทรงศึกษาแผนที่อย่างละเอียด ๒. ครอบครัวของน้ าใสจะมารับประทานอาหารเย็นด้วย ๓. ภูผากอดพ่ออย่างมีความสุ ข ๔. พลายขอนเกิดพลาดตกหลุมลึก ๕. พ่อทางานหนักและเหนื่อยจริ งๆ ๖. พระราชินีทรงรักช้างมาก ๗. ในหลวงและพระราชินีทรงทางานหนักเพื่อราษฎร ๘. น้ าใสยิม้ หวานมาแต่ไกล ๙. ใบบัว ใบโบก เป็ นลูกช้างน้อย ๑๐. ขอพระองค์จงทรงพระเจริ ญยิง่ ยืนนาน ชื่อ………………………………….….....เลขที่ ……………ชั้น………..

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ

การทาใบงาน ชุดที่ ๑๒

การทาใบงาน ชุดที่ ๑๓

รวม

มีจิตสาธารณะ



ใฝ่ เรียนรู้

รักความเป็ นไทย

ชื่ อ – สกุล









๑๐

๑๐

๑๐

๓๐

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ๒ หมายถึง ๑ หมายถึง

ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป ลงชื่ อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )

๓๐ – ๓๕ = ๓ ๒๐ – ๒๙ = ๒ ๑๐ – ๑๙ = ๑

ผ่ าน / ไม่ ผ่าน

เลข ที่

แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๗ การพูดแสดงความคิดเห็น ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ หัวข้ อเรื่ อง การเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง วันที่ .......................................

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๑๐ ชั่วโมง เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้ใช้ แผน ................................

สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒ .๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และ เขียนเรื่ องราวในรู ปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิ ทธิภาพ ๑. สาระสาคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด แผนภาพโครงเรื่ อง เป็ นแผนภาพที่ประกอบด้วยส่ วนของคาถามเกี่ยวกับเรื่ อง บอกให้ทราบว่าใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร เพราะเหตุใด และข้อคิดจากเรื่ องแผนภาพ โครงเรื่ อง จะช่วยให้สามารถบอกเหตุการณ์ของเรื่ องเป็ นตอน ๆ โดยอาศัยการคิดคาตอบ จากคาถามในแผนภาพ และช่วยลาดับเรื่ องได้อย่างต่อเนื่อง ทาให้สามารถสรุ ปเรื่ อง ทั้งหมดได้ ๑.๒ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่ อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๒.๑ ป.๒ / ๒ เขียนเรื่ องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑. สามารถเขียนแผนภาพโครงเรื่ องได้

๓.๒. สามารถเล่าเรื่ องที่อ่านได้ ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ รักความเป็ นไทย ๔.๒ ใฝ่ เรี ยนรู ้ ๔.๓ มีจิตสาธารณะ ๔.๔ มีวินยั ๔.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ การเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง ๏ การเรี ยบเรี ยงประโยคเป็ นข้อความสั้นๆ ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ การเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง ๏ การนาคามาแต่งประโยค ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และแบบประเมินผลงำน ๖.๒ กำรทำใบงำน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสู ง กลาง และต่า ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รอง หัวหน้ากลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน ๗.๒. ให้นกั เรี ยนอ่านเรื่ อง รักพ่อ รักแม่อีกครั้ง จากนั้นให้นกั เรี ยนตั้งคาถาม เกี่ยวกับใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ครู เขียนคาตอบบน ซึ่งนักเรี ยนสามารถเขียน แผนภาพโครงเรื่ องจากเรื่ องที่อ่านได้ จากการตั้งคาถามและตอบคาถาม แล้วนาคาตอบมา เขียนเป็ นแผนภาพโครงเรื่ อง

๗.๓ นักเรี ยนและครู ช่วยกันอภิปรายเกี่ยวกับเรื่ อง “ รักพ่อ รักแม่” เติมคาถาม และเหตุการณ์ตามแผนภาพโครงเรื่ องได้ดงั นี้ เช่น ใคร ที่ไหน เมื่อไร เหตุการณ์ อย่างไร ข้ อคิด

: : : : : :

…………………….......................................... ……………………......................................... ……………………........................................ ……………………………………………… ……………………………………………… ………………………………………………

……………………………………………… ๗.๓ ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปความรู ้เรื่ อง การเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง ดังนี้ ๑) แผนภาพโครงเรื่ อง เป็ นการเขียนแสดงให้เห็นโครงเรื่ องโดยรวมทั้งเรื่ อง ซึ่งต้องอาศัยการตั้งคาถาม และตอบคาถามจากเรื่ องที่อ่าน ๒) คาถามที่จะได้คาตอบเพื่อเขียนแผนภาพโครงเรื่ องได้ คือ ตัวละครมีใคร บ้าง (ใคร) สถานที่เกิดเหตุ(ที่ไหน) เกิดขึ้นเมื่อไร (เมื่อไร) มีเหตุการณ์ อะไรเกิดขึ้น(ทาอะไร) และผลของเหตุการณ์น้ นั คืออะไร (อย่างไร/ทาไม) ๗.๔ ให้นกั เรี ยนนาคาที่กาหนดให้มาประสมกันเป็ นคาใหม่ ลงในแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๔ ( ท้ายแผน ) การเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง แล้วนาเสนอผลงานที่ป้ายนิเทศ ๗.๕ ครู ให้นกั เรี ยนเขียนแผนภาพโครงเรื่ องจากเรื่ อง “รักพ่อ รักแม่” พร้อมกับวาดภาพประกอบและระบายสี ให้สวยงาม ลงในแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑๕ ( ท้ายแผน ) การเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง แล้วนาเสนอผลงานที่ป้ายนิเทศ ๘. สื่ อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ๒. ใบงาน ชุดที่ ๑๔ – ๑๕ ๓. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน

วิธีการวัดและประเมินผล

เครื่ องมือวัดผลและ ประเมินผล

• ด้านความรู ้ความเข้าใจ - การเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง - การร่ วมสนทนา - การตอบคาถาม - การทาใบงาน • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์

- สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน

- แบบบันทึกการสังเกต - ใบงาน ชุดที่ ๑๔ – ๑๕ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล

- สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม กิจกรรม

- แบบประเมินผลงานรายบุคคล

• ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่ วมสนทนา

- การคิดท่าใบ้ประกอบคา

แบบประเมินผลงานรายบุคคล

๑๐. เกณฑ์ ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เขียนถูกต้องและได้ใจความ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ เขียนแผนภาพขาดหายบางส่ วนไป ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง เขียนแผนภาพไม่ถูกต้อง เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการทาใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทาได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป

การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน

รักความเป็ นไทย

ใฝ่ เรียนรู้

มีจิตสาธารณะ

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

ดี (๒) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก

เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน พอใช้ (๑) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก มีความเสี ยสละเพื่อ ส่ วนรวมเป็ นบางครั้ง ไม่เอาเปรี ยบไม่เห็นแก่ ตัว ไม่ค่อยช่วยเหลือ หมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง เกือบทุกครั้ง ทาใบงาน ได้สะอาดเรี ยบร้อย ไม่ ค่อยทันเวลา

ปรับปรุ ง (๐) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุ ขเป็ นบางครั้ง

กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก ไม่ค่อยเสี ยสละเพื่อ มีความเสี ยสละเพื่อ ส่วนรวม ชอบเอา ส่วนรวม ไม่เอาเปรี ยบ เปรี ยบคนอื่น ค่อนข้าง ไม่เห็นแก่ตวั ช่วยเหลือ เห็นแก่ตวั ไม่ค่อย หมู่คณะได้เป็ นอย่างดี ช่วยเหลือหมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง การกระทาที่ไม่ถูกต้อง ทุกครั้งทาใบงานได้ เป็ นบางครั้งทาใบงาน สะอาดเรี ยบร้อยและ ไม่ค่อยสะอาดเรี ยบร้อย ถูกต้องและทันเวลา และไม่ค่อยทันเวลา ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ที่ราคาค่อนข้างแพงและ คุม้ ค่าใช้จนหมดแล้ว ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้ไม่ ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้จนหมด ค่อยซื้อใหม่ หมดแล้วซื้อใหม่

ใบงาน ชุดที่ ๑๔ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนนาพยางค์หรื อคาที่กาหนดให้ มาประสมกัน เป็ นคาใหม่ แล้วคัดด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด

๑………………………………. ……………………………… ๓………………………………. ……………………………… ๕………………………………. ……………………………… ๗………………………………. ……………………………… ๙………………………………. ………………………………

๒…………………………………… …………………………………… ๔…………………………………… …………………………………… ๖…………………………………… …………………………………… ๘…………………………………… …………………………………… ๑๐………………………………… ……………………………………

ใบงาน ชุดที่ ๑๕ แผนภาพโครงเรื่ อง “รักพ่อ รักแม่ ” และภาพประกอบ

ภาพประกอบ

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ

การทาใบงาน ชุดที่ ๑๔

การทาใบงาน ชุดที่ ๑๕

รวม

มีจิตสาธารณะ



ใฝ่ เรียนรู้

รักความเป็ นไทย

ชื่ อ – สกุล









๑๐

๑๐

๑๐

๓๐

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ๒ หมายถึง ๑ หมายถึง

ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป ลงชื่ อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )

๓๐ – ๓๕ = ๓ ๒๐ – ๒๙ = ๒ ๑๐ – ๑๙ = ๑

ผ่ าน / ไม่ ผ่าน

เลข ที่

แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ การเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๙ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ หัวข้ อเรื่ อง อ่านคล่อง ร้ องเล่น วันที่ .......................................

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๑๐ ชั่วโมง เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้ใช้ แผน ................................

สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนาไปใช้ ตัดสิ นใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ๑. สาระสาคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด การฝึ กอ่านคล่อง ต้องหมัน่ ฝึ กฝนอยูเ่ ป็ นประจา เริ่ มจากการฝึ กอ่านคาที่ คล้องจองกัน อ่านแล้วจะทาให้เกิดความเพลิดเพลินสนุกสนาน มีนิสัยรักการอ่าน ๑.๒ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่ อสาร - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๑ อ่านออกเสี ยงคา คาคล้องจอง ข้อความ และบท ร้อยกรองง่ายๆได้ถูกต้อง ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรี ยนอ่านคาง่ายๆได้ ๓.๒ นักเรี ยนร้องเล่นและแสดงท่าทางประกอบได้ ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ รักความเป็ นไทย ๔.๒ ใฝ่ เรี ยนรู ้

๔.๓ มีจิตสาธารณะ ๔.๔ มีวินยั ๔.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ การอ่านออกเสี ยงและการบอกวามหมายของคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ อ่านคล่อง ร้องเล่น ๏ คำคล้องจอง ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และแบบประเมินผลงำน ๖.๒ กำรทำใบงำน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ทบทวนเนื้อหาที่เรี ยนในชัว่ โมงที่แล้วด้วยการให้นกั เรี ยนนาใบงานชุดที่ ๑๔ – ๑๕ ที่ทาในชัว่ โมงที่แล้วมาร่ วมกันตรวจสอบและเฉลยอีกครั้ง ๗.๒ แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ – ๕ คน ให้แต่ละกลุ่มเลือก ประธานกลุ่ม รองประธานกลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ครู ช้ ีแจงบทบาทและหน้าที่ของ สมาชิกในกลุ่มให้นกั เรี ยนรับทราบ ๗.๓ ทบทวนความเดิมเกี่ยวกับการเขียนแผนภาพโครงเรื่ อง ให้นกั เรี ยนแต่ละ กลุ่มวิจารณ์การเขียนแผนภาพโครงเรื่ องของเพื่อนกลุ่มอื่นๆ ในใบงาน ชุดที่ ๑๕ จากนั้น ให้นกั เรี ยนฝึ กอ่าน บทอ่านในหนังสื อเรี ยน ชุดภาษาพาที หน้า ๑๕๐ – ๑๕๑ ๗.๔ ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มฝึ กคิดท่าประกอบบทอ่าน “ รักแท้” จากนั้นออกมา แสดงท่าประกอบบทอ่าน โดยให้กลุ่มที่ยงั ไม่ได้แสดงอ่านบทอ่านประกอบท่าให้

๗.๖ นักเรี ยนฝึ กอ่าน “ รักแท้” ในหนังสื อเรี ยนภาษาไทย ชั้น ป.๒ ชุดภาษาพาที หน้า ๑๕๑ โดยอ่านพร้อมกันและทีละคน ให้นกั เรี ยนท่องจาข้อเหล่านี้ให้ได้จากนั้น นักเรี ยนออกมายืนจับมือเป็ นวงกลมทาท่าทางประกอบ ๗.๔ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๑๖ ( ท้ายแผน ) ชุด บอกคาตรงข้ามกับคาที่กาหนดให้ จากนั้นนาส่ งครู ครู เฉลยและนักเรี ยนแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้อง ๗.๕ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๑๗ ( ท้ายแผน ) ชุดหาคาคล้องจองกับคาที่กาหนดให้ จากนั้นนาส่ งครู ครู เฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง ๘. สื่ อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ๒. รู ปภาพ ๓. ใบงาน ชุดที่ ๑๖ – ๑๗ ๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน

วิธีการวัดและประเมินผล

เครื่ องมือวัดผลและ ประเมินผล

สารวจความพร้อม สังเกต ซักถาม ตรวจใบงาน สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม กิจกรรม

- บทอ่าน - ใบงาน ชุดที่ ๑๖ – ๑๗ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล

• ด้านความรู ้ความเข้าใจ - การร้องเล่นและแสดงท่าทาง - การตอบคาถาม - การทาใบงาน • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์

-

• ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่ วมสนทนา

- ประเมินการร่ วมสนทนา

- แบบประเมินผลงานรายบุคคล

แบบประเมินผลงานรายบุคคล

๑๐. เกณฑ์ ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการทาใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทาได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการร้องเล่นและแสดงท่าทาง มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ร้องและแสดงได้ดีมาก ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ร้องและแสดงได้ดีปานกลาง ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ร้องและแสดงไม่ดี เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป

การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน

รักความเป็ นไทย

ใฝ่ เรียนรู้

มีจิตสาธารณะ

มีวินัย

อยู่อย่างพอเพียง

ดี (๒) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก

เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน พอใช้ (๑) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก มีความเสี ยสละเพื่อ ส่ วนรวมเป็ นบางครั้ง ไม่เอาเปรี ยบไม่เห็นแก่ ตัว ไม่ค่อยช่วยเหลือ หมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง เกือบทุกครั้ง ทาใบงาน ได้สะอาดเรี ยบร้อย ไม่ ค่อยทันเวลา

ปรับปรุ ง (๐) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุ ขเป็ นบางครั้ง

กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก ไม่ค่อยเสี ยสละเพื่อ มีความเสี ยสละเพื่อ ส่วนรวม ชอบเอา ส่วนรวม ไม่เอาเปรี ยบ เปรี ยบคนอื่น ค่อนข้าง ไม่เห็นแก่ตวั ช่วยเหลือ เห็นแก่ตวั ไม่ค่อย หมู่คณะได้เป็ นอย่างดี ช่วยเหลือหมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง การกระทาที่ไม่ถูกต้อง ทุกครั้งทาใบงานได้ เป็ นบางครั้งทาใบงาน สะอาดเรี ยบร้อยและ ไม่ค่อยสะอาดเรี ยบร้อย ถูกต้องและทันเวลา และไม่ค่อยทันเวลา ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ที่ราคาค่อนข้างแพงและ คุม้ ค่าใช้จนหมดแล้ว ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้ไม่ ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้จนหมด ค่อยซื้อใหม่ หมดแล้วซื้อใหม่

ใบงาน ชุดที่ ๑๖ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคาตรงข้ามกับคาที่กาหนดให้ ที่

คา

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

ร้อน มืด หอม ดีใจ ใหม่ ลึก ความทุกข์ นัง่ ละเอียด ลาบาก

คาตรงข้าม

ชื่อ…………………..……………….เลขที… ่ …………ชั้น………..

ใบงาน ชุดที่ ๑๗ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคาคล้องจองกับคาที่กาหนดให้ ข้อละ ๒ คา ตัวอย่าง แผนที่ = มีไว้ ใช้ดู ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

คา ชาวนา ผ้าไหม เจ็บป่ วย ตารวจ ลาบาก เดือดร้อน หน่วยงาน แนะนา หมดแรง สุ ดเสี ยง

คาคล้องจอง

ชื่ อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ

การทาใบงาน ชุดที่ ๑๖

การทาใบงาน ชุดที่ ๑๗

รวม

มีจิตสาธารณะ



ใฝ่ เรียนรู้

รักความเป็ นไทย

ชื่ อ – สกุล









๑๐

๑๐

๑๐

๓๐

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ๒ หมายถึง ๑ หมายถึง

ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป ลงชื่ อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )

๓๐ – ๓๕ = ๓ ๒๐ – ๒๙ = ๒ ๑๐ – ๑๙ = ๑

ผ่ าน / ไม่ ผ่าน

เลข ที่

แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๙ อ่านคล่อง ร้ องเล่น ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๑๐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ หัวข้ อเรื่ อง ชวนทา ชวนคิด วันที่ .......................................

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๑๐ ชั่วโมง เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้ใช้ แผน ................................

สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนาไปใช้ ตัดสิ นใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ๑. สาระสาคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด การเรี ยนรู ้เป็ นการฝึ กทักษะด้านต่างๆให้เกิดขึ้นไปพร้อมๆกัน ต้องมี กระบวนการหลายอย่างเพื่อจัดประสบการณ์ให้กบั ผูเ้ รี ยน การเรี ยนรู ้ภาษาไทย นอกจาก จะให้ผเู ้ รี ยนฝึ กทักษะการอ่านการพูด และการเขียนแล้ว ต้องให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั คิดวิเคราะห์ และลงมือปฏิบตั ิงาน จึงจะบรรลุผลอย่างแท้จริ ง ๑.๒ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่ อสาร - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๖ อ่านหนังสื อตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอ เรื่ องที่อ่าน ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรี ยนบอกตัวสะกดในคายาก จากเรื่ องได้ ๓.๒ นักเรี ยนใช้คาได้ถกู ต้องตามบริ บท

๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ รักความเป็ นไทย ๔.๒ ใฝ่ เรี ยนรู ้ ๔.๓ มีจิตสาธารณะ ๔.๔ มีวินยั ๔.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ การอ่านหนังสื อตามความสนใจ เช่น ▪ หนังสื อที่นกั เรี ยนสนใจและเหมาะสมกับวัย ▪ หนังสื อที่ครู และนักเรี ยนกาหนดร่ วมกัน ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ คาที่ใช้ ฤ ๏ กำรเลือกใช้คำ ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และแบบประเมินผลงำน ๖.๒ กำรทำใบงำน ๖.๓ การทาแบบทดสอบหลังเรี ยน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ทบทวนเนื้อหาที่เรี ยนในชัว่ โมงที่แล้วด้วยการให้นกั เรี ยนนาใบงานชุดที่ ๑๖ – ๑๗ ที่ทาในชัว่ โมงที่แล้วมาร่ วมกันตรวจสอบและเฉลยอีกครั้ง ๗.๒ แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ – ๕ คน ให้แต่ละกลุ่มเลือก ประธานกลุ่ม รองประธานกลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ครู ช้ ีแจงบทบาทและหน้าที่ของ สมาชิกในกลุ่มให้นกั เรี ยนรับทราบ

๗.๓ ร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาสาระในบทเรี ยน บทที่ ๙ เรื่ องรักพ่อ รักแม่ ครู ซกั ถาม นักเรี ยนว่าได้ขอ้ คิดหรื อประโยชน์อะไรบ้างจากการเรี ยนบทเรี ยนนี้ ๗.๔ ให้แต่ละกลุ่มแข่งขันกันหาคาคล้องจอง ๓ พยางค์ โยครู กาหนดคาให้ ๑ คา เขียนบนกระดาน กลุ่มที่ ๑ ต่อ เช่น “ พลังงาน” กลุ่มที่ ๑ อาจต่อคาว่า “ บ้านเจริ ญ” กลุ่มที่ ๒ อาจต่อคาว่า “ เดินสะดวก” และกลุ่มที่ ๓ ต่อไปเรื่ อยๆ เมื่อหมด ทุกกลุ่มเวียนกลับมากลุ่มที่ ๑ ใหม่ กลุ่มที่ต่อไม่ได้ เสี ยคะแนนไป ๑ คะแนน กลุ่มทีต่อได้ ได้ ๑ คะแนน ๗.๕ นักเรี ยนอ่านคาคล้องจองและร้องเล่นเป็ นจังหวะ ในหนังสื อเรี ยนภาษาไทย ชุดภาษาพาที หน้า ๑๕๑ แล้วพูดคุยกันเกี่ยวกับการรักพ่อ รักแม่ ครู ซกั ถามนักเรี ยนว่า เพื่อในห้องใครที่สมควรได้รับการยกย่องว่าเป็ นคนรักพ่อ รักแม่มากที่สุด สุ่ มให้ออกมา เล่าประสบการณ์ที่ตนเองได้รับการแบ่งปันน้ าใจจากเพื่อน โดยสุ่ มให้เล่าประมาณ ๓ – ๕ คน ๗.๖ ครู เขียนคาที่ใช้ ฤ ในภาษาไทยบนกระดานดา พร้อมกับอธิบายให้นกั เรี ยน ฟังว่า คาเหล่านี้ออกเสี ยงเหมือน “ ร” แต่ไม่ใช่คาไทยแท้ เป็ นคาที่มาจากภาษาอื่น ให้ นักเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันหาคาที่ใช้ ฤ จากบทเรี ยน “ รักพ่อ รักแม่ ” ให้ได้มากที่สุด แล้ว อ่านคานั้นให้กลุ่มอื่นฟัง ๗.๔ นักเรี ยนทาใบงานที่ ๑๘ ( ท้ายแผน ) ชุด เขียนคาอ่านจากคาที่กาหนดให้ จากนั้นนาส่ งครู ครู เฉลยและนักเรี ยนแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้อง ๗.๕ นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ ( ท้ายแผน ) จากนั้นนาส่ งครู ครู เฉลยนักเรี ยนแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้อง ๘. สื่ อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ๒. แบบทดสอบหลังเรี ยน ๓. ใบงาน ชุดที่ ๑๘ ๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล ๕. แบบกรอกคะแนนแบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน

๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน

วิธีการวัดและประเมินผล

• ด้านความรู ้ความเข้าใจ - การทาแบบทดสอบหลังเรี ยน - การร้องเล่นและแสดงท่าทาง - การตอบคาถาม - การทาใบงาน • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์

-

• ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่ วมสนทนา

- ประเมินการร่ วมสนทนา

ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยน สารวจความพร้อม สังเกต ซักถาม ตรวจใบงาน สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม กิจกรรม

เครื่ องมือวัดผลและ ประเมินผล -

แบบทดสอบหลังเรี ยน บทอ่าน ใบงาน ชุดที่ ๑๘ แบบประเมินผลงานรายบุคคล

- แบบประเมินผลงานรายบุคคล

แบบประเมินผลงานรายบุคคล

๑๐. เกณฑ์ ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการทาใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทาได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการร้องเล่นและแสดงท่าทาง มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ร้องและแสดงได้ดีมาก ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ร้องและแสดงได้ดีปานกลาง ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ร้องและแสดงไม่ดี เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป ๔) เกณฑ์การประเมินการทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทาได้ถูก ๑๓ – ๑๕ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๙ – ๑๒ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๘ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป

การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน

รักความเป็ นไทย

ใฝ่ เรียนรู้

มีจิตสาธารณะ

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

ดี (๒) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก

เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน พอใช้ (๑) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก มีความเสี ยสละเพื่อ ส่วนรวมเป็ นบางครั้ง ไม่เอาเปรี ยบไม่เห็นแก่ ตัว ไม่ค่อยช่วยเหลือ หมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง เกือบทุกครั้ง ทาใบงาน ได้สะอาดเรี ยบร้อย ไม่ ค่อยทันเวลา

ปรับปรุ ง (๐) สนใจและตั้งใจร่ วม กิจกรรมการเรี ยน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุ ขเป็ นบางครั้ง

กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ ถูกต้อง กล้าแสดงออก ไม่ค่อยเสี ยสละเพื่อ มีความเสี ยสละเพื่อ ส่วนรวม ชอบเอา ส่วนรวม ไม่เอาเปรี ยบ เปรี ยบคนอื่น ค่อนข้าง ไม่เห็นแก่ตวั ช่วยเหลือ เห็นแก่ตวั ไม่ค่อย หมู่คณะได้เป็ นอย่างดี ช่วยเหลือหมู่คณะ มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข การกระทาที่ไม่ถูกต้อง การกระทาที่ไม่ถูกต้อง ทุกครั้งทาใบงานได้ เป็ นบางครั้งทาใบงาน สะอาดเรี ยบร้อยและ ไม่ค่อยสะอาดเรี ยบร้อย ถูกต้องและทันเวลา และไม่ค่อยทันเวลา ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ที่ราคาค่อนข้างแพงและ คุม้ ค่าใช้จนหมดแล้ว ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้ไม่ ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้จนหมด ค่อยซื้อใหม่ หมดแล้วซื้อใหม่

ใบงาน ชุดที่ ๑๘ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคาอ่านของคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ตัวอย่าง ฤๅษี = รื อ – สี ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

คา ฤดู ฤทธิ์ เสด็จ ราษฎร สัตวแพทย์ ทหาร ตารวจ ราชการ เจริ ญ พฤหัสบดี

คาคล้องจอง

ชื่อ ................................................................. เลขที่ ................ ชั้น...........

แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ ๙

ชี้แจง ให้นกั เรี ยนกาเครื่ องหมาย  ทับตัวอักษรหน้าข้อที่ถูกต้อง

๑.

รู ปภาพนี้ตรงกับคาใด ก. ชาวเขา ค. ชาวไร่

ข. ชาวนา

๒.

รู ปภาพนี้ตรงกับคาใด ก. เย็บผ้า ข. ทอผ้า ค. ตัดผ้า

๓.

รู ปภาพนี้ตรงกับคาใด ก. ทหาร ข. ตารวจ ค. ชาวนา

๔.

เราจะพบสัตว์ชนิดนี้ได้ที่ใด ก. ตามไร่ นา ข. ในตูเ้ ย็น ค. ในน้ า

๕. สมบัติ ตรงกับรู ปภาพใด

ก.

ข.

ค. ๖. ภูผาเตรี ยมอะไรช่วยแม่ ก. เสื้ อผ้า ข. จัดอาหาร ค. จัดอุปกรณ์ทางาน ๗. เกิดเหตุการณ์ใดขึ้นกับพลายขอน ก. ตกน้ า ข. ตกหลุมลึก ค. โดนคนทาร้าย ๘. ในหลวงทรงกรางานหนักเพื่อใคร ก. พระราชินี ข. ประชาชน ค. พระราชโอรส ๙. ในหลวงทรงคิดค้นเกี่ยวกับอะไรเพื่อลดปัญหาน้ ามันแพง ก. การใช้พลังงานก๊าซจากพืช ข. ปรับลดราคาน้ ามันให้ถูกลง ค. ใช้น้ าแทนน้ ามัน

๑๐. พระราชินี ทรงทาการใดเพื่อเสริ มรายได้ให้กบั ประชาชน ก. ตั้งโรงทานขึ้น ข. ตั้งศูนย์ฝึกอาชีพ ค. ตั้งกองทุนเงินล้าน ๑๑. คาว่า “ ฤทธิ์” อ่านอย่างไร ก. รึ ด ข. ริ ด ค. ริ ด – ทิ ๑๒. คาว่า “ ฤๅษี” อ่านอย่างไร ก. รึ – สี ข. ระ – สี ค. รื อ – สี ๑๓. คาว่า “ ร้อน” ตรงข้ามกับคาใด ก. หนาว ข. เย็น ค. อบอ้าว ๑๔. “ มืด” ตรงข้ามกับคาใด ก. แจ้ง ข. ครึ้ ม ค. สว่าง ๑๕. คาใดคล้องจองกับคาว่า “หัวเราะ” ก. ยิงฟัน ข. เยาะเย้ย ค. ดีใจ

เฉลยแบบทดสอบ ก่อน - หลังเรียน

๑. ก ๔. ก ๗. ข ๑๐. ข ๑๓. ก

๒. ข ๕. ก ๘. ข ๑๑. ข ๑๔. ค

๓. ก ๖. ข ๙. ก ๑๒. ค ๑๕. ข

มีวินัย

อยู่อย่ างพอเพียง

รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ

การทาใบงาน ชุดที่ ๑๘

การทาแบบทดสอบหลังเรียน









๑๐

๑๐

๑๕

๓๕

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ๒ หมายถึง ๑ หมายถึง

ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป ลงชื่ อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )

๓๐ – ๓๕ = ๓ ๒๐ – ๒๙ = ๒ ๑๐ – ๑๙ = ๑

ผ่ าน / ไม่ ผ่าน

มีจิตสาธารณะ



ใฝ่ เรียนรู้

รักความเป็ นไทย

ชื่ อ – สกุล

รวม

เลข ที่

แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ รักพ่อ รักแม่ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๑๐ ชวนคิด ชวนทา ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.