โครงงานการศึกษาประสิทธิภาพของที่กันกระแทกจากผักตบชวา Flipbook PDF


57 downloads 112 Views 6MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

โครงงานการศึกษาประสิทธิภาพของที่กันกระแทก จากผักตบชวา จัดทำโดย นายเศรษฐการ มณีสวัสดิ์ เลขที่ 1 นางสาวศมนวรรณ เอี่ยมสอาด เลขที่ 13 นางสาวธิติสุดา อนุสรหิรัญการ เลขที่ 14 นางสาววรัชยา รักประสงค์ เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 เสนอ คุณครูอารยา บัววัฒน์ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการสื่อสารและการนำเสนอ รหัสวิชา I30202 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒


ก บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง ที่กันกระแทกจากผักตบชวา มีจุดประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาประสิทธิภาพของ ผักตบชวาเพื่อนำไปทำที่กันกระแทก หรือวัสดุต่างๆ (2)ประหยัดต้นทุนในการผลิต (3)ศึกษาผลิตภัณฑ์ที่ สามารถนำมาทดแทนวัสดุสังเคราะห์ ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา คณะผู้จัดทำได้ใช้อุปกรณ์ในการทำโดยประกอบด้วย (1)ผักตบชวา (2)กรรไกร (3กล่องบรรจุ (4)กลีบดอกไม้ตกแต่ง (5)หัวน้ำหอม โดยมีวิธีกำรทำดังนี้ (1)เก็บ ผักตบชวาจากแม่น้ำลำคลองมาจำนวนหนึ่ง (2)นำผักตบชวาที่เก็บมานำมาตากให้แห้งประมาณ2-3วัน หรือจนกว่าผักตบชวาจะหายชื้น (3)นำผักตบชวาที่ตากดจนแห้งสนิทแล้วมาตัดเป็นชิ้นๆขนาดตามที่ ต้องการ (4)บรรจุผักตบชวาที่ตัดเป็นชิ้นแล้วลงในกล่องที่เราต้องการ (5)นำน้ำหอมกลิ่นที่ต้องการฉีกลง ในกล่องเพื่อให้ผักตบชวาดูดซับกลิ่น จากการศึกษารวบรวมข้อมูล วิธีการทำ รวมถึงความเป็นมาของวัตถุดิบที่ใช้พบว่า สามารถใช้ ผักตบชวาเพื่อกันกระแทกวัสดุในกล่องได้และสามารถดูดซับกลิ่นได้ดีและผลลัพธ์หลังจากที่ใส่ ผลิตภัณฑ์พบว่าผักกตบชวาสามารถกันกระแทกได้ดีและใช้แทนวัสดุสังเคราะห์ได้


ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิจัยฉบับนี้สำเร็จอย่างสมบูรณ์ได้ด้วยความช่วยเหลืออย่างยิ่งจากคุณครูอารยา บัววัฒน์คุณครูที่ปรึกษา ที่ได้ให้คำแนะนำปรึกษา และให้ข้อมูลต่าง ๆ ขอกราบขอบพระคุณอย่างสูง ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณคุณครูโรงเรียนนวมินทรำชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ ที่ได้ให้คำแนะนำตลอดจน ตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย อนึ่ง ผู้วิจัยหวังว่า งานวิจัยฉบับนี้จะมีประโยชน์อยู่ไม่น้อย จึงขอมอบส่วนดีทั้งหมดนี้ให้แก่ เหล่าอาจารย์ที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชาจนทำให้ผลงำนวิจัยเป็นประโยชน์ต่อผู้เกี่ยวข้อง และขอมอบ ความกตัญญูกตเวทิตาคุณแด่บิดา มารดา และผู้มีพระคุณทุกท่าน ตลอดจนเพื่อน ๆ ที่คอยให้ความ ช่วยเหลือและกำลังใจตลอดมา คณะผู้จัดท ำ


ค สารบัญ หน้า บทคัดย่อ…………………………………..………………………….…………………………………..……………………………. ก กิตติกรรมประกาศ………………..……..…………………………………..…………………………………..…………..…….. ข สารบัญสาร…………………………..…………………………………..…………………………………..…………….…………. ค สารบัญตาราง…………………………………..…………………………………..…………………………………….…….……. ง สารบัญภาพ……………………………….……………………………..…………………………………..…………………..…… จ บทที่ 1 บทนำ……………………………..………………………………..…………………………………..……………..…...1-2 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน………………………………..……………………………..…………….….. 1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา…………………………………..…………………………..……………..…….….…. 1 ขอบเขตของการศึกษา……..…………………………………..…………………………..……………..…….……. 1 สมมุติฐานของการศึกษา……..…………………………………..………………..………..…………..…………… 1 ตัวแปรที่ศึกษาค้นคว้า………..………..………..………..………..….………..………..………..……..………… 2 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง……..………..………..………....………..………..………..…..………….. 3-7 บทที่ 3 วิธีการดำเนินการทดลอง……..………..………..………..………..………..…………………………………. 8-12 บทที่ 4 ผลการทดลอง..………..………..………..………..…..………………...………..………..……..……..…..… 13-16 บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ..………..………..………..…………..….…………………..………..… 17 บรรณานุกรม..…………………………………………………..………..……….…..………..……………………..………..… 18 ภาคผนวก..………………………………………………....…..………..………..………..…………………....………….. 19-20


ง สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม…………………………………………………………….14 ตารางที่ 2 การวิเคราะห์ผลความพึงพอใจต่อทำกันกระแทกจากผักตบชวา…………………………………….15


จ ตารางรูปภาพ หน้า ภาพที่ 1 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 1………………………………………………………………………………10 ภาพที่ 2 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 2………………………………………………………………………………11 ภาพที่ 3 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 3………………………………………………………………………………11 ภาพที่ 4 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 4………………………………………………………………………………11 ภาพที่ 5 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 4………………………………………………………………………………11 ภาพที่ 6 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 5………………………………………………………………………………12 ภาพที่ 7 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 5………………………………………………………………………………12


บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน ผักตบชวาเป็นพืชที่ส่งผลต่อมลพิษทางน้ำ ทำให้เกิดทั้งประโยชน์โทษ หากมีผักตบชวามาก เกินไปก็จะส่งผลต่อแม่น้ำลำคลอง ผักตบชวาเป็นพืชที่สามารถขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว มีจำนวนมากและหา ได้ง่าย การที่ผักตบชวามีจำนวนมาก ไม่ได้สร้างประโยชน์ให้กับแม่น้ำลำคลอง และยังเป็นโทษให้กับ สิ่งแวดล้อม เป็นมลพิษทางน้ำ ทั้งนี้ผักตบชวายังมีประโยชน์ช่วยกักขยะในแม่น้ำ ทำให้นำมีออกซิเจนแต่ ต้องไม่มีผักตบชวามากเกินไป เราจึง น้ำผักตบชวามาทำสิ่งต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์กว่าการเป็นมลพิษใน แม่น้ำลำคลอง นำผักตบชวามาใช้ใหม่ในครัวเรือนให้สะดวกต่อการใช้ชีวิต เช่น การนำมาแปรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ดับกลิ่น หรือผลิตภัณฑ์กันกระแทก ที่เป็นวัสดุทางธรรมชาติแทนโฟมที่เป็นวัสดุย่อยสลายยาก หรือหาก นำมาตากแห้งก็สามารถนำมาใช้ประโยชน์อีกมากมายเช่น แปรรูปเป็นที่รองแก้ว 1.2วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.2.1 ใช้วัสดุธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ 1.2.2 สามารถลดมลพิษทางน้ำ 1.2.3 เพิ่มรายได้ในชุมชน 1.2.4 เพิ่มมูลค่าให้กับผักตบชวา 1.3ขอบเขตของการศึกษา 1.3.1 นำผักตบชวามาทำให้เกิดประโยชน์ 1.3.2 ศึกษาการลดมลพิษทางน้ำ 1.3.3 การแปรรูปผลิตภัณฑ์ 1.3.4 การนำผลิตภัณฑ์มาใช้ในชีวิผักตประจำวัน 1.4สมมุติฐานของการศึกษา 1.4.1 ผลิตภัณฑ์จากผักตบชวาสามารถนำมาแปรรูปเป็นที่กันกระแทก 1.4.2 ผลิตภัณฑ์จากผักตบชวาสามารถดูดกลิ่นได้ 1.4.2 ผักตบชวาสามารถนำมาใช้เป็นวัสดุกันกระแทกแทนโฟมได้ 1.4.3 เมื่อใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์แปรรูปแล้วสามารถกำจัดได้ง่ายมากกว่าวัสดุสังเคราะห์ อื่นๆ 1.5 ตัวแปรที่ศึกษาค้นคว้า 1.5.1 ตัวแปรต้น - ผักตบชวา 1.5.2 ตัวแปรตาม - ผลิตภัณฑ์กันกระแทก ดูดซับกลิ่น


2 1.5.3 ตัวควบคุม- ปริมาณผักตบชวา- ความชื้นของตัวผักตบชวา- การกันกระแทกที่มีประสิทธิภาพ


บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผักตบชวาเป็นพืชที่ส่งผลเสียต่อมลพิษทางน้ำ ทำให้เกิดประโยชน์และโทษผักตบชวามี ประโยชน์ คือช่วยเป็นร่องน้ำให้กับแม่น้ำลำคลองทำให้น้ำไหลผ่านช้าๆ หากมีผักชวามากเกินไปจะเกิด ผลเสียต่อแม่ลำคลอง ผักตกชวาเป็นพืชที่ขยายพันธุ์ได้รวดเร็วมา มีจำนวนมากและยังสามารถพบเจอได้ ง่าย แต่การที่ผักตบชวามีจำนวนมากไม่ได้สร้างประโยชน์และยังโทษให้กับสิ่งแวดล้อม การนำผักตบชวา มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆให้ผักตบชวามีประโยชน์มากกว่าเป็นมลพิษทางน้ำ การนำผักชวามาใช้ ใหม่ในครัวเรือนให้เกิดความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้นหรือการนำมาสร้างกลิ่นหรือดับกลิ่นทำให้ชีวิตของ เราง่ายมากขึ้น หากนำผักตบชวามาผ่านกระบวนการแปรรูปก็จะสามารถประยุกต์เป็นวัสดุต่างๆได้ มากมาย ผักตบชวาสามารถนำมาทำให้เกิดประโยชน์ได้มากกว่าเป็นมลพิษทางน้ำ เราจึงนำผักตบชวามา ประยุกต์หรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันของเรา หัวข้อที่ศึกษามีดังนี้ 1. ผักตบชวา 2. ที่กันกระแทก 3. กลีบดอกไม้แห้ง ผักตบชวา 1) ลักษณะทั่วไป https://th.wikipedia.org/wiki (2022) ผักตบชวา เป็นพืชน้ำล้มลุกอายุหลายฤดู สามารถอยู่ ได้ทุกสภาพน้ำ มีถิ่นกำเนิดในแถบลุ่มน้ำแอมะซอนในทวีปอเมริกาใต้มีดอก สีม่วงอ่อน คล้ายช่อดอก กล้วยไม้ และแพร่พันธุ์ได้อย่างรวดเร็วจนกลายเป็นวัชพืชที่ร้ายแรงในแหล่งน้ำทั่วไป มีชื่อเรียกในแต่ละ ท้องถิ่นดังนี้: ผักปอด, สวะ, ผักโรค, ผักตบชวา, ผักยะวา, ผักอีโยก, ผักป่อง หรือ บัวลอย 2) ประโยชน์ของผักตบชวา https://www.sanook.com/women/226493/ (2022)"ผักตบชวา" นั้นเป็นวัชพืชในแหล่ง น้ำ แต่ในร้ายกลับมีด้านดีที่หลายๆ คนอาจยังไม่ทราบในทั้งหมด เนื่องจากส่วนใหญ่เราจะเห็นว่า ผักตบชวาถูกนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ วางจำหน่าย แต่นอกจากผลิตภัณฑ์เหล่านั้นแล้ว ผักตบชวายังมีประโยชน์อีกมากมายดังนี้ 2.1 ใช้ทำปุ๋ยหมักจากธรรมชาติ เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายในการทำเกษตรกรรม 2.2 สามารถนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ หรือเครื่องจักสานต่าง ๆ ได้ 2.3 นํามารับประทานได้ ทั้ง ยอดอ่อน ใบอ่อน มีคุณค่าสารอาหารเพียบ 2.4 ทำเป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ โดยการสับให้ละเอียดผสมรำให้ไก่หรือหมูกิน


4 2.5 ใช้บําบัดน้ำเสีย เนื่องจากผักตบชวา มีคุณสมบัติในการดูดซึมสารพิษและโลหะหนักได้ นั่นเอง ข้อควรระวัง สำหรับผักตบชวาที่นํามารับประทานหรือเลี้ยงสัตว์นั้น ควรอยู่ในแหล่งน้ำที่สะอาดเท่านั้น จะได้ปลอดภัยห่างไกลจากสารพิษกันนะคะ 3) การกำจัดน้ำเสียของผักตบชวา https://th.wikipedia.org/wiki (2022) ผักตบชวาสามารถช่วยบำบัดน้ำเสียโดยการทำหน้าที่ กรองน้ำที่ไหลผ่านกอผักตบชวาอย่างช้า ๆ ทำให้ของแข็งแขวนลอยต่าง ๆ ที่ปนอยู่ในน้ำถูกสกัด กลั่นกรองออก นอกจากนั้น ระบบรากที่มีจำนวนมากจะช่วยกรองสารอินทรีย์ที่ละเอียด และจุลินทรีย์ที่ อาศัยเกาะอยู่ที่ราก จะช่วยดูดสารอินทรีย์ไว้ด้วยอีกทางหนึ่ง รากผักตบชวาจะดูดสารอาหารที่อยู่ในน้ำ ทำให้ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำเสียจึงถูกกำจัดไป อย่างไรก็ตามไนโตรเจนในน้ำเสียนั้น ส่วนมากจะ อยู่ในรูปสารประกอบทางเคมีเช่น สารอินทรีย์ไนโตรเจน, แอมโมเนียไนโตรเจน, ไนเตรตไนโตรเจน พบว่าผักตบชวาสามารถดูดไนโตรเจนได้ทั้ง 3 ชนิด แต่ในปริมาณที่แตกต่างกันคือ ผักตบชวาสามารถดูด อินทรีย์ไนโตรเจนได้สูงกว่าไนโตรเจนในรูปอื่น ๆ คือ ประมาณร้อยละ 95 ขณะที่ไนเตรตไนโตรเจนและ แอมโมเนียไนโตรเจนจะเป็นประมาณร้อยละ 80 และร้อยละ 77 ตามลำดับ[9] สถานที่แรกในประเทศ ไทยที่ใช้การบำบัดด้วยวิธีนี้คือบึงมักกะสัน ที่กันกระแทก 1) วัสดุกันกระแทก แต่ละประเภท https://boxchonburi.com/cushioning/ (2021) วัสดุกันกระแทก เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ จำเป็นต้องใช้ในการแพ็คสินค้า เพื่อส่งให้ลูกค้าในปัจจุบันนิยมใช้กัน เพื่อใส่ลงไปใน กล่องไปรษณีย์ กล่องใส่เอกสาร หรือ บรรจุภัณฑ์ใส่อาหารต่างๆ เพื่อเพิ่มการรองรับการกระแทกมีหลากหลายชนิด และ แต่ละชนิดมีข้อดีข้อด้อย และมีคุณสมบัติที่เหมาะ สำหรับการใช้งานแตกต่างกัน วัสดุกันกระแทกแต่ละ ประเภท 1.1 แผ่นกระดาษลูกฟูก (Cardboard) 1.2 โฟมพอลิสไตรีน (PS Foam) 1.3 แผ่นพลาสติกอัดอากาศ (Air Bubble) 1.4 ฝอยไม้ 1.5 ฝอยกระดาษ 1.6 กระดาษคราฟท์ (Kraft Paper)


5 2) โอกาสที่ใช้ https://boxchonburi.com/cushioning/ (2021) วัสดุกันกระแทกที่นิยมใช้มากในปัจจุบัน ได้แก่ บั๊บเบิ้ลกันกระแทก เพราะหาซื้อได้ง่ายใช้งานสะดวก และราคาไม่แพง และแผ่นกันกระแทก ประเภทโฟม มีลักษณะเด่นคือ สามารถผลิตให้ได้ความหนาแน่น เหมาะสมกับสินค้าหลากหลายประเภท ทั้งสินค้าอุณสาหกรรม และผักผลไม้ รวมไปถึงวัสดุกันกระแทกอย่างเช่น แผ่นกระดาษลูกฟูก ก็ได้รับ ความนิยมเช่นเดียวกัน 3) วัสดุกันกระแทกและบรรจุภัณฑ์ https://www.dearcowboy.com/library/221 (2021)วัสดุที่สามารถทดแทนพลาสติกได้ ทั้งๆที่เป็นได้ถึงบรรจุภัณฑ์และวัสดุกันกระแทกอีกด้วย แล้วถ้าหากเราจะใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมเราก็ควรคำนึงถึงประเภทของผลิตภัณฑ์ที่ใช้ด้วย เพื่อให้แน่ใจว่าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จริงๆ การห่อสินค้าด้วยพลาสติกกันกระแทกเป็นวิธีการบรรจุภัณฑ์ที่อยู่ในตลาดมานาน การใช้งาน หลักๆ อยู่ในการบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ที่ช่วยป้องกันไม่ให้สินค้าแตกหัก และเป็นที่ต้องการของคน ส่วนใหญ่ การป้องกันการกระแทกได้ ดังนั้นเราควรมองโลกให้กว้างขึ้นด้วยวัสดุกันกระแทกที่สามารถ ปกป้องสินค้าของเรารวมถึงโลกของเราได้อีกด้วย เช่น วัสดุบรรจุภัณฑ์และวัสดุกันกระแทกจากแป้ง ข้าวโพด วัสดุบรรจุภัณฑ์และวัสดุกันกระแทกที่ทำจากผักตบชวา กลีบดอกไม้แห้ง 1) วิธีทำดอกไม้แห้ง https://th.wikihow.com (2022) มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1.1 เลือกดอกกุหลาบสดๆ ที่บานเต็มที่. 1.2 วางกลีบดอกไม้ไว้บนแผ่นตาก 1.3 นำกลีบดอกไม้ไปวางในที่ที่ลมโกรก 1.4 กลับด้านกลีบกุหลาบหลายๆ ครั้ง 1.5 นำกลีบกุหลาบออกจากแผ่นตาก หรือการใช้ไมโครเวฟทำให้กลีบดอกไม้แห้ง 1.1 นำกระดาษทิชชู่แผ่นหนามาปูบนจานที่สามารถใส่ไมโครเวฟได้สองชั้น 1.2 คลุมปิดกลีบดอกไม้เอาไว้. 1.3 นำชุดจานนี้ใส่เข้าไปในไมโครเวฟ 1.4 ตรวจสอบความแห้งของกลีบดอกไม้ 1.5 นำจานออกจากไมโครเวฟ นอกจากวิธีที่ใช้แสงแดดหรือไมโครเวฟ เรายังมีวิธีอื่นๆอีกที่จะสามารถทำให้ดอกไม้แห้งได้ 2) กลีบดอก https://th.wikipedia.org/wiki/ (2022) กลีบดอก เป็นส่วนหนึ่งของดอก กลีบดอกเจริญมา จากใบที่เปลี่ยนรูป ล้อมรอบโครงสร้างสืบพันธุ์ของดอก กลีบดอกมักมีสีสันสดใส และรูปทรงสะดุดตา


6 เพื่อดึงดูดพาหะถ่ายเรณูเมื่อกลีบดอกอยู่รวมกันจะเรียกว่า วงกลีบดอก (corolla) กลีบดอกมักอยู่ ร่วมกับกลีบเลี้ยง ซึ่งเป็นใบเปลี่ยนรูปอีกชุดที่ทำหน้าที่ปกป้องดอก เมื่อวงกลีบดอกและวงกลีบเลี้ยงอยู่ ด้วยกันจะเรียกว่า วงกลีบรวม(perianth) บางครั้งมีการใช้คำกลีบรวม (tepal) เมื่อการแยกกลีบดอก และกลีบเลี้ยงเป็นไปได้ยาก โดยทั่วไปกลีบดอกเป็นส่วนที่เด่นชัดที่สุดของพืชดอก แต่พืชบางชนิด เช่น หญ้ามีกลีบดอกที่ลดรูปเล็กมากหรือไม่มีเลยพืชแต่ละชนิดมีจำนวนกลีบดอกต่างกัน พืชใบเลี้ยงคู่แท้ มีกลีบดอก 4–5 กลีบ ส่วนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีกลีบดอก 3–6 กลีบ[3] วงกลีบดอกมีความสมมาตรได้ทั้ง แบบด้านข้างและแบบรัศมีกล่าวคือดอกสมมาตรด้านข้างสามารถแบ่งเป็นสองด้านที่มีลักษณะ เหมือนกันได้ครั้งเดียวขณะที่ดอกสมมาตรแบบรัศมียังคงมีลักษณะเหมือนกันทั้งสองด้าน แม้จะแบ่ง หลายครั้ง พืชสร้างกลีบดอกที่มีสีสัน กลิ่น และน้ำหวาน 3) ลักษณะทางพฤษศาสตร์ https://www.panmai.com/GardenSong/Flower_04 (2022) กุหลาบจัดเป็นดอกไม้ ประเภทพุ่ม-พลัดใบมีลำต้นตั้งตรงหรือเลื้อยแข็งแรงมีใบย่อย 3-5 ใบใบมีสีเขียวเข้มเป็นมันและมีรอย ย่นเล็กน้อยดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศมี 2 เพศในดอกเดียวกันมีเกสรตัวผู้และตัวเมียเป็นจำนวนมากมีทั้ง ดอกชั้นเดียวและดอกซ้อนการจําแนกตามลักษณะสีของดอกแบ่งเป็น 5 ประเภทคือ 1. Single color มีสีของกลีบดอกสีเดียว ไม่ว่าจะเป็นด้านหน้าหรือด้านหลังของดอกและทุกๆ กลีบมีสีเหมือนกัน เช่น พันธุ์Christian Dior 2. Multi-color มีสีของกลีบดอกเปลี่ยนไปตามอายุการบานดอก ในช่วงหนึ่งจะมีหลายสีเพราะ บานดอกไม่พร้อมกัน ส่วนมากจะเป็นกุหลาบพวง เช่น พันธุ์ Charleston 3. Bi-color มีสีของกลีบดอก 2 สี คือ กลีบด้านในสีหนึ่ง ด้านนอกอีกสีหนึ่ง เช่น พันธุ์ Forty Niner 4. Blend-color มีสีของกลีบดอกด้านในมากกว่า 2 สีขึ้นไป เช่น พันธุ์ Monte Carlo 5. Srtiped color กลีบดอกในแต่ละกลีบมีสีมากกว่า 2 สีขึ้นไป ส่วนใหญ่มักเกิดเป็นสีสลับกันเป็น เส้นตามความยาวของกลีบดอก เช่น พันธุ์ Candy Stripe พันธุ์ที่ใช้ปลูก • พันธุ์ดอกสีแดง ได้แก่ คริสเตียนดิออร์ สวาทมอร์ สคาร์เลทไนท์ • พันธุ์ดอกสีชมพู ได้แก่ เบลแองจ์ ควีนอลิซาเบท มีสออลอเมริกันบิวตี้ • พันธุ์ดอกสีแสด ได้แก่ ซุปเปอร์สตาร์ ธัญญา โบเต้ • พันธุ์ดอกสีเหลือง ได้แก่ คิงส์แรนซัม โกลเด้นมาสเตอพิส โบเต้ กลาย • พันธุ์ดอกสีขาว ได้แก่ มิสตี้เมอร์ • พันธุ์ดอกสีม่วง ได้แก่ บูลมูน


บทที่ 3 วิธีการดำเนินการทดลอง การศึกษาค้นคว้าเรื่อง การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวาเป็น การศึกษาค้นคว้าที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับการศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวา 7 ด้านดังนี้ 1) ด้านเนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวา2) ด้านกลิ่นของผลิตภัณฑ์กัน กระแทกจากผักตบชวา 3) ด้านสีสันของผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวา 4) ด้านความสามารถใน การกันกระแทกและดูดซับกลิ่นหลังใช้ผลิตภัณฑ์ 5) ด้านความสวยงามของผลิตภัณฑ์ 6) ด้านผลลัพธ์ ของผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวา 7) ด้านภาพรวมของผลิตภัณฑ์ ศึกษาเกี่ยวกับความต้องการ และความพึงพอใจในการใช้ผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวา โดยเก็บข้อมูลรวบรวมข้อมูลการ ประเมินความพึงพอใจจากความคิดเห็นของนักเรียนและบุคลากรทางโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี วิทยา ๒ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 2 ทางการแก้ไขปรับปรุงพัฒนาในจุดบกพร่องของ ผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวา เพื่อให้ผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวาที่จัดทำมีคุณภาพมาก ที่สุดทำการศึกษาค้นคว้าโดยมีวิธีและขั้นตอนตามลำดับดังนี้ 1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ 6. วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าได้แก่ นักเรียนและบุคลากรทางโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานครจำนวน 53 คน 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า วิธีสร้างเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้ครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ใช้แบบสอบถามที่ผู้ศึกษาจัดทำขึ้นเป็น เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งผู้ศึกยาได้สร้างแบบสอบถามให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์องค์การ ศึกษาและขอบเขตของการศึกษาซึ่งประกอบด้วยคำถาม 2 ส่วนคังนี้ ส่วนที่ เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ ข้อมูลปัจจัย ค้านบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามปลายปิด (Close Ended Bespmonse question) ส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพ ของสบู่จากกาแฟ ตามความเห็นของได้แก่ นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนนวมินท ราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร มิลักษณคำถามเป็น


9 คำถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับตามวิธีของลิเกิร์น (Likert) คือ น้อย ที่สุด น้อย ปานกลาง มาก และมากที่สุด โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนและเกณฑ์การจัดระดับดังนี้ ระดับความคิดเห็น ค่าน้ำหนักคะแนนของตัวเลือกตอบ ปรับปรุง กำหนดค่าเท่ากับ 1 คะแนน พอใช้ กำหนดค่าเท่ากับ 2คะแนน ปานกลาง กำหนดค่าเท่ากับ 3 คะแนน ดี กำหนดค่าเท่ากับ 4 คะแนน ดีมาก กำหนดค่าเท่ากับ 5 คะแนน เกณฑ์ในการแปลความหมายค่าร้อยละของคะแนนระดับความเห็น เพื่อจัดระดับคะแนน การศึกษาสภาพการดำเนินกิจกรรมต่างๆ กำหนดเป็นช่วงคะแนนดังต่อไปนี้ ช่วงคะแนนร้อยละ 80 คะแนนขึ้นไป = ดีมาก ช่วงคะแนนร้อยละ 70-79 คะแนน = ดี ช่วงคะแนนร้อยละ 60-69 คะแนน = ปานกลาง ช่วงคะแนนร้อยละ 50-59 คะแนน = พอใช้ ช่วงคะแนนร้อยละ 40-49 คะแนน = ปรับปรุง 3.3 เก็บรวบรวมข้อมูล ในการดำเนินการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ดำเนินการตามลำดับขั้นตอนดังนี้ ขอความร่วมมือจากนักเรียนและบุคลากรทางโรงเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินู ทิศสตรีวิทยา ๒ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานครในการทำแบบสอบถามเพื่อ การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนในสังกัด ผู้ศึกษานำแบบสอบถามไปแจกด้วยตนเองทั้งหมดในระหว่างวันที่ 15 กันยายน 2565 จำนวน 53 ชุด ผู้ศึกษานำแบบสอบถามหรือข้อมูลที่เก็บรวบรวมในแต่ละสถานศึกษาเพื่อนำไปวิเคราะห์และ แปลผลข้อมูล 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาค้นคว้าดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับและผู้ ศึกษาค้นคว้านำข้อมูลมาประมวลผลและวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติโดยใช้สถิติวิเคราะห์ ดังนี้ การวิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามโดยใช้ความถี่ร้อยละ ตอนที่สองระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวาจำแนกตามสถานภาพได้แก่ นักเรียน ครู/อาจารย์ บุคคลทั่วไป และเพศ ได้แก่ชาย หญิง 3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ศึกษาค้นคว้าได้วิเคราะห์และประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปด้วย ระบบคอมพิวเตอร์สถิติที่ใช้คือ


10 สถิติพรรณาการหาค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงมาตรฐานการหาค่าความถี่โดยวิธีนับ คำนวณ 3.6 วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ 6.1.1 อุปกรณ์และเครื่องมือหลักที่ต้องใช้ ชนิดอุปกรณ์ จำนวน กรรไกร 1 อัน มีด 1 เล่ม 6.1.2 วัสดุและอุปกรณ์ที่ต้องจัดหา ชนิดอุปกรณ์ จำนวน ผักตบชวา 2 กำมือ วิธีการทดลอง 1. จัดหาผักตบชวาตามแม่น้ำลำคลองที่มีจำนวนผักตบชวาเยอะ จำนวน 2 กำมือ 2.ตัดส่วนที่ไม่จำเป็นให้เหลือแต่ก้านของผักตบชวา เพื่อนำมาตากแห้ง


11 3.นำผักตบชวาไปตากแดดจัด ประมาณ 1-2 คืน 4.เมื่อผักตบชวาแห้งไม่มีความชื้น จึงนำมาตัดให้เป็นท่อนเล็กๆ ขนาดพอเหมาะตามที่ต้องการ 5.นำผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวา บรรจุใส่กล่อง เเละติดโลโก้ให้เรียบร้อย ผลการทดลอง


12 1. ผลการศึกษาผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวา ได้แก่ ผักตบชวา 1.1ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวา - ลักษณะเนื้อผิว ผิวขรุขระ เนื้อหยาบ 1.2การเปรียบเทียบประสิทธิภาพจากผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวา จากผลิตภัณฑ์ กันกระแทกจากผักตบชวาตามท้องตลาด - เมื่อใส่ผลัตภัณฑ์กักระแทกลงไปวัสดุได้รับแรงกระแทกน้อยลงทำให้วัตถุด้านในไม่ได้ รับความเสียจากการกระแทก ผักตบชวาสามารถดูดซับกลิ่นได้ดีสามารถย่อยสลายง่าย


บทที่ 4 ผลการทดลอง การศึกษาค้นคว้าการทำกันกระแทกจากผักตบชวา ซึ่งเป็นวัชพืชที่ทุกคนต่างมองข้ามและไม่ เห็นคุณค่ำ คณะผู้จัดทำจึงนำวัชพืชเหล่านี้มาแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าและเพิ่มรายได้เสริมให้แก่บุคคลทั่วไป ที่สนใจ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้เป็นการศึกษาและรวบรวมข้อมมูลเพื่อนำมาจัดทำเป็นโครงงานประเภท สิ่งประดิษฐ์ โดยภายหลังจากที่ทำผลิตภัณฑ์เสร็จสมบูรณ์แล้ว ทางคณะผู้จัดทำจึงได้นำผลิตภัณฑ์ มาให้ นักเรียนภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ ได้ทดลองใช้ และทำแบบประเมิณความพึงพอใจ ต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์และร่วมกันเสนอข้อเสนอแนะ ซึ่งประชากรในการค้นคว้าครั้งนี้มีนักเรียน จำนวน 53 คน รวมทั้งหมด 53 คน ได้รับแบบประเมิณกลับคืนมาจำนวน 53 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 ในการสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล มีหัวข้อดังต่อไปนี้ 4.1 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของนักเรียนภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ 4.2 วิเคราะห์คะแนนความพึงพอใจต่อทำกันกระแทกจากผักตบชวา ของนักเรียนภายใน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒


14 4.1 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของนักเรียนภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ ตารางที่ 4.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ ข้อมูลส่วนตัว จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 17 32.1 หญิง 36 67.9 รวมทั้งสิ้น 53 100 ปีการศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 1 9 17 มัธยมศึกษาปีที่ 2 4 7.5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 8 15.1 มัธยมศึกษาปีที่ 4 9 17 มัธยมศึกษาปีที่ 5 21 39.6 มัธยมศึกษาปีที่ 6 2 3.8 รวมทั้งสิ้น 53 100 ห้อง 1 0 0 2 12 22.6 3 5 9.4 4 15 28.3 5 9 17 6 1 1.9 7 2 3.8 8 2 3.8 9 4 7.5 10 0 0 11 0 0 12 3 5.7 รวมทั้งสิ้น 53 100 จากตารางที่ 1 พบว่าข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนภายในโรงเรียน มีดังนี้ 1. เพศ ผู้ทำแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศหญิง ร้อยละ 67.9 รองลงมาคือ เพศชาย ร้อยละ 32.1 2. ปีการศึกษา ผู้ทำแบบสอบถามส่วนมากอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ร้อยละ 39.6 รองลงมาคือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 17 รองลงมาคือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ 15.1 รองลงมาคือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ร้อยละ 7.5 ลำดับสุดท้ายคือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 3.8 3. ห้อง ผู้ทำแบบสอบถามส่วนมากเป็นห้อง 4 ร้อยละ 28.3 รองลงมาคือ ห้อง 2


15 ร้อยละ 22.6 รองลงมาคือ ห้อง 5 ร้อยละ 17 รองลงมาคือ ห้อง 3 ร้อยละ 9.4 รองลงมาคือ ห้อง 9 ร้อย ละ 7.5 รองลงมาคือ ห้อง 12 ร้อยละ 5.7 รองลงมาคือ ห้อง 7 และ8 ร้อยละ 3.8 รองลงมาคือ ห้อง 6 ร้อยละ 1.9 และน้อยที่สุดคือ ห้อง 1 , 10 และ 11 ร้อยละ 0 4.2 วิเคราะห์คะแนนความพึงพอใจต่อทำกันกระแทกจากผักตบชวา ของนักเรียนภายใน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ ตารางที่ 4.2 การวิเคราะห์ผลความพึงพอใจต่อทำกันกระแทกจากผักตบชวา ลำดับ ราบการประเมิณ ระดับความพึงพอใจ ร้อยละ แปลผล ดี มาก (5) ดี (4) ปาน กลาง (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1 มลพิษทางธรรมชาติ ของ ผักตบชวา 1 0 9 15 28 86.03 มากที่สุด 2 กำจัดทางธรรมชาติ 1 2 3 12 35 89.05 มากที่สุด 3 นำของที่ไม่ใช้มาทำให้เกิด ประโยชน์ 2 2 6 10 33 86.41 มากที่สุด 4 ความพอใจต่อผลิตภัณฑ์ 1 0 7 6 38 89 มากที่สุด 5 สินค้าแปรรูปใน ชีวิตประจำวัน 1 2 4 12 34 89 มากที่สุด 6 ประโยชน์ของผักตบชวา 2 2 7 11 31 85.2 มากที่สุด 7 งบประมาณที่ใช้ทำผักตบชวา 1 2 6 11 33 85.28 มากที่สุด 8 ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ 2 4 12 21 14 75.47 ดีมาก 9 กำจัดของเสียในแม่น้ำลำ คลอง 3 5 8 17 20 77.35 ดีมาก 10 อุปกรณ์ที่ใช้แปรรูป 5 13 16 11 8 91.7 มากที่สุด รวม 85.44 มากที่สุด เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงคะแนนร้อยละ 80 คะแนนขึ้นไป = ดีมาก ช่วงคะแนนร้อยละ 70-79 คะแนน = ดี ช่วงคะแนนร้อยละ 60-69 คะแนน = ปานกลาง ช่วงคะแนนร้อยละ 50-59 คะแนน = พอใช้ ช่วงคะแนนร้อยละ 40-49 คะแนน = ปรับปรุง จากตารางการวิเคราะห์ผลความพึงพอใจต่อทำกันกระแทกจากผักตบชวา ทั้ง 10 ข้อ พบว่า ภาพรวมของผลิตภัณฑ์อยู่ในเกณฑ์ดีมาก โดยด้านที่มีคะแนนมากที่สุด คือ ด้านอุปกรณ์ที่ใช้แปรรูป ของ ผลิตภัณฑ์และง่ายต่อการเก็บและพกพา มีค่าร้อยละ 91.7 รองลงมาคือ ด้านกำจัดทางธรรมชาติ มีค่ำ ร้อยละ 95.05 และด้านที่เหลือมีระดับคะแนนอยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมาก


16 ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นส่วนใหญ่แนะนำให้ปรับปรุงด้านกลิ่นของผลิตภัณฑ์ สีของผลิตภัณฑ์และปรับปรุง บรรจุภัณฑ์ให้มีความสวยงำมและดึงดูดสายตาผู้บริโภคให้มากขึ้น เพื่อสามารถเพิ่มมูลค่าและยอดขาย ของผลิตภัณฑ์


บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ การศึกษาการกันกระแทกจากผักตบชวา มีวัตถุประสงค์ 4 ข้อ คือ (1) ลดมลพิษทางน้ำ (2) ใช้ วัสดุธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ (3) เพิ่มรายได้ (4) เพิ่มมูลค่าให้ผักตบชวาและสามารถประมวลผลได้ ดังนี้ กลุ่มเป้าหมายที่เราใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ และบุคลากรภายในโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถามความคิดเห็นความพึงพอใจใน การใช้การกันกระแทกจากผักตบชวาโดยแบบสอบถามคือ Google Form ซึ่งเรานั้นให้สแกน QR Code โดยมีคำถามสำรวจจำนวน 10 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติที่ใช้ใน การศึกษาครั้งนี้คือการหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สรุปผลการทดลอง จากการศึกษาทดลองการทำกันกระแทกจากผักตบชวาสรุปได้ว่ากันกระแทกที่ทำจาก ผักตบชวาสามารถใช้กันกระแทกได้จริง มีความอ่อนนุ่มของตัวผักตบชวาที่กันกระแทกได้และช่วยรักษา สิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ มีรูปร่างลักษณะสวยงาม และสามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว อภิปราย จากการศึกษาค้นคว้าเรื่องการทำกันกระแทกจากผักตบชวาตามความคิดเห็นจากนักเรียนและ บุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ สามารถอภิปรายได้ดังนี้ จากการสอบถามความคิดเห็นความพึงพอใจของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ ในการทำกันกระแทกผักตบชวาพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจากผลการสำรวจมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1.ควรเพิ่มสีสันของผลิตภัณฑ์ให้น่าซื้อมากกว่านี้ 2.ปรับหรือเปลี่ยนลักษณะของบรรจุภัณฑ์ 3.เพิ่มระยะการใช้งานของตัวผลิตภัณฑ์ให้ยาวนานขึ้นมากกว่าเดิม


บรรณานุกรม ดร.วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม.(6 พฤศจิกายน 2542) หนังสือพจนานุกรมสมุนไพรไทย, ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5. “ผักตบชวา”. หน้า 490-491. ศุภฤกษ์ ดวงขวัญ นักวิทยาการ.(14 สิงหาคม 2557).”ชีววิทยาของผักตบชวา”.สิ่งแวดล้แมชำนาญการ ฝ่ายจัดสรรน้ำและปรับปรุงระบบชลประทาน.[ออนไลน์]. https://www.google.com/search?q=% อภิชาต ศณีสะอาด.(13 มกราคม 2561). ผักตบชวา.สร้างเงินล้านง่ายๆด้วยผักตบชวา.หน้า 124 อภิชาต ศณีสะอาด.(8 สิงหาคม 2564). ผักตบชวา.สร้างเงินล้านง่ายๆด้วยผักตบชวา2 .หน้า 124


ภาคผนวก


20 ภาพที่ 1 เก็บผักตบชวา ภาพที่ 2 ตัดส่วนที่ไม่จำเป็นให้เหลือแต่ก้านของผักตบชวาแล้วนำไปตากแห้ง


21 ภาพที่ 3 เมื่อผักตบชวาแห้งไม่มีความชื้นจึงนำมาตัดเป็นท่อนเล็ก ๆ ขนาดตามที่ต้องการ ภาพที่ 4 นำผลิตภัณฑ์กันกระแทกจากผักตบชวาบรรจุใส่กล่อง และติดโลโก้ให้เรียบร้อย


22 ประวัติผู้ศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสกุล นายเศรษฐการ มณีสวัสดิ์ วันเดือนปีเกิด 15 กันยายน 2548 ที่อยู่ปัจจุบัน 37 ซ.ประชาร่วมใจ 7 ถ.ประชาร่วมใจ แขวงทรายกองดินใต้ เขตคลองสามวา จังหวัดกรุงเทพ 10510 ตำแหน่งหน้าที่การงาน นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ สถานที่ศึกษาปัจจุบัน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนสุเหร่าแสนแสบ ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒


23 ประวัติผู้ศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสกุล นางสาวศมนวรรณ เอี่ยมสอาด วันเดือนปีเกิด 13 มีนาคม 2549 ที่อยู่ปัจจุบัน 55/28 เคหะสุวิทวงศ์ซอยสุวิทวงศ์11 แขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี จังหวัดกรุงเทพ 10510 ตำแหน่งหน้าที่การงาน นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ สถานที่ศึกษาปัจจุบัน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนมีนบุรีศึกษา ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒


24 ประวัติผู้ศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสกุล นางสาวธิติสุดา อนุสรหิรัญการ วันเดือนปีเกิด 22 กรกฏาคม 2548 ที่อยู่ปัจจุบัน 13/4 ม.10 ถนนคลองสิบ-คลองสิบสี่ แขวงคลองสิบ เขตหนองจอก จังหวัดกรุงเทพ 10530 ตำแหน่งหน้าที่การงาน นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ สถานที่ศึกษาปัจจุบัน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนเซนต์เทเรซา ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒


25 ประวัติผู้ศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสกุล นางสาววรัชยา รักประสงค์ วันเดือนปีเกิด 18 กุมภาพันธ์ 2548 ที่อยู่ปัจจุบัน 40/926 ถนนไทยรามัญ แขวงสามวาตะวันตก เขตคลองสามวา จังหวัดกรุงเทพ 10510 ตำแหน่งหน้าที่การงาน นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ สถานที่ศึกษาปัจจุบัน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนขุมทอง ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.