แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ ๓ รื่นรสสักวา Flipbook PDF

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ ๓ รื่นรสสักวา ป.๒

35 downloads 112 Views 1MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

~๑~

แผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ วรรณคดีลานา หน่วยที่ ๓ รื่นรสสักวา

โดย นางสาวกชกร สอนสกุล ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านบึง อาเภอ ศรีราชา จังหวัด ชลบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3

กระทรวงศึกษาธิการ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓.๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชื่ อหน่ วยการเรียนรู้ที่ ๓ รื่ นรสสั กวา เรื่ อง การอ่านในใจและตอบคาถาม มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ การอ่าน

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๓ ชั่วโมง เวลา ๑ ชั่วโมง

~๒~

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตดั สิ นใจ แก้ปัญหา ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน สาระที่ ๕ วรรณกรรมและวรรณคดี มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง

ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๒/๑ อ่านออกเสี ยงคาคล้องจองข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆได้ถูกต้อง ท ๑.๑ ป.๒/๒ อธิบายความหมายของคาและข้อความที่อ่าน ท ๑.๑ ป.๒/๓ ตั้งคาถามและตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน ท ๑.๑ ป.๒/๔ ระบุใจความสาคัญและรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน ท ๑.๑ ป.๒/๕ แสดงความคิดเห็น และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่าน ท ๑.๑ ป.๒/๖ อ่านหนังสื อตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเรื่ องที่อ่าน ท ๑.๑ ป.๒/๗ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบตั ิตามคาสั่งหรื อข้อแนะนา ท ๑.๑ ป.๒/๘ มีมารยาทในการอ่าน ท.๕.๑ ป.๒/๑ ระบุขอ้ คิดที่ได้จากการอ่านหรื อการฟังวรรณกรรมสาหรับเด็กเพื่อนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน ท.๕.๑ ป.๒/๒ ร้องบทร้องเล่นสาหรับเด็กในท้องถิ่น ท.๕.๑ ป.๒/๓ ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสาคัญ การอ่านในใจเป็ นการอ่านที่เข้าใจเรื่ องราวได้เพียงคนเดียว ผูอ้ ่านต้องใช้สมาธิ สติในการอ่าน ศึกษา คายากตั้งจุดหมายในการอ่าน อ่านอย่างพินิจ พิจารณา จะทาให้จบั ใจความสาคัญของเรื่ องที่อ่าน สามารถ ตอบคาถามลาดับเหตุการณ์ของเรื่ อง และนาไปเขียนเป็ นแผนภาพโครงเรื่ อง เพื่อเล่าเรื่ องและเขียนเรื่ องได้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ ๑. อ่านในใจบทเรี ยนตามหลักการอ่านในใจที่ดีได้ถูกต้อง ๒. ตั้งคาถาม ตอบคาถาม จากเรื่ องที่อ่านได้ ๓. สรุ ปข้อคิด ใจความสาคัญของเรื่ องที่อ่านได้ สาระการเรียนรู้ ๑. การอ่านในใจบทเรี ยน เรื่ อง ดอกสร้อยแสนงาม

~๓~

๒. การตั้งคาถาม และตอบคาถามของเรื่ อง ๓. การสรุ ปข้อคิด ใจความสาคัญของเรื่ อง หลักฐานหรื อร่ องรอยของการเรียนรู้ /การวัดและประเมินผล ความรู้ (K) ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีการวัด เครื่ องมือวัด ๑. อ่านในใจบทเรี ยน -สังเกต -แบบประเมินการ ตามหลักการอ่านใน พฤติกรรม อ่านออกเสี ยง ใจที่ดีได้ถูกต้อง ๒.ตั้งคาถามและตอบ –ตรวจคาถาม –คาถาม คาถาม จากเรื่ องที่อ่าน ได้ ๓.การสรุ ปข้อคิด -บัตรกิจกรรม แบบฝึ กหัด/บัตร ใจความสาคัญของ กิจกรรม เรื่ อง ๔. ทาแบบฝึ กหัด/ –ตรวจ แบบฝึ กหัด/บัตร บัตรกิจกรรม แบบฝึ กหัด/ กิจกรรม บัตรกิจกรรม ทักษะ/กระบวนการ (P) ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีการวัด ๑. กระบวนการ สังเกต ทางาน พฤติกรรม ๒. กระบวนการ กลุ่ม

สังเกต พฤติกรรม

๓. กระบวนการ นาเสนอผลงาน

สังเกตรู ปแบบ และวิธีการ นาเสนอ สังเกต

๔. การระดม

เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผูป้ ระเมิน ได้คะแนนไม่ต่า ครู กว่า ๗๐% นักเรี ยน ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

เครื่ องมือวัด แบบประเมิน พฤติกรรมและ ผลงานระหว่างเรี ยน แบบประเมิน พฤติกรรมและ ผลงานระหว่างเรี ยน แบบประเมินการ นาเสนอผลงาน

เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผูป้ ระเมิน ได้คะแนนไม่ต่า ครู กว่า ๗๐ % นักเรี ยน

แบบประเมิน

ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

ได้คะแนนไม่ต่า

ครู

~๔~

ความคิด

พฤติกรรม

พฤติกรรมและ กว่า ๗๐ % ผลงานระหว่างเรี ยน

นักเรี ยน

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ภาระงาน/ชิ้นงาน

วิธีการวัด

๑. ซื่อสัตย์สุจริ ต สังเกต ๒. มีวินยั พฤติกรรม ๓. ใฝ่ เรี ยนรู ้ ๔ . มุ่ ง มั่ น ใ น ก า ร ทางาน ๕. รักความเป็ นไทย

เครื่ องมือวัด แบบประเมิน คุณลักษณะอัน พึงประสงค์

เกณฑ์ที่ใช้ ประเมิน ได้คะแนนแต่ ละข้อไม่นอ้ ย กว่าระดับ ๓ ตามรู บริ คก์

ผูป้ ระเมิน ครู นักเรี ยน

กระบวนการเรียนรู้ ๑. นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนการเรี ยนรู ้ ๒. นักเรี ยนดูแผนภูมิบทร้อยกรอง “สักวา” แล้วฝึ กอ่านจนคล่อง ๓. นักเรี ยนร่ วมกันสนทนาทบทวนถึงหลักและวิธีการอ่านในใจ จากนั้นอ่านในใจบทเรี ยน เรื่ องนิทานอ่านใหม่และบทอ่านเสริ ม เพิ่มความรู ้ที่มีในบทเรี ยนเพื่อเสริ มการอ่าน (อ่านรายบุคคล เน้นการ อ่านอย่างพินิจพิจารณา) ๔. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปข้อคิด ใจความสาคัญของเรื่ องแต่ละเรื่ องที่อ่าน ครู ช่วยสรุ ปเพิ่มเติม โดยเฉพาะหากนักเรี ยนสรุ ปไม่ได้หรื อไม่ดี ครู ช่วยสรุ ปแนะนาแล้วเขียนข้อสรุ ปลงบนกระดาน นักเรี ยนแต่ ละคนคัดเอาลงในสมุดรายงานของตนเอง โดยเน้นการคัดลายมือด้วย ๕. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม ทาบัตรกิจกรรม เสร็จแล้วส่งครู ตรวจ ๖. ครู ให้นกั เรี ยนทาบัตรกิจกรรม ๗. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนทาแบบฝึ กหัดที่ ๗ หน้า ๙๐ เป็ นการบ้าน

~๕~

๘. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน

สื่ อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ ๑. บทร้อยกรอง ๒. แบบทดสอบก่อนการเรี ยนรู ้ ๓. หนังสื อเรี ยนภาษาไทย ชั้น ป.๒ ชุดวรรณคดีลานา ๔.แบบฝึ กหัดทักษะภาษา ชั้น ป.๒ ชุดภาษาเพื่อชีวิต ๕. บัตรกิจกรรม บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ จานวนนักเรี ยนทั้งหมด ......... คน การดาเนินการสอนเป็ นไปตามขั้นตอนที่ได้กาหนดไว้ ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ สามารถดาเนินการได้ครบถ้วน ทุกขั้นตอน นักเรี ยนให้ความร่ วมมือในกิจกรรมเป็ นอย่างดี ดังนี้ 1) ด้านความรู ้ ความเข้าใจ • นักเรี ยนสามารถอ่านเรื่ อง ตั้งคาถาม ตอบคาถาม จากเรื่ องที่อ่านได้ถูกต้อง ประเมินจากแบบประเมินการอ่านออกเสี ยง และการตอบคาถาม ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน ........คน คิดเป็ นร้อยละ.................... ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน...............คน คิดเป็ นร้อยละ........... • นักเรี ยนสามารถการสรุ ปข้อคิด ใจความสาคัญของเรื่ องได้ ประเมินจาก แบบประเมินบัตรกิจกรรม ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน ........คน คิดเป็ นร้อยละ.................... ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน...............คน คิดเป็ นร้อยละ........... • นักเรี ยนสามารถทาแบบฝึ กหัด และบัตรกิจกรรมได้ ประเมินจากแบบ ประเมินบัตรกิจกรรม และแบบฝึ กหัด ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน ........คน คิดเป็ นร้อยละ.................... ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน...............คน คิดเป็ นร้อยละ........... 2) ด้านทักษะการปฏิบตั ิ ประเมินผลงานกลุ่ม จากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ตามแบบ ประเมิน พฤติกรรม การนาเสนอผลงาน การระดมสมอง และผลงานระหว่างเรี ยน ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน .............คน คิดเป็ นร้อยละ................

~๖~

ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน...............คน

คิดเป็ นร้อยละ...............

3) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรี ยนมีความซื่ อสัตย์สุจริ ต มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ใจการทางาน และรักความเป็ นไทย ตามแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน ..........คน คิดเป็ นร้อยละ............ ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน..........คน คิดเป็ นร้อยละ............... ปัญหา / อุปสรรค ................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ ไข .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ลงชื่อ………………………………… (นางสาวกชกร สอนสกุล) ตาแหน่ง ครู วันที่….….เดือน…………..พ.ศ. .…..

บัตรกิจกรรมที่ ๑ ชื่อ………………………………….เลขที่…………….ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ วันที่ ……….. เดือน ………………………………พ.ศ. ……………………

คาชี้แจง นักเรี ยนฟังครู เล่าเรื่ องและดูภาพประกอบ แล้วตอบคาถามให้ถูกต้อง ๑. ลุงตลับในเรื่ องนี้เป็ นคน”เจ้าบทเจ้ากลอน” นักเรี ยนบอกได้ไหมว่า”คนเจ้าบทเจ้ากลอน” เป็ นอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ๒. บทสักวาที่นกั เรี ยนได้อ่าน เปรี ยบการพูดของคนเรากับอะไรบ้าง ทาไมถึงเปรี ยบเช่นนั้น

~๗~

………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ๓. เมื่อนักเรี ยนอ่านบท สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน แล้วบอกได้ไหมว่า ข้อความตอนใดไพเราะที่สุดและ ไพเราะอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ๔. เพลงฉ่อย เพลงอีแซว และเพลงลาตัด เป็ นเพลงพื้นบ้านภาคกลาง นักเรี ยนรู ้จกั เพลงพื้นบ้านของภาคอื่นๆ อีกบ้างหรื อไม่ลองเล่าสู่กนั ฟัง ………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………..

บัตรกิจกรรมที่ ๒ ชื่อ………………………………….เลขที่…………….ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ วันที่ ……….. เดือน ………………………………พ.ศ. ……………………

คาชี้แจง ตอนที่ ๑ ให้นกั เรี ยนเขียนคาอ่านของคาต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ๑. ศีรษะ ๒. สักวา ๓. เตลิด ๔. ตลับ ๕. ตลิ่ง

อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า

………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… …………………………………………

~๘~

๖. ขยับ ๗. พจมาน ๘. มนุษย์ ๙. ตลาด ๑๐. อารมณ์

อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า

………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… …………………………………………

ตอนที่ ๒ ให้นกั เรี ยนเขียนคาจากคาอ่านที่กาหนดให้ถูกต้อง ๑. สัก –กะ-วา ๒. ตะ-หลาด ๓. ตะ-หลับ ๔. ตะ-หลิ่ง ๕. พด-จะ-มาน ๖. มะ-นุด ๗. สะ-กุ-นา ๘. อา-รม ๙. ตะ-เหลิด ๑๐. ขะ-หยาด

เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า

………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… …………………………………………

บัตรกิจกรรมกลุ่มที่ ๓ เรื่ อง เขียนเรื่ องจากภาพ ชื่อกลุ่ม………………………………….เลขที่…………….ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ วันที่ ……….. เดือน ………………………………พ.ศ. ……………………

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนเรื่ องจากภาพต่อไปนี้ พร้อมตั้งชื่อเรื่ อง

~๙~

นิทานเรื่ อง…………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ ๑ ๑. เจ้าบทเจ้ากลอน เป็ นคนชอบพูด คากลอนสอนใจ พูดจาเป็ นบทกลอน ๒. เป็ น การพูดจาอ่อนหวาน ฟังแล้วสบายใจ ชื่นใจ ถ้าพูดจาไม่เพราะ ทุกคนก็ไม่คบ ทุกคนต้องการคาพูดที่ไพเราะเสนาะหู ๓. สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอม เพราะ เป็ นคาพูดที่ไพเราะ น่าฟัง สร้างสรรค์ ๔. เพลงภาคอีสาน หมอลา ลากลอน ลาเรื่ อง ลากลอนซิ่ง

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ ๒ ตอนที่ ๑ ให้นกั เรี ยนเขียนคาอ่านของคาต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

~ ๑๐ ~

๑. ศีรษะ ๒. สักวา ๓. เตลิด ๔. ตลับ ๕. ตลิ่ง ๖. ขยับ ๗. พจมาน ๘. มนุษย์ ๙. ตลาด ๑๐. อารมณ์

อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า

สี -สะ สัก-กะ-วา ตะ-เหลิด ตะ-หลับ ตะ-หลิ่ง ขะ-หยับ พด-จะ-มาน มะ-นุด ตะ-หลาด อา-รม

ตอนที่ ๒ ให้นกั เรี ยนเขียนคาจากคาอ่านที่กาหนดให้ถูกต้อง ๑. สัก –กะ-วา ๒. ตะ-หลาด ๓. ตะ-หลับ ๔. ตะ-หลิ่ง ๕. พด-จะ-มาน ๖. มะ-นุด ๗. สะ-กุ-นา ๘. อา-รม ๙. ตะ-เหลิด ๑๐. ขะ-หยาด

เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า เขียนว่า

สักวา ตลาด ตลับ ตลิ่ง พจมาน มนุษย์ สกุณา อารมณ์ เตลิด ขยาด

แบบทดสอบก่อนการเรียนรู้ ชื่อ………………………………….เลขที่…………….ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ วันที่ ……….. เดือน ………………………………พ.ศ. ……………………

คาชี้แจง

ให้นกั เรี ยนทาเครื่ องหมาย x ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้อง

๑. นักเรียนคิดว่ า บ้ านของลุงตลับอยู่ที่ไหน ก. หน้าตลาด ค. ท้ายตลาด

ข. หลังโรงเรี ยน

~ ๑๑ ~

๒. นักเรียนคิดว่า คาในข้อใดไม่ใช่ คา อักษรนา ก. คลอง ข. ขยาด ค. ตลาด ๓. นักเรียนคิดว่ า ข้ อใดคือลักษณะนิสัยของลุงตลับ ก. เป็ นคนมีอารมณ์ฉุนเฉียว โมโหง่าย ข. เป็ นคนอ่อนน้อมถ่อมตน ค. เป็ นคนชอบตลก ๔. นักเรียนคิดว่ า ลุงตลับมีฝีมือด้ านใด ก. หาปลาในลาคลอง ข. ทานาทาไร่ ค. สานตะกร้ า

๕. นักเรียนคิดว่ า เพลงที่ลุงตลับร้ องได้ ดีคือเพลงอะไร ก. เพลงลาตัด ข. เพลงราวง ค. เพลงหมอลา ๖. นักเรียนคิดว่า “ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอม” คาว่า พจมาน น่ าจะหมายถึงอะไร ก. น้ าตาล ข. ความดี ค. คาพูด ๗. นักเรียนคิดว่ า บทสั กวาที่ลุงตลับร้ องให้ เด็กฟังเป็ นเรื่ องเกีย่ วกับอะไร ก. สัตว์ ข. การทาดี ค. การพูด

๘. นักเรียนคิดว่า บทสั กวาร้ องเล่นกันในภาคใดของไทย ก. ภาคใต้ ข. ภาคกลาง ค. ภาคอีสาน ๙. นักเรียนคิดว่ า พืชในข้ อใดที่นักกลอนมักนามาเปรียบเทียบกับคาพูด ก. บอระเพ็ด ข. หมามุย้ ค. อุตพิด ๑๐. “อันอ้อยตาลหวานลิน้ แล้ วสิ้นซาก แต่ลม…หวานหูไม่ ร้ ู หาย” นักเรียนคิดว่า ควรเติมคาในข้อใดลงใน ช่ องว่ างจึงจะได้ ใจความถูกต้องเหมาะสม ก. มาก ข. หาก ค. ปาก

~ ๑๒ ~

เฉลย ๑. ค

๒. ก

๓. ค

๔. ง

๕. ก

๖. ค

๗.ค

๘. ข

๙. ก

๑๐. ค

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓.๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชื่ อหน่ วยการเรียนรู้ที่ ๓ รื่ นรสสั กวา เรื่ อง การอ่านออกเสี ยงบทเรียน

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๓ ชั่วโมง เวลา ๑ ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตดั สิ นใจ แก้ปัญหา ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน

~ ๑๓ ~

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ องราว ในรู ปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิ ทธิภาพ

ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๒/๑ อ่านออกเสี ยงคาคล้องจองข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้อง ท ๑.๑ ป.๒/๒ อธิบายความหมายของคาและข้อความที่อ่าน ท ๑.๑ ป.๒/๓ ตั้งคาถามและตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน ท ๑.๑ ป.๒/๔ ระบุใจความสาคัญและรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน ท ๑.๑ ป.๒/๕ แสดงความคิดเห็น และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่าน ท ๑.๑ ป.๒/๖ อ่านหนังสื อตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเรื่ องที่อ่าน ท ๑.๑ ป.๒/๗ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบตั ิตามคาสั่งหรื อข้อแนะนา ท ๑.๑ ป.๒/๘ มีมารยาทในการอ่าน ท ๒.๑ ป.๒/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ท ๒.๑ ป.๒/๒ เขียนเรื่ องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ ท ๒.๑ ป.๒/๓ เขียนเรื่ องสั้นๆ ตามจินตนาการ ท ๒.๑ ป.๒/๔ มีมารยาทในการเขียน

สาระสาคัญ การอ่านออกเสี ยงเป็ นการเปล่งเสี ยงการอ่านเพื่อให้ผอู ้ ื่นสามารถได้ยนิ เสี ยงที่เราอ่านได้ดว้ ย เป็ นการรับสารทั้งตนเองและคนอื่น ดังนั้น จึงต้องอ่านให้ถูกต้อง ชัดเจน ซึ่งจะเป็ นรากฐานสาคัญของการ อ่านอย่างมีความหมาย จุดประสงค์ การเรียนรู้ ๑. อ่านคา คายาก ข้อความ และสานวนในบทเรี ยนได้ถูกต้อง ๒. เขียนคา คายาก ข้อความ และสานวนภาษาในบทเรี ยนได้ถูกต้อง ๓. บอกความหมายของคา คายาก ในบทเรี ยนได้

สาระการเรียนรู้ ๑. การอ่านคา คายาก ข้อความ และสานวนในบทเรี ยน ๒. การอ่านคา คายาก ข้อความ และสานวนภาษาในบทเรี ยน ๓. การบอกความหมายของคายาก

~ ๑๔ ~

หลักฐานหรื อร่ องรอยของการเรียนรู้ /การวัดและประเมินผล ความรู้ (K) ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีการวัด เครื่ องมือวัด ๑. อ่านคา คายาก -สังเกต -แบบประเมินการ ข้อความ และสานวน พฤติกรรม อ่านออกเสี ยง ในบทเรี ยนได้ถูกต้อง ๒. เขียนคา คายาก –ตรวจคาถาม –คาถาม ข้อความ และสานวน ภาษาในบทเรี ยนได้ ถูกต้อง ๓. บอกความหมาย -บัตรกิจกรรม แบบฝึ กหัด/บัตร ของคา คายาก ใน กิจกรรม บทเรี ยนได้ ๔. ทาแบบฝึ กหัด/ บัตรกิจกรรม

–ตรวจ แบบฝึ กหัด/ บัตรกิจกรรม

ทักษะ/กระบวนการ (P) ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีการวัด ๑. กระบวนการ สังเกต ทางาน พฤติกรรม ๒. กระบวนการ กลุ่ม

สังเกต พฤติกรรม

๓. กระบวนการ นาเสนอผลงาน

สังเกตรู ปแบบ และวิธีการ นาเสนอ สังเกต พฤติกรรม

๔. การระดม ความคิด

แบบฝึ กหัด/บัตร กิจกรรม

เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผูป้ ระเมิน ได้คะแนนไม่ต่า ครู กว่า ๗๐% นักเรี ยน ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

เครื่ องมือวัด แบบประเมิน พฤติกรรมและ ผลงานระหว่างเรี ยน แบบประเมิน พฤติกรรมและ ผลงานระหว่างเรี ยน แบบประเมินการ นาเสนอผลงาน

เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผูป้ ระเมิน ได้คะแนนไม่ต่า ครู กว่า ๗๐ % นักเรี ยน

แบบประเมิน พฤติกรรมและ

ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

~ ๑๕ ~

ผลงานระหว่างเรี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ภาระงาน/ชิ้นงาน

วิธีการวัด

๑. ซื่อสัตย์สุจริ ต สังเกต ๒. มีวินยั พฤติกรรม ๓. ใฝ่ เรี ยนรู ้ ๔ . มุ่ ง มั่ น ใ น ก า ร ทางาน ๕. รักความเป็ นไทย

เครื่ องมือวัด แบบประเมิน คุณลักษณะอัน พึงประสงค์

เกณฑ์ที่ใช้ ประเมิน ได้คะแนนแต่ ละข้อไม่นอ้ ย กว่าระดับ ๓ ตามรู บริ คก์

ผูป้ ระเมิน ครู นักเรี ยน

สาระการเรียนรู้ ความรู้ การอ่านออกเสี ยงบทเรี ยน และคายากหรื อคาที่ควรศึกษาในบทเรี ยน ทักษะ/กระบวนการ กระบวนการทางาน กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการนาเสนอผลงาน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ๒. มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ๓. มีวินยั ในตนเอง ๔. มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้ ๕. อยูอ่ ย่างพอเพียง ๖. มุ่งมัน่ ในการทางาน ๗. รักความเป็ นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ

~ ๑๖ ~

กระบวนการเรียนรู้ ๑. ครู และนักเรี ยนสนทนาทบทวนบทเรี ยนเรื่ องหลักเกณฑ์การอ่านออกเสี ยงที่ดี ที่เคยเรี ยนมาแล้ว โดยนักเรี ยนศึกษาจากแผนภูมิหลักการอ่านออกเสี ยงที่ดี โดยครู อธิบายเพิม่ เติมหลักเกณฑ์การอ่านออกเสี ยง ที่ดี ว่าจะต้อง อ่านคล่อง ไม่ตะกุกตะกัก อ่านชัดเจนเสี ยงดังเหมาะสม อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี เว้นวรรค ตอนถูกต้อง ใช้น้ าเสี ยงเหมาะสมกับเนื้อเรื่ องที่อ่าน ไม่อ่านตกคา เติมคา หรื อตู่ตวั ๒.นักเรี ยนอ่านออกเสี ยงแผนภูมิบทร้อยกรอง “สักวา” พร้อมกัน ร้องเป็ นเพลงตามครู ๑ เที่ยว จากนั้นร้องกันเอง พร้อมปรบมือประกอบจังหวะให้เกิดความสนุกสนานก่อนเรี ยน สักวาคือบทกลอนอักษรสรรค์ ที่ประพันธ์เรี ยงถ้อยร้อยประสาน เหมือนกลอนแปดเรี ยงถูกทุกประการ เพียงแต่ข้ นึ และลงนั้นที่ต่างไป คือ ให้ข้ นึ คาว่า สักวา ลงท้ายใช้วา่ เอย นะจาไว้ นอกนั้นกลอนแปดเป็ นอย่างไร สักวาก็ใช่ให้เหมือนกัน แล้วสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้ อเพลง (ภาคผนวก) โดยครู ให้ความรู ้เพิ่มเติม ๓. นักเรี ยนดูบอระเพ็ดหรื อชิมรสชาติของบอระเพ็ดดู โดยใช้ลิ้นแตะนิดหนึ่ง แล้วสนทนา แสดง ความคิดเห็นว่าบอระเพ็ด โดยครู ถามนาว่า - บอระเพ็ด นั้นมีรสชาติอย่างไร - นักเรี ยนคิดว่า ทาไมนักกลอนจึงนิยมนาบอระเพ็ด มาเปรี ยบเทียบกับคาพูดของคน - นักเรี ยนคิดว่า นักกลอนมักนิยมเปรี ยบเทียบบอระเพ็ดกับการพูดอย่างไรของคน - นักเรี ยนคิดว่า บอระเพ็ดเป็ นพืชประเภทใด ๔. ตัวแทนนักเรี ยนนาบัตรคาที่ครู เตรี ยมไว้ ติดบนกระเป๋ าผนังกับบัตรคาอ่าน เช่น อารมณ์ อ่านว่า อา-รม ตลิ่ง อ่านว่า ตะ – หลิ่ง ตลาด อ่านว่า ตะ-หลาด พจมาน อ่านว่า พด-จะ-มาน มนุษย์ อ่านว่า มะ – นุด เป็ นต้น โดยครู และนักเรี ยนร่ วมกันสังเกตคาและคาอ่าน แล้วฝึ กอ่าน ออกเสี ยงหรื ออ่านในใจกันเอง เพื่อตรวจสอบว่านักเรี ยนอ่านได้ถูกต้องหรื อไม่ ๕. นักเรี ยนอ่านตามครู คาละ ๒ ครั้ง เน้นการอ่านออกเสี ยงถูกต้อง และชัดเจนจากนั้นครู อธิบาย ความหมายของคาศัพท์แต่ละคาให้นกั เรี ยนเข้าใจ ๖. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มอ่านคาบนกระเป๋ าผนังจนครบทุกกลุ่ม ใครอ่านไม่ได้หรื อไม่คล่องให้เพื่อน ช่วยจนสามารถอ่านคล่อง และจาคายากด้วย ๗. ครู และนักเรี ยนสนทนาร่ วมกันเกี่ยวกับการอ่านคาที่ถูกต้องว่ามีประโยชน์ต่อบทเรี ยนอย่างไร โดยถามนาว่า - ถ้านักเรี ยนอ่านบางคาหรื อคายาก ในบทเรี ยนไม่ได้ จะมีผลต่อการอ่านของนักเรี ยนหรื อไม่ - ถ้านักเรี ยนอ่านคาได้ทุกคาในเรื่ องนี้ จะทาให้การอ่านเรื่ องของนักเรี ยนเป็ นอย่างไร - การอ่านออกเสี ยงดัง ฟังชัด มีส่วนทาให้การอ่านออกเสี ยงของนักเรี ยนดีหรื อไม่อย่างไร

~ ๑๗ ~

๘. นักเรี ยนเปิ ดหนังสื อเรี ยนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ วรรณคดีลานา บทที่ ๓ เรื่ อง รื่ นรสสักวา คนละ ๑ ประโยค จากหน้า ๒๕ ถึงหน้า ๒๙ ต่อกันจนจบ จากนั้นอ่านบทเสริ มเพิ่มความรู ้ เรื่ อง หนู หน้า ๓๔ โดยอ่านออกเสี ยงพร้อมทุกคน แล้วจับใจความสาคัญของเรื่ องที่อ่านทุกเรื่ อง ๙. นักเรี ยนเปิ ดหนังสื อเรี ยนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ วรรณคดีลานา บทที่ ๓ บทอ่าน เสริ ม เพิ่มความรู ้ เรื่ อง บอระเพ็ด คนละ ๑ ประโยค จากหน้า ๓๔ ต่อกันจนจบ โดยอ่านออกเสี ยงพร้อมทุก คน แล้วจับใจความสาคัญของเรื่ องที่อ่านทุกเรื่ อง ๑๐. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มฝึ กอ่านออกเสี ยงกันเองอีกครั้ง โดยให้อ่านในลักษณะเพื่อนช่วยเพื่อนและ ให้อ่านเป็ นรายบุคคลในกลุ่ม ครู คอยสังเกตการอ่านของเด็กๆ เพื่อเป็ นข้อมูลในการพัฒนาต่อไป ๑๑. นักเรี ยนคัดเลือกตัวแทนกันเองเพื่อ ออกมาอ่านออกเสี ยงที่หน้าชั้นเรี ยนตอนใดตอนหนึ่งของ เรื่ องเมื่ออ่านจบลงให้กลุ่มอื่นแสดงความคิดเห็น หรื อวิจารณ์การอ่าน ครู สรุ ปการอ่านของแต่ละกลุ่ม ๑๒. ครู ให้นกั เรี ยนทาบัตรกิจกรรม (ภาคผนวก) ๑๓. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน

สื่ อ อุปกรณ์ และแหล่ งการเรียนรู้ ๑. บทร้อยกรอง ๒. บัตรคายาก จากบทเรี ยนที่ ๓ จากเรื่ อง รื่ นรสสักวา ๓. บัตรกิจกรรม ๔.แบบเรี ยนภาษาไทย ป.๒ ชุดวรรณคดีลานา ๕.แบบฝึ กหัดทักษะภาษา ชั้น ป.๒ ชุดภาษาเพื่อชีวิต ๖.แผนภูมิหลักการอ่านออกเสี ยงที่ดี บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ จานวนนักเรี ยนทั้งหมด ......... คน การดาเนิ นการสอนเป็ นไปตามขั้นตอนที่ได้กาหนดไว้ ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ สามารถดาเนินการได้ครบถ้วน ทุกขั้นตอน นักเรี ยนให้ความร่ วมมือในกิจกรรมเป็ นอย่างดี ดังนี้ 1) ด้านความรู ้ ความเข้าใจ • นักเรี ยนสามารถอ่านและเขียนคา คายาก ข้อความ และสานวนในบทเรี ยน

~ ๑๘ ~

ได้ถูกต้อง ประเมินจากแบบประเมินการอ่านออกเสี ยง และการตอบคาถาม ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน ........คน คิดเป็ นร้อยละ.................... ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน...............คน คิดเป็ นร้อยละ........... • นักเรี ยนสามารถบอกความหมายของคายากและคาใหม่ได้ ประเมินจากแบบประเมินบัตรกิจกรรม ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน ........คน คิดเป็ นร้อยละ.................... ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน...............คน คิดเป็ นร้อยละ........... • นักเรี ยนสามารถทาแบบฝึ กหัด และบัตรกิจกรรมได้ ประเมินจากแบบ ประเมินบัตรกิจกรรม และแบบฝึ กหัด ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน ........คน คิดเป็ นร้อยละ.................... ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน...............คน คิดเป็ นร้อยละ........... 2) ด้านทักษะการปฏิบตั ิ ประเมินผลงานกลุ่ม จากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ตามแบบประเมิน พฤติกรรม การนาเสนอผลงาน การระดมสมอง และผลงานระหว่างเรี ยน ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน .............คน คิดเป็ นร้อยละ................ ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน...............คน คิดเป็ นร้อยละ...............

3) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรี ยนมีความซื่อสัตย์สุจริ ต มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ใจการทางาน และรักความเป็ นไทย ตามแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน ..........คน คิดเป็ นร้อยละ............ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน..........คน คิดเป็ นร้อยละ............... ปัญหา / อุปสรรค ......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

~ ๑๙ ~

.......................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ ไข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................

ลงชื่อ………………………………… (นางสาวกชกร สอนสกุล) ตาแหน่ง ครู วันที่….….เดือน…………..พ.ศ. .…..

บัตรกิจกรรมที่ ๑ ชื่ อ………………………………….เลขที… ่ ………….ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ วันที่ ……….. เดือน ………………………………พ.ศ. ……………………

คาชี้แจง ให้ นักเรียนเขียนคาศัพท์ จากคาอ่านที่กาหนดให้ ให้ ถูกต้ อง ๑. พด-จะ-มาน

------------------------------------------------

๒. ตะ-หลาด

------------------------------------------------

๓. อา-รม

------------------------------------------------

~ ๒๐ ~

๔ ตะ-หลิ่ง

------------------------------------------------

๕. ขะ-หยาด

------------------------------------------------

๖. สี -สะ

------------------------------------------------

๗. สง-ไส

------------------------------------------------

๘. กะ-ถิน

------------------------------------------------

๙. เทด-สะ-กาน

------------------------------------------------

๑๐.ตะ-หลับ

------------------------------------------------

บัตรกิจกรรมที่ ๒ ชื่ อ………………………………….เลขที… ่ ………….ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ วันที่ ……….. เดือน ………………………………พ.ศ. …………………… คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคาศัพท์จากคาที่อ่านที่กาหนดให้ให้ถูกต้อง ๑. บอ –ระ-เพ็ด

------------------------------------------------

๒. น้ า-ตาน

------------------------------------------------

๓. รด-ขม

------------------------------------------------

~ ๒๑ ~

๔ อา-กาด

------------------------------------------------

๕. ฉะ--เพาะ

------------------------------------------------

๖. รัก-สา-โรก

------------------------------------------------

๗. สะ-ไหม

------------------------------------------------

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ ๑ ๑. พจมาน ๒. ตลาด ๓. อารมณ์ ๔. ตลิ่ง ๕. ขยาด ๖. ศีรษะ ๗. สงสัย ๘. กฐิน ๙. เทศกาล ๑๐. ตลับ

~ ๒๒ ~

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ ๒ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

บอระเพ็ด น้ าตาล รสขม อากาศ เฉพาะ รักษาโรค สมัย

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓.๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๓ รื่ นรสสั กวา เรื่ อง กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ทางภาษา

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๓ ชั่วโมง เวลา ๑ ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ องราว ในรู ปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิ ทธิภาพ สาระที่ ๔ หลักการใช้ ภาษาไทย

~ ๒๓ ~

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ

ตัวชี้วัด ท ๒.๑ ป.๒/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ท ๒.๑ ป.๒/๒ เขียนเรื่ องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ ท ๒.๑ ป.๒/๓ เขียนเรื่ องสั้นๆ ตามจินตนาการ ท ๒.๑ ป.๒/๔ มีมารยาทในการเขียน ท ๔.๑ ป.๒/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระวรรณยุกต์ และเลขไทย ท ๔.๑ ป.๒/๒ เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา ท ๔.๑ ป.๒/๓ เรี ยบเรี ยงคาเป็ นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการสื่ อสาร ท ๔.๑ ป.๒/๔ บอกลักษณะคาคล้องจอง ท ๔.๑ ป.๒/๕ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ

สาระสาคัญ ๑) การเขียนตามคาบอก คือ การเขียนคาที่ครู อ่านให้นกั เรี ยนฟัง ซึ่งผูท้ ี่จะเขียนคาตามคาบอกได้ดี จะต้องเรี ยนรู ้ จดจาคาไว้ได้อย่างมากมาย และเป็ นคนที่มีนิสัยรักการอ่านจึงจะจาคาไว้ได้มาก ๒) การคัดลายมือ คือการคัดเขียนคาได้สวยงาม เว้นช่องไฟ ระยะห่างของตัวอักษรให้พอเหมาะ ดู แล้วสวยงามคนที่จะคัดลายมือที่ดี สวยงามต้องได้รับการฝึ กฝนอยูเ่ ป็ นประจา

จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. เขียนคาบอกจากคาในบทเรี ยนได้อย่างถูกต้อง ๒. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ งบรรทัดได้อย่างถูกต้อง สวยงามและรวดเร็ว สาระการเรียนรู้ การเขียนและการคัดลายมือ หลักฐานหรื อร่ องรอยของการเรียนรู้ /การวัดและประเมินผล ความรู้ (K) ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีการวัด เครื่ องมือวัด

เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผูป้ ระเมิน

~ ๒๔ ~

๑. เขียนคาบอกจากคา -สังเกต ในบทเรี ยนได้อย่าง พฤติกรรม ถูกต้อง

-แบบประเมินการ เขียน

ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐%

ครู นักเรี ยน

๒. คัดลายมือตัว บรรจงเต็มบรรทัด และครึ่ งบรรทัดได้ อย่างถูกต้อง สวยงาม และรวดเร็ว ๓. ทาแบบฝึ กหัด/ บัตรกิจกรรม

-สังเกต พฤติกรรม

-แบบประเมินการ เขียน

ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐%

ครู นักเรี ยน

–ตรวจ แบบฝึ กหัด/ บัตรกิจกรรม

แบบฝึ กหัด/บัตร กิจกรรม

ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

ทักษะ/กระบวนการ (P) ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีการวัด ๑. กระบวนการ สังเกต ทางาน พฤติกรรม ๒. กระบวนการ กลุ่ม

สังเกต พฤติกรรม

๓. กระบวนการ นาเสนอผลงาน

สังเกตรู ปแบบ และวิธีการ

เครื่ องมือวัด แบบประเมิน พฤติกรรมและ ผลงานระหว่างเรี ยน แบบประเมิน พฤติกรรมและ ผลงานระหว่างเรี ยน แบบประเมินการ นาเสนอผลงาน

เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผูป้ ระเมิน ได้คะแนนไม่ต่า ครู กว่า ๗๐ % นักเรี ยน ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

ได้คะแนนไม่ต่า กว่า ๗๐ %

ครู นักเรี ยน

~ ๒๕ ~

๔. การระดม ความคิด

นาเสนอ สังเกต พฤติกรรม

แบบประเมิน ได้คะแนนไม่ต่า พฤติกรรมและ กว่า ๗๐ % ผลงานระหว่างเรี ยน

ครู นักเรี ยน

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ภาระงาน/ชิ้นงาน

วิธีการวัด

๑. ซื่อสัตย์สุจริ ต สังเกต ๒. มีวินยั พฤติกรรม ๓. ใฝ่ เรี ยนรู ้ ๔ . มุ่ ง มั่ น ใ น ก า ร ทางาน ๕. รักความเป็ นไทย

เครื่ องมือวัด แบบประเมิน คุณลักษณะอัน พึงประสงค์

เกณฑ์ที่ใช้ ประเมิน ได้คะแนนแต่ ละข้อไม่นอ้ ย กว่าระดับ ๓ ตามรู บริ คก์

ผูป้ ระเมิน ครู นักเรี ยน

กระบวนการเรียนรู้ ๑. นักเรี ยนเล่นเกมพจนานุกรมฉบับย่อ ๒. นักเรี ยนอ่านคาใหม่จากบัตรคาที่ครู นามาติดบนกระดานดา เพื่อทบทวนคายาก คาที่ควรศึกษา และคาใหม่ แล้วสนทนา แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคาเขียน หลักการเขียน ๓. นักเรี ยนสารวจคาจากบทเรี ยนเรื่ องนิทานอ่านใหม่ โดยหาดูวา่ คาใดที่นกั เรี ยนเขียนไม่ได้ให้ สะกดคา พร้อมทดลองเขียนด้วยตนเองให้คล่อง ๔. นักเรี ยนเขียนตามคาบอกจากครู ประมาณ ๑๐ - ๑๕ คา แล้วนักเรี ยนเปลี่ยนกันตรวจ โดยดูคา เฉลยจากหนังสื อเรี ยนภาษาไทย หรื อครู เฉลยด้วยการยกบัตรคาหรื อเขียนลงบนกระดานให้นกั เรี ยนดู ๕. นักเรี ยนแก้ไขคาที่เขียนให้ถูกต้องลงในสมุด เสร็ จแล้วนามาส่ งครู ตรวจอีกครั้งหนึ่ ง

~ ๒๖ ~

๖. ครู อธิบายวิธีคดั ลายมือที่ถูกต้องสวยงาม และรวดเร็ว ให้นกั เรี ยนฟัง แล้วให้นกั เรี ยนคัดลายมือ ตัวเต็มบรรทัด และครึ่ งบรรทัด โดยเลือกเอาข้อความตอนใดตอนหนึ่งในบทเรี ยน เรื่ อง นิทานอ่านใหม่ ตามที่นกั เรี ยนสนใจ ๗. นักเรี ยนอ่านออกเสี ยงคาที่เขียนตามคาบอกอีกครั้ง เพื่อเป็ นการสรุ ป บทเรี ยนไปในตัว ๘. ครู ให้นกั เรี ยนทาบัตรกิจกรรม ๙. ครู มอบหมายให้นกั เรี ยนทาแบบฝึ กหัดที่ ๑๐ หน้า ๙๓ เป็ นการบ้าน ๑๐. นักเรี ยนและครู ช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน ๑๑. นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังการเรี ยนรู ้ สื่ อ อุปกรณ์ และแหล่ งการเรียนรู้ ๑. บัตรคา ๒. กระเป๋ าผนัง ๓. บัตรกิจกรรม ๔. แบบทดสอบหลังการเรี ยนรู ้ ๕ หนังสื อเรี ยนภาษาไทย ชั้น ป.๒ ชุดวรรณคดีลานา ๖.แบบฝึ กหัดทักษะภาษา ชั้น ป.๒ ชุดภาษาเพื่อชีวิต ๗.เกมพจนานุกรมฉบับย่อ

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ จานวนนักเรี ยนทั้งหมด ......... คน การดาเนิ นการสอนเป็ นไปตามขั้นตอนที่ได้กาหนดไว้ ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ สามารถ ดาเนินการได้ครบถ้วน ทุกขั้นตอน นักเรี ยนให้ความร่ วมมือในกิจกรรมเป็ นอย่างดี ดังนี้ 1) ด้านความรู ้ ความเข้าใจ • นักเรี ยนสามารถเขียนคาบอกจากคาในบทเรี ยนได้อย่างถูกต้อง ประเมินจากแบบประเมินการเขียน ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน ........คน คิดเป็ นร้อยละ.................... ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน...............คน คิดเป็ นร้อยละ...........

~ ๒๗ ~

• นักเรี ยนสามารถคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ งบรรทัดได้อย่าง ถูกต้อง สวยงามและรวดเร็ว ประเมินจากแบบประเมินการเขียน ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน ........คน คิดเป็ นร้อยละ.................... ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน...............คน คิดเป็ นร้อยละ........... • นักเรี ยนสามารถทาแบบฝึ กหัด และบัตรกิจกรรมได้ ประเมินจากแบบ ประเมินบัตรกิจกรรม และแบบฝึ กหัด ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน ........คน คิดเป็ นร้อยละ.................... ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน...............คน คิดเป็ นร้อยละ........... 2) ด้านทักษะการปฏิบตั ิ ประเมินผลงานกลุ่ม จากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ตามแบบประเมิน พฤติกรรม การนาเสนอผลงาน การระดมสมอง และผลงานระหว่างเรี ยน ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน .............คน คิดเป็ นร้อยละ................ ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน...............คน คิดเป็ นร้อยละ............... 3) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรี ยนมีความซื่อสัตย์สุจริ ต มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ใจการทางาน และรักความเป็ นไทย ตามแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ 70 % ขึ้นไป จานวน ..........คน คิดเป็ นร้อยละ............ไม่ผา่ นการประเมิน จานวน..........คน คิดเป็ นร้อยละ...............

ปัญหา / อุปสรรค ......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

~ ๒๘ ~

ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ ไข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ………………………………… (นางสาวกชกร สอนสกุล) ตาแหน่ง ครู วันที่….….เดือน…………..พ.ศ. .…..

เกม พจนานุกรมฉบับย่อ จุดประสงค์ เพื่อให้นักเรี ยนสามารถจัดคาตามลาดับอักษร และนาความรู ้ความเข้าใจไปใช้ใน การหาศัพท์จากพจนานุกรม อุปกรณ์ กระดาษตัดขนาด ๘  ๘ นิ้ว เขียนพยัญชนะ จาก ก – ฮ จานวนชุดละ ๔๒ใบ ( ตัด ฃ ฅ ออก ) ทาไว้จานวนชุดเท่ากลุ่มผูเ้ ล่น กระดาษแต่ละใบจะเขียนพยัญชนะไว้ที่มุมขวา เช่น ก





วิธีเล่น ๑. แบ่งผูเ้ ล่นเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๑๐ – ๑๒ คน (หรื อตามความเหมาะสม)



~ ๒๙ ~

๒. ครู แจกกระดาษที่ครู จดั ไว้เป็ นชุด ๆ ให้แต่ละกลุ่มใช้เวลาในการทา ๔ – ๕ นาที ๓. เมื่อได้รับสัญญาณเริ่ มต้น ให้ผเู ้ ล่นของแต่ละกลุ่มคิดหาคาต่าง ๆ ใส่ ลงในบัตรแต่ละบัตรตาม พยัญชนะที่กากับอยู่ โดยเขียนคาศัพท์หมวดต่าง ๆ ให้ถูกต้อง อาจจะเป็ นอาหารสัตว์ พืช ของใช้ก็ได้ ทั้งนี้แล้วแต่ตกลงกันไว้แต่แรก ๔. การเล่นเกมนี้ ผูเ้ ล่นต้องทางานแข่งเวลา ดังนั้นการตกลงแบ่งงานกันให้ดีในการทางานร่ วมกัน เพื่อให้ผลงานถูกต้อง ๕. เมื่อหมดเวลาให้รวบรวมส่ง กลุ่มที่หาคาได้มากที่สุดและถูกต้องที่สุดจะเป็ นกลุ่มที่ชนะ บัตรคา ตลาด

ตลับ

ตลิ่ง

ขยาด

สนุก

มนุษย์

รสขม

ประทิ่น

ตะกร้า

เตลิด

ประเทียบ

ปลื้มปี ติ

กฐิน

กระบุง

บอระเพ็ด

ศีรษะ

เทศกาล

สักวา

บัตรกิจกรรมที่ ๑ ชื่อ………………………………….เลขที่…………….ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ วันที่ ……….. เดือน ………………………………พ.ศ. ……………………

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนคัดคาที่กาหนดให้ดว้ ยตัวบรรจงเต็มบรรทัด

ตลาด ตลับ ตลิ่ง ขยาด สนุก มนุษย์ รสขม ประทิ่น ตะกร้า เตลิด ประเทียบ ปลื้มปี ติ กฐิน กระบุง บอระเพ็ด ศีรษะ เทศกาล สักวา

~ ๓๐ ~

………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….

บัตรกิจกรรมที่ ๒ ชื่อ………………………………….เลขที่…………….ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ วันที่ ……….. เดือน ………………………………พ.ศ. …………………… คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคาอ่านจากคาที่กาหนดให้ ให้ถูกต้อง ๑. ตลาด ๒. สนุก ๓. ตลก ๔. ตลับ ๕. ขยาด

อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า

…………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… ……………………………………

~ ๓๑ ~

๖. ตลิ่ง ๗. ตลอด ๘. เตลิด ๙. ขยับ ๑๐. ขยัน

อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า

…………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… ……………………………………

ตอนที่ ๒ ให้นกั เรี ยนเขียนคาที่อ่านที่กาหนดให้ ให้ถูกต้อง ๑. ขะ-หยัน เขียนว่า ……………………………………. ๒. ตะ-หลาด เขียนว่า ……………………………………. ๓. ขะ-หยับ เขียนว่า ……………………………………. ๔. ตะ-หลก เขียนว่า ……………………………………. ๕. ตะ-เหลิด เขียนว่า ……………………………………. ๖. ตะหลิ่ง เขียนว่า ……………………………………. ๗. ขะ-หยาด เขียนว่า ……………………………………. ๘. สะ-หนุก เขียนว่า ……………………………………. ๙. ตะ-หลับ เขียนว่า ……………………………………. ๑๐. สะ-เหมอ เขียนว่า …………………………………….

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ ๒ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคาอ่านจากคาที่กาหนดให้ ให้ถูกต้อง ๑. ตลาด ๒. สนุก ๓. ตลก ๔. ตลับ ๕. ขยาด ๖. ตลิ่ง ๗. ตลอด ๘. เตลิด ๙. ขยับ

อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า อ่านว่า

ตะ-หลาด สะ-หนุก ตะ-หลก ตะ-หลับ ขะ-หยาด ตะ-หลิ่ง ตะ-หลอด ตะ-เหลิด ขะ-หยับ

~ ๓๒ ~

๑๐. ขยัน

อ่านว่า ขะ-หยัน

ตอนที่ ๒ ให้นกั เรี ยนเขียนคาที่อ่านที่กาหนดให้ ให้ถูกต้อง ๑. ขะ-หยัน เขียนว่า ขยัน ๒. ตะ-หลาด เขียนว่า ตลาด ๓. ขะ-หยับ เขียนว่า ขยับ ๔. ตะ-หลก เขียนว่า ตลก ๕. ตะ-เหลิด เขียนว่า เตลิด ๖. ตะ-หลิ่ง เขียนว่า ตลิ่ง ๗. ขะ-หยาด เขียนว่า ขยาด ๘. สะ-หนุก เขียนว่า สนุก ๙. ตะ-หลับ เขียนว่า ตลับ ๑๐. สะ-เหมอ เขียนว่า เสมอ

แบบทดสอบหลังการเรียนรู้ ชื่อ………………………………….เลขที่…………….ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒………………… วันที่ ……….. เดือน ………………………………พ.ศ. ……………………

คาชี้แจง

ให้ นักเรียนทาเครื่ องหมาย x ทับตัวอักษรหน้ าคาตอบที่ถูกต้ อง

๑. นักเรียนคิดว่ า บ้ านของลุงตลับอยู่ที่ไหน ก. หน้าตลาด ข. หลังโรงเรี ยน ค. ท้ายตลาด ง. ใกล้สถานีตารวจ ๒. คาในข้อใดไม่ใช่ คา อักษรนา ก. คลอง ข. ขยาด ค. ตลาด ง. ตลิ่ง ๓. นักเรียนคิดว่ า ลักษณะนิสัยของลุงตลับ คือข้ อใด ก. เป็ นคนมีอารมณ์ฉุนเฉี ยว โมโหง่าย ข. เป็ นคนอ่อนน้อมถ่อมตน ค. เป็ นคนชอบตลก ง. เป็ นคนเกียจคร้าน

~ ๓๓ ~

๔. นักเรียนคิดว่ า ลุงตลับมีฝีมือด้ านใด ก. หาปลาในลาคลอง ค. สานแห

ข. ทานาทาไร่ ง. สานตะกร้ า

๕. นักเรียนคิดว่ า เพลงที่ลุงตลับร้ องได้ ดี คือเพลงอะไร ก. เพลงลาตัด ข. เพลงราวง ค. เพลงหมอลา ง. เพลงมโนรา ๖. “ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอม” คาว่า พจมาน น่ าจะหมายถึงอะไร ก. น้ าตาล ข. ความดี ค. คาพูด ง. ผลไม้ชนิดหนึ่ง ๗. นักเรียนคิดว่ า บทสั กวาที่ลุงตลับร้ องให้ เด็กฟัง เป็ นเรื่ องเกีย่ วกับอะไร ก. สัตว์ ข. การทาดี ค. การประกอบอาชีพ ง. การพูด

๘. นักเรียนคิดว่า บทสักวาร้ องเล่นกันในภาคใดของไทย ก. ภาคใต้ ข. ภาคกลาง ค. ภาคอีสาน ง. ภาคเหนือ ๙. นักเรียนคิดว่ า พืชในข้ อใดที่นักกลอนมักนามาเปรียบเทียบกับคาพูด ก. บอระเพ็ด ข. หมามุย้ ค. อุตพิด ง. ซ่อนกลิ่น ๑๐. “อันอ้อยตาลหวานลิน้ แล้ วสิ้นซาก แต่ลม…หวานหูไม่ ร้ ู หาย” นักเรียนคิดว่า ควรเติมคาในข้อใดลงใน ช่ องว่ างจึงจะได้ ใจความถูกต้องเหมาะสม ก. มาก ข. หาก ค. ปาก ง. ยาก

~ ๓๔ ~

เฉลย ๑. ค

๒. ก

๓. ค

๔. ง

๗. ง

๘. ข

๙. ก

๑๐. ค

๕. ก

๖. ค

แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๘ ๘ ๙

ได้ถูกต้อง

คัดตัวบรรจง เต็มบรรทัด สวยงาม ทาบัตรกิจกรรม

ถูกต้อง

ตอบคาถามและ เล่าเรื่ องได้ ต้ออง ความ อ่ถูากนข้

ฟัง

เลข ที่

มีมารยาทการ ฟัง ด และการพู มีสมาธิในการ

ชื่ อ – สกุล

สนใจในเรื่ องที่ ครู เล่า

รายการสังเกต

๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐

สรุ ปผลการประเมิน ผ่าน / ไม่ผา่ น

คาชี้แจง ให้ทาเครื่ องหมาย  ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่กาหนด

~ ๓๕ ~

๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ เกณฑ์ การให้ คะแนน

๒ = ดี, ๑ = ปานกลาง, ๐ = ต้ องปรับปรุ งแก้ ไข (ลงชื่อ)……………………………………….ผูป้ ระเมิน วันที่……….เดือน…………………….พ.ศ………………

แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานระหว่างเรียน ความหมาย ๑. ตั้งใจ หมายถึง ความมานะ อดทนทางานจนเสร็ จ ( A ) ๒. ความร่ วมมือ หมายถึง สมาชิกในกลุ่มให้ความร่ วมมือทางานจนเสร็จ ( A ) ๓. ความมีวินยั หมายถึง ผลงาน หรื อการทางานเป็ นระบบระเบียบเรี ยบร้อย สะอาด สวยงาม และได้เนื้อหาครบถ้วน ทันหรื อตรงต่อเวลา ( A,K ) ๔. คุณภาพของผลงาน หมายถึง ผลงานเรี ยบร้อย สวยงาม เนื้อหาครบถ้วน ภาษาที่ใช้เหมาะสม (P – Product, K) ๕. การนาเสนอผลงาน หมายถึง การพูดอธิบายนาเสนอผลงานได้ตามลาดับ และเนื้อหาถูกต้อง ( P – Process, K ) เกณฑ์ การประเมิน ๔ หมายถึง ทาได้ดีมาก ๓ หมายถึง ทาได้ดี ๒ หมายถึง ทาได้พอใช้ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง เลขที่ ความตั้งใจ ความร่ วมมือ ความมีวินยั คุณภาพของ การนาเสนอ รวม (๔) (๔) (๔) ผลงาน (๔) ผลงาน (๔) (๒๐)

~ ๓๖ ~

แบบประเมินชิ้นงาน รายชื่ อสมาชิกกลุ่ม ๑…………………………………….เลขที่……………ชั้น………….. ๒…………………………………….เลขที่……………ชั้น………….. ๓…………………………………….เลขที่……………ชั้น………….. ๔…………………………………….เลขที่……………ชั้น………….. ๕…………………………………….เลขที่……………ชั้น………….. ๖.…………………………………….เลขที่……………ชั้น…………. ชิ้นงานเรื่ อง…………………….. เกณฑ์ การประเมิน ๑. รู ปแบบถูกต้ อง ๒. จัดรู ปแบบน่ าสนใจ สวยงาม ๓. ความครบถ้วนในเนื้อหาสาระที่เสนอ



คะแนน ๒ ๓ ๔



คะแนนที่ได้

~ ๓๗ ~

๔. การใช้ คาเหมาะสม ๕. การสะกดคาถูกต้ อง

ลงชื่อ

ผูป้ ระเมิน (

)

เกณฑ์ การให้ คะแนนกระบวนการทางานกลุ่ม ประเด็นการประเมิน ๑. การกาหนด – เป้าหมายร่ วมกัน

๒. การแบ่งหน้าที่ รับผิดชอบ

๓. การปฏิบตั ิหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย

๔. การประเมินและ ปรับปรุ งผลงาน

๓ สมาชิกทุกคนมีส่วน ร่ วมในการกาหนด เป้าหมายการทางาน อย่างชัดเจน กระจายงานได้อย่าง ทัว่ ถึงและตรงตาม ความสามารถของ สมาชิกทุกคน ทางานได้สาเร็จตาม เป้าหมายที่ได้รับ มอบหมาย ตาม ระยะเวลาที่กาหนด สมาชิกทุกคนร่ วม ปรึ กษาหารื อ ติดตาม

เกณฑ์การให้คะแนน / ระดับ ๒ ๑ สมาชิกส่วนใหญ่มี สมาชิกส่วนน้อยมี ส่วนร่ วมในการ ส่วนร่ วมในการ กาหนดเป้าหมายใน กาหนดเป้าหมายใน การทางาน การทางาน กระจายงานได้ทวั่ ถึง กระจายงานไม่ทวั่ ถึง แต่ไม่ตรงตาม ความสามารถของ สมาชิก ทางานได้สาเร็จตาม ทางานไม่สาเร็จตาม เป้าหมายแต่ชา้ กว่า เป้าหมาย เวลาที่กาหนด สมาชิกบางส่วนมี สมาชิกบางส่วนไม่มี ส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ ส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ

~ ๓๘ ~

ตรวจสอบและ ปรับปรุ งผลงานเป็ น ระยะ

แต่ไม่ช่วยปรับปรุ ง ผลงาน

และไม่ช่วยปรับปรุ ง ผลงาน

แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม

ที่ ๑. ๒. ๓. ๔.

คะแนน ๓ ๒

รายการประเมิน



ข้อคิดเห็น

การกาหนดเป้าหมายร่ วมกัน

การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ การปฏิบตั ิตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย การประเมินและปรับปรุ งผลงาน รวม

ลงชื่อ ( เกณฑ์ การประเมิน ๑๑ – ๑๒ = ดีมาก

ผูป้ ระเมิน )

~ ๓๙ ~

๘ – ๑๐ ๕–๗ ๐–๔

= = =

ดี พอใช้ ปรับปรุ ง

แบบประเมินการอ่านในใจ ชื่ อผู้ถูกประเมิน......................................................ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒.............เลขที่........... โรงเรียน. ................................................................สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา....................เขต............. ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗

รายการ ไม่ช้ ีตามตัวอักษรขณะที่อ่าน ไม่ทาปากขมุบขมิบเวลาอ่าน อ่านไม่ออกเสี ยง ไม่ส่ายหน้าตามสายตาขณะอ่าน เลือกอ่านในที่ที่มีแสงสว่างพอเหมาะ วางหรื อถือหนังสื อห่างจากสายตาในระยะ พอเหมาะ (ประมาณ ๑ ฟุต) มีสมาธิในการอ่าน สรุ ป

ผ่าน

ไม่ผา่ น

หมายเหตุ

~ ๔๐ ~

วิธีการ/เกณฑ์ การประเมิน ๑. สังเกตการอ่านในใจหลาย ๆ ครั้ง ๒. ตรวจสอบพฤติกรรมการอ่านเมื่อมีโอกาส ๓. ซักถามวิธีการอ่านที่ถูกต้องของนักเรี ยน ในขณะเรี ยนหรื อตามเวลา และโอกาสอันควร

แบบประเมินการอ่านออกเสี ยง ประเมินครั้งที่ ........... วันที่ ........... เดือน ............................................ พ.ศ. ................. _______________________________________________________________________________ คาชี้แจง ครู ประเมินพฤติกรรมของนักเรี ยนในการอ่านออกเสี ยง และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ พฤติกรรมของนักเรี ยน



การเว้นวรรคตอนถูกต้อง

น้ าเสี ยงเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน

ไม่อ่านข้าม/อ่านเพิม่ /ตู่คา

อ่านเสี ยงดังเหมาะสม

ชื่อ-สกุล

อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี

เลขที่

ผูผ้ า่ นการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป

การจับหนังสื อ/พลิกหนังสื อ /ท่าทางในการอ่านถูกต้อง

เกณฑ์ การประเมิน













รวม

สรุ ปผล การประเมิน

๑๘

ผ่าน

ไม่ ผ่าน

~ ๔๑ ~ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ต้องได้คะแนนตั้งแต่ ๑๔ คะแนน ขึ้นไป ลงชื่อ………………………………..ผูป้ ระเมิน (…………………………………)

ผู้ผ่านเกณฑ์ การประเมิน

รายละเอียดเกณฑ์ การให้ คะแนนแบบประเมินการอ่านออกเสียง (rubrics) โรงเรี ยน ..............................................................ภาคเรี ยนที่ ............. ปี การศึกษา .................... เกณฑ์ การให้ คะแนน ประเด็นการประเมิน ๓ ๑. การจับหนังสื อ/พลิก หนังสื อ/ท่าทางในการ อ่านถูกต้อง ๒. อ่านถูกต้องตาม อักขรวิธี

ลักษณะท่าทาง การวาง และการจับหนังสื อ ถูกต้อง อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี ออกเสี ยง ร ล และคา ควบกล้ า ร ล ว ชัดเจน

๓. การเว้นวรรคตอน ถูกต้อง

อ่านเว้นวรรคตอนได้ ถูกต้องตลอดทั้งเรื่ อง ตั้งแต่ตน้ จนจบเรื่ อง อ่านเสี ยงดังชัดเจน น้ าเสี ยงเหมาะสมกับ เรื่ องที่อ่าน

๔. น้ าเสี ยงเหมาะสมกับ เรื่ องที่อ่าน

๒ ลักษณะท่าทาง การวาง และการจับหนังสื อไม่ ถูกต้อง ๑ อย่าง อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี ออกเสี ยง ร ล และคา ควบกล้ า ร ล ว ชัดบ้างไม่ชดั บ้าง อ่านเว้นวรรคตอน ผิดบ้างเป็ นบางครั้ง อ่านเสี ยงดังชัดเจน น้ าเสี ยงเหมาะสมบ้าง เป็ นบางครั้ง

๑ ลักษณะท่าทาง การวาง และการจับหนังสื อไม่ ถูกต้อง ๒ อย่างขึ้นไป อ่านไม่ถูกต้องตาม อักขรวิธี ออกเสี ยง ร และคาควบกล้ า ร ล ว ไม่ชดั เจนเลย อ่านเว้นวรรคตอนผิด ตลอดทั้งเรื่ อง ตั้งแต่ ต้นจนจบเรื่ อง อ่านเสี ยงไม่ชดั เจน น้ าเสี ยงไม่เหมาะสม กับเรื่ องที่อ่าน ตลอดทั้งเรื่ อง

~ ๔๒ ~ ๕. ไม่อ่านข้าม/อ่านเพิ่ม/ ตู่คา

๖. อ่านเสี ยงดังเหมาะสม

อ่านออกเสี ยงได้ถูกต้อง อ่านออกเสี ยงได้ ชัดเจนทุกคา ถูกต้องชัดเจนเป็ น ทุกข้อความ ทุกประโยค บางคา มีการอ่าน ตู่คา เพิม่ คาและตูค่ า เป็ นบางครั้ง อ่านเสี ยงดัง ชัดเจน อ่านเสี ยงดังบ้างเป็ น ได้ยินทัว่ ถึงกันทั้งห้อง บางครั้ง เสี ยงไม่ เสี ยงดังสม่าเสมอ สม่าเสมอ

อ่านออกเสี ยงไม่ถูกต้อง ไม่ชดั เจน อ่านข้ามคา อ่านเพิ่มคาและตูค่ ามาก

อ่านเสี ยงเบา ได้ยิน ไม่ทวั่ ถึง

~ ๔๓ ~

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.