คู่มือให้ความรุ้ผู้ดูแล รพ.ชร Flipbook PDF


38 downloads 122 Views 11MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

คำแนะนำการด ู แลผ ู ้ บาดเจ ็ บ ท ี ่ ม ี ความพร ่ องในการด ู แลตนเอง เพราะเราห ่ วงใยค ุ ณ ด ู แล ใส ใจ


เปนแนÿทางการดูแลผูบาดเจ็บที่ผูดูแลตองใăการดูแลบางĂÿน ăรือดูแลทั้งăมด จึงมีภาพประกอบคำบรรยายทำใăงายตอการเขาใจและจดจำ โดยอาĀัยองคคÿามรูจากทีมĂăĂาขาÿิชาชีพ ประกอบดÿย แพทยพยาบาล ทีมเยี่ยมบาน รพ.เชียงรายประชานุเคราะăและการคนคÿาจากแăลงอางอิงตางๆ ăากมีขอเĂนอแนะ โปรดติดตอ Āูนยบริăารงานดานอุบัติเăตุฉุกเฉิน (TEA unit) โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะă โทรĀัพท 053-910600 ตอ 7024 จึงăÿังเปนอยางยิ่งÿาคำแนะนำนี้จะเปนประโยชนแกผูดูแลผูปÿย ที่พรองในการดูแลตนเอง และบุคลากรทางการแพทย ใăĂามารถĂื่อĂาร คÿามรูและĂรางคÿามเขาใจระăÿางกันไดมากขึ้น อันจะนำมาซึ่งการดูแล Ăุขภาพที่ถูกตอง ประชาชนมีคุณภาพชีÿิตที่ดีตอไป กองการพยาบาล ĂำนักงานปลัดกระทรÿงĂาธารณĂุข. (2554). มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน. (พิมพครั้งที่2 ). กรุงเทพฯ: โรงพิมพมăาÿิทยาลัยธรรมĀาĂตร. กองการพยาบาล ĂำนักงานปลัดกระทรÿงĂาธารณĂุข. (2562). แนÿทางการจัด บริการพยาบาลผูปÿยระยะกลาง. นนทบุรี: บริāัท ĂำนักพิมพĂื่อตะÿัน จำกัด โรงพยาบาลมăาÿิทยาลัยเทคโนโลยีĂุรนารี.(2559) . คูมือคำแนะนำĂำăรับ ผูดูแลผูปÿยที่มีขอจำกัดในการดูแลตัÿเอง. http://www.suth.go.th/file/suth.pdf. บรรณานุกรม นักกายภาพบำบัด นักกิจกรรมบำบัด นักโภชนาการ นักĂังคมĂงเคราะă คำแนะนำการด ู แลผ ู ้ บาดเจ ็ บ ท ี ่ ม ี ความพร ่ องในการด ู แลตนเอง


01 02 04 06 08 การเตรียมอาหารทางสายยาง วัตถุดิบและวิธีทำอาหารทางสายยาง การให้อาหารทางสายยาง อาหาร 03 05 07 การประเมินสภาพ การเตรียมอุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน การสังเกตอาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์ คำแนะนำการด ู แลผ ู้บาดเจ ็ บ ท ี่ม ี ความพร่องในการด ู แลตนเอง ทางเดินหายใจ การดูดเสมหะ การดูแลผู้ป่วยที่เปลี่ยนท่อหลอดลมคอ ชนิดพลาสติกและโลหะ การทำแผลหลอดลมคอ Clip การดูแลผู้ป่วยที่เปลี่ยนท่อหลอดลมคอ ชนิดโลหะ การดูแลสิ่งแวดล้อมภายในบ้าน การดูแลช่องปากและการสระผม การเช็ดตัวและดูแลบริเวณอับชื้น การป้องกันภาวะแทรกซ้อน การป้องกันแผลกดทับ การทำแผลเปียกและแผลกดทับ การฟื้นฟูสภาพร่างกาย การขยับข้อต่อป้องกันข้อติดแข็ง การจัดท่าเพื่อลดบวม จัดท่าระบายเสมหะและเคาะปอด การออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรง การพาผู้ป่วยนั่งข้างเตียง การกระตุ้นการตื่น การกลืน การนวดและออกกำลังกาย เพื่อกระตุ้นกล้ามเนื้อปาก การจัดท่าเพื่อฝึกกินอาหาร และป้องกันการสำลัก การขับถ่าย การดูแลขณะใส่สายสวนปัสสาวะ คำแนะนำในการดูแลระบบขับถ่าย การล้างทวารหนักและการเปลี่ยนผ้าอ้อม สุขวิทยาส่วนบุคคล สารบ ั ญ


ÿิดิทัĀน แĂดงการดูแลผูปÿย ใĂăลอดลมคอ ÿิดิทัĀน แĂดงการดูแลผูปÿย Ăมองบาดเจ ็ บไมรุนแรง ภาāาเăน ื อ แผนพับการดูแลผูปÿยĂมองบาดเจ ็ บไมรุนแรง คำแนะนำการด ู แลผ ู้บาดเจ ็ บ ท ี่ม ี ความพร่องในการด ู แลตนเอง สารบ ั ญ


NSS/micropore collar mask กรณีที่ตองใช1 ชุด NG tube/ Foley cath อยางละ 3 ชุด กรณีตองใชตอเนื่อง KY jelly กับ micropore กรณีใชอุปกรณขอ 3 อยางใดอยางĀนึ่ง ÿาย suction จำนวน 100 อัน อุปกรณที่ตึกตองเบิก กรณีคนไขกลับบาน


คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง อาการผิดปกติ ท ี ่ ต  องพามาพบแพทย 


การให  อาหารทางสายยาง คำแนะนำการด ู แลผ ู้บาดเจ ็ บท ี่ม ี ความพร่องในการด ู แลตนเอง


การให  อาหารทางสายยาง (1) ขอควรรูและอุปกรณที่ตองจัดเตรียม คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง เครื่องปนอาหาร กระชอนตาถี่เครื่องชั่งขนาดเล็ก เหยือกตวงขนาด 2 ลิตร ถุงรอน หนังยาง หมอ ทัพพีชอน ภาชนะและอุปกรณที่ตองเตรียม แยกภาชนะผูปวย ไมปะปนกับของญาติ ลางภาชนะใĀÿะอาด จัดเก็บในตะกราคว่ำภาชนะที่มีฝา Āรือ เก็บในที่มิดชิด ตมĀรือลวกภาชนะดวยนารอนทุกครั้งกอนนำมาใช ปนอาĀารใĀผูปวย แชอาĀารผูปวยที่อุณĀภูมิประมาณ 4-7 องศาเซลเซียÿ ในชองกลางของตูเย็น ผูปฏิบัติตองมีÿุขอนามัยที่ถูกตอง คือ รางกายและเล็บÿะอาด กอนประกอบอาĀารทุกครั้ง ผูปฏิบัติตองไมเปนโรคติดตอ เชน ไขĀวัดใĀญทองเÿีย วัณโรค ไวรัÿตับอักเÿบเอ เปนตน การปฏิบัติเบื้องตนกอนการเตรียมอาหารทางสายยาง 1 2 3 4 5


1 2 3 4 5 6 7 ตมĀรือนึ่งวัตถุดิบไดแกไขไกเนื้อÿัตวผัก กลวย แลวนำไปชั่งน้ำĀนักที่กำĀนดโดยใĀใชน้ำĀนักÿุกเทานั้น ชั่งน้ำตาลตามปริมาณที่กำĀนดแลวนำไปตมใĀละลาย (ใÿน้ำพอละลาย) ÿวนแปงใĀตมในน้ำใĀÿุก Āลังจากนั้นนำÿวนประกอบทั้งĀมดใÿลงไปในเครื่องปนอาĀาร ใÿน้ำพอใĀอาĀารปนได ปนอาĀารใĀละเอียด กรองผานกระชอนตาถี่ลงในเĀยือกตวงอาĀาร ĀากอาĀารที่กรองแลว จำนวนไมถึงที่กำĀนด ใĀเติมน้ำตมÿุกใĀไดจำนวนตามÿูตร นำอาĀารที่ไดแบงใÿถุงตามมื้ออาĀารที่แพทยÿั่ง เชน 300x5 Āมายถึง แบงอาĀารถุงละ 300 ซีซีจำนวน 5 ถุง เก็บอาĀารไวในตูเย็น (ชองกลาง) กอนที่จะใĀผูปวยในแตละมื้อ ตองนำมาอุนกอนทุกครั้ง โดยวิธีนำมาแชน้ำอุนทิ้งไว วิธีทำ **อาหารสามารถเก็บไวได 24 ชั่วโมงตอการทำ 1 ครั้งเทานั้น วัตถุดิบที่ตองเตรียม การให  อาหารทางสายยาง (2) วัตถุดิบที่ตองจัดเตรียมและวิธีการเตรียมอาหาร คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง


คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง


การด ู แลขณะใส  ท  อหลอดลมคอ คำแนะนำการด ู แลผ ู้บาดเจ ็ บท ี่ม ี ความพร่องในการด ู แลตนเอง


อุปกรณที่ตองจัดเตรียม เครื่องดูดเสมหะ ขÿดใส่น้ำล้างสาย สายยางดูดเสมหะ ถุงขยะสีแดง ถุงมือปราĀจากเชื้อ 1 ลางมือใĀÿะอาดกอนดูดเÿมĀะ เปดเครื่องดูดเÿมĀะ แลวปรับระดับ ความดันไปที่120 มิลลิเมตรปรอท 2 ฉีกซองÿายดูดเÿมĀะดานปลายจับ แลวนำตอกับÿายเครื่องดูดเÿมĀะ3 4 ใÿถุงมือปลอดเชื้อกับมือขางที่ถนัด ดึงÿายดูดเÿมĀะออกจากซอง ระวังÿายบนเปอน 5 ใชมือขางที่ใÿถุงมือจับÿวนปลาย ของÿายยางใÿลงในทอĀลอดลม (ขณะใÿÿายยางลงในทอลมใĀใชมืออีกขาง พับÿายยางขางที่ตอกับเครื่องดูดเÿนĀะ) 6 เริ่มทำการดูดเÿมĀะ โดยปลอยÿายยาง ที่พับไวÿวนมือขางใÿถุงมือ คอยๆ Āมุน ÿายไปรอบๆ แลวดึงออกมา 7 ถาดูดเÿมĀะซ้ำอีกครั้ง ควรเวน ระยะเวลาĀางกันครั้งละ 2 - 3 นาที 8 ĀลังดูดเÿมĀะจากĀลอดคอ ใĀดูดน้ำลางÿายและดูดเÿมĀะจากจมูกกอน แลวจึงดูดจากปาก (ถามีเÿมĀะ) เÿร็จแลวดูดน้ำลางÿายกอนเก็บอุปกรณ **ควรดูดเÿมĀะกอนใĀอาĀารและไมควรดูดเÿมĀะĀลังใĀอาĀารใĀม 9 10 ทิ้งÿายดูดเÿมĀะลงในถุงÿีแดง แลวนำถุงไปทิ้งที่ÿถาพยาบาลใกลบาน


ไมพันÿำลีอยางยาว น้ำเกลือลางแผล แอลกอฮอล70% ผากอซขนาด 3x3 นิ้ว การเตรียมอุปกรณ์ทำแผล ลางมือใĀÿะอาดกอนทำแผล จัดทาใĀผูปวยนอนĀงาย ใชไมพันÿำลีชุบแอลกอฮอล เช็ดรอบนอกของขอบแผล ใชไมพันÿำลีชุบน้ำเกลือเช็ด รอบนอกของแผล แลวใช ไมพันÿำลีอีกอันเช็ดรอบในของแผล ใชผากอซที่เตรียมไวพับครึ่งรอง ใตทอĀลอดลมซายขวาขางละชิ้น โดยจับที่มุมผากอซพับทบกัน หามโดนบริเวณตรงพื้นกลางผากอซ ควรทำแผลวันละ 1-2 ครั้ง ตามความเĀมาะÿม วิธีการทำแผล อย่าลืม!! เก็บอุปกรณ์การทำแผลที่ใช้แล้ว ทิ้งในถุงสีแดง และนำถุงไปทิ้งที่สถานพยาบาลใกล้บ้าน 1 2 3 4 5 6 คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ็บที่มีความพร่องในการดูแลตัวเอง การทำแผลหลอดคอ (Tracheostomy)


1. ทอชั้นนอก (Outer Tube ) 2. ทอชั้นใน (Inner Tube ) 3. จับบริเวณขอตอหรือกดบริเวณปกทั้งสองขางของทอเจาะคอเพื่อใหทอเจาะคออยูนิ่งกับที่ 4. ดึงทอชั้นในออกโดยดึงบริเวณวงแหวนทอชั้นในออก ตามความโคงของทอเจาะคอ ทอหลอดคอชนิดพลาสติก คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ็บที่มีความพร่องในการดูแลตัวเอง การทำความสะอาด ท  อหลอดลมคอชนิดพลาสติก 5. นำทอชั้นในใหมหรือที่ทำความสะอาดแลวมาใสกดล็อคเบาๆใหไดยินเสียงดังคลิก 6. นำทอชั้นในที่ใชแลวแชในน้ำกลั่นหรือ 0.9% NSS หรือน้ำตมสุก กรณีอยูบานจนกวาเสมหะจะยุย 9. นำทอชั้นในสลัดน้ำออกใหหมดแลวมาผึ่งในภาชนะที่สะอาด 8. ตรวจสอบการอุดตันของทอโดยการเปดน้ำผาน สังเกตน้ำที่ไหลผานตองตอเนื่องไมขาดชวง 2. ลางมือและใสถุงมือที่สะอาด ใสแวนตา ผากันเปอนกอนถอดทอเจาะคอมาลาง 11. ถอดแวนตาผากันเปอน ถุงมือและลางมือใหสะอาด


1. ทอชั้นนอก (Outer Tube ) 2. ทอชั้นใน (Inner Tube ) 3. ใชมือขางหนึ่งกดทั้งสองขางของทอชั้นนอก 4.มืออีกขางหนึ่งหมุนปุมล็อคขึ้นขางบน เปดล็อค จับปกทอชั้นในออกแลวดึงออกมา ตามแนวโคงของทอ 11112.ถอดแวนตาผากันเปอนถุงมือและลางมือใหสะอาด คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ็บที่มีความพร่องในการดูแลตัวเอง การทำความสะอาด ท  อหลอดลมคอชนิดโลหะ 1.ถอดลางทำความสะอาดทอชั้นในอยางนอยวันละ 2 ครั้งเชาและเย็น หรือเมื่อผูปวยหายใจ มีเสียงดังครืดคราดจากการอุดตันของเสมหะ 5.นำทอชั้นในออกไปลางทำความสะอาดดวยน้ำยาลางจานหรือน้ำสบู ใชแปรงสำหรับลางทอ 2. ลางมือและใสถุงมือที่สะอาด ใสแวนตา ผากันเปอนกอนถอดทอเจาะคอมาลาง สอดเขาไปในทอไปขัดลางทำความสะอาดเสมหะแหงที่ตกคางอยูตามซอกตางๆ ไมใหเกิดการอุดตัน 6.กรณีที่เสมหะแหงเหนียวใหนำทอไปแชในน้ำที่สะอาด กรณีมีเสมหะเหนียวมากแชดวย 10. กอนนำกลับไปใสใหผูปวย ควรใหผูปวยไอหรือSuctionกอนใหเสมหะออกมามากที่สุด 11.การใสทอกลับ ใหลางมือใหสะอาดใชมือขางหนึ่งจับทอชั้นนอกที่ติดอยูกับลำคอผูปวย กดบริเวณปกทั้งสองขาง อีกขางหนึ่งจับทอชั้นในชุดชั้นในตามความโคงของทอชั้นนอก โดยหมุนปุมล็อคกลับลง ไฮโดรเจนเปอรออกไซดและNSSในอัตราสวน 1 ตอ 1 จนกวาเสมหะจะยุย 7. ทดสอบการอุดตันของทอโดยการเปดน้ำสังเกตน้ำที่ไหลทางผานตองตอเนื่องไมขาดชวง 8. หลังทำความสะอาดทอโลหะแลวนำไปตมในน้ำเดือดใหนาน 20 นาที(นับตั้งแตเวลาที่น้ำเดือด) 9. รอใหทอโลหะเย็นสลัดทอใหแหงสนิทไมมีหยดน้ำคางอยูในทอกอนนำไปใสใหผูปวย


การด ู แลส ุ ขว ิ ทยาส  วนบ ุ คคล คำแนะนำการด ู แลผ ู้บาดเจ ็ บท ี่ม ี ความพร่องในการด ู แลตนเอง


คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บ ที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง


จัดใĀผูปüยนอนĀงาย ýีรþะอยูริมเตียง ไมĀนุนĀมอน รองผายาง ÿำĀรับรองรับน้ำไüใตýีรþะ 1. พับผาเช็ดตัü 4 ทบ ใÿไüใตผายางตรงตนคอ ของผูปüย 2. ใชÿำลีอุดĀูทั้ง 2 ขาง เพื่อกันน้ำเขาĀู 3. ลงมือÿระผม โดยคอยๆ เทน้ำใĀเปยกผมจนทั่ü ระüังน้ำเขาตาผูปüย 4. Āลังจากÿระผมเÿร็จ เอาÿำลีที่Āูทั้ง 2 ขางออก 5.คüรÿระผมทุกÿัปดาĀ ÿัปดาĀละ 2 ครั้ง 6. การสระผม การดูแลชองปาก คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง การทำความสะอาดร  างกาย การดูแลชองปาก และ การสระผม


คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง


การป องก ั นภาวะแทรกซ  อน คำแนะนำการด ู แลผ ู้บาดเจ ็ บท ี่ม ี ความพร่องในการด ู แลตนเอง


นอนหงาย นอนหงาย ตะแคงซาย ตะแคงซาย ตะแคงขวา ตะแคงขวา เปลย่ีนทาทกุ ๆ 2 ชÿ่ัโมง ไมค üรใĀผปูüยนอนทาเดยีüนานเนอ่ืงจากจะทำใĀเกดิแผลกดทบั ดงันน้ัคüรพลกิตะแคงตüัผปูüยĀรอืเปลย่ีนทา ใĀทกุ2 ชü่ัโมง โดยจดัใĀตะแคงซาย ขüา และนอนĀงาย ÿลบักนั ดแูลทน่ีอน ผา ปใูăแ ăง Ăะอาด ปผูาปทูน่ีอนใĀเรยีบตงึไมมรีอย คüรใชทน่ีอนทม่ีกีารถายเทอากาýÿะดüก เชนทน่ีอนลม ทน่ีอนฟองนำ้ทน่ีอนทบ่ีดุüยเนอ้ืเจล เพอ่ืชüยลดแรงตานการแรงกดทบัจากการนอนĀรอืนง่ั ขอพับเขา Āลังÿüนÿนเทา ทานอนăงาย ตนขา ตาตุม ทานอนตะแคง จดัทา ใăนง่ัĀรีāะĂงู คüรจดัทา ใĀนง่ัýรีþะÿงูอยางนอ üนัละ 2ครง้ัครง้ัละไมเกนิ 1 ชü่ั ใชผานม่ิ ใชผาเชด็ เชนตาตุ ไมคüรใช จะไปลด ผิüĀนังÿ โรงพยาบาลเชยีงรายประชานเุคราะă คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ็บ ที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง คำแนะนำเบื้องตน


ทายทอย ÿะบักและไĀล นลางและกนขอýอก ใบĀูและýีรþะขอýอก ĀัüไĀล ÿะโพก ย üโมง มๆ ÿางรอง ตüันม่ิๆüางรองบรเิüณปมุกระดกู ตมุÿนเทา ไĀล ใบĀูเปนตน ชที่รองนั่งรูปแบบĀüงยาง เพราะ ดการไĀลเüียนของเลือดบริเüณ ÿüนที่ถัดออกมาจากตรงกลางĀüง เคลอ่ืนยายผปูÿยดÿยคÿามระมดัระÿงั ทำการยกĀรอืเคลอ่ืนยายผปูüยดüยคüามระมดัระüงั โดยมผีารองยกและใชการยกในการเคลอ่ืนยาย ผปูüยเพอ่ืปองกนัการเÿยีดÿี ดแูลผÿิăนงัผปูÿยใăĂะอาดแăง ไมอบัชน้ื ĀากผüิĀนงัเปยกชน้ืĀรอืรอนจะทำใĀเกดิแผลเปอย ผüิĀนงัถลอกโดยงาย โดยเฉพาะĀลงัจากทผ่ีปูüยขบัถาย ĀรอืปÿÿาüะแลüตองทำคüามÿะอาดซบัใĀแĀงและĀาก ÿงัเกตüาผปูüยมผีüิĀนงัแĀงแตกเปนขยุคüรทาครมีĀรอืโลชน่ั เพอ่ืใĀÿขุภาพผüิดขีน้ึ ไมนวดบรเิวณปมุกระดกูตางๆ ดแูลใăอาăารผปูÿยอยางเพยีงพอ ใĀอาĀารผปูüยอยางเพยีงพอ คณุคาทางโภชนาการครบถüน โดยเฉพาะอยางยง่ิโปรตนีจำเปนอยางมากตอผปูüยทม่ีแีผลกดทบั และคüรดม่ืนำ้ÿะอาดใĀมากพอ เพอ่ืชüยใĀแผลเยยีüยาไดดยีง่ิขน้ึ โทร 053-910-600 ăรอื053-711-009


การเตรียมอุปกรณทำแผล น้ำเกลือ(Normal Saline)ÿะอาดÿำĀรับลางแผล แอลกอฮอล70% ÿำĀรับเช็ดรอบแผล ชุดทำคüามÿะอาดแผลÿำเร็จรูป Āรือไมพันÿำลีÿะอาดปราýจากเชื้อ ผากอซปดแผลและพลาÿเตอร(Micropore, Transpore) ถุงมือÿะอาดและผาปดจมูก (Mask) ชามรูปไตĀรือถุงพลาÿติก จัดทาผูปüยใĀÿบายเพื่อÿะดüกในการเปดแผล ลางมือดüยÿบูใĀÿะอาดกอนเริ่มทำแผล เตรียมอุปกรณการทำแผลใĀพรอม เปดแผล ใชปากคีบในชุดทำแผล Āยิบเปดแผลดานในที่ชิดตัüแผลออกทิ้งในภาชนะที่เตรียมไü **ÿังเกตลักþณะของแผล วามีอาการบวมแดงกดเจ็บĀรือไมÿิ่งที่ไĀลออกจากแผลซึ่งติดอยูกับผาปดแผลเปนอยางไร ใชปากคีบĀยิบÿำลีชุบแอลกอฮอล70% บิดพอĀมาดเช็ดผิüĀนังบริเüณรอบๆ แผล โดยใĀเริ่มเช็ดจากÿüนที่ชิดแผล กอนแลüจึงเช็ดบริเüณรอบนอกĀางออก 3 นิ้ü ใชปากคีบĀยิบÿำลีชุบน้ำเกลือĀรือน้ำยาลางแผลตามคüามเĀมาะÿมบิดพอĀมาด แลüเริ่มเช็ดจากบริเüณในÿุดกอน ใชÿำลีกอนใĀมทำซ้ำจนแผลÿะอาด (ถาแผลมีĀนองĀรือเนื้อตายĀรือพบÿิ่งผิดปกติใĀปรึกþาเจาĀนาที่ÿาธารณÿุขที่ทำการเยี่ยมบานได) ใชปากคีบĀยิบÿำลีชุบแอลกอฮอล70% เช็ดผิüĀนังที่รอบแผลและบริเüณรอบๆ แผลอีกครั้งĀนึ่ง üางผากอซชุบน้ำเกลือ Āรือน้ำยาอื่นๆ ตามแผนการรักþาไüในแผลอยางĀลüมๆ ปดแผลดüยผากอซ ถาแผลเปยกชื้นมากอาจใชผากอซปดทับอีกชั้นĀนึ่ง ปดพลาÿเตอรตามแนüขüางกับลำตัüของผูปüยจัดทานอนผูปüยใĀเรียบรอย เก็บอุปกรณการทำแผลที่ใชแลü ทิ้งในถุงÿีแดง และนำถุงไปทิ้งที่ÿถานพยาบาลใกลบาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 วิธีการทำแผล การทำแผลชนิดเปยก ในผูปวยที่มีแผลชนิดปากแผลเปด เชน แผลกดทับ แผลผาตัดที่ไมไดเย็บปดแผล คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ็บที่มีความพร่องในการดูแลตัวเอง การทำแผล การทำแผลชนิดเปยก


การด ู แลการใส  สายป สสาวะ และการข ั บถ  าย คำแนะนำการด ู แลผ ู้บาดเจ ็ บท ี่ม ี ความพร่องในการด ู แลตนเอง


ประเมินÿภาพผูปวยและอธิบาย จุดประÿงคในการทำความÿะอาด ใĀผูปวยทราบ 1 ลางมือใĀÿะอาดกอนจัดเตรียม อุปกรณมาวางไวใกลๆ กั้นมานใĀมิดชิด ปดพัดลม 2 บอกใĀผูปวยทราบ แลวใชผาปดตาผูปวย 3 จัดทาผูปวย แลวนำผามาคลุมบริเวณทอนลาง เพศĀญิง : นอนĀงายชันเขา แยกขาออกจากกัน เพศชาย : นอนĀงาย ขาแยกออกจากกัน 4 5 ÿอดĀมอนอน (bed pan) ใตกน ภาชนะĀรือถุงÿำĀรับใÿÿำลี ที่ใชแลวใĀมาวางเอาไวขางๆ 6 เปดผาคลุมออกใĀเĀ็นอวัยวะเพศ ใÿถุงมือเปดชุดทำความÿะอาดเทน้ำÿบูเĀลว ลงบนอวัยวะเพศใชปากคีบ คีบÿำลีทำความÿะอาด 7 การด ู แลขณะคาสายสวนป สสาวะ คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง


ใชÿำลีชุบน้ำ ซับใĀแĀงจากบนลงลางในเพýĀญิง ÿüนเพýชายใĀใชÿำลีเช็ดüนจากในไปนอกที่ปลายอüัยüะเพý เพศหญิง เพศชาย 8 เลื่อนĀมอนอนออก แลüใชกระดาþชำระ ซับบริเüณกนใĀแĀง 9 10 ถอดถุงมือออก เอาผาปดตาออก จัดเÿื้อผาใĀเรียบรอย และใĀผูปüยนอนในทาที่ÿบาย 11 นำอุปกรณใชแลüไปทำคüามÿะอาดและเก็บเขาที่ ลางมือใĀÿะอาด 12 การด ู แลขณะคาสายสวนป สสาวะ คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง


พยายามใĀผูปวยถายอุจจาระทุกวัน Āากเปนไปได ใĀผูปวยลุกไปถายในĀองน้ำĀรือนั่งเกาอี้ถายอุจจาระ 1 ดูแลผูปวยใĀไดรับÿารอาĀารที่มีกากใย เชน ผัก (ผักกาด, ผักคะนา) Āรือผลไม(มะละกอÿุก, น้ำÿม) เปนตน 2 ผักกาด ผักคะน้า มะละกอสุก ส้ม ดูแลใĀไดรับน้ำอยางนอย 2-2.5 ลิตร (ยกเวนบางรายที่แพทยจำกัดปริมาณน้ำ) 3 ĀากมีปญĀาทองผูก ควรปรึกþาแพทยใĀยาระบายĀรือยาเĀน็บ ถาจำเปนอาจพิจารณาÿวนอุจจาระ เพราะĀากมีปญĀาทองผูกมากๆ ผูปวยจะมีอาการกระÿับกระÿาย ทองอืด ไมอยากอาĀาร คลื่นไÿอาเจียน เนื่องจากมีอาĀารคางอยูในลำไÿมาก ทำใĀออนเพลีย ไมมีแรงได 4 บางรายอาจพบปญĀาทองเÿีย จึงควรÿังเกตการถายอุจจาระ Āากมีการถายอุจจาระบอยครั้ง (ÿังเกตÿีจำนวน และลักþณะของอุจจาระ) อุจจาระแข็งĀากรับประทานอาĀารที่มีกากใยนอยเกินไป ดื่มน้ำนอย ทำใĀลำไÿขาดน้ำÿงผลใĀอุจจาระแข็งอาจÿงผลใĀเปนโรคทองผูกอีกดวย 5 ตัวอย่างลักษณะของอุจจาระ เหมอืนกอ้นกรวด แขง็มาก เหมอืนกลว้ย เหลว เหมอืนโคลน เปน็เมด็เหลว มกีลน่ิแรง/ไมแ่รง มสีเีหลอืง/สนีำ้ตาลเขม้ อจุจาระเĀลว มกัจะพบในคนทท่ีองเÿยีควรดแูลเรอ่ืงอาĀาร ทไ่ีมถกูÿขุลกัþณะและมกีารตดิเชอ้ืในลำไÿควรงดอาĀารรÿเผด็ ชากาแฟ และนอนĀลบัพกัผอนใĀมากขน้ึ อจุจาระปกติบงบอกถงึการรบัประทานอาĀารทม่ีÿีมดลุตอรางกาย ÿขุภาพแขง็แรงและนอนĀลบัพกัผอนอยางเพยีงพอ คำแนะนำในการดูแลระบบขับถาย คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง การด ู แลการข ั บถ  าย คำแนะนำเบื้องต้นในการดูแลระบบขับถ่าย


คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง แลวลางชำระดวยน้ำและÿบู การดูแลผูปวยใÿผาออม ควรเลือกขนาดใĀพอเĀมาะกับตัวของผูปวย ควรเปลี่ยนผาออมทุกครั้งที่ปÿÿาวะĀรือถายอุจจาระ แลวควรซับผิวĀนังใĀÿะอาดและแĀง กอนเปลี่ยนผาออมผืนใĀม การใÿผาออมบางครั้ง ตองพักผิวĀนังใĀÿัมผัÿอากาศบาง Āลีกเลี่ยงการโรยแปง เพราะอาจทำ ใĀอับชื้น และเปนเชื้อราได ไมควรĀอผาออมไวตลอดเวลา เพื่อปองกันการอับชื้นĀรือเกิดแผล จากรอยดึงรั้งของผาออมได Āากผูปวยÿามารถอาบน้ำเองไดการชำระลางบริเวณนี้ก็ทำตามปกติ แตĀากเปนการเช็ดตัว Āรือผูปวยถายบนเตียง ควรลางทวารĀนักโดยการใชĀมอนอนบนเตียง Āรือแผนรองกันเปอน ลางออกดวยน้ำÿะอาด แลวซับดวยผาแĀงอีกครั้ง


กระตุนการตื่นตัวของผูปวยโดยการ ใชน้ำชุบผาบิดĀมาดๆ เช็ดใĀทั่วบริเวณใบĀนาและลำคอของผูปวย พรอมกับเรียกชื่อผูปวยรวมดวย กระตุนการรับรูของผูปวย โดยการเปดเพลง ที่ผูปวยชอบฟงการเปดขาวจากวิทยุĀรือโทรทัศน การจัดทาทางเพื่อลดบวมโดยจัดใĀแขนและมือขางที่มีอาการบวม อยูÿูงกวาระดับĀัวใจ ใชĀมอนĀรือผาĀมวางชอนใตแขนไว ทั้งในทานั่งและทานอน การกระตุนการตื่นตัวและการรับรู การกระต ุ  นการต ื ่ นต ั วและการร ั บร ู  คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง


การฟ  นฟ ู สภาพ การขย ั บข  อต  อ การจ ั ดท  า การนวด การออกกำล ั งเพิ่ มความแข ็ งแรง การเปล ี ่ ยนเส ื ้ อผ  า การน ั ่ ง ั ่ งข  า  างเต ี ย ี ยง การกระต  ุ นการต ื ่ น คำแนะนำการด ู แลผ ู้บาดเจ ็ บท ี่ม ี ความพร่องในการด ู แลตนเอง


ผูดูแลชวยขยับขอตอของขอไĀลดวยการชวยจับที่ขอมือ และขอศอกของผูปวยแลวยกแขนขึ้นจนÿุด ผูดูแลชวยขยับขอตอของขอไĀลดวยการจับที่ขอมือ และขอศอกของผูปวย แลวกางแขนออกดานขาง ยกขึ้นจนÿุด ผูดูแลชวยขยับขอตอของไĀลดวยการชวยจับที่ขอมือ และขอศอกของผูปวย กางแขนออกมา 90 องศา แลวĀมุนแขนขึ้น-ลงจนÿุด ผูดูแลชวยขยับขอตอของขอศอก ดวยการชวยจับ ที่ขอศอกของผูปวยแลวงอศอก-เĀยียดศอกจนÿุด ผูดูแลชวยขยับขอตอของนิ้วมือดวยการชวยจับ ที่นิ้วมือแลวกำ-แบจนÿุด ผูดูแลชวยขยับขอตอของขอมือดวยการจับที่ ปลายนิ้วมือและขอมือ แลวกระดกขอมือขึ้น-ลงจนÿุด 1 2 3 4 5 6 การขยับขอตอรยางคสวนบน คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ็บที่มีความพร่องในการดูแลตัวเอง การขย ั บข  อต  อ เพ ื ่ อป องก ั นข  อติดแข ็ ง (1)


ผูดูแลชวยขยับขอตอของขอÿะโพก ดวยการจับ ที่ขอเขาและขอเทา แลวงอ-เĀยียดจนÿุด ผูดูแลชวยขยับขอตอของขอÿะโพก ดวยการจับ ที่ขอเขาและขอเทางอเขาขึ้น 90 องศา แลวĀมุนเทา เขาใน-ออกดานนอกÿุด จับที่เขาและขอเทา แลวกางขาออก 45 องศา จากนั้นĀุบขาเขา ผูดูแลชวยขยับขอตอของขอเทา ดวยการจับ ที่ขอเขาและขอเทา แลวกระดกขอเทาขึ้นใĀÿุด ใĀเอ็นรอยĀวายตึง 1 2 3 4 การขยับขอตอรยางคสวนลาง ชวยผูปวยนอนตะแคง ชวยประคองผูปวยลุกขึ้นนั่ง โดยจับขาผูปวยลงดานขางเตียงแลวจึงชวยประคองที่ไĀล จับมือผูปวยที่ยันเตียงเพื่อยึดตัวตรงĀรือใชĀมอนรองใตศอกขางที่ออนแรง จัดเทาผูปวยใĀถึงพื้นĀรือใชที่พักเทา ญาติชวยจับพยุงที่ĀัวไĀลผูปวยไวขณะนั่ง การพาผูปวยนั่งขางเตียง 4 5 3 2 1 คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ็บที่มีความพร่องในการดูแลตัวเอง การขย ั บข  อต  อ เพ ื ่ อป องก ั นข  อติดแข ็ ง (2)


การนวดเพื่อลดการบวมบริเวณแขนและมือ การนวดเพื่อลดบวม เริ่มจากการใชโลชั่นĀรือน้ำมันทาผิว ทาใĀทั่วมือของผูปวย แลวจึงเริ่มนวดคลึงบริเวณปลายนิ้วมือ ลงมาถึงฝามือและĀลังมือเĀนือบริเวณขอที่บวม กำมือ แบมือ นิ้วชิด เกร็งมือ กรณีคนไขรูÿึกตัว ใĀบริĀารมือและนิ้วมือ ดังนี้กำมือ แบมือ นิ้วชิด เกร็งมือ ขยับขอนิ้วทุกขอขอละ 5 ครั้งทุกนิ้ว ทาโลชั่นทั่วมือผูปวย นวดไลตั้งแตปลายนิ้วจนถึงเĀนือบริเวณที่บวม คำแนะนำสำหรับการดูแลผู้บาดเจ็บที่มีความพร่องในการดูแลตัวเอง การจ ั ดท  าและการออกกำล ั งกาย การนวด


1. ผูดูแลชวยจัดทาระบายเสมหะเบื้องตน โดยการจัดทา... ทานั่งพิงเตียง 45 องศา ทาตะแคงซาย - ขวา (ตะแคงกึ่งคว่ำ) ทานอนĀงาย ทานั่งกมต่ำ 2. เคาะสลับมือซาย-ขวา ดวยแรงที่เหมาะสมทั่วทั้งปอด ใชผามารองที่Āนาอก ทำทั้งขางซาย-ขวาขางละ 3-5 นาที นั่งเĀยียดขาĀรือนั่งขัดÿมาธิก็ได *Āลังจากเคาะปอด ถาผูปวยมีแรงไอใĀĀายใจเขาลึกๆ แลวไอ ขับเÿมĀะออกมาแรงๆ ĀากไมÿามารถเอาออกไดเองใĀดูดเÿมĀะชวย คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ็บที่มีความพร่องในการดูแลตัวเอง การจ ั ดท  า การจัดทาระบายเสมหะและเคาะปอด


1 ยกแขนขึ้น-ลงจนÿุด (อาจใชถุงทราย 2 Āรือขวดน้ำเพิ่มน้ำĀนักในการยก) กางแขน -ĀุบแขนประกบมือกันใĀÿุด 3 งอศอก - เĀยียดศอกใĀÿุด 4 กำมือ - แบมือใĀÿุด 5 งอเขาลากÿนเทาเขาĀาตัว - เĀยียดเขา 6 ลากเÿนเทาออกใĀÿุด ยกขาขึ้น 45 องศา - ยกขาลง 7 กางขาออก 45 องศา - Āุบเขา 8 กระดกปลายเทาขึ้น - ลง 9 ใชĀมอนรองใตเขา 2 ขาง ใĀคนไขเตะขาขึ้น-ลง ผูดูแลชวยพาผูปวยออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อไดอยางถูกตองและเĀมาะÿม (ในทานอนĀงาย) การออกกำล ั งกาย เพ ื ่ อเพิ่ มความแข ็ งแรงของกล  ามเน ื ้ อ คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง


กระตุนการตื่นตัวของผูปวยโดยการ ใชน้ำชุบผาบิดĀมาดๆ เช็ดใĀทั่วบริเวณใบĀนาและลำคอของผูปวย พรอมกับเรียกชื่อผูปวยรวมดวย กระตุนการรับรูของผูปวย โดยการเปดเพลง ที่ผูปวยชอบฟงการเปดขาวจากวิทยุĀรือโทรทัศน การจัดทาทางเพื่อลดบวมโดยจัดใĀแขนและมือขางที่มีอาการบวม อยูÿูงกวาระดับĀัวใจ ใชĀมอนĀรือผาĀมวางชอนใตแขนไว ทั้งในทานั่งและทานอน การกระตุนการตื่นตัวและการรับรู การกระต ุ  นการต ื ่ นต ั วและการร ั บร ู  คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ ็ บที่มีความพร่องในการดูแลตนเอง


การถอดเสื้อ ใĀผูปวยถอดในทานั่งขางเตียง เริ่มถอดจากแขนขางที่มีแรงกอน แลวจึงถอดออกจากแขนขางที่ออนแรง การสวมเสื้อ ใĀผูปวยใÿในทานั่งขางเตียง ใÿเÿื้อผาĀนา เริ่มจากใÿเÿื้อขางที่ออนแรงกอน แลวออมเÿื้อพาดไปดาน Āลังจากนั้นจึงใÿแขน ขางที่มีแรง การฝกสวมใสและถอดเสื้อ ถีบกางเกงออก การถอดกางเกง ใĀผูปวยถอดในทานอนโดยยกกนขึ้น พรอมกับดึงกางเกงลง จากนั้นใĀถอดจากขางที่มีแรงกอน และใชขาขางที่มีแรงเกี่ยวกางเกงออกจากขาขางที่ออนแรง “ขอบกางเกงควรเปนยางยืดและควรเปนกางเกงขาสั้น” การสวมใสกางเกง ใĀผูปวยใÿในทานั่งขางเตียง ใชกางเกงแบบขอบเอวยางยืด เริ่มใÿจากขาขางที่ ออนแรงกอน แลวจึงใÿขาขางที่มีแรง จากนั้น ใĀนอนราบกับพื้นแลวยกกนขึ้น พรอมกับดึงกางเกงขึ้น การฝกสวมใสและถอดกางเกง คำแนะนำสำหรับการดูแลผู้บาดเจ็บที่มีข้อจำกัดในการดูแลตัวเอง การจ ั ดท  าและการออกกำล ั งกาย การฝกสวมใส-ถอดเสื้อและกางเกง


การฝ กการกล ื นอาหาร คำแนะนำการด ู แลผ ู้บาดเจ ็ บท ี่ม ี ความพร่องในการด ู แลตนเอง


การนวดกลามเนื้อบริเวณรอบปาก โดยใชนิ้วโปงกดครึ่งบริเวณรอบๆ ริมฝปาก คลึงๆ ทำทั้งดานซายและขวา นวดขากรรไกร ดานละ 10 ครั้ง ลากจากตรงกลางขึ้นไปพรอมกันทั้งÿองดาน 10 ครั้ง ถาใตริมฝปากลางเÿร็จแลว ทำเĀนือริมฝปากบนตอ ลากขึ้น อยางรวดเร็ว การออกกำลังกายกลามเนื้อรอบปาก ประกอบดวย ทาฉีกยิ้มกวาง ทาเมมปาก ทำปากจูและ ทำแกมปอง ใĀทำคางไวทาละ 10 วินาทีทาละ 10 ครั้ง การออกกำลังกายกลามเนื้อลิ้น โดยใĀเคลื่อนไĀวลิ้นแตะริมฝปากบนและลาง แตะขอบปากดานขวา แตะขอบปากดานซายขางละ 10 ครั้ง เอาลิ้นดันกระพุงแกมทำคางไว10 วินาทีทำทั้งขวาและซายทาละ 10 ครั้ง การนวดและออกกำลังเพื่อกระตุนกลามเนื้อบริเวณปาก ใชโลชั่นทามือชวยหลอลื่น คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ็บที่มีความพร่องในการดูแลตัวเอง การนวดและออกกำล ั งกาย เพ ื ่ อกระต ุ  นกล  ามเน ื ้ อปาก


การจัดทาเพื่อฝกกินอาหารและปองกันการสำลัก การจัดทาทางขณะกลืนอาĀาร ผูปวยตองอยูในทาตรงĀรือมากกวา 45 องศา ตักอาĀารพอดีคำ บอกผูปวยใĀเคี้ยวใĀละเอียด จากนั้นก็เริ่มĀนาลงเล็กนอย แลวกลืนอาĀารลงไป จากนั้นใĀกลืนซ้ำอีกครั้ง (ขาว 1 คำ กลืน 2 ครั้ง) การจัดทาทางขณะดื่มน้ำ Āากดื่มโดยยกจากแกว ใĀผูปวยอมน้ำในปากกอน Āามกลืนน้ำขณะเงยĀนา ใĀผูปวยกมĀนาลงเล็กนอยกอนกลืนน้ำลงไป จากนั้นใĀกลืนซ้ำอีกครั้ง (น้ำ 1 คำกลืน 2 ครั้ง) การจัดทาทางขณะดื่มน้ำ Āากดื่มโดยใชĀลอดดูดใĀผูปวยดื่มน้ำทีละคำ อมน้ำไวในปากกอนใĀผูปวยกมĀนาลงเล็กนอยแลวกลืนน้ำลงไป จากนั้นใĀกลืนซ้ำอีกครั้ง (น้ำ 1 คำกลืน 2 ครั้ง ) ÿิ่งที่ÿำคัญ คือ ไมชวนคนไขคุย แตบอกประโยคคำÿั่งได เชน กลืนซ้ำ 2 ครั้งนะคะ เปนตน ถาคนไขไอใĀกมĀนาลงเล็กนอย และไอออกมาดังๆ 1 2 คำแนะนำการดูแลผู้บาดเจ็บที่มีความพร่องในการดูแลตัวเอง การจ ั ดท  าและการออกกำล ั งกาย การจัดทาสำหรับการกินอาหาร


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.